0 โครงงานภาษาไทย (สุนทรภู่) ผู้จัดทา ด.ญ.ชนัญญา ทองแป้น ช้ันม.3/6 เลขท3่ี 0 ครูท่ีปรึกษา นายกติ ตน์อชิ ณน์ พนมรัตน์ เอกสารนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวชิ าโครงงานภาษาไทย ท23201 โรงเรียนสภาราชินี จังหวดั ตรัง สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต13 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563
โครงงานภาษาไทย ( สุนทรภู่) ผจู้ ดั ทา ด.ญ.ชนญั ญา ทองแป้น ช้นั ม.3/6 เลขท่ี30 ครูที่ปรึกษา นายกิตตนอ์ ิชณน์ พนมรัตน์ เอกสารน้ีเป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ าโครงงานภาษาไทย ท23201 โรงเรียนสภาราชินี จงั หวดั ตรัง สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต13 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563
ค หัวข้อโครงงาน :สุนทรภู่ ประเภทของโครงงาน :โครงงานการสารวจ ผ้เู สนอโครงงาน :เด็กหญิงชนญั ญา ทองแป้น ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี3 เลขท่ี30 ครูทปี่ รึกษาโครงงาน :ครูกิตตน์อิชณน์ พนมรัตน์ ปี การศึกษา :2563 บทคดั ย่อ การจดั ทาโครงงานในคร้ังน้ีมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ศึกษาประวตั ิบุคคลสาคญั เพอื่ ศึกษาประวตั ิ และ ผลงานของสุนทรภู่ เพอ่ื นาความรู้ท่ีไดไ้ ปเผยแพร่ใหก้ บั บุคคลท่ีสนใจ เพอ่ื เชิญชวนให้ประเทศสมาชิกมี ส่วนร่วมในการจดั กิจกรรมเฉลิมฉลองร่วมกบั ประเทศท่ีมีผไู้ ดร้ ับการยกยอ่ งเชิดชูเกียรติ ผลการศึกษาและจดั ทาโครงงานพบวา่ ถา้ หากเอ่ยชื่อสุนทรภูค่ งนอ้ ยคนนกั ท่ีจะไม่รู้จกั ผลงาน นิพนธ์มากมายท่ีท่านไดท้ ิ้งไวเ้ ป็นมรดกแก่แผน่ ดิน และ ยงั สร้างแบบอยา่ งของการแต่งโคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน แก่นกั ประพนั ธ์รุ่นหลงั จนไดร้ ับการเรียกขานนามต่างๆมากมายไมว่ า่ จะเป็น รัตนกวแี ห่ง รัตนโกสินทร์ กวเี อกของไทย หรือบรมครูกลอนตลาดแห่งกรุงสยาม
ง กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงาน เร่ือง สนุ ทรภ่นู ีส้ าเรจ็ ลลุ ว่ งไดด้ ว้ ยความชว่ ยเหลือ แนะนา ใหค้ าปรกึ ษา ตรวจสอบ แกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งตา่ งๆ อยา่ งดีย่งิ ผจู้ ดั ทาขอขอบคณุ ครูกิตตนอ์ ิชณน์ พนมรตั น์ ท่ีทาให้ โครงงานเร่ืองสนุ ทรภ่นู ีเ้ สรจ็ สมบรู ณ์ ผจู้ ดั ทาจงึ ขอขอบพระคณุ เป็นอยา่ งสูง ขอขอบพระคณุ คณุ พ่อ คณุ แม่ และผปู้ กครอง ท่ีใหค้ าปรกึ ษาในเร่อื งตา่ งๆรวมทงั้ เป็น กาลงั ใจท่ีดเี สมอมา ขอขอบคณุ เพ่ือนๆ ท่ีชว่ ยใหค้ าแนะนาดๆี เก่ียวกบั โครงงานเร่ืองสนุ ทรภ่เู ลม่ นี้ สดุ ทา้ ยนีผ้ จู้ ดั ทาหวงั เป็นอย่างย่งิ วา่ โครงงานภาษาไทย เร่ือง สนุ ทรภนู่ ีจ้ ะเป็นประโยชน์ ในการศกึ ษาคน้ ควา้ และ ผทู้ ่ีสนใจศกึ ษาเร่ืองสนุ ทรภู่ ผจู้ ดั ทา
สารบญั จ เร่ือง หน้า ค บทคดั ยอ่ ง กิตติกรรมประกาศ จ-ช สารบญั 1-2 บทที่ 1 บทนา 3-17 1.1 ท่ีมาและความสาคญั 1.2 วตั ถุประสงค์ 1.3 ขอบเขตของการศึกษาคน้ ควา้ 1.4 วธิ ีดาเนินการศึกษา 1.5 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ บทท่ี 2 เอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง 2.1 ที่มาของวนั สุนทรภู่ 2.2 ทศั นคติ 2.3 ความรู้และทกั ษะ 2.4 การสร้างวรรณกรรม 2.5 แนวทางการประพนั ธ์ 2.6 การแปลผลงานเป็ นภาษาอ่ืน
สารบญั (ต่อ) ฉ 2.7 ละคร 18-19 2.8 ภาพยนตร์ 2.9 เพลง 2.10 หนงั สือและการ์ตูน 2.11 ชื่อเสียงและคาวจิ ารณ์ 2.12 อนุสาวรียส์ ุนทรภูท่ ่ี วดั ศรีสุดาราม 2.13 พิพธิ ภณั ฑ์ 2.14 ชื่อและผลงาน 2.15 นิราศ 2.16 นิทาน 2.17 สุภาษิต 2.18 บทละคร 2.19 บทเสภา 2.20 บทเห่กล่อมพระบรรทม 2.21 ความสาคญั วนั สุนทรภู่วนั สุนทรภู่ บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินงาน 3.1 วสั ดุอุปกรณ์ เคร่ืองมือ หรือโปรแกรมหรือท่ีใชใ้ นการพฒั นา 3.2 วธิ ีการดาเนินงาน 3.3 วเิ คราะห์ขอ้ มูล
สารบัญ(ต่อ) ช บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 20-21 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน และ ขอ้ เสนอแนะ 22 23 5.1 สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน 24 5.2 ขอ้ เสนอแนะ บรรณานุกรม ประวตั ิผจู้ ดั ทา
1 บทท1ี่ บทนา 1.1ความเป็ นมาและความสาคญั ของปัญหา นาฬิกาปลกุ เรอื นแรกของโลก ประดษิ ฐ์โดยนายเลวี ฮตั ชนิ ส์ (Levi Hutchins) ชาวอเมรกิ นั ในปี ค.ศ.1787 เม่ือตอนเคา้ อายุ 26 ปี เคา้ เป็นคนท่ีนอนขีเ้ ซามาก ตงั้ ใจวา่ จะต่นื เรว็ ทีไร ก็ตอ้ งต่นื สายทกุ ครงั้ จงึ คดิ แกป้ ัญหาวา่ ทาอยา่ งไรดจี งึ จะไมต่ ่นื สาย จงึ คดิ แกป้ ัญหาวา่ ทาอยา่ งไรดจี ะมีนาฬิกาท่ีสง่ เสียง เตอื นออกมาไดห้ ลงั จากคดิ ไดก้ ็ลงมือทา ใชเ้ วลาเพียง 2-3 วนั ก็ประดษิ ฐ์ไดส้ าเรจ็ นาฬิกามีขนาดกวา้ ง 29 นวิ้ สงู 14 นวิ้ ขนาดคอ่ นขา้ งใหญ่และตงั้ เปล่ียนเวลาไมไ่ ด้ เลวีจงึ ตงั้ นาฬิกาเอาไวใ้ หป้ ลกุ ทกุ เชา้ ตอน ตี 4 1.2วตั ถุประสงค์ของโครงงาน 1.2.1 เพ่อื แกป้ ัญหาการนอนตื่นสาย 1.2.2 เพ่อื ใชใ้ นการเตือนความจาได้ 1.2.3 เพ่ือสรา้ งเสียงท่ีดงั เป็นพิเศษในเวลาท่ีกาหนด 1.2.4 เพ่อื ใชใ้ นการจบั เวลา 1.3เป้าหมายและขอบเขตของโครงงาน 1.3.1 สามารถทาสิ่งต่างๆไดท้ นั เวลามากข้ึนและมีความสะดวกรวดเร็วข้ึน 1.4สมมติฐาน 1.4.1 สามารถสร้างนาฬิกาปลุกจากบอร์ดKidbrightที่สามารถใชง้ านไดจ้ ริง 1.4.2 สมารถลดคา่ ใชจ้ า่ ยโดยการใชป้ ระโยชน์จากบอร์ดKidbrightมาสร้างนาฬิกาปลุกได้ 1.4.3 สามารถส่งเสียงเตือนไดเ้ พื่อช่วยในการต่ืนเร็วข้ึน
2 1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ นาฬกิ าท่ีตงั้ เวลาไว้ เม่ือถึงเวลาท่ีกาหนดจะมีเสียงดงั เพ่ือปลกุ ใหร้ ูว้ า่ ถึงเวลาท่ีตงั้ ไวแ้ ลว้ คือ นาฬกิ าท่ีถกู ออกแบบมาเพ่ือสรา้ งเสียงท่ีดงั เป็นพิเศษในเวลาท่ีกาหนด โดยมีจดุ ประสงคเ์ พ่ือปลกุ ผทู้ ่ี นอนหลบั หรืองีบหลบั เป็นเวลาสนั้ ๆ ใหต้ ่นื ขนึ้ 1.6ประโยชน์ทคี่ ๆดว่าจะได้รับ 1.6.1 สามารถปลกุ ผทู้ ่ีนอนหลบั หรืองีบหลบั เป็นเวลาสนั้ ๆ ใหต้ ่นื ขนึ้ 1.6.2 สมารถจดั การเวลานอนหลบั ของแตล่ ะคนไดส้ ะดวกสบายมากข้ึน 1.6.3 ช่วยประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายในครัวเรือนไดโ้ ดยการสร้างนาฬิกาปลุกข้ึนเอง 1.6.4 สามารถนาเทคโนโลยมี าประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ใหเ้ กิดประโยชนม์ ากข้ึน 1.6.5 สามารถใชง้ านไดจ้ ริงและมีประสิทธิภาพในการทางานดี
3 บทท2ี่ เอกสารทเี่ กย่ี วข้อง ในการจดั ทาโครงงานภาษาไทย ของ ขา้ พเจา้ เร่อื ง สนุ ทรภุ่ นีผ้ จู้ ดั ทาโครงงานไดศ้ กึ ษาเอกสาร และจากเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งดงั ตอ่ ไปนี้ 2.1 ทมี่ าของวันสุนทรภู่ องคก์ ารศึกษาวทิ ยาศาสตร์และวฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ(UNESCO) ซ่ึงเป็นผทู้ ่ีมีหนา้ ที่ส่งเสริม และเผยแพร่ผลงาน ดา้ นวฒั นธรรมของประเทศสมาชิกตา่ ง ๆ ทวั่ โลก ดว้ ยการประกาศ ยกยอ่ งเชิดชู เกียรติบุคคลผมู้ ีผลงานดีเด่นทางวฒั นธรรมระดบั โลก ในวาระครบรอบ 100 ปี ข้ึนไป ประจาทุกปี โดยมี วตั ถุประสงค์ โดยสรุป คือ 2.1.1 เพื่อเผยแพร่เกียรติคุณและผลงานของผมู้ ีผลงานดีเด่นทางดา้ นวฒั นธรรมระดบั โลกให้ ปรากฏแก่มวลสมาชิกทว่ั โลก 2.1.2 เพอื่ เชิญชวนใหป้ ระเทศสมาชิกมีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรมเฉลิมฉลองร่วมกบั ประเทศ ที่มีผไู้ ดร้ ับการยกยอ่ งเชิดชูเกียรติ ในการน้ี รัฐบาลไทยโดยคณะกรรมการแห่งชาติวา่ ดว้ ยการศึกษาวทิ ยาศาสตร์และวฒั นธรรม แห่งสหประชาชาติ กระทรวงศึกษาธิการ จะเป็นผสู้ ืบคน้ บรรพบุรุษไทยผมู้ ีผลงานดีเด่นทาง วฒั นธรรม เพื่อใหย้ เู นสโกประกาศยกยอ่ งเชิดชูเกียรติและไดป้ ระกาศยกยอ่ งสุนทรภู่ให้ เป็นบุคคลผมู้ ี ผลงานดีเด่นทางวฒั นธรรมระดบั โลก ในวาระครบรอบ 200 ปี เกิด เม่ือวนั ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2529 และในปี พ.ศ. 2530 นายเสวตร เป่ี ยม พงศส์ านต์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี ไดด้ าเนินการจดั ต้งั สถาบนั สุนทรภูข่ ้ึน เพ่อื สนบั สนุนการจดั กิจกรรมเกี่ยวกบั ชีวติ และงานของสุนทรภู่ ใหแ้ พร่ หลายในหมู่เยาวชนและประชาชนชาวไทยมาก ยง่ิ ข้ึน จึงไดก้ าหนดให้ วนั ที่ 26 มิถุนายน ของทุกปี เป็นวนั สุนทรภู่ สุนทรภู่ กวสี าคญั สมยั ตน้ รัตนโกสินทร์ เกิดเม่ือวนั ท่ี 26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 ตรงกบั วนั จนั ทร์ ข้ึน ๑ ค่า เดือนแปด ปี มะเมีย จุลศกั ราช ๑๑๓๘ ณ บริเวณดา้ นเหนือของพระราชวงั (บริเวณ
4 สถานีรถไฟ บางกอกนอ้ ยปัจจุบนั ) บิดาของท่านเป็นชาวกร่า อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง ตาม สันนิษฐานวา่ มารดาเป็ นขา้ หลวง อยใู่ นพระราชวงั หลงั บิดามารดาเลิกร้างกนั ต้งั แต่สุนทรภูเ่ กิด บิดา ออก ไปบวชท่ีวดั ป่ า ตาบลบา้ นกร่า อาเภอแกลง อนั เป็ นภูมิลาเนาเดิม ส่วนมารดากลบั เขา้ ไปอยใู่ น พระราชวงั หลงั และไดถ้ วายตวั เป็นนางนม ของพระธิดาในกรมฯ น้นั ในปฐมวยั สุนทรภู่ไดถ้ วายตวั เป็นมหาดเลก็ ในพระราชวงั หลงั และไดอ้ าศยั อยกู่ บั มารดา สุนทรภู่ ไดร้ ับการศึกษาในพระราชวงั หลงั และที่วดั ชีปะขาว (วดั ศรีสุดาราม) ต้งั แตเ่ ยาวว์ ยั สุนทรภูม่ ีนิสัยรักการ แต่งกลอนยง่ิ กวา่ งานอ่ืน คร้ันรุ่นหนุ่มก็ไปเป็นครูสอนหนงั สืออยทู่ ่ี วดั ศรีสุดารามในคลองบางกอก นอ้ ย ไดแ้ ต่งกลอนสุภาษิตและกลอน นิทานข้ึนไว้ เม่ืออายรุ าว 20 ปี ในระยะน้ีไดล้ อบรักกบั หญิงสาว ชาววงั ชื่อ \"จนั ทร์\" จึงตอ้ งเวรจาท้งั ชายหญิง เม่ือกรมพระราชวงั หลงั ทิวงคตจึงพน้ โทษ ต่อมาจึงได้ แม่จนั ทร์เป็นภรรยา แต่อยดู่ ว้ ยกนั ไม่ นานกเ็ กิดระหองระแหงคงเป็นเพราะสุนทรภู่เมาสุราอยเู่ ป็นนิตย์ ในสมยั รัชกาลที่ 2 สุนทรภู่ไดเ้ ขา้ รักราชการในกรมพระอาลกั ษณ์ และเป็นที่โปรดปรานของ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั จนไดร้ ับแต่งต้งั เป็นขนุ สุนทรโวหาร เป็ นกวีที่ปรึกษาและ คอยรับใช้ ใกลช้ ิด ระยะน้ีสุนทรภู่ไดห้ ญิงชาวบางกอกนอ้ ยที่ช่ือ น่ิม เป็นภริยาอีกคนหน่ึง ต่อมาใน ราว พ.ศ. 2364 สุนทรภูต่ อ้ งติดคุกเพราะเมาสุรา อาละวาดและทาร้ายท่านผใู้ หญ่ แต่ติดอยไู่ มน่ านก็พน้ โทษเพราะ ความสามารถในทางกลอนเป็นที่พอพระราชหฤทยั ของพระบาทสมเด็จ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั สมยั รัชกาลท่ี 3 สุนทรภูถ่ ูกกล่าวหาดว้ ยเรื่องเสพสุรา และเรื่อง อ่ืน ๆ จึงถูกถอดออกจาก ตาแหน่งขนุ สุนทรโวหารต่อมาสุนทรภู่ออก บวชท่ีวดั ราชบูรณะ (วดั เลียบ) และเดินทางไปจาพรรษา ตามวดั ต่าง ๆ และไดร้ ับการอุปการะจากพระองคเ์ จา้ ลกั ขณานุคุณจนพระองคป์ ระชวร สิ้นพระชนม์ สุนทรภู่จึงลาสิกขาบท รวมอายพุ รรษาท่ีบวชได้ 10 พรรษา สุนทรภู่ออกมาตกระกา ลาบากอยพู่ กั หน่ึงจึงกลบั เขา้ ไปบวช อีกคร้ังหน่ึง แต่อยไู่ ดเ้ พยี ง 2 พรรษากล็ าสิกขาบท และถวายตวั อยู่ กบั เจา้ ฟ้ากรมขนุ อิศเรศรังสรรค์ ณ พระราชวงั เดิม รวมท้งั ไดอ้ ุปการะ จากกรมหมื่นอปั สรสุดาเทพอีก ดว้ ย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดค้ รองราชย์ ทรงสถาปนาเจา้ ฟ้ากรมขนุ อิศเรศ รังสรรค์ เป็นพระบาทสมเด็จพระปิ่ นเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ประทบั อยวู่ งั หนา้ (พระบวรราชวงั ) สุนทรภูจ่ ึง
5 ไดร้ ับ พระราชทานบรรดาศกั ด์ิเป็นที่พระสุนทรโวหาร ตาแหน่งเจา้ กรม พระอาลกั ษณ์ฝ่ ายบวรราช วงั ในปี พ.ศ. 2394 และรับราชการตอ่ มาได้ 4 ปี ก็ถึงแก่มรณกรรมใน พ.ศ. 2398 รวมอายไุ ด้ 70 ปี 2.2 ทัศนคติ สนุ ทรภใู่ หค้ วามสาคญั กบั การศกึ ษาอยา่ งมาก และตอกยา้ เร่ืองการศกึ ษาในวรรณคดีหลาย ๆ เร่ือง เชน่ ขนุ แผนสอนพลายงามวา่ \"ลกู ผชู้ ายลายมือนนั้ คือยศ เจา้ จงอตส่าหท์ าสม่าเสมียนหรอื ท่ีพระ ฤๅษีสอนสดุ สาครวา่ \"รูส้ ่ิงไรไมส่ รู้ ูว้ ชิ า รูร้ กั ษาตวั รอดเป็นยอดดีโดยท่ีสนุ ทรภ่เู องก็เป็นผสู้ นใจใฝ่ศกึ ษา หาความรู้ และมีความรูก้ วา้ งขวางอย่างย่งิ เช่ือวา่ สนุ ทรภู่นา่ จะรว่ มอยใู่ นกลมุ่ ขา้ ราชการหวั กา้ วหนา้ ใน ยคุ สมยั นนั้ ท่ีนยิ มวิชาความรูแ้ บบตะวนั ตก ภาษาองั กฤษ ตลอดกระท่งั แนวคดิ ยคุ ใหมท่ ่ีให้ ความสาคญั กบั สตรีมากขนึ้ กวา่ เดมิ ส่งิ ท่ีสะทอ้ นแนวความคดิ ของสนุ ทรภ่อู อกมามากท่ีสดุ คืองาน เขียนเร่อื ง พระอภยั มณี ซ่งึ โครงเร่อื งมีความเป็นสากลมากย่งิ กวา่ วรรณคดไี ทยเร่อื งอ่ืน ๆ ตวั ละครมี ความหลากหลายทางเชือ้ ชาติ ตวั ละครเอกเชน่ พระอภยั มณีกบั สินสมทุ รยงั สามารถพดู ภาษาตา่ งประเทศไดห้ ลายภาษานอกจากนีย้ งั เป็นวรรณคดีท่ีตวั ละครฝ่ายหญิงมีบทบาททางการเมือง อยา่ งสงู เชน่ นางสวุ รรณมาลีและนางละเวงวณั ฬาท่ีสามารถเป็นเจา้ ครองเมืองไดเ้ อง นางวาลีท่ีเป็นถึง ท่ีปรกึ ษากองทพั และนางเสาวคนธท์ ่ีกลา้ หาญถึงกบั หนีงานวิวาหท์ ่ีตนไมป่ รารถนา อนั ผิดจากนางใน วรรณคดีไทยตามประเพณีท่ีเคยมีมา ลกั ษณะความคดิ แบบหวั กา้ วหนา้ เชน่ นีท้ าให้ นิธิ เอียวศรวี งศ์ เรียกสมญาสนุ ทรภวู่ า่ เป็น \"มหากวี กระฎมุ พี\"ซ่งึ แสดงถงึ ชนชนั้ ใหมท่ ่ีเกิดขนึ้ ในสมยั รตั นโกสินทร์ เม่ือทรพั ยส์ นิ เงินทองเร่มิ มีความสาคญั มากขนึ้ นอกเหนือไปจากยศถาบรรดาศกั ดงิ์ านเขียนเชิงนริ าศของสนุ ทรภ่หู ลายเร่ืองสะทอ้ นแนวคิด ดา้ นเศรษฐกิจ รวมถึงวิจารณก์ ารทางานของขา้ ราชการท่ีทจุ ริตคดิ สนิ บนทงั้ ยงั มีแนวคิดเก่ียวกบั บทบาทความสาคญั ของสตรีมากย่งิ ขนึ้ ดว้ ย ไมเคลิ ไรทเ์ ห็นวา่ งานเขียนเร่อื ง พระอภยั มณี ของสนุ ทรภู่ เป็นการคว่าคตคิ วามเช่ือและคา่ นยิ มในมหากาพยโ์ ดยสิน้ เชิง โดยท่ีตวั ละครเอกไมไ่ ดม้ ีความเป็น \"วีรบรุ ุษ\" อยา่ งสมบรู ณแ์ บบ ทวา่ ในตวั ละครทกุ ๆ ตวั กลบั มีความดีและความเลวในแง่มมุ ตา่ ง ๆ ปะปน กนั ไป อยา่ งไรก็ดี ในทา่ มกลางงานประพนั ธอ์ นั แหวกแนวลา้ ยคุ ลา้ สมยั ของสนุ ทรภู่ ความจงรกั ภกั ดีของสนุ ทร ภตู่ อ่ พระราชวงศ์ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงตอ่ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั ก็ยงั สงู ลา้ เป็นลน้ พน้ อยา่ งไมม่ ีวนั จางหายไปแมใ้ นวาระสดุ ทา้ ย สนุ ทรภรู่ าพนั ถงึ พระมหากรุณาธิคณุ หลายครงั้ ในงานเขียน
6 เร่อื งตา่ ง ๆ ของทา่ น ในงานประพนั ธเ์ ร่อื ง นิราศพระประธม ซ่งึ สนุ ทรภปู่ ระพนั ธห์ ลงั จากลาสิกขาบท และมีอายกุ วา่ 60 ปีแลว้ สนุ ทรภเู่ รยี กตนเองวา่ เป็น \"สนุ ทราอาลกั ษณเ์ จา้ จกั รพาฬ พระทรงสารศรี เศวตเกศกญุ ชร\" กลา่ วคือเป็นอาลกั ษณข์ อง \"พระเจา้ ชา้ งเผือก\"อนั เป็นพระสมญั ญานามของ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลสั นุ ทรภ่ไู ดแ้ สดงจิตเจตนาในความจงรกั ภกั ดอี ยา่ งไมเ่ ส่ือม คลาย ปรากฏใน นริ าศภเู ขาทอง ความวา่ \"จะสรา้ งพรตอตสา่ หส์ ง่ บญุ ถวาย ประพฤตฝิ ่ายสมถะทงั้ วสา เป็นส่ิงของฉลองคณุ มลุ กิ า ขอเป็นขา้ เคียงพระบาททกุ ชาตไิ ป 2.3 ความรู้และทักษะ เม่ือพิจารณาจากผลงานตา่ ง ๆ ของสนุ ทรภู่ ไมว่ า่ จะเป็นงานเขียนนิราศหรือกลอนนิยาย สนุ ทรภู่ มกั แทรกสภุ าษิต คาพงั เพย คาเปรียบเทียบตา่ ง ๆ ทาใหท้ ราบวา่ สนุ ทรภนู่ ีไ้ ดอ้ า่ นหนงั สือมามาก จน สามารถนาเร่ืองราวตา่ ง ๆ ท่ีตนทราบมาแทรกเขา้ ไปในผลงานไดอ้ ยา่ งแนบเนียน เนือ้ หาหลายสว่ นใน งานเขียนเร่อื ง พระอภยั มณี ทาใหท้ ราบวา่ สนุ ทรภ่มู ีความรอบรูแ้ ตกฉานในสมดุ ภาพไตรภมู ิทงั้ เกรด็ เลก็ เกรด็ นอ้ ยท่ีนามาดดั แปลงประดษิ ฐเ์ ขา้ ไวใ้ นทอ้ งเร่ือง เชน่ การเรียกช่ือปลาทะเลแปลก ๆ และการ กลา่ วถึงตราพระราหนู อกจากนีย้ งั มีความรอบรูใ้ นวรรณคดีประเทศตา่ ง ๆ เชน่ จีน อาหรบั แขก ไทย ชวา เป็นตน้ นกั วชิ าการโดยมากเห็นพอ้ งกนั วา่ สนุ ทรภไู่ ดร้ บั อิทธิพลจากวรรณคดจี ีนเร่ือง ไซฮ่ ่นั สาม ก๊ก วรรณคดีอาหรบั เชน่ อาหรบั ราตรี รวมถึงเกรด็ คมั ภีรไ์ บเบลิ เร่ืองของหมอสอนศาสนา ตานานเมือง แอตแลนตสิ ซง่ึ สะทอ้ นใหเ้ ห็นอิทธิพลเหลา่ นีอ้ ยใู่ นผลงานเร่อื ง พระอภยั มณี มากท่ีสดุ สนุ ทรภยู่ งั มี ความรูด้ า้ นดาราศาสตร์ หรือการดดู าว โดยท่ีสมั พนั ธก์ บั ความรูด้ า้ นโหราศาสตร์ ดว้ ยปรากฏวา่ สนุ ทรภู่ เอย่ ถึงช่ือดวงดาวตา่ ง ๆ ดว้ ยภาษาโหร เชน่ ดาวเรือไชยหรือดาวสาเภาทอง ดาวธง ดาวโลง ดาวกา ดาว หามผี ทงั้ ยงั บรรยายถึงคาทานายโบร่าโบราณเชน่ \"แมน้ ดาวกามาใกลใ้ นมนษุ ย์ จะมว้ ยมดุ มรณาเป็น หา่ โหง\" ดงั นีเ้ ป็นตน้ การท่ีสนุ ทรภ่มู ีความรอบรูม้ ากมายและรอบดา้ นเชน่ นี้ สนั นิษฐานวา่ สนุ ทรภ่นู า่ จะสามารถเขา้ ถึง แหลง่ ขอ้ มลู ดา้ นเอกสารสาคญั ซง่ึ มีอยเู่ ป็นจานวนคอ่ นขา้ งนอ้ ยเน่ืองจากเป็นช่วงหลงั การเสียกรุงศรี อยธุ ยาไมน่ านทงั้ นีเ้ น่ืองมาจากตาแหนง่ หนา้ ท่ีการงานของสนุ ทรภนู่ ่นั เอง นอกจากนีก้ ารท่ีสนุ ทรภมู่ ี แนวคิดสมยั ใหมแ่ บบตะวนั ตก จนไดส้ มญาวา่ เป็น \"มหากวีกระฎมุ พี\"ยอ่ มมีความเป็นไปไดท้ ่ีสนุ ทรภซู่ ง่ึ มีพืน้ อปุ นิสยั ใจคอกวา้ งขวางชอบคบคนมาก น่าจะไดร้ ูจ้ กั มกั จ่ีกบั ชาวตา่ งประเทศและพอ่ คา้ ชาวตะวนั ตก ปราโมทย์ ทศั นาสวุ รรณ เหน็ วา่ บางทีสนุ ทรภอู่ าจจะพดู ภาษาองั กฤษไดก้ ็เป็นไดอ้ นั เป็น ท่ีมาของการท่ีพระอภยั มณีและสนิ สมทุ รสามารถพดู ภาษาตา่ งประเทศไดห้ ลายภาษา รวมถงึ เร่อื งราว
7 โพน้ ทะเลและช่ือดินแดนตา่ ง ๆ ท่ีเหลา่ นกั เดนิ เรือนา่ จะเลา่ ใหส้ นุ ทรภฟู่ ัง แตไ่ มว่ า่ สนุ ทรภจู่ ะไดร้ บั ขอ้ มลู โพน้ ทะเลจากเหลา่ สหายของเขาหรอื ไม่ สนุ ทรภกู่ ็ยงั พรรณนาถงึ เร่ืองลา้ ยคุ ลา้ สมยั มากมายท่ีแสดงถึง จินตนาการของเขาเอง อนั เป็นส่งิ ท่ียงั ไมไ่ ดป้ รากฏหรือสาเร็จขนึ้ ในยคุ สมยั นนั้ เชน่ ในผลงานเร่อื ง พระ อภยั มณี มีเรือเดนิ สมทุ รขนาดใหญ่ท่ีสามารถปลกู ตกึ ปลกู สวนไวบ้ นเรือได้ นางละเวงมีหีบเสียงท่ีเลน่ ไดเ้ อง (ดว้ ยไฟฟา้ ) หรือเรอื สะเทนิ นา้ สะเทนิ บกของพราหมณโ์ มรา สนุ ทรภ่ไู ดร้ บั ยกยอ่ งวา่ เป็นจินตกวีท่ี มีช่ือเสียงผหู้ นง่ึ แหง่ ยคุ สมยั ปรากฏเนือ้ ความยืนยนั อยใู่ นหนงั สือ ประวตั สิ นุ ทรภู่ ของพระยาปรยิ ตั ิ ธรรมธาดา (แพ ตาละลกั ษมณ)์ ความวา่ \"ในแผน่ ดนิ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั นนั้ ฝ่ าย จินตกวีมีช่ือคือหมายเอาสมเดจ็ พระพทุ ธเจา้ อยหู่ วั เป็นประธานแลว้ มีทา่ นท่ีไดร้ ูเ้ ร่ืองราวในทางนีก้ ลา่ ว วา่ พระองคม์ ีเอตทคั คสาวกในการสโมสรกาพยก์ ลอนโคลงฉณั ทอ์ ยู่ ๖ นาย คอื พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลา้ ฯ ๑ ทา่ นสนุ ทรภู่ ๑ นายทรงใจภกั ดิ์ ๑ พระยาพจนาพิมล (วนั รตั ทองอย)ู่ ๑ กรมขนุ ศรสี นุ ทร ๑ พระ นายไวย ๑ ภายหลงั เป็นพระยากรุง (ช่ือเผือก) ๑ ในหกทา่ นนีแ้ ล ไดร้ บั ตน้ ประชนั แขง่ ขนั กนั อยเู่ สมอ ทกั ษะอีกประการหนง่ึ ของสนุ ทรภไู่ ดแ้ ก่ ความเช่ียวชานาญในการเลือกใชถ้ อ้ ยคาอยา่ งเหมาะสมเพ่ือ ใชพ้ รรณนาเนือ้ ความในกวีนิพนธข์ องตน โดยเฉพาะในงานประพนั ธป์ ระเภทนริ าศ ทาใหผ้ อู้ า่ นแลเห็น ภาพหรอื ไดย้ ินเสียงราวกบั ไดร้ ว่ มเดินทางไปกบั ผปู้ ระพนั ธด์ ว้ ย สนุ ทรภยู่ งั มีไหวพรบิ ปฏิภาณในการ ประพนั ธ์ กลา่ วไดว้ า่ ไมเ่ คยจนถอ้ ยคาท่ีจะใช้ เลา่ วา่ ครงั้ หน่งึ เม่ือภิกษุภอู่ อกจารกิ จอดเรืออยู่ มีชาวบา้ น นาภตั ตาหารจะมาถวาย แตว่ า่ คาถวายไมเ่ ป็น ภิกษุภ่จู งึ สอนชาวบา้ นใหว้ ่าคาถวายเป็นกลอนตาม ส่งิ ของท่ีจะถวายวา่ \"อมิ สั มงิ รมิ ฝ่ัง อมิ งั ปลารา้ กุง้ แหง้ แตงกวา อีกปลาดกุ ยา่ ง ชอ่ มะกอกดอกมะปราง เนือ้ ยา่ งยามะดนั ขา้ วสกุ คอ่ นขนั นา้ มนั ขวดหน่งึ นา้ ผงึ้ ครง่ึ โถ สม้ โอแชอ่ ่มิ ทบั ทิมสองผล เป็นยอดกศุ ล สงั ฆสั สะ เทม\"ิ อนั วา่ \"กวี\" นนั้ แบง่ ไดเ้ ป็น 4 จาพวกคือ จินตกวี ผแู้ ตง่ โดยความคดิ ของตน สตุ กวี ผแู้ ตง่ ตามท่ีไดย้ ินไดฟ้ ังมา อรรถกวี ผแู้ ตง่ ตามเหตกุ ารณท์ ่ีเกิดขนึ้ จรงิ และ ปฏิภาณกวี ผมู้ ีความสามารถใช้ ปฏิภาณแตง่ กลอนสด เม่ือพจิ ารณาจากความรูแ้ ละทกั ษะทงั้ ปวงของสนุ ทรภ่อู าจลงความเห็นไดว้ า่ สนุ ทรภเู่ ป็นมหากวีเอกท่ีมีความสามารถครบทงั้ 4 ประการอยา่ งแทจ้ รงิ 2.4 การสร้างวรรณกรรม งานประพนั ธว์ รรณคดีในยคุ ก่อนหนา้ สนุ ทรภู่ คือยคุ อยธุ ยาตอนปลาย ยงั เป็นวรรณกรรมสาหรบั ชนชนั้ สงู ไดแ้ ก่ราชสานกั และขนุ นาง เป็นวรรณกรรมท่ีสรา้ งขนึ้ เพ่ือการอา่ นและเพ่ือความรูห้ รือพธิ ีการ เชน่ กาพยม์ หาชาติ หรือ พระมาลยั คาหลวงทวา่ งานของสนุ ทรภเู่ ป็นการปฏิวตั ิการสรา้ งวรรณกรรม แหง่ ยคุ รตั นโกสินทรค์ อื เป็นวรรณกรรมสาหรบั คนท่วั ไป เป็นวรรณกรรมสาหรบั การฟังและความบนั เทิง
8 เหน็ ไดจ้ ากงานเขียนนิราศเร่ืองแรกคือ นริ าศเมืองแกลง มีท่ีระบไุ วใ้ นตอนทา้ ยของนิราศวา่ แตง่ มาฝาก แมจ่ นั รวมถงึ ใน นริ าศพระบาท และ นิราศภเู ขาทอง ซ่งึ มีถอ้ ยคาส่ือสารกบั ผอู้ า่ นอยา่ งชดั เจน วรรณกรรมเหลา่ นีไ้ มใ่ ชว่ รรณกรรมสาหรบั การศกึ ษา และไมใ่ ชส่ าหรบั พธิ ีการ สาหรบั วรรณกรรมท่ี สรา้ งขนึ้ โดยหนา้ ท่ีตามท่ีไดร้ บั พระบรมราชโองการ มีปรากฏถึงปัจจบุ นั ไดแ้ ก่ เสภาเร่ืองขนุ ชา้ งขนุ แผน ตอน กาเนิดพลายงาม ในสมยั รชั กาลท่ี 2 และ เสภาพระราชพงศาวดาร ในสมยั รชั กาลท่ี 4 สว่ นท่ีแตง่ ขนึ้ เพ่ือถวายแดอ่ งคอ์ ปุ ถมั ภ์ ไดแ้ ก่ สงิ หไตรภพ เพลงยาวถวายโอวาท สวสั ดริ กั ษา บทเห่กลอ่ มพระ บรรทม และ บทละครเร่ือง อภยั นรุ าช งานประพนั ธข์ องสนุ ทรภ่เู กือบทงั้ หมดเป็นกลอนสภุ าพ ยกเวน้ พระไชยสรุ ยิ า ท่ีประพนั ธเ์ ป็นกาพย์ และ นิราศสพุ รรณ ท่ีประพนั ธเ์ ป็นโคลง ผลงานส่วนใหญ่ของสนุ ทร ภ่เู กิดขนึ้ ในขณะตกยาก คือเม่ือออกบวชเป็นภิกษุและเดนิ ทางจารกิ ไปท่วั ประเทศ สนุ ทรภนู่ า่ จะได้ บนั ทกึ การเดนิ ทางของตนเอาไวเ้ ป็นนริ าศตา่ ง ๆ จานวนมาก แตห่ ลงเหลือปรากฏมาถงึ ปัจจบุ นั เพียง 9 เร่อื งเทา่ นนั้ เพราะงานเขียนสว่ นใหญ่ของสนุ ทรภถู่ กู ปลวกทาลายไปเสียเกือบหมดเม่ือครงั้ จาพรรษา อยทู่ ่ีวดั เทพธิดาราม 2.5 แนวทางการประพันธ์ สนุ ทรภชู่ านาญงานประพนั ธป์ ระเภทกลอนสภุ าพอยา่ งวเิ ศษ ไดร้ เิ รม่ิ การใชก้ ลอนสภุ าพมาแตง่ กลอนนิทาน โดยมี โคบตุ ร เป็นเร่อื งแรก ซ่งึ แตเ่ ดมิ มากลอนนทิ านเทา่ ท่ีปรากฏมาแตค่ รงั้ กรุงศรีอยธุ ยา ลว้ นแตเ่ ป็นกลอนกาพยท์ งั้ สนิ้ นายเจือ สตะเวทิน ไดก้ ลา่ วยกยอ่ งสนุ ทรภ่ใู นการรเิ ร่มิ ใชก้ ลอนสภุ าพ บรรยายเร่อื งราวเป็นนิทานว่า \"ทา่ นสนุ ทรภู่ ไดเ้ ร่มิ ศกั ราชใหมแ่ หง่ การกวีของเมืองไทย โดยสรา้ งโคบตุ ร ขนึ้ ดว้ ยกลอนสภุ าพ นบั ตงั้ แตเ่ ดมิ มา เร่อื งนิทานมกั เขียนเป็นลิลติ ฉนั ท์ หรือกาพยส์ นุ ทรภ่เู ป็นคนแรกท่ี เสนอศลิ ปะของกลอนสภุ าพ ในการสรา้ งนิทานประโลมโลก และก็เป็นผลสาเรจ็ โคบตุ รกลายเป็น วรรณกรรมแบบฉบบั ท่ีนกั แตง่ กลอนทงั้ หลายถือเป็นครู นบั ไดว้ า่ โคบตุ รมีสว่ นสาคญั ย่งิ ในประวตั ิ วรรณคดขี องชาตไิ ทย\"สนุ ทรภู่ยงั ไดป้ ฏิวตั ขิ นบการประพนั ธน์ ิราศดว้ ยดว้ ยแตเ่ ดมิ มาขนบการเขียน นิราศยงั นยิ มเขียนเป็นโคลง ลกั ษณะการประพนั ธแ์ บบเพลงยาว (คือการประพนั ธก์ ลอน) ยงั ไมเ่ รียกวา่ นริ าศ แมน้ ิราศรบพมา่ ท่ีทา่ ดนิ แดง เดมิ ก็เรียกวา่ เป็นเพลงยาวจดหมายเหตุ มาเปล่ียนการเรียกเป็น นิราศในชนั้ หลงั สนุ ทรภ่เู ป็นผรู้ เิ รม่ิ การแตง่ กลอนนริ าศเป็นคนแรกและทาใหก้ ลอนนิราศเป็นท่ีนิยม แพรห่ ลายโดยการนารูปแบบของเพลงยาวจดหมายเหตมุ าผสมกบั คาประพนั ธป์ ระเภทกาสรวลกลวธิ ี
9 การประพนั ธท์ ่ีพรรณนาความระหวา่ งเสน้ การเดนิ ทางกบั ประสบการณต์ า่ งๆในชีวิตก็เป็น ลกั ษณะเฉพาะของสนุ ทรภ่ซู ่งึ ผอู้ ่ืนจะประพนั ธใ์ นแนวทางเดียวกนั นีใ้ หไ้ ดใ้ จความไพเราะและจบั ใจเทา่ สนุ ทรภ่กู ็ยงั ยาก มิใชแ่ ตเ่ พียงฝีมือกลอนเท่านนั้ ทวา่ ประสบการณข์ องผปู้ ระพนั ธจ์ ะเทียบกบั สนุ ทรภกู่ ็ มิไดด้ ว้ ยเหตนุ ีก้ ลอนนิราศของสนุ ทรภจู่ งึ โดดเดน่ เป็นท่ีรูจ้ กั ย่งิ กวา่ กลอนนริ าศของผใู้ ดและเป็นตน้ แบบ ของการแตง่ นริ าศในเวลาตอ่ มา อย่างไรก็ดี นอกเหนือจากงานกลอน สนุ ทรภ่กู ็มีงานประพนั ธใ์ น รูปแบบอ่ืนอีก เชน่ พระไชยสรุ ยิ า ท่ีประพนั ธเ์ ป็นกาพยท์ งั้ หมด ประกอบดว้ ยกาพยย์ านี กาพยฉ์ บงั และ กาพยส์ รุ างคนางค์ สว่ น นริ าศสพุ รรณ เป็นนริ าศเพียงเร่ืองเดียวท่ีแตง่ เป็นโคลง ชะรอยจะแตง่ เพ่ือลบ คาสบประมาทว่าแตง่ ไดแ้ ตเ่ พียงกลอน แตก่ ารแตง่ โคลงคงจะไมถ่ นดั เพราะไมป่ รากฏวา่ สนุ ทรภแู่ ตง่ กวีนพิ นธเ์ ร่อื งอ่ืนใดดว้ ยโคลงอีกวรรณกรรมอนั เป็นท่ีเคลือบแคลง ในอดีตเคยมีความเขา้ ใจกนั วา่ สนุ ทรภ่เู ป็นผแู้ ตง่ นริ าศพระแทน่ ดงรงั แตต่ อ่ มา ธนิต อยโู่ พธิ์ ผเู้ ช่ียวชาญวรรณคดไี ทยและอดีตอธิบดี กรมศลิ ปากร ไดแ้ สดงหลกั ฐานวเิ คราะหว์ า่ สานวนการแตง่ นิราศพระแทน่ ดงรงั ไมน่ า่ จะใชข่ องสนุ ทรภู่ เม่ือพจิ ารณาประกอบกบั เนือ้ ความ เปรียบเทียบกบั เหตกุ ารณใ์ นชีวิตของสนุ ทรภู่ และกระบวนสานวน กลอนแลว้ จงึ สรุปไดว้ า่ ผแู้ ตง่ นริ าศพระแทน่ ดงรงั คือ นายมี หรอื เสมียนมี หม่ืนพรหมสมพกั สร ผแู้ ตง่ นิราศถลาง วรรณกรรมอีกชิน้ หนง่ึ ท่ีคาดว่าไมใ่ ชฝ่ ีมือแตง่ ของสนุ ทรภู่ คือ สภุ าษิตสอนหญิง แตน่ า่ จะ เป็นผลงานของนายภู่ จลุ ละภมร ซง่ึ เป็นศษิ ย์ เน่ืองจากงานเขียนของสนุ ทรภฉู่ บบั อ่ืน ๆ ไมเ่ คยขนึ้ ตน้ ดว้ ยการไหวค้ รู ซง่ึ แตกตา่ งจากสภุ าษิตสอนหญิงฉบบั นี้ นอกจากนีย้ งั มีวรรณกรรมอ่ืน ๆ ท่ีสงสยั วา่ อาจจะเป็นผลงานของสนุ ทรภู่ ไดแ้ ก่ เพลงยาวสภุ าษิตโลกนติ ิ ตารายาอฐั กาล (ตาราบอกฤกษย์ าม เดนิ ทาง) สบุ นิ นมิ ิตคากลอน และตาราเศษนารี การตีพิมพ์ เผยแพร่ และดดั แปลงผลงาน ในยคุ สมยั ของสนุ ทรภู่ การเผยแพรง่ านเขียนจะเป็นไปไดโ้ ดยการคดั ลอกสมดุ ไทย ซง่ึ ผคู้ ดั ลอกจา่ ยคา่ เร่ืองใหแ้ กผ่ ปู้ ระพนั ธ์ ดงั ท่ีสมเดจ็ ฯ กรมพระยาดารงราชานภุ าพไดส้ นั นิษฐานไวว้ า่ สนุ ทรภแู่ ตง่ เร่อื ง พระอภยั มณี ขายเพ่ือเลีย้ งชีพ ดงั นีจ้ งึ ปรากฏงานเขียนของสนุ ทรภทู่ ่ีเป็นฉบบั คดั ลอกปรากฏตามท่ีตา่ ง ๆ หลายแหง่ จนกระท่งั ถงึ ช่วงวยั ชราของสนุ ทรภู่ การพมิ พจ์ งึ เร่มิ เขา้ มายงั ประเทศไทย โดยมีสมเดจ็ ฯ เจา้ ฟ้ามงกฎุ ทรงใหก้ ารสนบั สนนุ โรงพิมพใ์ นยคุ แรกเป็นโรงพิมพห์ ลวงตพี ิมพห์ นงั สือราชการเทา่ นนั้ สว่ นโรงพมิ พท์ ่ีพิมพห์ นงั สือท่วั ไปเร่ิมขนึ้ ในชว่ งตน้ พทุ ธศตวรรษท่ี 25 (ตงั้ แต่ พ.ศ. 2401 เป็นตน้ ไป) โรง พมิ พข์ องหมอสมทิ ท่ีบางคอแหลม เป็นผนู้ าผลงานของสนุ ทรภไู่ ปตพี มิ พเ์ ป็นครงั้ แรกเม่ือ พ.ศ. 2413 คือ เร่อื ง พระอภยั มณี ซ่งึ เป็นท่ีนิยมอยา่ งสงู ขายดมี ากจนหมอสมทิ สามารถทารายไดส้ งู ขนาดสรา้ งตกึ เป็น
10 ของตวั เองได้ หลงั จากนนั้ หมอสมทิ และเจา้ ของโรงพมิ พอ์ ่ืน ๆ ก็พากนั หาผลงานเร่ืองอ่ืนของสนุ ทรภมู่ า ตีพมิ พจ์ าหนา่ ยซา้ อีกหลายครงั้ ผลงานของสนุ ทรภไู่ ดต้ พี ิมพใ์ นสมยั รชั กาลท่ี 5 จนหมดทกุ เร่ือง แสดง ถึงความนิยมเป็นอยา่ งมาก สาหรบั เสภาเร่ือง พระราชพงศาวดาร กบั เพลงยาวถวายโอวาท ไดต้ พี ิมพ์ เทา่ ท่ีจากนั ได้ เพราะตน้ ฉบบั สญู หาย จนกระท่งั ตอ่ มาไดต้ น้ ฉบบั ครบบรบิ รู ณจ์ งึ พิมพใ์ หมต่ ลอดเร่ืองใน สมยั รชั กาลท่ี 6 2.6 การแปลผลงานเป็ นภาษาอนื่ ผลงานของสนุ ทรภไู่ ดร้ บั การแปลเป็นภาษาตา่ ง ๆ ดงั นี้ •ภาษาไทยถ่ินเหนือ : พญาพรหมโวหาร กวีเอกของลา้ นนาแปล พระอภยั มณีคากลอน เป็นคา่ วซอ ตามความประสงคข์ องเจา้ แมท่ ิพเกสร แตไ่ มจ่ บเร่ือง ถงึ แคต่ อนท่ีศรีสวุ รรณอภิเษกกบั นางเกษรา • ภาษาเขมร : ผลงานของสนุ ทรภทู่ ่ีแปลเป็นภาษาเขมรมีสามเร่ือง • พระอภยั มณี ไมป่ รากฏช่ือผแู้ ปล แปลถงึ แคต่ อนท่ีนางผีเสือ้ สมทุ รลกั พระอภยั มณีไปไวใ้ นถา้ เทา่ นนั้ • ลกั ษณวงศ์ แปลโดย ออกญาปัญญาธิบดี (แยม) • สภุ าษิตสอนหญิง หรอื สภุ าษิตฉบบั สตรี แปลโดยออกญาสตุ ตนั ตปรีชา (อินทร)์ • ภาษาองั กฤษ : ผลงานของสนุ ทรภทู่ ่ีแปลเป็นภาษาองั กฤษไดแ้ ก่ • พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ เปรมบรุ ฉัตร ทรงแปลเร่ือง พระอภยั มณี เป็นภาษาองั กฤษทงั้ เร่อื ง เม่ือปี พ.ศ. 2495 • นริ าศเมืองเพชร ฉบบั ไทย-องั กฤษ เป็นหนงั สือฉบบั พกพาสองภาษา ไทย-องั กฤษ แปลเป็น ภาษาองั กฤษโดยเสาวณีย์ นวิ าศะบตุ ร พิมพค์ รงั้ แรกในเดือน มถิ นุ ายน พ.ศ. 2556 จดั จาหนา่ ยโดย บรษิ ทั เคลด็ ไทย จากดั ใบปิดภาพยนตรก์ ารต์ นู \"สดุ สาคร\" ของ ปยตุ เงากระจา่ ง 2.7 ละคร การนากลอนนิทานเร่ือง สิงหไตรภพ มาดดั แปลงเป็นละครหลายครงั้ โดยมากมกั เปล่ียนช่ือเป็น สงิ หไกรภพ โดยเป็นละครโทรทศั นแ์ นวจกั ร ๆ วงศ์ ๆ และละครเพลงรว่ มสมยั โดยภทั ราวดเี ธียเตอร์ [43]นอกจากนีม้ ีเร่ือง ลกั ษณวงศ์ และพระอภยั มณี ท่ีมีการนาเนือ้ หาบางสว่ นมาดดั แปลง ตอนท่ีนิยม นามาดดั แปลงมากท่ีสดุ คือ เร่อื งของสดุ สาคร
11 ลกั ษณวงศ์ ยงั ไดน้ าไปแสดงเป็นละครนอก โดยศนู ยศ์ ลิ ปวฒั นธรรมแหง่ ชาตภิ าคตะวนั ตก จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ในปี พ.ศ. 2552 มีกาหนดการแสดงหลายรอบในเดือนพฤศจิกายน 2.8 ภาพยนตร์ • พ.ศ. 2509 ภาพยนตร์ พระอภยั มณี ฉบบั ของ ครูรงั สี ทศั นพยคั ฆ์ นาแสดงโดย มิตร ชยั บญั ชา - เพ ชรา เชาวราษฎร์ • พ.ศ. 2522 ภาพยนตรก์ ารต์ นู \"สดุ สาคร\" ผลงานสรา้ งของ ปยตุ เงากระจา่ ง • พ.ศ. 2545 ภาพยนตร์ พระอภยั มณี ผลิตโดย ซอฟตแ์ วร์ ซพั พลายส์ อินเตอรเ์ นช่ลั แนล กากบั โดย ชลทั ศรวี รรณา จบั ความตงั้ แตเ่ ร่มิ เร่อื ง ไปจนถึงตอน นางเงือกพาพระอภยั มณีหนีจากนางผีเสือ้ สมทุ ร และพระอภยั มณีเป่าป่ีสงั หารนาง • พ.ศ. 2549 โมโนฟิลม์ ไดส้ รา้ งภาพยนตรจ์ ากเร่อื ง พระอภยั มณี เร่อื ง สดุ สาคร โดยจบั ความตงั้ แต่ กาเนิดสดุ สาคร จนสิน้ สดุ ท่ีการเดนิ ทางออกจากเมืองการะเวกเพ่ือติดตามหาพระอภยั มณี • พ.ศ. 2549 ภาพยนตรก์ ารต์ นู เร่ือง สิงหไกรภพ ความยาว 40 นาที 2.9 เพลง บทประพนั ธจ์ ากเร่ือง พระอภยั มณี ตอน พระอภยั มณีเกีย้ วนางละเวง ไดน้ าไปดดั แปลงเลก็ นอ้ ย กลายเป็นเพลง \"คาม่นั สญั ญา\" ประพนั ธท์ านองโดย สรุ พล แสงเอก บนั ทกึ เสียงครงั้ แรกโดย ปรชี า บญุ ยเกียรติ ใจความดงั นี้ ถึงมว้ ยดนิ สิน้ ฟา้ มหาสมทุ ร ไมส่ ิน้ สดุ ความรกั สมคั รสมาน แมอ้ ยใู่ นใตห้ ลา้ สธุ าธาร ขอพบพานพิศวาสไมค่ ลาดคลา แมเ้ นือ้ เยน็ เป็นหว้ งมหรรณพ พ่ีขอพบศรีสวสั ดเิ์ ป็นมจั ฉา แมเ้ ป็นบวั ตวั พ่ีเป็นภมุ รา เชยผกาโกสมุ ปทมุ ทอง แมเ้ ป็นถา้ อาไพใครเ่ ป็นหงส์ จะรอ่ นลงสงิ สเู่ ป็นคสู่ อง ขอติดตามทรามสงวนนวลละออง เป็นคคู่ รองพิศวาสทกุ ชาตไิ ป อีกเพลงหนง่ึ คอื เพลง \"รสตาล\" ของครูเอือ้ สนุ ทรสนาน คารอ้ งโดยสรุ พล โทณะวนิก ซง่ึ ใชน้ ามปากกา วา่ วงั สนั ตไ์ ดแ้ รงบนั ดาลใจจากบทกลอนของสนุ ทรภู่ เร่ือง นิราศพระบาท[46] เนือ้ หาดงั นี้ เจา้ ของตาลรกั หวานขนึ้ ปีนตน้ เพราะดนั้ ดน้ อยากลิม้ ชมิ รสหวาน ครนั้ ไดร้ สสดสาวจากจาวตาล ยอ่ มซาบซ่านหวานซงึ้ ตรงึ ถึงทรวง ไหนจะยอมใหเ้ จา้ หลน่ ลงเจ็บอก เพราะอยากวกขนึ้ ลนิ้ ชิมของหวง
12 อนั รสตาลหวานละมา้ ยคลา้ ยพมุ่ พวง พ่ีเจ็บทรวงชา้ อกเหมือนตกตาล 2.10 หนังสอื และการต์ ูน งานเขียนของสนุ ทรภ่โู ดยเฉพาะกลอนนิทานเร่อื งพระอภยั มณี จะถกู นามาเรยี บเรียงเขียนใหมโ่ ดย นกั เขียนจานวนมาก เชน่ พระอภยั มณีฉบบั รอ้ ยแกว้ ของเปรมเสรี หรอื หนงั สือการต์ นู อภยั มณีซากา้ อีกเร่อื งหนง่ึ ท่ีมีการนามาสรา้ งใหมเ่ ป็นหนงั สือการต์ นู คอื สิงหไตรภพ ในหนงั สือ ศกึ อศั จรรยส์ งิ หไกร ภพ ท่ีเขียนใหมเ่ ป็นการต์ นู แนวมงั งะ 2.11 ช่อื เสียงและคาวจิ ารณ์ สนุ ทรภนู่ บั เป็นผมู้ ีบทบาทสาคญั ในการสรา้ งวรรณคดีประเภทรอ้ ยกรอง หรอื \"กลอน\" ใหเ้ ป็นท่ี นิยมแพรห่ ลาย ทงั้ ยงั วางจงั หวะวิธีในการประพนั ธแ์ บบใหมใ่ หแ้ กก่ ารแต่งกลอนสภุ าพดว้ ย เนาวรตั น์ พงษไ์ พบลู ย์ กวีรตั นโกสินทร์ ยกยอ่ งความสามารถของสนุ ทรภวู่ า่ \"พระคณุ ครูศกั ดิส์ ิทธิ์คดิ สรา้ งสรรค์ ครูสรา้ งคาแปดคาใหส้ าคญั \" สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ ทรงพระนิพนธไ์ ว้ ในหนงั สือ \"ประวตั สิ นุ ทรภ่\"ู วา่ ดว้ ยเกียรตคิ ณุ ของสนุ ทรภวู่ า่ \"ถา้ จะลองใหเ้ ลือกกวีไทยบรรดาท่ีมี ช่ือเสียงปรากฏมาในพงศาวดารคดั เอาแตท่ ่ีวเิ ศษสดุ เพียง 5 คน ใคร ๆ เลือกก็เหน็ จะเอาช่ือสนุ ทรภไู่ วใ้ น กวีหา้ คนนนั้ ดว้ ย\" เปลือ้ ง ณ นคร ไดร้ วบรวมประวตั วิ รรณคดไี ทยในยคุ สมยั ตา่ งๆนบั แตส่ มยั สโุ ขทยั ไป จนถึงสมยั รฐั ธรรมนญู (คือสมยั ปัจจบุ นั ในเวลาท่ีประพนั ธ)์ โดยไดย้ กย่องวา่ \"สมยั พทุ ธเลศิ หลา้ เป็นจดุ ยอดแหง่ วรรณคดีประเภทกาพยก์ ลอน ตอ่ จากสมยั นีร้ ะดบั แหง่ กาพยก์ ลอนก็ต่าลงทกุ ที จนอาจกลา่ ว ไดว้ า่ เราไมม่ ีหวงั อีกแลว้ ท่ีจะไดค้ ากลอนอยา่ งเสภาเร่อื งขนุ ชา้ งขนุ แผน และเร่อื งพระอภยั มณี\"โดยท่ีใน สมยั ดงั กลา่ วมีสนุ ทรภเู่ ป็น\"บรมครูทางกลอนแปดและกวีเอก\"ซง่ึ สรา้ งผลงานอนั เป็นท่ีรูจ้ กั และนยิ ม แพรห่ ลายในหมปู่ ระชาชน ทงั้ นีเ้ น่ืองจากกวีนิพนธใ์ นยคุ กอ่ นมกั เป็นคาฉนั ทห์ รือลลิ ิตซ่งึ ประชาชนเขา้ ไมถ่ ึง สนุ ทรภ่ไู ดป้ ฏิวตั งิ านกวีนพิ นธแ์ ละสรา้ งขนบการแตง่ กลอนแบบใหมข่ นึ้ มา จนเป็นท่ีเรยี กกนั ท่วั ไป วา่ \"กลอนตลาด\" เพราะเป็นท่ีนยิ มอยา่ งมากในหมชู่ าวบา้ นน่นั เอง นิธิ เอียวศรีวงศ์ เหน็ วา่ สนุ ทรภู่ นา่ จะเป็นผมู้ ีอทิ ธิพลอยา่ งมากในสงั คมกระฎมุ พีชว่ งตน้ รตั นโกสินทร์ กระฎมุ พีเหล่านีล้ ว้ นเป็นผเู้ สพ ผลงานของสนุ ทรภู่ และเหน็ สาเหตหุ น่งึ ท่ีผลงานของสนุ ทรภ่ไู ดร้ บั การตอบรบั เป็นอย่างดีเพราะ สอดคลอ้ งกบั ความคดิ ความเช่ือของผอู้ า่ นน่นั เอง นอกเหนือจากความนยิ มในหม่ปู ระชาชนชาวสยาม ช่ือเสียงของสนุ ทรภยู่ งั แพรไ่ ปไกลย่งิ กวา่ กวีใด ๆ ใน เพลงยาวถวายโอวาท สนุ ทรภ่กู ลา่ วถงึ ตวั เองวา่
13 \"อยา่ งหมอ่ มฉนั อนั ท่ีดแี ละช่วั ถึงลบั ตวั แตก่ ็ช่ือเขาลือฉาว เป็นอาลกั ษณน์ กั เลงทาเพลงยาว เขมรลาว ลือเล่ืองถึงเมืองนคร\" ขอ้ ความนีท้ าใหท้ ราบวา่ ช่ือเสียงของสนุ ทรภ่เู ล่ืองลือไปไกลนอกเขต ราชอาณาจกั รไทย แตไ่ ปถึงอาณาจกั รเขมรและเมืองนครศรธี รรมราชทีเดียว คณุ วิเศษแหง่ ความเป็นกวีของสนุ ทรภ่จู งึ อยใู่ นระดบั กวีเอกของชาติ ศจ.เจือ สตะเวทิน เอย่ ถึงสนุ ทรภู่ โดยเปรียบเทียบกบั กวีเอกของประเทศตา่ ง ๆ วา่ \"สนุ ทรภ่มู ีศลิ ปะไมแ่ พล้ ามาตนี ฮโู ก หรอื บลั ซคั แหง่ ฝร่งั เศส... มีจิตใจและวญิ ญาณสงู อาจจะเทา่ เฮเนเลนอ แหง่ เยอรมนี หรือลิโอปารดี และมนั โซนีแหง่ อติ าลี\"สนุ ทรภ่ยู งั ไดร้ บั ยกยอ่ งวา่ เป็น \"เชกสเปียรแ์ หง่ ประเทศไทย\"งานวิจยั ทนุ ฟลุ ไบรท-์ เฮยส์ ของคา เรน แอนน์ แฮมลิ ตนั ไดเ้ ปรยี บเทียบสนุ ทรภเู่ สมือนหน่งึ เชกสเปียรห์ รือชอเซอรแ์ หง่ วงการวรรณกรรม ไทย เกียรติคุณและอนุสรณ์ อนุสาวรียส์ ุนทรภู่ที่ วดั ศรีสุดาราม บคุ คลสาคญั ของโลก (ดา้ นวรรณกรรม)ปี พ.ศ. 2529 ในโอกาสครบรอบวนั เกิด 200 ปีของสนุ ทรภู่ องคก์ ารยเู นสโกไดป้ ระกาศใหส้ นุ ทรภู่ เป็นบคุ คลสาคญั ของโลกทางดา้ นวรรณกรรม นบั เป็นชาวไทย คนท่ี 5 และเป็นสามญั ชนชาวไทยคนแรกท่ีไดร้ บั เกียรตนิ ี้ ในปีนนั้ สมาคมภาษาและหนงั สือแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภจ์ งึ ไดจ้ ดั พิมพเ์ ผยแพรห่ นงั สือ \"อนสุ รณส์ นุ ทรภู่ 200 ปี\" และมีการ จดั ตงั้ สถาบนั สนุ ทรภขู่ นึ้ เพ่ือสง่ เสรมิ กิจกรรมเก่ียวกบั การเผยแพรช่ ีวิตและผลงานของสนุ ทรภ่ใู หเ้ ป็นท่ี รูจ้ กั กนั อยา่ งกวา้ งขวางมากย่งิ ขนึ้ 2.12 อนุสาวรยี ส์ ุนทรภู่ที่ วัดศรสี ุดาราม อนสุ าวรยี ส์ นุ ทรภ่แู หง่ แรก สรา้ งขนึ้ ท่ี ต.กร่า อ.แกลง จ.ระยอง ซ่งึ เป็นบา้ นเกิดของทา่ นบดิ าของ สนุ ทรภู่ โดยวางศลิ าฤกษเ์ ม่ือวนั ท่ี 30 ธนั วาคม พ.ศ. 2498 อนั เป็นปีท่ีครบรอบ 100 ปีการถึงแก่ อนจิ กรรมของสนุ ทรภู่ และมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเม่ือวนั ท่ี 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ภายใน อนสุ าวรียม์ ีหนุ่ ปั้นของสนุ ทรภู่ และตวั ละครในวรรณคดีเร่ืองเอกของทา่ นคอื พระอภยั มณี ท่ีดา้ นหนา้ อนสุ าวรียม์ ี หมดุ กวี หมดุ ท่ี 24 ปักอย[ู่ 49] ยงั มีอนสุ าวรียส์ นุ ทรภ่ทู ่ีจงั หวดั อ่ืน ๆ อีก ไดแ้ ก่ ท่ีทา่ นา้ หลงั วดั พลบั พลาชยั ตาบลคลองกระแชง อาเภอ เมืองเพชรบรุ ี จงั หวดั เพชรบรุ ี ซ่งึ เป็นจดุ ท่ีสนุ ทรภ่ไู ดเ้ คยมาตามนิราศเมืองเพชร อนั เป็นนิราศเร่ือง สดุ ทา้ ยของทา่ น และเช่ือวา่ เพชรบรุ ีเป็นบา้ นเกิดของมารดาของทา่ นดว้ ย[50] อนสุ าวรียอ์ ีกแหง่ หน่งึ
14 ตงั้ อยทู่ ่ีวดั ศรีสดุ าราม เน่ืองจากเป็นสถานท่ีท่ีเช่ือวา่ ทา่ นไดเ้ ลา่ เรียนเขียนอา่ นเม่ือวยั เยาวท์ ่ีน่ี นอกจากนีม้ ีรูปปั้นหนุ่ ขีผ้ งึ้ สนุ ทรภู่ ตลอดจนหนุ่ ขีผ้ งึ้ ในวรรณคดีเร่ือง พระอภยั มณี จดั แสดงท่ีพพิ ธิ ภณั ฑ์ หนุ่ ขีผ้ งึ้ ไทย จงั หวดั นครปฐม 2.13 พพิ ธิ ภณั ฑ์ กฏุ ิสนุ ทรภู่ หรอื พิพิธภณั ฑส์ นุ ทรภู่ ตงั้ อยทู่ ่ีวดั เทพธิดาราม ถ.มหาไชย กรุงเทพฯ เป็นอาคารซ่งึ ปรบั ปรุงจากกฏุ ิท่ีสนุ ทรภเู่ คยอาศยั อยเู่ ม่ือครงั้ จาพรรษาอยทู่ ่ีน่ี ปัจจบุ นั เป็นท่ีตงั้ ของสมาคมนกั กลอน แหง่ ประเทศไทย และมีการจดั กิจกรรมวนั สนุ ทรภ่เู ป็นประจาทุกปี วนั สนุ ทรภู่ หลงั จากองคก์ ารยเู นสโกไดป้ ระกาศยกยอ่ งใหส้ นุ ทรภเู่ ป็นผมู้ ีผลงานดเี ดน่ ทางวรรณกรรมระดบั โลก เม่ือปี พ.ศ. 2529 ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2530 นายเสวตร เป่ียมพงศส์ านต์ อดีตรองนายกรฐั มนตรี ไดจ้ ดั ตงั้ สถาบนั สนุ ทรภ่ขู นึ้ และกาหนดใหว้ นั ท่ี 26 มิถนุ ายนของทกุ ปี เป็น วนั สนุ ทรภ่นู บั แตน่ นั้ ทกุ ๆปีเม่ือถึงวนั สนุ ทรภู่ จะมีการจดั งานราลึกถึงสนุ ทรภตู่ ามสถานท่ีตา่ ง ๆ เชน่ ท่ีพพิ ิธภณั ฑส์ นุ ทรภู่ วดั เทพธิดาราม และท่ีจงั หวดั ระยอง (ซ่งึ มกั จดั พรอ้ มงานเทศกาลผลไมจ้ งั หวดั ระยอง) รวมถงึ การประกวดแตง่ กลอน ประกวดคาขวญั และการจดั นิทรรศการเก่ียวกบั สนุ ทรภ่ใู นโรงเรยี นตา่ ง ๆ ท่วั ประเทศ 2.14 ชือ่ และผลงาน งานประพนั ธข์ องสนุ ทรภ่เู ทา่ ท่ีมีการคน้ พบในปัจจบุ นั มีปรากฏอยเู่ พียงจานวนหน่งึ และสญู หายไปอีกเป็นจานวนมาก ถึงกระนนั้ ตามจานวนเทา่ ท่ีคน้ พบก็ถือวา่ มีปรมิ าณคอ่ นขา้ งมาก เรยี กไดว้ า่ สนุ ทรภเู่ ป็น \"นกั แตง่ กลอน\" ท่ีสามารถแตง่ กลอนไดร้ วดเรว็ หาตวั จบั ยาก ผลงานของสนุ ทรภ่เู ทา่ ท่ี คน้ พบในปัจจบุ นั มีดงั ตอ่ ไปนี้ 2.15 นิราศ • นิราศเมืองแกลง (พ.ศ. 2349) - แตง่ เม่ือหลงั พน้ โทษจากคกุ และเดนิ ทางไปหาพอ่ ท่ีเมืองแกลง • นริ าศพระบาท (พ.ศ. 2350) - แตง่ หลงั จากกลบั จากเมืองแกลง และตอ้ งตามเสดจ็ พระองคเ์ จา้ ปฐม วงศไ์ ปนมสั การรอยพระพทุ ธบาทท่ีจงั หวดั สระบรุ ีในวนั มาฆบชู า • นิราศภเู ขาทอง (ประมาณ พ.ศ. 2371) - แตง่ โดยสมมตุ วิ า่ เณรหนพู ดั เป็นผแู้ ตง่ ไปนมสั การพระเจดยี ์ ภเู ขาทองท่ีจงั หวดั อยธุ ยา • นริ าศสพุ รรณ (ประมาณ พ.ศ. 2374) - แตง่ เม่ือครงั้ ยงั บวชอยู่ และไปคน้ หายาอายวุ ฒั นะท่ีจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เป็นผลงานเร่อื งเดียวของสนุ ทรภ่ทู ่ีแตง่ เป็นโคลง
15 • นิราศวดั เจา้ ฟา้ (ประมาณ พ.ศ. 2375) - แตง่ เม่ือครงั้ ยงั บวชอยู่ และไปคน้ หายาอายวุ ฒั นะตามลาย แทงท่ีวดั เจา้ ฟ้าอากาศ (ไมป่ รากฏวา่ ท่ีจรงิ คือวดั ใด) ท่ีจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา เทพ สนุ ทรศารทลู เสนอวา่ นริ าศดงั กลา่ วเป็นผลงานของพดั ภ่เู รือหงส์ บตุ รของสนุ ทรภู่ • นิราศอิเหนา (ไมป่ รากฏ, คาดวา่ เป็นสมยั รชั กาลท่ี 3) - แตง่ เป็นเนือ้ เร่อื งอเิ หนาราพนั ถึงนางบษุ บา เทพ สนุ ทรศารทลู เสนอวา่ นิราศดงั กลา่ วเป็นผลงานของกรมหลวงภวู เนตรนรนิ ทรฤทธิ์ • ราพนั พิลาป (พ.ศ. 2385) - แตง่ เม่ือครงั้ จาพรรษาอยทู่ ่ีวดั เทพธิดาราม แลว้ เกิดฝันรา้ ยวา่ ชะตาขาด จงึ บนั ทกึ ความฝันพรอ้ มราพนั ความอาภพั ของตวั ไวเ้ ป็น \"ราพนั พลิ าป\" จากนนั้ จงึ ลาสกิ ขาบท • นิราศพระประธม (พ.ศ. 2385) - เช่ือวา่ แตง่ เม่ือหลงั จากลาสิกขาบทและเขา้ รบั ราชการใน พระบาทสมเดจ็ พระป่ินเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไปนมสั การพระประธมเจดีย์ (หรือพระปฐมเจดีย)์ ท่ีเมืองนครชยั ศรี • นริ าศเมืองเพชร (พ.ศ. 2388) - แตง่ เม่ือเขา้ รบั ราชการในพระบาทสมเดจ็ พระป่ินเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เช่ือ วา่ ไปธรุ ะราชการอยา่ งใดอย่างหน่งึ นิราศเร่ืองนีม้ ีฉบบั คน้ พบเนือ้ หาเพ่มิ เตมิ ซ่งึ อ.ลอ้ ม เพง็ แกว้ เช่ือว่า บรรพบรุ ุษฝ่ ายมารดาของสนุ ทรภ่เู ป็นชาวเมืองเพชรบรุ ี 2.16 นิทาน • โคบตุ ร : เช่ือว่าเป็นงานประพนั ธช์ ิน้ แรกของสนุ ทรภ่เู ป็นเร่ืองราวของ \"โคบตุ ร\" ซ่งึ เป็นโอรสของพระ อาทิตยก์ บั นางอปั สร แตเ่ ตบิ โตขนึ้ มาดว้ ยการเลีย้ งดขู องนางราชสีห์ • พระอภยั มณี : คาดวา่ เรม่ิ ประพนั ธใ์ นสมยั รชั กาลท่ี 2 และแตง่ ๆ หยดุ ๆ เร่ือยมาจนถงึ สมยั รชั กาลท่ี 4 เป็นผลงานชนิ้ เอกของสนุ ทรภู่ ไดร้ บั ยกยอ่ งจากวรรณคดีสโมสรใหเ้ ป็นสดุ ยอดวรรณคดีไทยประเภท กลอนนิทาน • พระไชยสรุ ยิ า : เป็นนทิ านท่ีสนุ ทรภ่แู ตง่ ดว้ ยฉนั ทลกั ษณป์ ระเภทกาพยห์ ลายชนดิ ไดแ้ ก่ กาพยย์ านี 11 กาพยฉ์ บงั 16 และกาพยส์ รุ างคนางค์ 28 เป็นนิทานสาหรบั สอนอา่ น เนือ้ หาเรียงลาดบั ความง่ายไป ยาก จากแม่ ก กา แมก่ น กง กก กด กบ กม และเกย เช่ือวา่ แตง่ ขนึ้ ประมาณ พ.ศ. 2383 - 2385 • ลกั ษณวงศ์ : เป็นนทิ านแนวจกั ร ๆ วงศ์ ๆ ท่ีนาโครงเร่อื งมาจากนิทานพืน้ บา้ น แตม่ ีตอนจบท่ีแตกตา่ ง ไปจากนิทานท่วั ไปเพราะไมไ่ ดจ้ บดว้ ยความสขุ แตจ่ บดว้ ยงานสมโภชศพนางทพิ เกสร ชายาของลกั ษณ วงศท์ ่ีสนิ้ ชีวิตดว้ ยการส่งั ประหารของลกั ษณวงศเ์ อง
16 • สงิ หไกรภพ : เช่ือวา่ เร่มิ ประพนั ธเ์ ม่ือครงั้ ถวายอกั ษรแดเ่ จา้ ฟา้ อาภรณ์ ภายหลงั จงึ แตง่ ถวายกรมหม่ืน อปั สรสดุ าเทพ และนา่ จะหยดุ แตง่ หลงั จากกรมหม่ืนอปั สรสดุ าเทพสนิ้ พระชนม์ สิงหไตรภพเป็นตวั ละครเอกท่ีแตกตา่ งจากตวั พระในเร่อื งอ่ืน ๆ เน่ืองจากเป็นคนรกั เดยี วใจเดยี ว 2.17 สุภาษิต • สวสั ดริ กั ษา : คาดวา่ ประพนั ธใ์ นสมยั รชั กาลท่ี 2 ขณะเป็นพระอาจารยถ์ วายอกั ษรแดเ่ จา้ ฟา้ อาภรณ์ • เพลงยาวถวายโอวาท : คาดวา่ ประพนั ธใ์ นสมยั รชั กาลท่ี 3 ขณะเป็นพระอาจารยถ์ วายอกั ษรแดเ่ จา้ ฟ้ากลางและเจา้ ฟา้ ป๋ิว • สภุ าษิตสอนหญิง : เป็นหน่งึ ในผลงานซ่งึ ยงั เป็นท่ีเคลือบแคลงวา่ สนุ ทรภู่เป็นผปู้ ระพนั ธจ์ รงิ หรือไม่ เทพ สนุ ทรศารทลู เสนอวา่ น่าจะเป็นผลงานของภู่ จลุ ละภมร ศษิ ยข์ องสนุ ทรภ่เู อง 2.18 บทละคร มีการประพนั ธไ์ วเ้ พียงเร่ืองเดียวคือ อภยั นรุ าช ซง่ึ เขียนขนึ้ ในสมยั รชั กาลท่ี 4 เพ่ือถวายพระองคเ์ จา้ ดวง ประภา พระธิดาในพระบาทสมเดจ็ พระป่ินเกลา้ เจา้ อยหู่ วั 2.19 บทเสภา • ขนุ ชา้ งขนุ แผน • เสภาพระราชพงศาวดาร 2.20 บทเหก่ ล่อมพระบรรทม นา่ จะแตง่ ขนึ้ สาหรบั ใชข้ บั กลอ่ มหม่อมเจา้ ในพระองคเ์ จา้ ลกั ขณานคุ ณุ กบั พระเจา้ ลกู ยาเธอใน พระบาทสมเดจ็ พระป่ินเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เทา่ ท่ีพบมี 4 เร่ืองคือ • เหเ่ ร่ืองพระอภยั มณี • เหเ่ ร่ืองโคบตุ ร • เหเ่ ร่อื งจบั ระบา • เหเ่ ร่ืองกากี 2.21 ความสาคัญวนั สุนทรภู่วนั สุนทรภู่ หมายถึง วนั คลา้ ยวนั เกิดของพระสุนทรโวหาร(สุนทรภู่) เจา้ กรมพระอาลกั ษณ์ฝ่ ายพระราชวงั ซ่ึง มีผลงานดา้ นบทกลอนท่ีมีคุณคา่ แก่แผน่ ดินเป็นจานวนมากมีวตั ถุประสงคโ์ ดยสรุปคือ 1. เพ่อื เผยแพร่เกียรติคุณและผลงานของผมู้ ีผลงานดีเด่นทาง ดา้ นวฒั นธรรมระดบั โลกใหป้ รากฎแก่มวล
17 สมาชิกทว่ั โลก 2. เพ่อื เชิญชวนใหป้ ระเทศสมาชิกมีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรม เฉลิมฉลองร่วมกบั ประเทศที่มีผไู้ ดร้ ับ การยกยอ่ งเชิดชูเกียรติ
18 บทท3ี่ วธิ ีการดาเนินงาน 3.1 วสั ดุอุปกรณ์ เคร่ืองมือ หรือโปรแกรมหรือทใี่ ช้ในการพฒั นา 3.1.1 โทรศพั ท์ 3.1.2 โน๊ตบุค๊ 3.1.3 อินเทอร์เน็ต 3.1.4 เวบ็ ไซส์ต่างๆ 3.2 วธิ ีการดาเนินงาน 3.2.1 คิดหวั ขอ้ โครงงานเพ่ือนาเสนออาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงงาน 3.2.2 ศึกษาและคน้ ควา้ ขอ้ มูลท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั หวั ขอ้ โครงงานท่ีสนใจ คือเรื่องสุนทรภู่ วา่ มีเน้ือหามากนอ้ ย เพยี งใด และตอ้ งศึกษาคน้ ควา้ เพ่มิ เติมเพียงใดจากเวบ็ ไซส์ตา่ งๆ และเก็บขอ้ มูลไวเ้ พอื่ จดั ทาเน้ือหาต่อไป 3.2.3 ศึกษาและเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเป็นข้นั ตอนของการเก็บรวบรวมขอ้ มูลที่เกี่ยวขอ้ งกบั หวั ขอ้ โครงงาน เพื่อมาวเิ คราะห์และสรุปเน้ือหาสาคญั ท่ีจะนามาจดั ทาโครงงาน 3.2.4 ลงมือปฏิบตั ิการจดั ทาโครงงาน เร่ือง สุนทรภู่นาเสนอรายงานความกา้ วหนา้ ของงานเป็นระยะๆ ซ่ึงครูที่ปรึกษาจะใหข้ อ้ เสนอแนะต่างๆ เพอ่ื ใหจ้ ดั ทาเน้ือหาและนาเสนอท่ีน่าสนใจตอ่ ไป ท้งั น้ีเมื่อ ไดร้ ับคาแนะนาก็จะนามาปรับปรุง แกไ้ ขใหด้ ียงิ่ ข้ึน 3.2.5 จดั ทาเอกสารรายงานโครงงานสุนทรภูเ่ พื่อใชใ้ นการศึกษา 3.2.6 ประเมินผลและรายงานโครงงานต่อครูท่ีปรึกษา
19 3.3 วเิ คราะห์ข้อมูล คน้ ควา้ ขอ้ มูลจากเวบ็ ไซส์ต่างๆท่ีเก่ียวขอ้ งกบั หวั ขอ้ โครงงานที่สนใจหลายๆเวบ็ เพอ่ื นามา เปรียบเทียบความเหมือนแตกตา่ งกนั ของขอ้ มูลและนามาดดั แปลงเป็นภาษาพูดของตนเองเพื่อจะไดง้ ่าย ต่อการศึกษา
20 บทท4่ี ผลการดาเนินงาน การจดั ทาโครงงานเร่ือง การเขียน มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือศกึ ษากระบวนการของการเขียน เพ่ือใหผ้ จู้ ดั ทาโครงงานสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ ขา้ กบั การเรียนรูข้ องตนเองใหม้ ากย่งิ ขนึ้ ตลอดจน สามารถตดิ ตอ่ ส่ือสารกนั ไดร้ ะหวา่ งครู เพ่ือน และผสู้ นใจท่วั ไปซง่ึ มีผลการดาเนนิ โครงงาน ดงั นี้ ทกั ษะการเขียนเป็ นทกั ษะการส่ือสารท่ีมีบทบาทเพือ่ การส่งสารเป็นหลกั มีความเก่ียวขอ้ งกบั กระบวนการเรียนรู้โดยทว่ั ไป ต้งั แต่ระดบั ประถมศึกษา มธั ยมศึกษา จนถึงระดบั อุดมศึกษา นกั เรียน นกั ศึกษาจะตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาความสามารถทางดา้ นการเขียนจนถึงข้นั ที่เรียกไดว้ า่ มีทกั ษะในการ เขียน อยา่ งจริงจงั สม่าเสมอและตอ่ เน่ือง กระบวนการเรียนการสอนผเู้ รียนจะไดร้ ับมอบหมายงานอนั เป็ นส่วนหน่ึงของกิจกรรมการเรียน การสอนจากอาจารยผ์ สู้ อนในแตล่ ะรายวชิ า ซ่ึงลว้ นตอ้ งใชค้ วามรู้ความสามารถในทางการเขียน มากมาย อาทิ การเขียนตอบคาถามตา่ ง ๆ ทา้ ยคาบเรียนหรือเป็นการบา้ น การเขียนตอบแบบทดสอบ อตั นยั การเขียนเรียงความ การเขียนบทความ บนั ทึกการเรียนรู้ ยอ่ ความ สรุปความ ขยายความ งานเขียน ประเภทอ่ืน ๆ ตามลกั ษณะเฉพาะของแต่ละสาขาวชิ า รวมท้งั ท่ีขาดไมไ่ ด้ คือ การเขียนรายงานการศึกษา คน้ ควา้ ทางวชิ าการซ่ึงเป็ นงานประจาภาคเรียนของแทบทุกรายวชิ าที่เรียกวา่ ภาคนิพนธ์ (Term Paper) เป็นตน้ นอกจากน้ีแลว้ การเขียนยงั ใชเ้ ป็นแบบฝึกหดั แบบทดสอบ เพอื่ การประเมินผลการเรียนรู้ของ ผเู้ รียน อีกดว้ ย ในอดีต การเขียนเป็นการเรียนวธิ ีการใชภ้ าษาเขียนที่สละสลวย เพอื่ ใชใ้ นการจูงใจผูอ้ า่ น การ เขียนจึงมุ่งเนน้ ท่ีงานเขียนในดา้ นความถูกตอ้ งในการใชถ้ อ้ ยคาภาษาและการเรียบเรียงเน้ือหาอยา่ ง ถูกตอ้ งละเมียดละไม แต่ภายหลงั มีแนวคิดใหม่เกี่ยวกบั การเขียนเพิม่ ข้ึนเช่นแนวความคิดท่ีวา่ การเขียน มิใช่เป็นเพยี งการบนั ทึกคาพูดเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรเท่าน้นั แต่เป็นการสะทอ้ นความคิดในเรื่องตา่ ง ๆ ซ่ึง อยภู่ ายในของแตล่ ะบุคคลแลว้ ถ่ายทอดออกมาเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร แนวความคิดน้ีมุ่งเนน้ ที่จุดมุ่งหมาย ของการเขียน ซ่ึงไดแ้ ก่การสื่อความคิดความเห็นของผเู้ ขียนใหผ้ อู้ ื่นทราบ และแนวความคิดวา่ การเขียน มิไดเ้ ป็นเพียงวธิ ีการส่ือสารเท่าน้นั แต่เป็ นกระบวนการท่ีตอ้ งใชค้ วามคิดสติปัญญา ท้งั ในดา้ นการคิดคน้ เร่ืองราวที่จะนามาเขียนและการจดั รูปแบบการนาเสนองานเขียนน้นั แนวความคิดเกี่ยวกบั การเขียนจึง เปลี่ยนไปเป็นการมุ่งเนน้ ที่กระบวนการเขียน
21 การฝึกฝนใหเ้ กิดพฒั นาการดา้ นการเขียนไดน้ ้นั นกั ศึกษาควรมีความรู้ ความเขา้ ใจตลอดจนความ ตระหนกั ถึงความรู้ตา่ ง ๆ อนั เป็นพ้นื ฐานสาคญั ของการเขียนเสียก่อนเพราะจะทาใหก้ ารพฒั นาการเขียน เป็นไปไดด้ ว้ ยดีมีประสิทธิภาพ
22 บทท5่ี สรุปผลการดาเนินงาน และ ข้อเสนอแนะ ในการจดั ทาโครงงานภาษาไทย เร่ือง สุนทรภูน่ ้ีสามารถสรุปผลการดาเนินโครงงาน และขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี 5.1 สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน จากการจดั ทาโครงงานภาษาไทยเร่ืองสุนทรภูส่ รุปไดว้ า่ สุนทรภู่ เป็นกวที ่ีมีชื่อเสียงโด่งดงั และ เป็นที่รู้จกั เนื่องจากท่านเป็นกวที ่ีมีความสามารถในการประพนั ธ์โคลง กาพย์ กลอน ที่เป็นเลิศ ทาให้ ไดร้ ับการประกาศเกียรติคุณจากองศก์ ารยเู นสโกใหเ้ ป็นกวเี อกของโลกผมู้ ีผลงานดีเด่นทางดา้ น วฒั นธรรมและกวปี ระชาชน เม่ือ พ.ศ. ๒๓๒๙ สุนทรภู่เป็นกวคี นสาคญั คนหน่ึง ในสมยั รัตนโกสินทร์ ตอนตน้ มีชีวติ ยนื ยาวถึง ๔ รัชกาลต้งั แตร่ ัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๔ แห่งราชวงศจ์ กั รีเกิดเมื่อ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๓๒๙ หลงั จากสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานีไดเ้ พยี ง ๔ ปี หลงั จากสุนทรภูเ่ กิดบิดา มารดาไดอ้ ยา่ ร้างกนั บิดาออกไปบวชอยภู่ ูมิลาเนาเดิม ส่วนมารดากลบั เขา้ ไปทางานใชีปะขาว ตอ่ มาได้ เขา้ รับราชการในกรมพระอาลกั ษณ์และไดร้ ับพระราชทานบรรดาศกั ด์ินพระราชวงั หลงั สุนทรภู่อยกู่ บั มารดาต้งั แต่เล็ก เม่ือโตข้ึนกไ็ ดศ้ ึกษาที่สานกั วดั เป็น ขนุ สุนทรโวหาร หลวงสุนทรโวหาร และพระ สุนทรโวหารตามลาดบั และถึงแก่กรรมเม่ือ พ.ศ. ๒๓๙๘ รวมอายไุ ด้ ๖๙ ปี 5.2 ข้อเสนอแนะ 5.2.1 ควรมีการจดั ทาเน้ือหาของโครงงานใหห้ ลากหลาย 5.2.2 ควรจะรวบรวมขอ้ มูลใหม้ ากกวา่ น้ี 5.2.3 ควรจดั ทาส่ือการศึกษาอื่นๆ เช่น สมุดเล่มเลก็ ,หนงั สือการ์ตูน,ฯลฯ 5.2.4 ควรจะใชส้ ่ือเทคโนโลยใี นการเผยแพร่ขอ้ มูล เช่น ทาเวบ็ ไซต,์ หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์,ฯลฯ
23 บรรณานุกรม เวบ็ ไซต์ (1)http://suntornphu.blogspot.com/2017/06/blog-post.html (2)https://sites.google.com/site/phonkanokcom/phonkanok-vrzokk (3)https://sites.google.com/site/phanidam51/home/wicha-thi-reiyn/phasa-thiy/prawati- laea-phl-ngan-sunthr-phu (4)https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8 %AA%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0% B8%A7%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3_(%E0%B8%A0%E0%B8%B9 %E0%B9%88) (5)https://hilight.kapook.com/view/24209
24 ประวตั ิผู้จัดทา โครงงานภาษาไทย(สุนทรภู่) เดก็ หญิงชนญั ญา ทองแป้น ประวตั ิส่วนตวั วนั เดือน ปี ที่เกิด 16 กนั ยายน 2548 ที่อย(ู่ ปัจจุบนั ) 8/2 หมู1่ 0 ต.นาพละ อ.เมือง จ.ตรัง ปี พ.ศ. 2560 ช้นั ป.6 ร.ร.เทศบาล1(สังขวทิ ย)์ ปี พ.ศ.2563 ช้นั ม.3 ร.ร.สภาราชินี จงั หวดั ตรัง
1
Search
Read the Text Version
- 1 - 34
Pages: