บอกเล่าประสบการณ์ ส่งผ่านความประทับใจ หน้า 107 PhD Journey
นราญา สิรภาณุวัต (กงุ้ ) โครงการฝึกปฎิบัติงานทางเทคโนโลยีการศึกษา ณ ปีนัง มาเลเซีย จัดเป็นโครงการท่ีดีในความคิดของฉัน เพราะเป็นโครงการท่ีให้โอกาสเราใน การเปิดใจรบั สิ่งต่างๆ ทางการศึกษา เพ่ือแลกเปลย่ี นความรู้และวัฒนธรรม การเปิดรับเพื่อนใหม่เม่ือเราพร้อมที่จะเปิดใจ และอีกโอกาสหน่ึงท่ีสาคัญ สาหรบั ฉัน คอื การฝกึ ฝนภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร PhD Journey หน้า 108
ฉันซาบซึ้งในความมีน้าใจของทุกคนที่ให้โอกาสอันมีค่าจากการได้รับ ประสบการณ์ที่ดี ฉันอยากจะบอกว่า ”ขอบคุณมาก” ขอบคุณทุกคนที่ สนับสนุนและให้โอกาส โดยเฉพาะอย่างย่ิง ภาควิชาเทคโนโลยีศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, Prof. Dr.Zoraini Wati Abas และคณะผู้ให้การดูแลของ Wawasan Open University ตลอดการอบรมและแลกเปล่ียนประสบการณ์ทางการศึกษา, Prof. Dr. Rozinah, Dr. Nurulliza, Dr. Chau และ Prof. Dr. Wan รวมทั้งทุก ท่านท่ีให้การต้อนรับ และ Director, Centre for Instructional Technology and Multimedia, (Pusat Teknologi Pengajaran dan Multimedia) Universiti Sains Malaysia, Dr.Tan Saw Fen และ Prof. Dr. Anna Christina bt Abdullah ผู้ให้คาแนะนาสาหรับ งานวิจัยของฉัน และมิตรภาพที่ดีจากเพื่อนมาเลเซีย ท่ีฉันประทับใจ ไม่ สามารถลืมได้ ขอขอบคุณจากใจ คือ Mr. Por Chun Hau ผู้ซึ่งให้โอกาส ฉันได้รู้จักสถานที่สาคัญในเมืองปีนัง ได้รับการต้อนรับอันอบอุ่นจากทุก คนในบริษัท ท้ังยังได้มีโอกาสเรียนรู้เทคโนโลยีการออกแบบ เราให้ในส่ิงที่ ดีต่อกันเพราะเราคือ “WE SERVE” คุณลุงเจ้าของร้านข้าวแกงและครอบครัว สาหรับอาหารพิเศษ ปลาอินทรีย์ราดพริกตัวใหญ่ พร้อมชานมเย็น มื้อเที่ยงทุกวันตลอดเวลาที่ ฉันอยู่ปีนัง น้องๆ เจ้าหน้าท่ีอพาร์ทเม้นท์ที่ฉันพักในปีนัง หนา้ 109 I really appreciate of your kindness, Naraya Sirapanuwat PhD Journey
มสั ยา รุ่งอรณุ (มสั ) ด้านวิชาการ 1. จากการที่ได้นาไปเสนอหัวข้อการวิจัย เกี่ยวกับ concept และ กรอบแนวคิดท่ีจะทานั้น ซ่ึงได้รับคาแนะนาและข้อเสนอแนะต่างๆ จาก USM และ WOU พอสรุปได้ดังน้ี - วิธีการดาเนินการของการวิจัย ทาอย่างไรบ้าง องค์ประกอบ/ ตัวแปร ต้องมีอะไรบ้าง และ research อีกคร้ังว่าจาเป็นไหม - Coaching ไม่จาเป็นต้องใส่ในชื่องานวิจัย แต่ให้แสดงใน Model ว่าอยู่ใน F2F : Online ตรงไหนบ้าง PhD Journey หน้า 110
2. ได้เห็นแนวทางในการทาวิจัยจากตัวอย่างงานวิจัยของท้ัง นักศึกษาและของอาจารย์ท่ีทาง USM และ WOU นามาแลกเปลี่ยน ได้เห็น Concept ตัวแปร วิธีการดาเนินการวิจัย ในแต่ละเร่ือง 3. การจัดตารางการเรียนในแต่ละวัน มีความเหมาะสม แบ่งช่วง เวลาในการเรียน แลกเปล่ียนเรียนรู้ในประเด็นที่ตรงกับการนาเสนอหัวข้อ ของแต่ละคน จัดให้มีอาจารย์ผู้เช่ียวชาญมาช่วยให้ข้อเสนอแนะและความ คิดเห็นท่ีเป็นแนวทางในการดาเนินการวิจัยต่อไปได้ อาจารย์ทุกท่าน พยายามที่จะช่วยไกด์หัวข้อและวิธีการดาเนินการวิจัยให้ในแต่ละหัวข้อเป็น อย่างดี 4. ได้ประสบการณ์และได้พัฒนาการฟงั และการส่ือสารภาษา อังกฤษเพิ่มขึ้นมาก ฟงั และจับประเด็นต่างๆ ท่ีอาจารย์ได้ให้ข้อเสนอแนะ ได้บ้าง แต่การพู ดยังไม่ค่อยคล่องเพราะตื่นเต้น (เป็นการเดินทางไปต่าง ประเทศท่ีเกี่ยวกับวิชาการเป็นคร้ังแรก) ด้านชีวิตความเป็นอยู่ ประทับใจในทุกๆ เร่ือง ไม่ว่าจะเป็น แหล่งท่องเที่ยว การคมนาคม วัฒนธรรม ปีนังเป็นเมืองที่เป็นระเบียบ โดยเฉพาะเร่ืองการบริการของ คนปีนัง มีอัธยาศัยดี ยิ้มแย้ม และได้รับการอานวยความสะดวกจาก เจ้าของห้องพักเป็นอย่างดีประทับใจกับสมาชิกทุกคน คอยช่วยเหลือกัน ในเร่ืองของการฟงั แปล และส่ือสารกับอาจารย์ในเรื่องของวิชาการ ส่วน การอยู่ร่วมกันน้ัน มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ดูแลเอาใจใส่ซึ่งกันและกัน ทุกคนพร้อมที่จะสนับสนุนและช่วยเหลือกัน ทุกคนมีความแตกต่าง แต่ ความแตกต่างนั้นทาให้เราเห็นมุมมอง ความคิดต่างๆ และทาให้เรา สามารถปรับและอยู่ด้วยกันอย่างลงตัว หนา้ 111 PhD Journey
วลรี ตั น์ พุทธาศรี (กุ้ง) เป็นที่ทราบกันดีว่าในอดีตใครอยากเรียนภาษาอังกฤษจะต้องถูกส่ง มาเรียนที่ปีนัง ในปัจจุบันมหาวิทยาลัยในปีนังส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษ ในการส่ือสาร การมาเยือนปีนังในคร้ังนี้พวกเรามาในฐานะนักศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร มาเพ่ือแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ทางด้านเทคโนโลยีทาง การศึกษาในปีนังและในประเทศไทย ค่าเล่าเรียนท่ีนี่ก็ไม่แพงมากจนเกินไปถ้า เทียบกับประเทศในแถบยุโรป ค่าครองชีพก็ถูก และความม่ังค่ังทาง วฒั นธรรมของปีนังยังมีความน่าสนใจมากมายหลายเรื่อง การมาใช้ชีวิตที่น่ี ถึงแม้จะใกล้ประเทศไทย แต่การสื่อสารที่น่ีใช้ภาษาอังกฤษเป็นส่วนใหญ่ ทา ใหเ้ ราไดม้ โี อกาสกระตนุ้ ตวั เอง และได้ฝกึ ใช้ภาษาองั กฤษมากย่ิงขึ้น PhD Journey หน้า 112
ขอขอบพระคุณ รศ.ดร.ฐาปนีย์ และคณาจารย์ใน ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษาทุกท่าน ท่ีให้โอกาสพวกเราได้มา แลกเปลี่ยนประสบการณ์ท่ีนี่ ถึงจะมาแค่ 15 วัน แต่พวกเรา ทุกคนมีความตั้งใจทาทุกๆ อย่างพยายามเก็บข้อมูลทุกอย่าง ใหไ้ ดม้ ากที่สุด รวมถงึ การลองออกไปใช้ชีวิตนอกห้องส่ีเหลี่ยม และศึกษาความเป็นอยู่ของคนท่ีน่ี เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุด ตามเจตนารมยข์ องอาจารย์ทกุ ท่านคะ่ ขอขอบพระคุณ Prof. ที่ปีนังทุกท่านที่ให้การต้อนรับ พวกเราอย่างอบอุ่น Prof. ทุกท่านมีความเป็นกันเองสูงมาก ใจดี น่ารัก เข้าใจ นักศึกษาไทยทุกคน ในเวลาเรียน Prof. พยายามให้พวกเราได้รับความรู้มากที่สุด ทั้งอธิบาย แนะนา ยกตัวอย่าง พร้อมกับแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ให้ความรู้ เกี่ยวกับกร ะบวนการ วิจัย และงานวิจัยนวั ตกร รมทาง เทคโนโลยีทางการศึกษาในปีนัง เพื่อให้พวกเราเห็นภาพ ชัดเจนมากย่ิงข้ึน นอกห้องเรียนถ้ามีโอกาสได้เจอกัน Prof. จะชวนพู ดคุยเร่ืองเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนของ ประเทศไทย แหล่งท่องเท่ียวต่างๆ ซ่ึงทุกท่านคงอยากให้พวก เราได้ฝึกพู ดสนทนาโต้ตอบและแน่นอนมันพรั่งพรูมากกว่าใน ห้องเรียนมากเลยค่ะ 5555 (ภาษาพู ด ภาษากาย ภาษาภาพ ไดใ้ ช้หมดคะ่ ) หนา้ 113 PhD Journey
ท่ีสาคัญและขาดไม่ได้คือ เพ่ือนๆ ทุกคนท่ีอยู่ร่วมกัน ตั้งแต่วันแรกจนถึงวันสุดท้าย พวกเราทุกคนไม่เคยมีใครรู้จัก กนั มาก่อนและไมเ่ คยไปไหนด้วยกันและค้างคืนด้วยกันหลายวัน แบบน้ี ก่อนมาก็เกิดความกังวลหลายอย่าง แต่พอได้มาใช้ ชีวิตร่วมกันทาให้ทุกอย่างที่เรากังวลหายไป ทุกคนมาท่ีนี่รู้ หน้าที่ของตัวเอง ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน แบ่งหน้าท่ีกันตาม ความถนัดของแต่ละคน ท้ังทางด้านวิชาการ และด้านการใช้ ชีวิตประจาวัน ซึ่งทาให้พวกเรามีความเห็นตรงกันว่ากลับมา ประเทศไทยแล้ว เราตอ้ งจดั ทริปไปดว้ ยกนั แบบน้ีอีกนะ… สุดท้ายขอบคุณคนใกล้ตัวที่สุดที่คอย support ทุก อย่างและยังคอยช่วยเหลือ ห่วงใย ดูแล เราและเพื่อนๆ ทุก คนเป็นอยา่ งดี ขอบคุณคะ่ ------------------------ PhD Journey หน้า 114
ชลธิชา มะโณสิน (เดือน) ก า ร ไ ด้ มี โ อ ก า ส ไ ด้ เ ดิ น ท า ง ไ ป เ ยี่ ย ม ช ม แ ล ะ แ ล ก เ ป ล่ี ย น เ รี ย น รู้ ท่ี มหาวิทยาลัยที่มาเลเซีย รู้สึกตื่นเต้นและวิตกกังวลพอสมควร เนื่องด้วย ส่วนตัวเป็นคนไม่เก่งภาษา จึงทาให้เกิดความกลัวในการส่ือสาร แต่อาจารย์ ที่น่ันให้ความเป็นกันเอง และพยายามทาความเข้าใจในส่ิงท่ีเราต้องการ ส่ือสาร จึงทาใหล้ ดความประหมา่ ไปไดค้ อ่ นข้างเยอะ ในการจดั การเรียนการสอนของทั้ง 2 ท่ี ได้แก่ Wawasan Open University : การจดั การเรยี นการสอนท่ีน่ี จะ แบ่งเปน็ 2 ส่วน ดังน้ี หนา้ 115 PhD Journey
ช่วงท่ี 1 จะมีอาจารย์ และนักวิชาการของมหาวิทยาลัยมาแชร์ความรู้ และประสบการณใ์ นการทาวิจัย ในเรื่องท่ีเกี่ยวข้องกับกับงานด้านเทคโนโลยี การศึกษา เราสามารถซักถามได้ตลอด อีกทั้งแลกเปล่ียนความคิดเห็น ระหวา่ งการศึกษาของมาเลเซีย และการศึกษาในประเทศไทยอีกดว้ ย ช่วงท่ี 2 ในส่วนของการนาเสนอ Concept Paper จะมีอาจารย์ช่วย เสนอแนะแนวทาง และแนะไอเดียเพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนางานวิจัยของ เราต่อไป Universiti Sains Malaysia : ได้มีโอกาสเข้าเยี่ยมชมมหาวิทยาลัย ที่สวยงามอีกแห่งหน่ึงของมาเลเซีย และมีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน ความรู้โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของท่ีน่ัน มาแชร์งานวิจัยท่ีกาลังทา และพวกเราได้มีโอกาสแชร์ Concept Paper ของเรื่องท่ีสนใจจะพัฒนาเป็น งานวิจัย เป็นกิจกรรมท่ีดีที่เปิดโอกาสให้ได้เห็นไอเดียและมุมมองใหม่ๆ มาก ขน้ึ ------------------------ PhD Journey หน้า 116
พฤกษา ดอกกหุ ลาบ (ปยุ้ ) การเดินทางไปท่ีปีนังคร้ังนี้ เป็นการเดินทางไปต่างประเทศครั้งแรก ในชีวิต นอกจากจุดมุ่งหมายที่ไปเพ่ือศึกษาเล่าเรียนแล้ว ประสบการณ์ท่ีได้ ในตลอด 14 วัน คือการใช้ชีวิตอยู่ท่ีต่างแดน บางคนอาจเห็นว่าก็ไม่ค่อย แตกต่างอะไรไปจากประเทศไทย แต่ความแตกต่างที่สัมผัสได้ชัดเจนท่ีสุด คือความเป็นระเบียบเรียบร้อยและอยู่ในกฎเกณฑ์ของบ้านเมืองของเขา ความสานึกและรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมของคนท่ีน่ันต่างจากคนไทยอย่างส้ินเชิง พาให้คิดให้ไปว่า เราจะมีวิธีสอนเด็กๆ ของเราได้อย่างไรบ้าง ให้พวกเขาโต ข้ึนไปมคี วามรับผดิ ชอบต่อสังคมอย่างประชากรในประเทศน้ี หน้า 117 PhD Journey
สิ่งแรกที่ทาให้ไม่อยากกลับมาท่ีเมืองไทย คือการที่ต้องขับรถบนถนน ท่ีมีแต่คนรีบเร่ง ขับรถปาดกันไปปาดกันมา ใช้ความเร็วโดยไม่สนใจรถคัน อ่ืน หรือชีวิตของคนอ่ืนท่ีอยู่รอบข้าง ซึ่งส่ิงน้ีเราไม่เจอเลยท่ีปีนัง ไม่ว่าจะ เป็นบนท้องถนนในเมืองหรือในชุมชน การใช้ชีวิตที่ปีนังท่องเที่ยวไปยัง สถานที่ต่างๆ เราไม่สามารถแยกออกได้เลยว่าใครคือคนในพื้นท่ี หรือใคร เป็นนักท่องเที่ยว แต่สังคมท่ีนั่นบีบให้เราต้องมีระเบียบวินัยในตนเองเพื่อให้ ดารงชีวิตอยู่ในบ้านเมืองเขาได้โดยไม่ผิดแผกแตกต่าง เข้ากับสานวนที่ว่า “เขา้ เมอื งตาหลิ่ว..ต้องหล่วิ ตาตาม” ดว้ ยความที่ปีนังมีผู้คนหลากหลายชาติ การส่ือสารท้ังกับพ่อค้าแม่ค้า คนขับ Grab Car หรือกับอาจารย์ Prof. ท่านต่างๆ ทาให้เราเข้าใจถึงคาว่า Intercultural Communication มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นธรรมเนียมปฏิบัติ ของเขา หรือสาเนียงการใช้ภาษา พวกเราต้องมีการปรับตัวอยู่ตลอดเวลา เพื่อที่สื่อสารกับเขาได้อย่างเข้าใจและราบรื่น แต่อย่างไรก็ตาม ผู้คนที่นั่น ล้วนแต่เปน็ มิตรท่ดี ีกบั เรา เม่ือพวกเขารวู้ ่าเราคือผมู้ าเยือน ในด้านของการศึกษาที่พวกเราได้มาเรียนในหลักสูตรเกี่ยวกับการ วิจัยและเทคโนโลยีการศึกษา ทาให้พวกเราได้รู้ Trends ทางการศึกษา ต่างๆ ของตา่ งชาติ เห็นถึงความแตกต่างเก่ียวกับแนวคิดและความมุ่งมั่นที่ จะใช้งานวจิ ัยเพ่ือพัฒนา Education ในประเทศของเขา และให้ความสาคัญ กบั การให้งานวจิ ัยนน้ั สามารถนาไปใชไ้ ดจ้ ริงในสังคม สาหรับเทคโนโลยีที่เขาใช้กับการศึกษาในบ้านเขาและบ้านเราไม่ได้หนี ห่างกันมากนัก การแลกเปลี่ยนนาเสนอโครงการวิจัยกับนักศึกษาที่น่ัน ทา ให้เห็นวา่ เรามี Process ในการเรียนรู้ทีต่ ่างกัน และทาใหเ้ ราตอ้ งคิดปรับและ PhD Journey หนา้ 118
เปล่ียนตวั เอง ต้องมุ่งมน่ั ตง้ั ใจ เพ่ือให้งานวิจัยของเราสาเรจ็ ตามเป้าหมาย จากประสบการณ์ที่ได้ในครั้งน้ี ทาให้เราต้องกลับมาพัฒนาตนเองให้ ได้มากย่ิงขึ้น ท้ังในเรื่องของการศึกษา ภาษา ความรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสังคม ต้องขอขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่านที่ภาควิชาเทคโนโลยี การศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ทาให้เราได้ประสบการณ์อันมากมาย เหล่านี้ ขอบพระคุณอาจารย์ Prof. ที่ Universiti Sains Malaysia และ Wawasan Open University ทุกท่าน ที่ให้วิชาความรู้ ให้คาแนะนาที่เป็น ประโยชน์ ให้การต้อนรับและดูแลพวกเราเป็นอย่างดี ขอบคุณเพ่ือนๆ ทุก คนที่ช่วยกันคนละไม้คนละมือ เพ่ือช่วยให้การมาศึกษาครั้งน้ีสาเร็จลุล่วงไป ได้ดว้ ยดีคะ่ “The future of the world is in our classroom today.” ------------------------ หน้า 119 PhD Journey
ไพรวลั ย์ ขนั ทะศิริ (เบียร์) วันนี้เล่าประสบการณ์ท่ีประทับใจจากการท่ีได้มีโอกาสไปศึกษาดูงาน และใช้ชีวิตที่ ปีนัง มาเลเซีย การไปศึกษาดูงานก็ไปที่ Universiti Sains Malaysia (USM) กับ Wawasan Open University ซึ่งทั้งสอง มหาวิทยาลยั นี้เป็นมหาวิทยาลัยชอื่ ดังในมาเลเซีย ตัวกระผมเองได้สัมผัสการดูงานในลักษณะน้ีเป็นคร้ังแรก ซึ่ง ประสบการณ์ครั้งน้ีได้ทั้งนาเสนองานของตัวเองและได้ถาม-ตอบเป็น ภาษาอังกฤษมันเป็นอะไรท่ีตื่นเต้นและกดดันอย่างมากถือเป็นประสบการณ์ ท่ีคุ้มมากสาหรับการได้ไปศึกษาดูงานครั้งน้ี ต่อจากการเรียนและนาเสนอ งานตัวกระผมก็ได้สัมผัสบรรยากาศที่สวยงาม มีเอกลักษณ์ สะอาด ของ สถานทใี่ นมหาวิทยาลัยท้งั สองแหง่ น้ี บอกเลยวา่ สวยงามมาก PhD Journey หน้า 120
ยงั ไมจ่ บครับ ..ผมขอเล่าเป็นประเด็น 1. Wawasan Open University ผมได้เรียนรู้ระบบบริหารจัดการ เรียนการสอนออนไลน์ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนจริงๆ ท่ี Wawasan Open University ถือว่าเป็นประเด็นที่ผมสนใจพอดีเกี่ยวกับการจัดการ เรียนการสอนออนไลน์ ยิ่งไปกว่านั้นผมได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทาวิจัยของ นิสิตท่ีน่ีเขาให้หัวข้อนิสิตที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนท่ีนี่และนา ผลการวิจัยนี้ไปปรับใช้กับการจัดการเรียนการสอนจริงๆ ผมจะไม่ขอเล่าใน รายละเอียดนะครับเอาเป็นว่าที่นี่เกี่ยวกับเร่ืองการเรียนการสอนออนไลน์ถือ ว่าเจง๋ มากเลยท่ีเดียว 2. Universiti Sains Malaysia (USM) ที่นี่ถือเป็นมหาวิทยาลัย ชั้นนาท่ีมีช่ือเสียงอีกแห่งในมาเลเซียผมได้ไปดูงานในส่วนของศู นย์ เทคโนโลยีการเรียนการสอนและมัลติมีเดียศูนย์สาหรับเทคโนโลยีการเรียน การสอนและมัลติมีเดียมีหน้าท่ีหลักในการจัดการเรียนการสอนและสนับสนุน ในการออกแบบผลิตส่ือทางการศึกษา วิจัย บริการวิชาการทางด้าน การศึกษา ท่ีนี่มีห้องผลิตสื่อการเรียนการสอน สื่อมัลติมีเดีย แถมยังมี บุคลากรท่ีมีคุณภาพ ถือว่าเป็นประสบการณ์ท่ีดีมากครับสามารถนามาปรับ ใช้ในการพัฒนางานวิจัยของตัวเองต่อไป 3. ทางด้านภาษาถือว่าผมได้ใช้ภาษาอังกฤษทุกวันเลยที่น่ีเพราะเป็น เมืองที่ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก ผมต้องใช้ทักษะการเอาตัวรอดเยอะมาก ทายังไงก็ได้ต้องสื่อสารกับคนที่นั่นได้รู้เร่ืองเอาเป็นว่าต้องงัดทุกอย่าง ออกมาให้หมด พูด พูด พูด อยา่ งเดียว สรุปภาษาดีขึ้นครบั หนา้ 121 PhD Journey
4. สถานท่ีท่องเท่ียวมีแหล่งท่องเท่ียวสวยๆเยอะมากครับ เช่น วัดเก็กลกสี่ ชุมชนชาวประมงเก่าแก่ จอร์จทาวน์ ...คฤหาสน์เฉิงฟัตเจ๋อ ป้อมปราการคอร์นเวลลิส ปีนังฮิลล์ วัดเจ้าแม่กวนอิม และอ่ืนๆ เป็นสถานที่ เท่ียวเชิงวฒั นธรรมและสวยงามมากครบั ไปปีนังไมค่ วรพลาดครับ ทั้งหมดนี้เป็นความรู้สึกท่ีผมประทับใจต้องขออภัยนะครับท่ีเล่าไม่ ละเอียดเท่าไหร่เพราะเอาจริงๆเร่ืองมันยาวมากเอาเป็นว่าใครได้ไปท่ีปีนังถือ ว่าคุ้มค่ามากครับขอบอก………สุดท้ายน้ีต้องขอบพระคุณคณาจารย์ภาควิชา เทคโนโลยกี ารศึกษาทกุ ท่านที่ทาให้พวกผมได้ประสบการณค์ รั้งน้ี ------------------------ PhD Journey หน้า 122
หนา้ 123 นภาพร บญุ ศรี (ม้มิ ) PhD Journey
การมาปีนังครั้งแรกและได้อยู่นานถึง 2 สัปดาห์ เป็นประสบการณ์ การใช้ชีวิตต่างแดนท่ีนานที่สุดของมิ้มค่ะ รู้สึกประทับใจความหลากหลาย ทางวัฒนธรรมที่เห็นได้อย่างชัดเจนจากสถาปัตยกรรม อาหาร และภาษา แต่ล่ะวันในปีนังจึงค่อนข้างน่าต่ืนเต้นกับส่ิงใหม่ๆ ท่ีได้พบเจอ ท้ังๆ ที่อยู่ไม่ ใกล้ไม่ไกลจากประเทศไทยเรานี่เอง แต่กลับสัมผัสความแตกต่างของ บ้า น เ มื อ ง แ ล ะ วั ฒน ธ ร ร ม ไ ด้ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น ผู้ ค น ใ น ปี นั ง ส่ ว น ใ ห ญ่ ใ ช้ ภาษาอังกฤษได้ดี ทาให้เราได้ฝึกใช้ภาษาอังกฤษทุกวัน รวมถึงการได้เข้า เรียนที่ WOU และได้นาเสนอหัวข้องานวิจัยท่ีสนใจท่ี USM นั้นเป็นประโยชน์ กับพวกเราทุกคนอย่างมาก ท้ังได้เรียนรู้ภาษาอังกฤษ แนวทางการ ดาเนินงานวจิ ยั และคาแนะนาดๆี จากอาจารย์หลายท่าน ทาให้ได้มุมมองใหม่ ความรู้ใหม่ ไปใช้พัฒนาตัวเองต่อไป สาหรับมิ้มท่ีทุกอย่างผ่านไปได้อย่าง ราบรืน่ เป็นเพราะพ่ีๆ ทุกคนมีน้าใจ ให้ความช่วยเหลือกันในทุกเรื่อง และเพ่ิม ความสนุกในการใช้ชีวิตท่ีปีนังข้ึนไปอีกเม่ือพวกเราได้อยู่ด้วยกัน ได้ลองทา อะไรใหม่ๆ ด้วยกัน ยิ่งการท่ีมิ้มเด็กท่ีสุดในกลุ่มด้วยแล้ว ต้องขอบคุณพ่ีๆ ทุกคนท่ีดูแลน้องคนน้ีเป็นอย่างดีนะคะ ทุกๆ เช้าจะมีพ่ีเดือนปลุกไปเรียน วันท่ีไม่มีเรียนก็ปลุกให้เราตื่นเช้าไปเท่ียวด้วยกัน น้องอาจจะต่ืนบ้าง ไม่ต่ืน บ้าง พี่เดือนคงปวดหัวเบาๆ พี่มัสท่ีทาม้ือเช้ารอไว้ให้ทุกคน จริงๆ ก็ทุกม้ือ เลย เล้ียงดูพวกเราอย่างดีเหมือนเป็นคุณแม่ของกลุ่ม พี่ปุ้ยคอยช่วยเหลือ ด้านวิชาการ เป็นตัวแทนหมู่บ้านในหลายๆ เร่ือง แล้วก็เป็นพ่ีสาวที่อยู่ด้วย แล้วย่ิงสนุก (ตอนกลางคืน) พี่เบียร์ท่ีมีน้าใจกับน้องเสมอ เป็นพี่ชายคน เดียวในกลุ่มที่ใจเย็น ทาให้พวกเรารู้สึกอุ่นใจค่ะ และพ่ีกุ้งที่มักทาให้ทุกเร่ือง ของพวกเราลงตัว แถมยงั ตอ้ งมาต่ืนเต้นไปกับม้มิ เพราะดนั ลมื ของไว้บน PhD Journey หน้า 124
Grab Car แต่เราก็ผ่านมันมาได้ด้วยดีนะคะ ถือว่าการมาปีนังครั้งนี้ทาให้ มิตรภาพของพวกเราแน่นแฟน้ มากข้ึนจริงๆ ดีใจท่ีได้มาเรียน มารู้จัก ได้ เป็นพี่เป็นน้องกันค่ะ (ทามือเป็นรูปหัวใจ) สุดท้ายขอขอบพระคุณอาจารย์ ฐาปนีย์ และอาจารย์น้ามนต์ ท่ีทาให้พวกเราได้รับประสบการณ์ดีๆ แบบนี้ และคอยให้คาปรึกษา และคาแนะนามาโดยตลอดคะ่ ------------------------ หนา้ 125 PhD Journey
รายงานนี้เปน็ ส่วนหน่งึ ของรายวิชา 468624 การฝึกปฏิบตั งิ านทางเทคโนโลยีการศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑติ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: