ทฤษฎกี ารเรยนรู้แบบการวางเงือนไขแบบคลาสสิค (classical conditioning theory) อวี าน เปโตรวชิ พาฟลอฟ (Ivan Petrovich Pavlov)
ทฤษฎกี ารเรียนรแู้ บบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสคิ (classical conditioning theory) เสนอ อาจารยณ์ ัฏชญา ธาราวุฒิ จัดทาโดย 76376005 76376010 นายชนสรณ์ เชษฐรตานนท์ 76376013 นายธนภทั ร ทองระย้า 76376015 นางสาวนราวลัย วงศภ์ ดู ร 76376027 นางสาวปฤษฎี เลกิ พยพั นางสาวอรธดิ า มงคล รายงานนเ้ี ป็นส่วนหนง่ึ ของ วิชาจติ วิทยาสาหรับครู (รหัสวิชา 1055101) หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ครู มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563
คานา รายงานเล่มน้ีจัดทาขึ้นเพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของวิชาจิตวิทยาสาหรับครู (รหัสวิชา 1055101) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู เพ่ือให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเร่ืองทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวาง เง่ือนไขแบบคลาสสิค (classical conditioning theory) ของพาฟลอฟ และไดศ้ ึกษาอย่างเข้าใจเพ่อื เป็น ประโยชนก์ บั การเรียน ผูจ้ ดั ทาหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กบั ผอู้ ่าน หรือนักศึกษา ท่ีศึกษาหาข้อมูลเร่ืองนี้อยู่ หากมีขอ้ แนะนาหรือขอ้ ผิดพลาดประการใด ผ้จู ัดทาขอนอ้ มรบั ไวแ้ ละขออภัยมา ณ ทน่ี ด้ี ว้ ย คณะผ้จู ัดทา
สารบญั หนา้ เรือ่ ง 1 - ประวัติความเป็นมา พาฟลอฟ (Ivan Petrovich Pavlov) 2 - ประวัติความเปน็ มาของทฤษฎี 2 3 การเรียนรู้แบบการวางเง่อื นไขแบบคลาสสิค(Classical Conditioning) 5 - แนวคิดสาคัญของทฤษฎี 6 - การทดลอง 6 - ทฤษฎีการเรยี นรู้ - กฎการเรียนรู้ 7 - การประยกุ ตใ์ ช้ในด้านการเรียนการสอน 8 - สรปุ ทฤษฎี การเรียนร้แู บบการวางเง่ือนไขแบบคลาสสิค(Classical Conditioning) - อ้างองิ
1 ทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวางเงอ่ื นไขแบบคลาสสคิ (classical conditioning theory) อีวาน เปโตรวิช พาฟลอฟ (Ivan Petrovich Pavlov) ประวตั ิความเปน็ มา พาฟลอฟ (Ivan Petrovich Pavlov) ชอ่ื อีวาน เปโตรวิช พาฟลอฟ (Ivan Petrovich Pavlov)เกิดเม่ือ 14 กนั ยายน ค.ศ.1849 (รีซาน,จกั รวรรดิ รัสเซีย เสยี ชวี ิต 72 กุมภาพันธ์ ค.ศ)6391. อายุ 61 ปี (เลนินกราด,สหภาพโซเวียต ท่ีพานัก จักรวรรดิรัสเซีย,สหภาพโซเวียต เชื้อชาติ รัสเซีย,โซเวียต สาขาวิชา สรีระวิทยา,จิตวิทยา,แพทย์ สถาบันท่ีอยู่ สถาบันการแพทย์ทหาร ผลงาน การวางเงื่อนไขแบบด้ังเดิม กับ การปรบั เปล่ียนพฤติกรรม เกยี รติประวัติ รางวัลโนเบลสาขาสรวี ทิ ยา หรอื การแพทย)์ ค.ศ6391. พาฟลอฟ เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซียที่มีช่ือเสียง สนใจศึกษาระบบหมุนเวียนโลหิตและระบบหัวใจ และได้หันไปสนใจศึกษาเก่ียวกับระบบย่อยอาหาร จนทาให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยา ในปี ค.ศ.1904 จากการวิจัย เรื่อง สรีรวทิ ยาของการย่อยอาหาร และเป็นนักจิตวิทยาชาวรัสเซยี ท่ีสาคัญคนหนึ่ง เขาได้ชื่อว่าเป็นบิดา ของวิชาจิตวิทยาสมัยใหม่ จากการศึกษาการทางานของส่วนต่างๆของร่างกาย โดยเฉพาะสมองและระบบประสาท ทาใหเ้ ขาพบสาเหตทุ ่ที าให้มนษุ ยแ์ ละสตั ว์ มพี ฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ต่อมาพาฟลอฟได้หันมาสนใจเกี่ยวกับด้านจิตเวช (Psychiatry) และได้ใช้เวลาในช่วงบั่นปลายของชีวิต ในการสังเกตความเป็นไปในโรงพยาบาลโรคจิต และพยายามนาการสังเกตเข้ามาเกี่ยวข้องกับการทดลองสุนัข ในห้องปฏิบัติการจนไดร้ ับชื่อเสียง โดง่ ดัง และ ไดช้ ่อื ว่าเปน็ ผู้ต้งั ทฤษฎกี ารวางเงอ่ื นไขแบบคลาสสคิ ข้นึ
2 ประวตั ิความเป็นมาของทฤษฎกี ารเรยี นรูแ้ บบการวางเง่ือนไขแบบคลาสสคิ (Classical Conditioning) ในการวิจัยเก่ียวกับการย่อยอาหารของสุนัข (ค.ศ. 1904) พาฟลอฟสังเกตว่า สุนัขมีน้าลายไหลออกมา เม่ือเห็นผู้ทดลองนาอาหารมาให้ พาฟลอฟจึงสนใจในพฤติกรรมน้าลายไหลของสุนัขก่อนท่ีได้รับอาหารมาก และได้ทาการศึกษาเร่ืองนี่อย่างมีระเบียบและการทาการวิจัยเรื่องนี่อย่างละเอียด ซ่ึงการทดลองของพาฟลอฟ เป็นตัวอย่างที่ดีของการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์มาศึกษาพฤติกรรม เพราะเป็นการทดลองที่ใช้การควบคุมท่ีดีมาก ทาให้ พาฟลอฟได้ค้นพบหลักการที่เรียกว่า Classical Conditioning ซ่ึงการทดลองดังกล่าวอธิบายได้ดังน้ี พาฟลอฟ ได้ทาการทดลองโดยการสั่นกระด่ิงและให้ผงเนื้อแก่สุนัข โดยทาซ้าควบคู่กันหลายคร้ัง และในท่ีสุดหยุดให้ อาหารเพียงแต่สันกระดิงก็ปรากฎว่าสนุ ัขยังคงมีน้าลายไหลได้ ปรากฎการณ์เช่นน้ี เรียกว่า พฤติกรรมของสนุ ัขถูกวาง เงอื่ นไข หรอื การเรียนร้แู บบการวางเง่ือนไขแบบคลาสสิค แนวคดิ สาคัญของทฤษฎี พาฟลอฟ เช่ือว่า การเรียนรู้ของสิงมีชีวิตเกิดจากการวางเงื่อนไข (Conditioning) คือ การตอบสนองหรือ การเรียนรู้ที่เกิดข้ึน ต้องมีเงื่อนไขหรือมีการสร้างสถานการณ์ให้เกิดข้ึน เช่นสุนัขได้ยินเสียงกระดิงแล้วน้าลายไหล เป็นต้น โดยเสียงกระดิ่งคือสิงเร้าที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้จากการวางเง่ือนไข ซ่ึงเรียกว่า “ส่ิงเร้าท่ีวางเง่ือนไข” (Conditioned stimulus = CS) และปฏิบัติกิริยาการเกิดน้าลายไหลของสุนัขเรียกว่า “การตอบสนองท่ีถูกวาง เงอื่ นไข” (Conditioned response = CR) ซ่ึงเปน็ พฤตกิ รรมท่แี สดงถึงการเรยี นรูจ้ ากการวางเง่ือนไข ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ นอกจากจะเป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการวางเง่ือนไข หรือมีการสร้างสถานการณ์ขึ้นมาแล้ว ยังหมายถึงการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งเร้ากับปฏิกิริยาตอบสนองอย่าง ฉับพลัน หรือปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex) ซ่ึงพาฟลอฟ ได้อธิบายเรื่องราวการวางเง่ือนไขในแง่ของสิ่งเร้า (Stimulus - S) และการตอบสนอง (Response - R) ว่าสุนัขมีการเช่ือมโยงส่ิงเรา้ บางอย่างกับการตอบสนองบางอย่าง มาต้ังแต่แรกเกิด แล้วพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ เม่ือเติบโตขึ้นตามธรรมชาติ โดยส่ิงเร้าท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติ เรียกว่า ส่ิงเร้าทไี่ มไ่ ด้ขวางเงื่อนไข (Unconditioned stimulus = UCS) หมายถงึ ส่ิงเร้าที่มีอยใู่ นธรรมชาติ และเมอื่ นามาใช้คู่ กบั สิ่งเร้าทขี่ วางเง่ือนไขแล้วทาให้เกิดการเรียนรู้หรือตอบสนองจากการวางเง่ือนไขได้ และการตอบสนองที่เกิดขึ้นตาม ธรรมชาติ เรียกว่า การตอบสนองท่ีไม่ได้วางเงื่อนไข (Unconditioned response = UCR) ซ่ึงหมายถึง การตอบสนองตามธรรมชาติท่ี ไม่ต้องมีการบังคับ เช่น การเคาะเอ็นที่สะบ้าหัวเข่าทาให้เกิดการกระดุกข้ึนนั้น เป็นปฏิกิริยาสะท้อนโดยธรรมชาติ (Reflex) สมมุติว่าเราสร้างการเช่ือมโยงบางอย่างขึ้นในระบบประสาท เช่น ส่ันกระด่ิงทุกคร้ัง ที่มีการเคาะหัวเข่า จากนั่นเข่าจะกระตุกเม่ือได้ยินเสียงกระดิ่งโดยไม่ต้องเคาะหัวเข่า เป็นต้น (สาลินี เลก็ อนั : 2556) จากหลกั การขา้ งต้นสามารถสรุปหลักการเรียนรขู้ องพาฟลอฟเป็นแผนผงั ดงั นี้
3 การวางเง่ือนไขแบบคลาสสิค = ส่ิงเรา้ ท่ีวางเงื่อนไข + ส่ิงเร้าทไี่ มไ่ ดว้ างเงื่อนไข = การเรยี นรู้การทดลอง การทดลองแบง่ เป็น 3 ขนั้ ตอน คอื ขั้นกอ่ นวางเง่อื นไข ขน้ั วางเง่อื นไขและขั้นการเรยี นรูจ้ ากการวางเง่ือนไข ส่วนประกอบของกระบวนการวางเงื่อนไข สิง่ เรา้ ทไี่ ม่มเี ง่ือนไข UCS (Unconditional Stimulus) ส่ิงเร้าทมี่ ีเง่ือนไข CS (Conditional Stimulus) การตอบสนองอย่างไมม่ เี งื่อนไข UCR (Unconditional Response) การตอบสนองอยา่ งมเี ง่ือนไข CR (Conditional Response) ข้ันท่ี 1 ขน้ั กอ่ นวางเงื่อนไข
4 ขน้ั ก่อนวางเง่ือนไข เป็นข้ันท่ีศึกษาภูมิหลังของสุนัขก่อนการเรียนรู้จากการวางเง่ือนไข ว่าภูมิหลังหรือพฤติกรรมก่อนการเรียนรู้ เป็นอยา่ งไร เขาศึกษาพบว่า สุนัขจะแสดงอาการส่ายหัวและกระดิกหาง เมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง แต่จะแสดงอาการ นา้ ลายไหล เม่อื ได้เหน็ ผงเนื้อบด ซึง่ แสดงได้ดังสมการ เสียงกระดิ่ง (CS) === สา่ ยหวั และกระดิกหาง ผงเน้ือบด (UCS) === น้าลายไหล (UCR) ข้นั ก่อนวางเงื่อนไข จากการศึกษาภูมิหลังท้าให้ทราบว่าพฤติกรรมก่อนการเรียนรู้ครั้งน้ี สุนัขไม่ได้แสดงอาการน้าลายไหล เม่อื ไดย้ ินเสยี งกระดง่ิ จะต้องใชผ้ งเน้อื บดเขา้ ชว่ ยโดยการจับคู่กันจึงทา้ ใหส้ นุ ขั นา้ ลายไหลได้ ข้นั ที่ 2 ข้นั วางเง่ือนไข เป็นขั้นท่ีใส่กระบวนการเรียนรู้ โดยการวางเง่ือนไขแบบคลาสสิกเข้าไป เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ เขาได้ส่ันกระดิ่ง (หรือเป็นการเคาะส้อมเสียก่อน) จากนั้นก็รีบพ่นผงเน้ือบด เข้าปากสุนัขในเวลาต่อมาอย่างรวดเร็ว ทาอย่างนซ้ี า้ ๆ หลาย ๆ ครงั้ เพ่ือให้สุนขั เกดิ การเรยี นรู้ ซง่ึ แสดงสมการได้ ดงั นี้ เสยี งกระดิ่ง ( CS ) + ผงเนื้อบด ( UCS ) ==== น้าลายไหล ( UCR ) สงิ่ เรา้ ที่เป็นกลาง การตอบสนอง เสยี งกระดิ่ง : CS นา้ ลาย : CR สง่ิ เรา้ ทีไ่ มม่ เี ง่ือนไข ผงเนอื้ : UCS
5 ขัน้ วางเงื่อนไข ในการวางเงื่อนไขน้ี ใช้เสยี งกระด่ิง (หรือส้อมเสียง) เป็นสิ่งเร้าที่วางเง่ือนไข (CS) และใช้ผงเนื้อบดเป็นสงิ่ เร้า ท่ีไม่วางเง่ือนไข (UCS) และอาการน้าลายไหลในขณะวางเง่ือนไขนี้ ยังอาจเป็นการตอบสนองที่ไม่ได้วางเงื่อนไข (UCR) เพราะสุนขั อาจจะน้าลายไหลจากผงเนื้อบดมากกวา่ เสียงกระดงิ่ ขนั้ ท่ี 3 ขั้นการเรียนรูจ้ ากการวางเง่ือนไข เป็นขัน้ ทท่ี ดสอบว่า สุนัขเรยี นรูห้ รือยงั ในวิธีการวางเงอื่ นไขแบบคลาสสิกน้ี โดยการตดั ส่ิงเร้าทีไ่ มว่ างเงอื่ นไข ออก (UCS) คือผงเนือ้ บด ให้เหลือแตเ่ พียงสง่ิ เร้าท่วี างเง่อื นไข (CS) คอื เสียงกระดงิ่ ถา้ สนุ ัขยังน้าลายไหลอยู่ แสดงวา่ สนุ ัข เกดิ การเรยี นรูจ้ ากการวางเงอื่ นไข (CR) น่ันเอง ดงั แสดงไดจ้ ากสมการ เสยี งกระดิ่ง ( CS ) ==== น้าลายไหล ( CR ) หลงั จากวางเง่อื นไข จุดประสงค์คือ สามารถทาใหส้ ุนขั นา้ ลายไหล เม่ือได้ยนิ เสียงกระดง่ิ ได้ ซึ่งเป็นการแก้ข้อสงสยั ทีว่ ่า ทาไมสุนัข จงึ น้าลายไหล เมื่อได้ยินเสียงฝีเท้าของคนให้อาหาร ท้ังน้ีก็เพราะสุนัข มีการตอบสนองเชื่อมโยง จากอาหารไปสู่เสียง ฝเี ท้า โดยที่อาหารเป็นสิง่ เรา้ ที่ไม่ไดว้ างเงอื่ นไข (UCS) และเสยี งฝีเทา้ เปน็ ส่งิ เร้าทวี่ างเงอื่ นไข (CS) จากผลการทดลองนี้ เป็นข้อยืนยันให้เห็นจริงว่า การแสดงปฏิกิริยาสะท้อนต่าง ๆ น้ัน อาจใช้ในการเรียนรู้ โดยวางเง่ือนไขแบบคลาสสิกได้ ทฤษฎีการเรยี นรู้ 1. พฤตกิ รรมการตอบสนองของมนุษย์เกดิ จากการวางเง่อื นไขท่ีตอบสนองต่อความต้องการทางธรรมชาติ 2. พฤตกิ รรมการตอบสนองของมนุษย์สามารถเกิดข้นึ ไดจ้ ากส่งิ เรา้ ทเ่ี ช่อื มโยงกบั สงิ่ เรา้ ตามธรรมชาติ 3. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษยท์ ี่เกิดจากส่ิงเร้าทเี่ ช่ือมโยงกบั สิ่งเร้าตามธรรมชาติจะลดลงเรื่อย ๆ และหยุดลงในทส่ี ดุ หากไมไ่ ด้รับการตอบสนองตามธรรมชาติ 4. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์สิ่งเร้าท่ีเช่ือมโยงกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติจะลดลงและหยุดไปเมื่อไม่ได้รับ การตอบสนองตามธรรมชาติ และจะกลบั ปรากฏข้ึนไดอ้ ีกโดยไมต่ ้องใช้สงิ่ เรา้ ตามธรรมชาติ 5. มนษุ ย์มแี นวโนม้ ท่จี ะจาแนกลักษณะของสง่ิ เรา้ ให้แตกตา่ งกนั และเลือกตอบสนองได้ถกู ต้อง
6 กฎการเรยี นรู้ได้ดงั น้ี 6. กฎการดับสูญ (Law of extinction) การตอบสนองจะหายไปเร่ือยๆ และจะหมดไปในท่ีสุดหากอินทรีย์ ได้รับส่ิงเร้าท่ีวางเง่ือนไขเพียงอย่างเดียว เช่น ถ้าสั่นกระด่ิงหลายๆครั้ง โดยไม่ให้ผงเนื้อ ปริมาณน้าลายที่หลั่งออกมา จะค่อย ๆ ลดลงและจางหายไป หรือยุติการหล่งั น้าลายในการทดลอง หากสุนัขได้รับเพียง CS โดยไม่ได้รับ UCS และ เม่อื ทดลองเช่นนี้ ไปเร่อื ย ๆ ปฏิกริ ิยาน้าลายไหล จะไม่มีการตอบสนองเลย 2. กฎการฟ้ืนคืนสู่สภาพเดิม (Law of spontaneous recovery) การตอบสนองที่ได้หยุดไปชั่วคราว อาจ กลับคืนมาใหม่ ได้ด้วยตัวของมันเอง ถ้าได้รับการวางเง่ือนไขซ้าอีกครั้ง เช่น ภายหลังจากท่ีสุนัขเกิดพฤติกรรมที่ เรียกว่า การดับสูญแล้ว พาฟลอฟได้วางเง่ือนไขซ้า กล่าวคือให้ผงเน้ือและสั่นกระดิ่งซ้าอีก พบว่าสุนัขได้น้าลายไหล ออกมาอีก เราเรียกพฤติกรรมที่เกิดขึ้นมาอีกคร้ังนี้ว่า การฟ้ืนคืนสู่สภาพเดิม ดังนั้นการฟ้ืนคืนสู่สภาพเดิม จึงเป็น สภาวะท่ีภายหลงั พฤตกิ รรมท่ีวางเง่ือนไขถกู เลอื นไปแลว้ ได้รับสภาวะการเรยี นรซู้ ้าอกี ครัง้ 3. กฎการแผ่ขยาย (Law of generalization) ภายหลังจากการเรียนรู้ อินทรีย์จะเกิดการแผ่ขยายการ เรียนรู้ หรือเกิดการตอบสนองต่อสิ่งเร้าใหม่ หากส่ิงเร้านั้นมีลักษณะคล้ายกับสิ่งเร้าท่ีเคยท้าให้อินทรีย์ เกิดการ ตอบสนองการเรียนรู้อย่างมีเง่ือนไขมาแล้ว เช่น นอกจากเสียงกระดิ่งแล้ว สุนัขของพาฟลอฟ ยังตอบสนองต่อเสียง อื่นๆด้วย เช่น เสียงนกหวีด เสียงนาฬิกา หรือเสียงใดๆ ที่มี 73 ลักษณะคล้ายเสียงกระด่ิง ดังนั้นการแผ่ขยาย จึงหมายถึง สิ่งเร้าใด ๆ ก็ตามท่ีก่อให้เกิดพฤติกรรม หากมีส่ิงเร้าอ่ืนท่ีคล้ายกัน ก็สามารถท้าให้พฤติกรรมการ ตอบสนองในลักษณะที่คล้ายคลึงกันได้ เช่น กลัวสุนัขสีขาว ก็อาจจะแผ่ขยายให้กลัวหนูแมว กระต่าย ที่มีสีขาวตาม ไปดว้ ย หรือคุณแมจ่ ะแกงสม้ แต่ไม่มมี ะนาว อาจจะใช้มะขาม มะม่วง หรือส้มแขกทดแทนได้ 4. กฎการจา้ แนกความแตกต่าง (Law of discrimination) การทีส่ ุนัขได้เรยี นรู้แยกแยะ หรือจ้าแนกเสียง กระดิ่งออกจากเสียงอื่นๆ เช่น เมื่อพาฟลอฟ ทดลองต่อไปให้สุนัขเรียนรู้เฉพาะเสียงที่ต้องการให้เรียนรู้เท่านั้น สนุ ัขต้องสามารถจ้าแนกความแตกต่างของเสยี งกระดิ่งให้ได้ ในขน้ั นี้พาฟลอฟจะให้ผงเนื้อเฉพาะกับเสียงกระดิ่งทีเ่ ป็น เงอ่ื นไขเทา่ น้ัน แต่จะไม่ให้อาหาร หลงั เสยี งอื่นเลย สุนขั ก็จะเกิดการเรียนรใู้ นที่สุด และสนุ ัขจะหลั่งน้าลายเฉพาะเวลา ท่ีมีเสียงกระดิ่ง ดังน้ันความสามารถในการแยกแยะความแตกต่างของสิ่งเร้า จึงเกิดข้ึนไม่ได้รับการฝึกการตอบสนอง ตอ่ สงิ่ เร้าอันหนง่ึ และไมต่ อบสนองต่อสงิ่ เร้าอีกอนั หนงึ่ เช่น ผเู้ รียนสามารถแยกแยะได้ การประยุกต์ใช้ในดา้ นการเรียนการสอน 1. ผสู้ อนควรนาความต้องการทางธรรมชาติของผู้เรียนหรอื สิง่ ทผี่ เู้ รยี นชอบมาใช้เปน็ สง่ิ เร้ามาใชใ้ นการจดั การ เรยี นรแู้ ละให้รางวัลผู้เรียน ซ่ึงจะทาให้ผ้เู รียนเกดิ การเรยี นรู้ได้ดี 2. ผูส้ อนควรเสนอสง่ิ ทจี่ ะสอนไปพร้อม ๆกบั ส่งิ เรา้ ที่ผู้เรยี นชอบหรือสนใจ 3. การทีผ่ ู้สอนนาเรื่องท่ีเคยสอนมาแล้วกลบั มาสอนใหมส่ ามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรไู้ ด้ 4. ผสู้ อนควรจัดกจิ กรรมการเรียนให้ตอ่ เนื่องและคล้ายคลึงกันระหว่างประสบการณ์เดมิ กับประสบการณ์ใหม่ ซึ่งจะชว่ ยให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรูไ้ ดง้ ่ายขน้ึ 5. ผู้สอนควรเสนอสิ่งเร้าในการสอนใหช้ ดั เจน ซงึ่ จะชว่ ยให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้และตอบสนองไดช้ ัดเจนข้ึน 6. หากผ้สู อนตอ้ งการใหผ้ ู้เรียนเกดิ พฤติกรรมใดควรมีการใชส้ ่ิงเรา้ หลายแบบ แตต่ อ้ งมีส่งิ เร้าท่มี กี าตอบสนอง โดยไมม่ ีเง่ือนไขควบดูไปดว้ ย
7 สรุป หลักการเรียนรู้ทฤษฎีของพาฟลอฟเช่ือว่า ส่ิงเร้า (Stimulus) ที่เปน็ กลางเกดิ ขึ้นพร้อมๆกับสิ่งเร้าทท่ี าให้เกิด กริยาสะท้อนอย่างหน่ึงหลายๆครั้ง ส่ิงเร้าท่ีเป็นกลางจะทาให้เกิดกริยาสะท้อนอย่างน้ันด้วยการเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิต เกิดจากการวางเง่ือนไข (Conditioning) กล่าวคือ การตอบสนองหรือการเรียนรู้ท่ีเกิดข้ึนต่อส่ิงเร้านั้นๆต้องมีเง่ือนไข หรือ มีการสร้างสถานการณ์ให้เกดิ ขน้ึ ที่เป็นผลของการเรียนรู้ พฤติกรรมตอบสนองอย่างหนึ่งอยา่ งใดของรา่ งกายอาจ ไม่ใช่เป็นผลมาจากส่ิงเร้าใดสิ่งเร้าหน่ึงเพียงอย่างเดียว ส่ิงเร้าอ่ืนๆ ก็สามารถทาให้เกิดพฤติกรรมตอบสนองได้ เหมือนกัน ถ้าสามารถวางเง่ือนไขได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เช่น เมื่อมีคนถามว่าเคยชิม “มะดัน”หรือไม่ ทนั ทีทไ่ี ด้ยินคาวา่ “มะดนั ” จะปรากฏว่ามีน้าลายสอข้นึ ในปาก เปน็ ต้น
8 เอกสารอ้างองิ รศ.ดร.ศิริบรู ณ์ สายโกสมุ , (2542), จติ วิทยาการศึกษา, มหาวิทยาลัยรามคาแหง, หน้า 699 - 692 ดร.วิชาญ เพ็ชรทอง, (2559), รายงานการวิจัย : การพัฒนากระบวนการสร้างช้ินงานเพื่อประเมิน พัฒนาการการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนตามแนวทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้ ผ่านช้ินงาน รายวิชา การวดั และการควบคมุ ทางอุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, หน้า 6 ณั ฐ พ น ธ์ อ นุ ส ร ณ์ ท ร า ง กู ร , (2555), ร า ย ง า น วิ จั ย เ ร่ื อ ง : ปั จ จั ย ท่ี ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร เ รี ย น รู้ พื้นฐานการใช้คอมพิวเตอร์เพ่ือสร้างงานออกแบบของผู้เรียนท่ีมีพ้ืนฐานด้านการเรียนที่แตกต่างกัน , มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสวนสุนันทา, หน้า 66-13, ณัฐวดี ศิลปศักดิขจร, (2557), การศึกษาสภาพการใช้ ปัญหาและอุปสรรคในการใช้เทคโนโลยี เพ่ือการศึกษาภายในโรงเรียนสังกัดเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาจังหวัดนครปฐม, บัณฑิตวิทยาลัย มหาลัย ศิลปากร, หนา้ 71 – 75
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: