Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย ม 4 เทอม 1

โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย ม 4 เทอม 1

Published by saowanee021238, 2021-05-08 07:02:01

Description: โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย ม 4 เทอม 1

Search

Read the Text Version

โครงสร้างรายวชิ า ภาษาไทย ท 31101 มัธยมศึกษาปี ที่ 4 นางสาวเสาวนีย์ ต๊ะต๋า ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

โครงสร้างรายวชิ า รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท 31101 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564 จดั ทาโดย นางสาวเสาวนีย์ ต๊ะต๋า ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คาอธิบายรายวชิ า ท31101 ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกติ ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564 ศึกษาหลกั การอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง เหมาะสม ตีความ แปลความ และขยาย ความ ตอบคาถาม คาดคะเนเหตุการณ์ แสดงความคิดเห็นโตแ้ ยง้ เสนอความคิดใหม่ และวิเคราะห์วิจารณ์อย่างมี เหตผุ ล เขียนส่ือสาร ประเมินงานเขียน พฒั นาและผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ เขียนเรียงความ ยอ่ ความ บนั ทึก เขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้ มีมารยาทในการเขียน สรุป วิเคราะห์ ประเมินแนวคิด และแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกบั การใชภ้ าษาและความน่าเชื่อถือจากเร่ืองที่ฟังและดู มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู ลกั ษณะของ ภาษา การใชค้ าและกลุ่มคาสร้างประโยค วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย หลกั การสร้างคาใน ภาษาไทย การใช้ภาษาอย่างถูกตอ้ งเหมาะสม วิเคราะห์ ประเมินการใชภ้ าษา แต่งบทร้อยกรอง ท่องจา วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินคุณคา่ และสงั เคราะหข์ อ้ คิดวรรณคดีและวรรณกรรมที่ศึกษา โดยใช้กระบวนการทางภาษา การสืบคน้ ความรู้ การจดบนั ทึก ใช้ความสามารถในการคิดการอภิปราย เพ่อื ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจในการเรียนรู้ ใชค้ วามสามารถในการสื่อสารกบั ผอู้ ื่นใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั เห็นคุณค่าของภาษาไทย นาความรู้ไปใชใ้ นการแกป้ ัญหาใหเ้ กิดประโยชน์ในชีวิต เป็นผมู้ ีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด เห็นคุณค่าภาษาไทยซ่ึงเป็นเอกลกั ษณ์ของชาติ รัก ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซื่อสัตยส์ ุจริต มีวินยั ใฝ่ เรียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง มุ่งมน่ั ในการทางาน รักความเป็ นไทยและมีจิต สาธารณะ เพอื่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ภาคภูมิใจในภาษาไทยและรักษาไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ ตวั ชี้วดั ท 1.1 ม.4–6/1, ม.4–6/2, ม.4–6/3, ม.4–6/4, ม.4–6/5, ม.4–6/6 ท 2.1 ม.4–6/1, ม.4–6/2, ม.4–6/3, ม.4–6/4, ม.4–6/5, ม.4–6/6, ม.4–6/7, ม.4–6/8 ท 3.1 ม.4–6/1, ม.4–6/2, ม.4–6/3, ม.4–6/4, ม.4–6/5, ม.4–6/6 ท 4.1 ม.4–6/1, ม.4–6/2, ม.4–6/3, ม.4–6/4, ม.4–6/5, ม.4–6/6, ม.4–6/7 ท 5.1 ม.4–6/1, ม.4–6/2, ม.4–6/3, ม.4–6/4, ม.4–6/6 รวมท้งั หมด 32 ตวั ชี้วดั

ผงั มโนทัศน์ รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท31101 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที 1 ปี การศึกษา 2564 ปฐมนเิ ทศและข้อตกลงในการเรียน สอบกลางภาค 1 ชวั่ โมง เวลา 1 ชว่ั โมง สอบปลายภาค 1 ชวั่ โมง หน่วยที่ 1 รายวชิ าภาษาไทย หน่วยท่ี 6 ธรรมชาตแิ ละลกั ษณะของภาษา รหสั วชิ า ท31101 นิทานเวตาลเร่ืองท่ี 10 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3 เวลา 3 ชว่ั โมง เวลา 40 ช่ัวโมง เวลา 3 ชว่ั โมง หน่วยที่ 2 หน่วยท่ี 5 การใช้ภาษาในการส่ือสาร ส่งสารด้วยการเขียน เวลา 4 ชวั่ โมง เวลา 10 ชว่ั โมง หน่วยท่ี 3 หน่วยท่ี 4 อเิ หนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นิง การฟัง การดู และการพูดให้สัมฤทธ์ิผล เวลา 9 ชว่ั โมง เวลา 8 ชวั่ โมง

รายวชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท31101 โครงสร้างรายวชิ า ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 4 หน่วย ช่ือหน่วย มาตรฐาน ตวั ชี้วดั สาระสาคญั เวลา คะแนน A ที่ (ชั่วโมง) รวม KP - ปฐมนเิ ทศและข้อตกลงในการเรียน 1- 1 -- 1 1. ธรรมชาติและ ท 1.1 ม.4–6/2 ภาษาเป็ นเครื่องมือในการสื่อสารที่ใชถ้ ่ายทอดความคิด ความรู้สึก 3 5 22 2 ลกั ษณะของภาษา ท 4.1 ม.4–6/1, ม.4–6/2, ความต้องการให้ผูอ้ ่ืนรับรู้ ซ่ึงแต่ละภาษาจะมีลักษณะบางอย่าง 22 ม.4–6/5, ม.4–6/6 ร่วมกนั ภาษาแต่ละภาษาจะมีลกั ษณะเฉพาะของตนเองท่ีแตกต่าง 64 ไปจากภาษาอ่ืน 2. การใชภ้ าษา ท 1.1 ม.4–6/2 การมีความรู้เก่ียวกบั การสื่อสาร จะเพ่ิมประสิทธิภาพในการสื่อสาร 4 5 ในการสื่อสาร ท 2.1 ม.4–6/7 ใหป้ ระสบความ สาเร็จตามจุดมุ่งหมายมากข้ึน การรับสารและการ ท 3.1 ม.4–6/2, ม.4–6/3, ส่งสารเพื่อกิจธุระเป็นการส่ือสารที่จาเป็นในชีวติ ประจาวนั ม.4–6/5, ม.4–6/6 การใช้คา กลุ่มคาให้ถูกตอ้ งเหมาะสมตามสถานการณ์ในการ ท 4.1 ม.4–6/3, ม.4–6/7 สื่อสารกบั บุคคลต่าง ๆ จะทาใหส้ ่ือสารไดต้ รงตามจุดมุ่งหมายของ การส่ือสาร การใชค้ าท่ีมีความหมายคลา้ ยกนั และการใชค้ าท่ีทาใหม้ องเห็นภาพ หรือให้ความรู้สึกชดั ข้ึนเป็ นพิเศษ ทาให้เขา้ ใจจุดมุ่งหมายในการ สื่อสารไดช้ ดั เจนข้ึน 3. อิเหนา ตอน ศึก ท 1.1 ม.4–6/1, ม.4–6/3, การวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม เป็นการแสดงความคิดเห็น 9 12 กะหมงั กหุ นิง ม.4–6/4, ม.4–6/5, เก่ียวกับวรรณคดีและวรรณกรรมว่ามีคุณค่าหรือมีข้อบกพร่อง ม.4–6/6 อยา่ งไร ท 5.1 ม.4–6/1, ม.4–6/2,

ม.4–6/3, ม.4–6/4, ประวตั ิวรรณคดีและวรรณกรรมสมัยสุโขทัยเร่ิมต้ังแต่ พ.ศ. ม.4–6/6 ๑๗๙๒–๑๙๘๑ มีวรรณคดีท่ีเก่าแก่ที่สุด คือ หลกั ศิลาจารึก ประวตั ิวรรณคดีและวรรณกรรมสมัยอยุธยาตอนต้น (พ.ศ. ๑๘๙๓–๒๐๗๒) เป็ นช่วงเริ่มตน้ สร้างบา้ นเมือง จึงมีหลกั ฐานทาง วรรณคดีใหศ้ ึกษาไม่มากนกั บทละครเร่ือง อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กุหนิง เป็ นบทพระราช นิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 ที่ไดร้ ับยกยอ่ งจากวรรณคดีสโมสรในรัชกาล ท่ี 6 ว่าเป็ นยอดแห่งบทละครรา มีความดีเด่นท้ังเน้ือความและ กระบวนกลอน การอา่ นทานองเสนาะ เป็นการอา่ นที่มีการเอ้ือนเสียงเป็นทานอง ตามลกั ษณะบงั คบั ของคาประพนั ธ์ การอ่านตีความ เป็ นการพิจารณาและจบั ใจความของเร่ืองอยา่ ง ละเอียด การเขียนแสดงความคิดเห็น เป็นการถ่ายทอดความรู้โดยการอา้ ง ขอ้ เทจ็ จริงท่ีน่าเช่ือถือ สานวนโวหาร เป็นการเลือกใชค้ า สานวน เพ่ือความสละสลวย ของภาษา 4. การฟัง การดู การ ท 3.1 ม.4–6/1, ม.4–6/2, การมีความรู้เกี่ยวกบั หลกั ในการฟังและการดูจะทาให้ฟังและดู 8 10 4 4 2 พดู ใหส้ มั ฤทธ์ิผล ม.4–6/3, ม.4–6/4, ไดต้ รงตามจุดมุ่งหมายท่ีตอ้ งการการฟังใหส้ ัมฤทธ์ิผลตอ้ งอาศยั การ ม.4–6/5, ม.4–6/6 ฝึกฟังจบั ประเดน็ สาคญั คิดวิเคราะห์เร่ืองท่ีฟังและดูมารยาทในการ ท 4.1 ม.4–6/3, ม.4–6/5 ฟังและการดูเป็ นมารยาททางสังคมที่ควรปฏิบตั ิให้เหมาะสมกบั กาลเทศะ

การมีหลักในการพูดจะทาให้พูดได้ตรงตามหัวข้อหรื อ จุดมุ่งหมายท่ีตอ้ งการ การพูดในโอกาสต่าง ๆ ตอ้ งศึกษาหลกั ใน การพดู ฝึกพดู อยา่ งสม่าเสมอ และตอ้ งรักษามารยาทในการพดู มารยาทในการพูดเป็นมารยาททางสังคมที่ควรปฏิบตั ิใหเ้ หมาะสม กบั กาลเทศะและบุคคล 5. ส่งสาร ท 2.1 ม.4–6/1, ม.4–6/2, การเขา้ ใจกระบวนการเขียนและกระบวนการคิดทาใหส้ ร้างงาน 10 13 6 4 3 ดว้ ยการเขียน ม.4–6/3, ม.4–6/4, เขียนไดอ้ ย่างมีลาดบั ข้นั ตอน การเขียนอย่างมีมารยาทเป็ นการให้ ม.4–6/5, ม.4–6/6, เกียรติผูอ้ ่าน การเขียนในรูปแบบต่าง ๆ มีรูปแบบในการเขียนท่ี แตกต่างกันออกไป ผูเ้ ขียนต้องเลือกใช้รูปแบบในการเขียนให้ ม.4–6/7, ม.4–6/8 ถูกตอ้ งตามรูปแบบของงานเขียน ท 4.1 ม.4–6/4 บทร้อยกรองมีหลายประเภท การแต่งบทร้อยกรองจาเป็นตอ้ งรู้ ฉนั ทลกั ษณ์ของบทร้อยกรองประเภทท่ีจะแต่ง 6. นิทานเวตาล ท 1.1 ม.4–6/1, ม.4–6/2, นิทานเวตาล เป็นนิทานซอ้ นนิทาน ท่ีเวตาลเล่าถวายใหพ้ ระวิกร 3 5 2 2 1 เรื่องที่ 10 ม.4–6/3, ม.4–6/4, มาทิตยฟ์ ังระหวา่ งการเดินทางนาตวั เวตาลไปมอบใหโ้ ยคี ซ่ึงนิทาน ม.4–6/5, ม.4–6/6 ท่ีเวตาลเลา่ ถวายพระวิกรมาทิตยน์ ้นั เป็นนิทานซ่อนปริศนาที่ทา้ ทาย ท 5.1 ม.4–6/1, ม.4–6/4 สติปัญญาผฟู้ ัง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ เป็นการเขียนท่ีมีรูปแบบ กลวิธี วิธีการ นาเสนอเน้ือหาท่ีแปลกใหม่ เนน้ คุณประโยชน์ ใหข้ อ้ คิดที่ดีงามต่อ ผู้อ่าน และช่วยจรรโลงสังคม นอกเหนือจากความรู้ ความ สนุกสนานเพลิดเพลิน สอบกลางภาค 1 20 สอบปลายภาค 1 30 รวม 40 100 22 18 10

การวเิ คราะห์มาตรฐานและตวั ชี้วดั รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท31101 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง ธรรมชาติและลกั ษณะของภาษา เวลา 3 ชั่วโมง ตวั ชี้วดั รู้อะไร ทาอะไร ภาระงาน / ชิ้นงาน สมรรถนะสาคญั คุณลกั ษณะของวชิ า คุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ ท 1.1 ม.4–6/2 รู้อะไร 1. จับใจความ อภิปราย สนทนา 1. การสื่อสาร 1. ความสามารถในการ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ตีความ แปลความ และ 1. คาสาคญั ไดแ้ ก่ วจั นภาษา อวจั นภาษา แลกเปล่ียนความคิดเห็นและ 2. การคิด อธิบาย ช้ีแจง การแปล 2. ซื่อสตั ยส์ ุจริต ขยายความเร่ืองท่ีอ่าน ภาษาตาย โฆษะ อโฆษะ วิภตั ติ บริบท ศึ ก ษ า ค้น ค ว้า เ ก่ี ย ว กับ เ ร่ื อ ง 3. การแกป้ ัญหา ความและตีความ 3. มีวนิ ยั ท 4.1 ม.4–6/1 การประสมอกั ษร ธรรมชาติและลกั ษณะของภาษา 4. การใชท้ กั ษะชีวิต 2. ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ 4. ใฝ่ เรียนรู้ อธิบายธรรมชาติของ 2. ภาษาท่ีใช้ในการส่ือสารมีท้งั ภาษาที่ 2. ขยายประโยค 5. การใชเ้ ทคโนโลยี ดดั แปลงและนาไปใช้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ภาษา พลังของภาษา เป็นถอ้ ยคาและภาษาที่ไม่ใช่ถอ้ ยคา 3. วิเคราะห์การใช้สานวนภาษา 3. การมีมุมมองที่หลาก 6. มุ่งมน่ั ในการทางาน และลกั ษณะของภาษา 3. ภาษาแต่ละภาษาจะมีธรรมชาติของ ต่างประเทศ หลาย ให้ความ สาคญั 7. รักความเป็นไทย ภาษา คือใช้เสียงในการสื่อความ 4. ประสมอกั ษร และใส่ใจในความ รู้สึก 8. มีจิตสาธารณะ ท 4.1 ม.4–6/2 ใช้คาและกลุ่มคาสร้าง หมาย ประกอบด้วย หน่วยเล็กซ่ึง 5. อ่านตีความจากบริบท ของผูอ้ ่ืน และการรู้จกั ป ร ะ โ ย ค ต ร ง ต า ม ประกอบกนั เป็นหน่วยใหญ่ข้ึน มีการ 6. วิเคราะห์จุดเนน้ ของประโยค ตนเอง เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา และมี 7. เขียนแผนภาพความคิด 4. มีมารยาทในการอ่าน วตั ถุประสงค์ และมีนิสยั รักการอา่ น ลกั ษณะเฉพาะที่ต่างและเหมือนกนั ท 4.1 ม.4–6/5 วิเคราะห์อิทธิพลของ 4. ภาษาไทยเป็นภาษาท่ีมีระบบตวั เขียน ภาษาต่าง ประเทศและ และมีอักษรใช้เป็ นของตนเอง ซ่ึง ประกอบด้วย พยญั ชนะ สระ และ ภาษาถิ่น วรรณยกุ ต์ และสามารถนามาประสม ท 4.1 ม.4–6/6

อธิบายและวิเคราะห์ เป็นคาหรือประโยคเพื่อใช้สื่อสารกนั หลักการสร้ าง คาใน ได้ ภาษาไทย 5. การเขา้ ใจลกั ษณะของภาษาไทยจะทา ให้ออกเสียงคา และเขียนสะกดคา ถู ก ต้ อ ง ต า ม ห ลัก เ ก ณ ฑ์ ข อ ง ภ า ษ า รวมถึงสามารถตีความหมายของคา ขอ้ ความ และประโยค โดยพิจารณา จากบริบทและการเรียงคาเขา้ ประโยค ไดด้ ียง่ิ ข้ึน ทาอะไร 1. อธิบายความหมายของภาษาได้ 2. เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและใชภ้ าษา ในการสื่อสารไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 3. ออกเสียงและเขียนสะกดคาถูกต้อง ตามหลกั เกณฑข์ องภาษา 4. ตีความหมายของคา ข้อความ และ ประโยคจากบริบทและการเรียงคาเขา้ ประโยค

การวเิ คราะห์มาตรฐานและตวั ชี้วดั รายวชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท31101 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564 ช่ือหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เร่ือง การใช้ภาษาในการส่ือสาร เวลา 4 ชั่วโมง ตวั ชี้วดั รู้อะไร ทาอะไร ภาระงาน / ชิ้นงาน สมรรถนะสาคญั คุณลกั ษณะของวชิ า คุณลกั ษณะ ท 1.1 ม.4–6/2 รู้อะไร 1. จับ ใ จ ค ว า ม อ ภิ ป ร า ย 1. การส่ือสาร 1. ความสามารถในการ อนั พงึ ประสงค์ สนทนาแลกเปลี่ยนความ 2. การคิด อธิ บาย ช้ี แจง การ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ตีความ แปลความ และ 1. ก า ร มี ค ว า ม รู้ แ ล ะ ค ว า ม เ ข้า ใ จ คิดเห็น และศึกษาคน้ ควา้ 3. การแกป้ ัญหา แปลความและตีความ 2. ซ่ือสัตยส์ ุจริต ขยายความเร่ืองท่ีอ่าน เ กี่ ย ว กับ ก า ร ส่ื อ ส า ร ใ น เ ร่ื อ ง เกี่ยวกบั การใชภ้ าษาในการ 4. การใชท้ กั ษะชีวิต 3. มีวินยั ค ว า ม ส า คัญ ข อ ง ก า ร สื่ อ ส า ร สื่อสาร 5. การใชเ้ ทคโนโลยี 2. ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ 4. ใฝ่เรียนรู้ ท 2.1 ม.4–6/7 อ งค์ปร ะกอ บขอ งการ ส่ื อสาร ดดั แปลงและนาไปใช้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง จุดมุ่งหมายของการสื่อสาร ภาษาใน 2. พูดสื่อสารในสถานการณ์ 6. มุ่งมน่ั ในการทางาน บันทึกการศึกษาค้นควา้ การส่ื อสาร สถานการณ์ในการ ต่าง ๆ 3. การมีมุมมองที่หลาก 7. รักความเป็นไทย เพ่ือนาไปพัฒนาตนเอง ส่ือสารที่มีประสิทธิภาพ อุปสรรค 3. วิเคราะห์สถานการณ์ใน หลาย ใหค้ วาม สาคญั 8. มีจิตสาธารณะ อยา่ งสม่าเสมอ ของการส่ือสารและวิธีแกไ้ ข จะทา การส่ือสาร และใส่ ใจในความ ให้การสื่อสารบรรลุจุดมุ่งหมายได้ 4. ใช้โทรศัพท์และโทรสาร รู้สึ กของผู้อื่น และ ท 3.1 ม.4–6/2 ง่ายข้ึน ในการส่ือสาร การรู้จกั ตนเอง เขียนแผนภาพความคิด วิเคราะห์แนวคิด การใช้ 2. การรับสารและการส่งสารเพื่อกิจ 5. แสดงบทบาทสมมุติ 4. มีมารยาทในการอ่าน ภาษา และความน่าเช่ือถือ ธุระ ผรู้ ับสารและผสู้ ่งสารจะตอ้ งใช้ 6. คน้ ควา้ ความรู้เพมิ่ เติม และมีนิสยั รักการอ่าน จากเรื่องท่ีฟังและดูอยา่ งมี ภาษาใหก้ ระชบั รัดกมุ ไม่กากวม ทา 7. เหตุผล ท 3.1 ม.4–6/3 ประเมิ นเร่ื องที่ ฟั งและดู แ ล้ ว ก า ห น ด แ น ว ท า ง

นาไปประยุกต์ใช้ในการ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจผดิ และตอ้ งใชใ้ ห้ ดาเนินชีวิต เหมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล ท 3.1 ม.4–6/5 3. ก า ร ใ ช้ค า ก ลุ่ ม ค า ใ ห้ ถู ก ต้อ ง พูดในโอกาสต่าง ๆ พูด เหมาะสมตามสถานการณ์ในการ แสดงทรรศนะ โต้แย้ง สื่อสารกับบุคคลต่าง ๆ ผูส้ ื่อสาร โน้มน้าวใจ และเสนอ จะตอ้ งคานึงถึงฐานะ โอกาส และ แนวคิดใหม่ด้วยภาษา กาลเทศะในการส่ือสารดว้ ย เพราะ ถูกตอ้ งเหมาะสม เป็ นส่ิงท่ีใชก้ าหนดระดบั ของภาษา ท 3.1 ม.4–6/6 ว่ า ค ว ร จ ะ ใ ช้ ภ า ษ า อ ย่ า ง ไ ร ใ ห้ มีมารยาทในการฟัง การดู เหมาะสม 4. การใช้คาท่ีมีความหมายคล้ายกัน และการพดู และการใช้คาท่ีทาให้มองเห็นภาพ ท 4.1 ม.4–6/3 ใช้ภาษาเหมาะสม แก่ หรือให้ความรู้สึกชัดข้ึนเป็ นพิเศษ ค ว ร เ ลื อ ก ใ ช้ ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ต า ม โอกาส กาลเทศะ และ ความหมายที่ตอ้ งการส่ือสาร เพ่อื ให้ บุคคล รวมท้ังคาราชา การสื่ อสารบรรลุจุดมุ่งหมายท่ี ศพั ทอ์ ยา่ งเหมาะสม ตอ้ งการ ท 4.1 ม.4–6/7 วิเคราะห์และประเมินการ ทาอะไร ใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ 1. มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการ และสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ ส่ือสารสามารถส่ือสารไดต้ รงตาม จุดมุ่งหมายและแก้ไขอุปสรรคใน การส่ือสารได้

2. เลือกส่ือในการรับสารและส่งสาร เพื่อกิจธุระได้เหมาะสม และใช้ ภาษาได้เหมาะสมตาม ฐานะ กาลเทศะ และสถานการณ์ 3. เลือกใช้คา กลุ่มคาเหมาะสมกับ ฐานะ โอกาสและกาลเทศะในการ ส่ือสาร 4. เลือกใชค้ าไดต้ รงตามความหมายท่ี ตอ้ งการส่ือสาร

การวเิ คราะห์มาตรฐานและตวั ชี้วดั รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท31101 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง อเิ หนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นิง เวลา 9 ชั่วโมง ตวั ชี้วดั รู้อะไร ทาอะไร ภาระงาน / ชิ้นงาน สมรรถนะสาคญั คุณลกั ษณะของวชิ า คุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ ท 1.1 ม.4–6/1 รู้อะไร 1. อ่านเรื่อง ความรู้ทวั่ ไปเก่ียวกบั 1. การสื่อสาร 1. ความสามารถใน 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ 1. คาสาคัญได้แก่วรรณศิลป์ วาทศิลป์ วรรณคดีและวรรณกรรมสมัย 2. การคิด การอธิบาย ช้ีแจง 2. ซ่ือสตั ยส์ ุจริต และบทร้อยกรองไดอ้ ยา่ ง ภาพพจน์ อสญั แดหวา อสญั หยา ตุนาหงนั สุโขทยั และอยุธยาตอนตน้ แลว้ 3. การแกป้ ัญหา การแปลความและ 3. มีวนิ ยั ถูกตอ้ ง ไพเราะ เหมาะสม กระยาหงัน อะหนะ ยุรยาตร สีหบัญชร จับใจความสาคัญ สรุ ปความ 4. การใชท้ กั ษะชีวิต ตีความ 4. ใฝ่ เรียนรู้ กบั เรื่องที่อ่าน ดะหมงั ปัจจามิตรเลก เจียระบาด ตรัส วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น 5. การใชเ้ ทคโนโลยี 2. การประยุกตใ์ ช้ ดดั 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ท 1.1 ม.4–6/3 เตร็จ ก้นั หยน่ั ตามะหงง วิหลน่ั กิดาหยนั และตอบคาถาม แปลงและนาไปใช้ 6. มุ่งมน่ั ในการทางาน วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่อง ฟันไมข้ ่มนาม โขลนทวาร บุหรง นามครุ 2. เขียนแผนภาพความคิด 3. ก า ร มี มุ ม ม อ ง ท่ี 7. รักความเป็นไทย 3. อภิปรายกลุม่ ห ล า ก ห ล า ย ใ ห้ 8. มีจิตสาธารณะ ที่อ่านในทุก ๆ ด้านอย่าง ฑา 2. การวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม ผู้ 4. วจิ ารณ์วรรณคดีตามรูปแบบการ ความสาคญั และใส่ มีเหตุผล วิจารณ์จะต้องพิจารณาองค์ประกอบท่ี วจิ ารณ์ ใจในความ รู้สึ ก ท 1.1 ม.4–6/4 คาดคะเนเหตุการณ์จาก สาคัญของงานประพันธ์ คือ รู ปแบบ 5. เขียนแสดงทรรศนะ ของผูอ้ ื่น และการ เรื่องท่ีอ่านและประเมินค่า เน้ือหา และภาษา โดยมีเหตุผลท่ีน่าเช่ือถือ 6. ทารายงาน รู้จกั ตนเอง เพื่อนาความรู้ ความ คิด มาอธิบายประกอบ 7. อ่านบทละครเรื่อง อิเหนา ตอน 4. มีมารยาทในการ อ่านและมีนิสัยรัก ไปใชต้ ดั สินใจ แก้ ปัญหา 3. วรรณคดีสมัยสุโขทยั มีลกั ษณะเป็ นการ ศึกกะหมงั กหุ นิงแลว้ จบั ใจความ การอ่าน บรรยาย สภาพบา้ นเมือง วฒั นธรรม สงั คม สาคัญ เล่าเรื่ องย่อ วิเคราะห์ ในการดาเนินชีวติ และการอบรมศีลธรรม ไม่มุ่งเน้นความ

ท 1.1 ม.4–6/5 บนั เทิง แต่งเป็นร้อยแกว้ ใชค้ าไทยโบราณ แสดงความคิดเห็น และตอบ วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดง บาลีสนั สกฤตและเขมรปะปน คาถาม ค ว า ม คิ ด เ ห็ น โ ต้แ ย้ง 4. วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น ส่วนใหญ่ 8. เขียนภาพโครงเรื่อง เก่ียวกับเร่ืองที่อ่าน และ เป็ นเร่ืองเก่ียวกับศาสนา พิธีกรรม พระ 9. เขียนยอ่ ความ เสนอความคิดใหม่อยา่ งมี มหา กษตั ริย์ มีคาประพนั ธ์ท้งั โคลง ฉันท์ 10. อ่านทานองเสนาะ เหตุผล กาพย์ ร่าย และลิลิต ยกเวน้ กลอน 11. ท่องจาบทร้อยกรอง ท 1.1 ม.4–6/6 5. บทละครเร่ือง อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กุห 12. อ่านตีความ ตอบคาถามจากการอ่าน นิง มีเน้ือหาสะทอ้ นถึงวิธีการทาศึกตาม 13. วิเคราะห์ลกั ษณะนิสยั ตวั ละคร งานเขียนประเภทต่าง ๆ ตาราพิชัยสงคราม การจัดทัพ และการ 14. เขียนแสดงความคิดเห็น ป้องกนั บา้ นเมือง และใหข้ อ้ คิดเตือนใจใน 15. เขียนงานเขียน โดยใช้โวหาร ภายในเวลาท่ีกาหนด เร่ืองความรัก ต่าง ๆ ท 5.1 ม.4–6/1 วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ วิ จ า ร ณ์ 6. การอ่านทานองเสนาะ เป็ นการอ่านออก 16. แต่งเรื่องส้นั หรือนิทาน วรรณคดี วรรณกรรมตาม เสียงตามวรรคตอนจังหวะ ลีลา และ ท่วงทานองตามลักษณะบังคับของบท หลกั การวจิ ารณ์เบ้ืองตน้ ประพันธ์ โดยใช้น้ าเสียงและอารมณ์ ท 5.1 ม.4–6/2 7. สอดคลอ้ งกบั รสความของคาประพนั ธน์ ้นั 8. การตีความ เป็ นการจบั ใจความของเร่ือง วิเคราะห์ลกั ษณะเด่นของ อยา่ งละเอียด เพ่ือใหท้ ราบความคิดสาคญั วรรณคดีเชื่อมโยงกบั การ ของเร่ืองโดยอาศยั ความรู้ในการพิจารณา เรียนรู้ทางประวตั ิศาสตร์ องคป์ ระกอบของเรื่อง และวิถีชีวิตของสังคมใน การเขียนแสดงความคิดเห็น เป็ นการ อดีต ถ่ายทอดความรู้ ความรู้สึก ประสบการณ์ ท 5.1 ม.4–6/3 วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น คุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ ของ

วรรณคดีและวรรณกรรม อย่างมีเหตุผลท่ีน่าเช่ือถือ เพ่ือก่อให้เกิด ในฐานะท่ีเป็ นมรดกทาง การเปล่ียนแปลงที่ดี วฒั นธรรมของชาติ 9. สานวนโวหารในภาษาไทย แบ่งออกเป็ น ท 5.1 ม.4–6/4 บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร อุปมา สังเคร าะห์ข้อ คิ ด จ า ก โวหารสาธกโวหาร และเทศนาโวหาร วรรณคดีและวรรณกรรม ทาอะไร เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ใน 1. บ อ ก ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ ลัก ษ ณ ะ ข อ ง ชีวติ จริง วรรณคดีและวรรณกรรม ท 5.1 ม.4–6/6 2. บ อ ก ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง ว ร ร ณ ค ดี 3. วรรณกรรม และยกตวั อยา่ งถูกตอ้ ง ท่องจาและบอกคุณค่าบท บอกแนวทางการวิจารณ์ วรรณคดี อ า ข ย า น ต า ม ท่ี ก า ห น ด 4. วรรณกรรมตามองค์ประกอบของงาน แ ล ะ บ ท ร้ อ ย ก ร อ ง ที่ มี ประพนั ธ์ คุ ณ ค่ า ต า ม ค ว า ม ส น ใ จ บอกเหตุการณ์ท่ัวไปของบ้านเมืองใน และนาไปใชอ้ า้ งอิง สมยั สุโขทยั และอยธุ ยาตอนตน้ 5. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ ทางประวตั ิศาสตร์และวรรณคดีในสมยั สุโขทยั และอยธุ ยาตอนตน้ 6. บอกเหตุการณ์ทางวรรณคดีในสมัย สุโขทยั และอยธุ ยาตอนตน้ 7. บอกลกั ษณะและยกตวั อย่างวรรณคดีใน สมยั สุโขทยั และอยธุ ยาตอนตน้

8. จับใจความสาคญั เล่าเรื่องย่อ และบอก ขอ้ คิดจากเร่ืองท่ีอา่ น 9. เข้าใจลักษณะการอ่านทานองเสนาะ กลอนบทละคร 10. บอกหลกั การอ่านตีความที่สามารถทาให้ เขา้ ใจเร่ืองท่ีอา่ นไดอ้ ยา่ งลึกซ้ึง 11. เขียนแสดงความคิดเห็นเร่ืองราวต่าง ๆ อยา่ งน่าเชื่อถือ ไม่มีอคติ 12. บอกลกั ษณะของสานวนโวหารและใช้ สานวน โวหารในการเขียนงานเขียนได้ อยา่ งสร้างสรรค์

การวเิ คราะห์มาตรฐานและตัวชี้วดั รายวชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท31101 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การฟัง การดู และการพดู ให้สัมฤทธ์ิผล เวลา 8 ช่ัวโมง ตัวชี้วดั รู้อะไร ทาอะไร ภาระงาน / ชิน้ งาน สมรรถนะสาคญั คุณลกั ษณะของวชิ า คุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ ท 3.1 ม.4–6/1 รู้อะไร 1. จบั ใจความ อภิปราย สนทนา 1. การสื่อสาร 1. ความสามารถในการ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ สรุ ปแนวคิดและแสดงความ 1. การรู้จกั หลกั การฟังและการดู แลกเปลี่ยนความคิดเห็น 2. การคิด อธิบาย ช้ีแจง การแปล 2. ซ่ือสตั ยส์ ุจริต คิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู ทาให้เลือกฟังและดูสิ่งท่ีเป็ น และศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ 3. การแกป้ ัญหา ความและตีความ 3. มีวินยั ท 3.1 ม.4–6/2 ความรู้และความบันเทิง โดย เรื่อง การฟัง การดู และการ 4. การใชท้ กั ษะชีวติ 2. ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ 4. ใฝ่ เรียนรู้ วิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา ฟังและดูไดอ้ ยา่ งมีวิจารณญาณ พดู ใหส้ มั ฤทธ์ิผล 5. การใชเ้ ทคโนโลยี ดดั แปลงและนาไปใช้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง และความน่าเช่ือถือจากเร่ืองท่ี และตรงตามจุดมุ่งหมายที่ 2. วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น 3. การมีมุมมองที่หลาก 6. มุ่งมน่ั ในการทางาน ประเมินคา่ เรื่องท่ีฟังและดู หลาย ให้ความ สาคญั 7. รักความเป็นไทย ฟังและดูอยา่ งมีเหตุผล ตอ้ งการ และใส่ใจในความ รู้สึก 8. มีจิตสาธารณะ ท 3.1 ม.4–6/3 2. ก า ร ฟั ง ใ ห้สัม ฤ ท ธ์ิ ผ ล ต้อ ง 3. ฟังและดูส่ิงที่เป็นความรู้และ ของผูอ้ ่ืน และการรู้จกั ตนเอง ประเมินเร่ื องที่ฟังและดู แล้ว พิจารณาโอกาสในการฟัง และ ความบนั เทิง 4. มีมารยาทในการอ่าน กาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ ควรฟังอยา่ งเป็นระดบั ข้นั ตอน 4. ฝึกพดู ในโอกาสต่าง ๆ และมีนิสยั รักการอ่าน 3. ผทู้ ี่มีมารยาทในการฟังและการ 5. พูดอภิปรายตามหัวขอ้ ท่ีครู ใชใ้ นการดาเนินชีวิต ดู จะต้อ งมี มารยาทในการ กาหนด ท 3.1 ม.4–6/4 แสดงออกและมารยาทในการ 6. เขียนแผนภาพความคิด มีวิจารณญาณในการเลือกเร่ืองท่ี ฟังและดู รับสารท่ีเหมาะสม 7. แสดงบทบาทสมมุติ

ท 3.1 ม.4–6/5 4. การรู้จกั หลกั การพูดทาใหเ้ ลือก พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดง เร่ืองที่จะพูดได้เหมาะสมกับ ทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ จุดมุ่งหมายท่ีตอ้ งการพดู และเสนอแนว คิดใหม่ 5. การ พูดให้สัมฤ ทธ์ิ ผลต้อง ท 3.1 ม.4–6/6 พิจารณาโอกาสและระดบั ของ มีมารยาทในการฟัง การดู และ บุคคลท่ีพูดด้วย แล้วเลือกใช้ การพดู คาพดู ใหเ้ หมาะสม 6. ผูท้ ี่มีมารยาทในการพูดจะทา ท 4.1 ม.4–6/3 ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส ใหผ้ ฟู้ ังเช่ือถือและยกยอ่ ง กาลเทศะ และบุคคล รวมท้งั คา ทาอะไร ราชาศพั ทอ์ ยา่ งเหมาะสม 1. ฟังและดูเร่ืองราวต่าง ๆ อยา่ งมี ท 4.1 ม.4–6/5 หลกั การ วิเคราะห์อิทธิ พลของภาษา 2. ฟังเรื่องราวต่าง ๆ ได้สัมฤทธ์ิ ต่างประเทศและภาษาถ่ิน ผลตามท่ีตอ้ งการ 3. พูดในโอกาสต่าง ๆ อย่างมี หลกั การ 4. พดู ไดส้ มั ฤทธ์ิผลตามที่ตอ้ งการ 5. มีมารยาทในการฟังการดู และ การพดู

การวเิ คราะห์มาตรฐานและตวั ชี้วดั รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท31101 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 ช่ือหน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 เร่ือง ส่งสารด้วยการเขยี น เวลา 10 ชั่วโมง ตัวชี้วดั รู้อะไร ทาอะไร ภาระงาน / ชิน้ งาน สมรรถนะสาคญั คุณลกั ษณะของวชิ า คุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ ท 2.1 ม.4–6/1 รู้อะไร 1. จบั ใจความ อภิปราย สนทนา 1. การสื่อสาร 1. ความสามารถในการ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ เขียนส่ือสารในรูปแบบต่าง ๆ 1. คาสาคญั ไดแ้ ก่ แก่นของเรื่อง คณะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น 2. การคิด อธิบาย ช้ีแจง การแปล 2. ซ่ือสตั ยส์ ุจริต ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ โดยใช้ คาเอกโทษ คาโทโทษ ชิงสัมผัส เกี่ยวกบั เรื่อง การส่งสารดว้ ย 3. การแกป้ ัญหา ความและตีความ 3. มีวนิ ยั ภาษาเรียบเรียงถกู ตอ้ ง มีขอ้ มูล สมั ผสั เฝือ การเขียน 4. การใชท้ กั ษะชีวติ 2. ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ 4. ใฝ่ เรียนรู้ และสาระสาคญั ชดั เจน 2. การ ใช้กร ะบว นการ เขี ย น แ ล ะ 2. พูดอภิปรายเกี่ยวกับการ 5. การใชเ้ ทคโนโลยี ดดั แปลงและนาไปใช้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ท 2.1 ม.4–6/2 เขียนเรียงความ กระบวนการคิดประกอบการเขียน เขียนในรูปแบบต่าง ๆ 3. การมีมุมมองที่หลาก 6. มุ่งมนั่ ในการทางาน งาน จะทาให้งานเขียนมีจุดมุ่งหมาย 3. วเิ คราะห์งานเขียน หลาย ให้ความ สาคญั 7. รักความเป็นไทย ท 2.1 ม.4–6/3 และใส่ใจในความ รู้สึก 8. มีจิตสาธารณะ เขียนยอ่ ความจากสื่อท่ีมีรูปแบบ ที่ชัดเจน และเรี ยบเรียงอย่างเป็ น 4. สร้างสรรคง์ านเขียนรูปแบบ ลาดบั ต่าง ๆ ของผูอ้ ่ืน และการรู้จกั และเน้ือหาหลากหลาย ตนเอง 3. การมีมารยาทในการเขียน เขียนโดย 5. รวบรวมตัวอย่างงานเขียน 4. มีมารยาทในการอ่าน ท 2.1 ม.4–6/4 4. ใช้ถ้อยคาสุภาพ ไม่ใช้ปากกาเป็ น 6. รูปแบบต่าง ๆ และมีนิสยั รักการอา่ น อาวุธ และเขียนดว้ ยความรับผิดชอบ อธิบายแผนผงั ของบทร้อย ผ ลิ ต ง า น เ ขี ย น ข อ ง ต น เ อ ง ใ น จดั เป็นการใหเ้ กียรติผอู้ ่าน 7. กรองประเภทต่าง ๆ และ รูปแบบต่าง ๆ การเขียนในรูปแบบต่าง ๆ มีรูปแบบ แ ต่ ง บ ท ร้ อ ย ก ร อ ง ต า ม ในการ เขียนที่แตกต่างกันออกไป แผนผงั ท 2.1 ม.4–6/5 ผูเ้ ขียนตอ้ งมีจุดมุ่งหมายท่ีชดั เจนใน เขียนแผนภาพความคิด ประเมินงานเขียนของผอู้ ื่น แลว้ นามาพฒั นางานเขียนของตนเอง ท 2.1 ม.4–6/6

เขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้ การเขียนจึงจะเลือก รู ปแบบการ เรื่องที่สนใจตามหลกั การเขียน เขียนไดเ้ หมาะสมกบั เรื่องท่ีตอ้ งการ เ ชิ ง วิ ช า ก า ร แ ล ะ ใ ช้ข้อ มู ล เขียน และถูกตอ้ งตามรูปแบบในการ สารสนเทศอา้ งอิงอยา่ งถูกตอ้ ง เขียน ท 2.1 ม.4–6/7 5. บทร้อยกรองมีหลายประเภท ท้ัง บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพ่ือ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย การ น า ไ ป พัฒ น า ต น เ อ ง อ ย่ า ง เรียนรู้การแต่งบทร้อยกรอง จะทาให้ สม่าเสมอ แต่งได้ถูกต้องตามฉันทลกั ษณ์ของ ท 2.1 ม.4–6/8 บทร้อยกรองท่ีตอ้ งการแต่ง และทา ใหเ้ ห็นความงดงามของภาษาไทย มีมารยาทในการเขียน ท 4.1 ม.4–6/4 ทาอะไร แต่งบทร้อยกรอง 1. ใช้กระบวนการเขียนและกระบวน การคิดในการเขียนรูปแบบต่าง ๆ ได้ อยา่ งเป็นระบบ 2. มีมารยาทในการเขียน 3. สร้างสรรค์งานเขียนรูปแบบต่าง ๆ ไดต้ รงตามความตอ้ งการและถูกตอ้ ง ตามรูปแบบในการเขียน 4. แต่งบทร้อยกรองถูกต้องตามฉันท ลกั ษณ์โดยใชภ้ าษาท่ีสละสลวย

การวเิ คราะห์มาตรฐานและตัวชี้วดั รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท31101 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 ช่ือหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เร่ือง นิทานเวตาลเรื่องท่ี 10 เวลา 3 ชั่วโมง ตวั ชี้วดั รู้อะไร ทาอะไร ภาระงาน / ชิ้นงาน สมรรถนะสาคญั คุณลกั ษณะของวชิ า คุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ ท 1.1 ม.4–6/1 รู้อะไร 1. อ่านนิทานเวตาลเร่ืองท่ี 1. การสื่อสาร 1. ความสามารถในการ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและ 1. นิทานเวตาล เป็ นวรรณคดีภาษา 10 แลว้ จบั ใจความสาคญั 2. การคิด อธิบาย ช้ีแจง การแปล 2. ซื่อสตั ยส์ ุจริต บทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง สันสกฤตแล้วนามาแปลเป็ น ตีความ วิเคราะห์ แสดง 3. การแกป้ ัญหา ความและตีความ 3. มีวินยั ไพเราะ เหมาะสมกบั เร่ืองท่ีอา่ น ภาษาองั กฤษ พระราชวรวงศ์เธอ ความคิดเห็น และตอบ 4. การใชท้ กั ษะชีวติ 2. ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ 4. ใฝ่ เรียนรู้ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ (น.ม.ส.) คาถาม 5. การใชเ้ ทคโนโลยี ดดั แปลงและนาไปใช้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ท 1.1 ม.4–6/2 ตีความ แปลความ และขยาย ทรงแปลจากตน้ ฉบบั ภาษาองั กฤษ 2. เขียนแผนภาพโครงเรื่อง 3. การมีมุมมองที่หลาก 6. มุ่งมน่ั ในการทางาน มาเป็ นภาษาไทย นิ ทานซ้อน และแผนภาพความคิด หลาย ให้ความ สาคญั 7. รักความเป็นไทย ความเรื่องท่ีอา่ น และใส่ใจในความ รู้สึก 8. มีจิตสาธารณะ นิทานอย่างเร่ือง นิทานเวตาลน้ีที่ 3. วเิ คราะห์ตวั ละคร ท 1.1 ม.4–6/3 ของผูอ้ ่ืน และการรู้จกั วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่าน ให้ข้อคิด วิธีการคิดวิเคราะห์ 4. อา่ นออกเสียงร้อยแกว้ ตนเอง แกไ้ ขปมปริศนา นบั วา่ เป็นนิทาน 5. ทารายงาน 4. มีมารยาทในการอ่าน ในทุก ๆ ดา้ นอยา่ งมีเหตุผล และมีนิสยั รักการอา่ น ท่ี ไ ด้รั บ ค ว า ม นิ ย ม อ ย่ า ง ม า ก ใ น 6. วิเคราะห์วิจารณ์เร่ื อง ท 1.1 ม.4–6/4 ช่วงเวลาน้ัน เน่ืองจากทรงแปล อยา่ งมีเหตุผล และเรียบเรียงเป็ นภาษาที่งดงาม 7. แต่งนิทานซอ้ นนิทาน คาดคะเนเหตุการณ์ จากเร่ื องที่ และสละสลวย 8. เ ขี ย น ง า น เ ขี ย น เ ชิ ง อ่านแล ะปร ะเ มิ นค่าเพื่อ นา การเขียนเชิงสร้างสรรค์ เป็ นงาน สร้างสรรค์ คว า ม รู้ คว า ม คิ ด ไ ปใช้ตัด สิ น ใจ 2. แกป้ ัญหาในการดาเนินชีวิต เขียนท่ีมีกระบวนการคิด การ

ท 1.1 ม.4–6/5 นาเสนอผลงานที่แตกต่าง จาก วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความ รู ปแบบเดิม ๆ ท้ังด้านรู ปแบบ คิดเห็นโตแ้ ยง้ เกี่ยวกบั เร่ืองท่ีอ่าน กลวิธีในการเขียน การสอดแทรก และเสนอความคิดใหม่อย่างมี ความรู้ ขอ้ คิด การเลือกใชถ้ อ้ ยคา เหตุผล สานวนภาษา ท 1.1 ม.4–6/6 ทาอะไร ตอบคาถามจากการอ่านงานเขียน 1. อ่านออกเสียงไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม ประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาท่ี กบั เรื่อง กาหนด 2. ตีความ แปลความจากเร่ืองที่อ่าน ท 5.1 ม.4–6/1 3. วิเคราะห์วิจารณ์เร่ื องอย่างมี วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี เหตุผล และวรรณกรรมตามหลักการ 4. เขียนงานเขียนเชิงสร้างสรรค์ วจิ ารณ์เบ้ืองตน้ ถูกตอ้ งเหมาะสม ท 5.1 ม.4–6/4 สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม เ พื่ อ น า ไ ป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง

การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ รายวชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท31101 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564 เป้าหมายการเรียนรู้ ภาระงาน / ชิน้ งาน วธิ ีวดั เครื่องมือวดั ประเด็น / เกณฑ์ คะแนน การให้คะแนน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 1. จับใจความ อภิปราย สนทนา 1. การทดสอบ 1. แบบทดสอบก่อนและหลงั ไดค้ ะแนน 5 ธรรมชาติและลกั ษณะของภาษา แลก เปลี่ยนความคิดเห็นและ 2. การสนทนาซกั ถาม เรียน ร้อยละ 60 ข้ึนไป 2. แบบประเมินการอา่ น ถือวา่ ผา่ น สาระสาคญั ศึ กษาค้นคว้าเกี่ ยวกับเร่ื อ ง 3. การสงั เกต 3. แบบประเมินการเขียน 4. แบบประเมินการพดู ภาษาเป็ นเครื่ องมือในการส่ื อสารท่ีใช้ ธรรมชาติและลกั ษณะของภาษา 4. การตรวจผลงาน / 5. แบบประเมินการฟังและ ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก ความตอ้ งการให้ 2. ขยายประโยค กิจกรรมเป็ นราย การดู ผูอ้ ื่นรับรู้ ซ่ึงแต่ละภาษาจะมีลกั ษณะบางอย่าง 3. วิเคราะห์การใช้สานวนภาษา บุคคลหรือรายกลุ่ม 6. แบบประเมินดา้ นคุณธรรม ร่วมกัน ภาษาแต่ละภาษาจะมีลกั ษณะ เฉพาะ ต่างประเทศ 5. การวดั เจตคติ จริยธรรม และคา่ นิยม ของตนเองที่แตกต่างไปจากภาษาอ่ืน 4. ประสมอกั ษร 6. การวดั ทกั ษะ / 5. อ่านตีความจากบริบท กระบวนการ 6. วเิ คราะห์จุดเนน้ ของประโยค 7. แบบประเมินด้านทักษะ 7. เขียนแผนภาพความคิด และกระบวนการ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 1. จับใจความ อภิปราย สนทนา 1. การทดสอบ 1. แบบทดสอบก่อนและหลงั ไดค้ ะแนน 5 การใชภ้ าษาในการสื่อสาร แลก เปล่ียนความคิดเห็น และ 2. การสนทนาซกั ถาม เรียน ร้อยละ 60 ข้ึนไป 2. แบบประเมินการอา่ น ถือวา่ ผา่ น สาระสาคญั ศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับการใช้ 3. การสงั เกต 3. แบบประเมินการเขียน 4. แบบประเมินการพดู การมีความรู้เก่ียวกับการส่ือสาร จะเพ่ิม ภาษาในการสื่อสาร 4. การตรวจผลงาน / 5. แบบประเมินการฟังและ ประสิทธิภาพในการส่ือสารให้ประสบความ 2. พดู ส่ือสารในสถานการณ์ต่าง ๆ กิจกรรมเป็นราย การดู สาเร็จตามจุดมุ่งหมายมากข้ึน การรับสารและ 3. วิเคราะห์สถานการณ์ในการ บุคคลหรือรายกลุม่ สื่อสาร 5. การวดั เจตคติ

การส่งสารเพื่อกิจธุระเป็ นการสื่อสารท่ีจาเป็ น 4. ใชโ้ ทรศพั ทแ์ ละโทรสารในการ 6. การวดั ทกั ษะ / 6. แบบประเมินดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยม ในชีวิต ประจาวนั สื่อสาร กระบวนการ 7. แบบประเมินด้านทักษะ การใช้คา กลุ่มคาให้ถูกต้องเหมาะสมตาม 5. เขียนแผนภาพความคิด และกระบวนการ สถานการณ์ในการส่ือสารกบั บุคคลต่าง ๆ จะ 6. แสดงบทบาทสมมุติ 1. แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน ทาให้สื่อสารได้ตรงตามจุดมุ่งหมายของการ 7. คน้ ควา้ ความรู้เพิม่ เติม 2. แบบประเมินการอ่าน ส่ือสารการใช้คาท่ีมีความหมายคล้ายกันและ 3. แบบประเมินการเขียน 4. แบบประเมินการพดู การใชค้ าท่ีทาใหม้ องเห็นภาพหรือใหค้ วามรู้สึก 5. แบบประเมินการฟังและ ชดั ข้ึนเป็นพิเศษ ทาใหเ้ ขา้ ใจจุด มุ่งหมายในการ การดู 6. แบบประเมินดา้ นคุณธรรม ส่ือสารไดช้ ดั เจนข้ึน จริยธรรม และค่านิยม หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 1. อ่านเร่ือง ความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกบั 1. การทดสอบ 7. แบบประเมินด้านทักษะ ไดค้ ะแนน 12 ร้อยละ 60 ข้ึนไป อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นิง วรรณคดีและวรรณกรรมสมัย 2. การสนทนาซกั ถาม และกระบวนการ ถือวา่ ผา่ น สาระสาคญั สุโขทยั และอยุธยาตอนตน้ แลว้ 3. การสงั เกต การวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม เป็ น จับใจความสาคัญ สรุ ปความ 4. การตรวจผลงาน / การแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับวรรณคดีและ วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น กิจกรรมเป็นราย วรรณกรรมว่ามีคุณค่าหรื อมีข้อบกพร่ อง และตอบคาถาม บุคคลหรือรายกลุม่ อยา่ งไร 2. เขียนแผนภาพความคิด 5. การวดั เจตคติ ประวตั ิวรรณคดีและวรรณกรรมสมยั สุโขทยั 3. อภิปรายกลุ่ม 6. การวดั ทกั ษะ / เริ่มต้ังแต่ พ.ศ. ๑๗๙๒–๑๙๘๑ มีวรรณคดีที่ 4. วจิ ารณ์วรรณคดีตามรูปแบบการ กระบวนการ วิจารณ์ เก่าแก่ท่ีสุด คือ หลกั ศิลาจารึก ประวตั ิวรรณคดีและวรรณกรรมสมยั อยธุ ยา 5. เขียนแสดงทรรศนะ ตอนตน้ (พ.ศ. ๑๘๙๓–๒๐๗๒) เป็นช่วงเร่ิมตน้ 6. ทารายงาน สร้างบา้ นเมือง จึงมีหลกั ฐานทางวรรณคดีให้ 7. อ่านบทละครเร่ือง อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นิงแลว้ จบั ใจความ ศึกษาไม่มากนกั

บทละครเร่ือง อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กุหนิง สาคัญ เล่าเรื่ องย่อ วิเคราะห์ เป็นบทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลท่ี 2 ท่ีไดร้ ับยก แสดงความคิดเห็น และตอบ ย่องจากวรรณคดีสโมสรในรัชกาลที่ 6 ว่าเป็ น คาถาม ยอดแห่งบทละครรา มีความดีเด่นท้งั เน้ือความ 8. เขียนภาพโครงเร่ือง และกระบวนกลอน 9. เขียนยอ่ ความ การอ่านทานองเสนาะ เป็ นการอ่านที่มีการ 10. อา่ นทานองเสนาะ เอ้ือนเสียงเป็นทานองตามลกั ษณะบงั คบั ของคา 11. ท่องจาบทร้อยกรอง ประพนั ธ์ 12. อ่านตีความ การอ่านตีความ เป็ นการพิจารณาและจับ 13. วเิ คราะห์ลกั ษณะนิสยั ตวั ละคร ใจความของเร่ืองอยา่ งละเอียด 14. เขียนแสดงความคิดเห็น การเขียนแสดงความคิดเห็น เป็ นการ 15. เขียนงานเขียน โดยใช้โวหาร ถ่ายทอดความรู้โดยการอ้างข้อเท็จจริ งที่ ต่าง ๆ น่าเช่ือถือ 16. แต่งเร่ืองส้นั หรือนิทาน สานวนโวหาร เป็ นการเลือกใช้คา สานวน เพือ่ ความสละสลวยของภาษา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 1. จับใจความ อภิปราย สนทนา 1. การทดสอบ 1. แบบทดสอบก่อนและหลงั ไดค้ ะแนน 10 เรียน ร้อยละ 60 ข้ึนไป การฟัง การดู และการพดู ใหส้ มั ฤทธ์ิผล แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ 2. การสนทนาซกั ถาม 2. แบบประเมินการอา่ น ถือวา่ ผา่ น สาระสาคญั ศึกษาคน้ ควา้ เก่ียวกบั เร่ือง การ 3. การสงั เกต 3. แบบประเมินการเขียน 4. แบบประเมินการพดู การมีความรู้เก่ียวกบั หลกั ในการฟังและการ ฟัง การดู และการพูดใหส้ ัมฤทธ์ิ 4. การตรวจผลงาน / 5. แบบประเมินการฟังและ ดูจะทาให้ฟังและดูได้ตรงตามจุดมุ่งหมายท่ี ผล กิจกรรมเป็ นราย การดู ตอ้ งการการฟังให้สัมฤทธ์ิผลตอ้ งอาศยั การฝึ ก 2. วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น บุคคลหรือรายกลุม่ ฟังจบั ประเด็นสาคญั คิดวิเคราะห์เร่ืองท่ีฟังและ ประเมินค่าเร่ืองท่ีฟังและดู 5. การวดั เจตคติ

ดูมารยาทในการฟังและการดูเป็ นมารยาททาง 3. ฟังและดูสิ่งที่เป็ นความรู้และ 6. การวดั ทกั ษะ / 6. แบบประเมินดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยม สงั คมที่ควรปฏิบตั ิใหเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ ความบนั เทิง กระบวนการ 7. แบบประเมินด้านทักษะ การมีหลกั ในการพูดจะทาให้พดู ไดต้ รงตาม 4. ฝึกพดู ในโอกาสต่าง ๆ และกระบวนการ หัวข้อหรือจุดมุ่งหมายท่ีต้องการ การพูดใน 5. พูดอภิปรายตามหัวข้อที่ครู 1. แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน โอกาสต่าง ๆ ตอ้ งศึกษาหลกั ในการพูด ฝึ กพูด กาหนด 2. แบบประเมินการอา่ น อย่างสม่าเสมอ และตอ้ งรักษามารยาทในการ 6. เขียนแผนภาพความคิด 3. แบบประเมินการเขียน 4. แบบประเมินการพดู พดู 7. แสดงบทบาทสมมุติ 5. แบบประเมินการฟังและ มารยาทในการพูดเป็ นมารยาททางสังคมท่ี การดู 6. แบบประเมินดา้ นคุณธรรม ควรปฏิบตั ิใหเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล จริยธรรม และคา่ นิยม หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 1. จับใจความ อภิปราย สนทนา 1. การทดสอบ 7. แบบประเมินด้านทักษะ ไดค้ ะแนน 13 ร้อยละ 60 ข้ึนไป ส่งสารดว้ ยการเขียน แลกเปล่ียนความคิดเห็นเก่ียวกบั 2. การสนทนาซกั ถาม และกระบวนการ ถือวา่ ผา่ น สาระสาคญั เร่ือง การส่งสารดว้ ยการเขียน 3. การสงั เกต การเข้าใจกระบวนการเขียนและกระบวน 2. พูดอภิปรายเก่ียวกบั การเขียนใน 4. การตรวจผลงาน / การคิดทาให้สร้างงานเขียนได้อย่างมีลาดับ รูปแบบต่าง ๆ กิจกรรมเป็ นราย ข้นั ตอน การเขียนอย่างมีมารยาทเป็ นการให้ 3. วิเคราะห์งานเขียน บุคคลหรือรายกลุม่ เกียรติผู้อ่าน การเขียนในรู ปแบบต่าง ๆ มี 4. สร้างสรรคง์ านเขียนรูปแบบต่าง 5. การวดั เจตคติ รู ปแบบในการเขียนท่ีแตกต่างกันออกไป ๆ 6. การวดั ทกั ษะ / ผู้เขียนต้องเลือกใช้รู ปแบบในการเขียนให้ 5. รวบรวมตัวอย่างงานเขียน กระบวนการ รูปแบบต่าง ๆ ถูกตอ้ งตามรูปแบบของงานเขียน บทร้อยกรองมีหลายประเภท การแต่งบท 6. อธิบายแผนผงั ของบทร้อยกรอง ร้อยกรองจาเป็ นตอ้ งรู้ฉันทลกั ษณ์ของบทร้อย ประเภทต่าง ๆ และแต่งบทร้อย กรองตามแผนผงั กรองประเภทที่จะแต่ง 7. เขียนแผนภาพความคิด

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 1. อ่านนิทานเวตาลเรื่องท่ี 10 แลว้ 1. การทดสอบ 1. แบบทดสอบก่อนและหลงั ไดค้ ะแนน 5 เรียน ร้อยละ 60 ข้ึนไป นิทานเวตาลเรื่องที่ 10 จับ ใ จ ค ว า ม ส า คัญ ตี ค ว า ม 2. การสนทนาซกั ถาม 2. แบบประเมินการอา่ น ถือวา่ ผา่ น สาระสาคญั วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น 3. การสงั เกต 3. แบบประเมินการเขียน 4. แบบประเมินการพดู นิทานเวตาล เป็ นนิทานซ้อนนิทาน ที่เวตาล และตอบคาถาม 4. การตรวจผลงาน / 5. แบบประเมินการฟังและ เล่าถวายให้พระวิกรมาทิตย์ฟังระหว่างการ 2. เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและ กิจกรรมเป็นราย การดู เดินทางนาตวั เวตาลไปมอบให้โยคี ซ่ึงนิทานท่ี แผนภาพความคิด บุคคลหรือรายกลุม่ 6. แบบประเมินดา้ นคุณธรรม เวตาลเล่าถวายพระวิกรมาทิตยน์ ้ันเป็ นนิทาน 3. วิเคราะห์ตวั ละคร 5. การวดั เจตคติ จริยธรรม และคา่ นิยม 7. แบบประเมินด้านทักษะ ซ่อนปริศนาที่ทา้ ทายสติปัญญาผฟู้ ัง 4. อ่านออกเสียงร้อยแกว้ 6. การวดั ทกั ษะ / และกระบวนการ การเขียนเชิงสร้างสรรค์ เป็ นการเขียนท่ีมี 5. ทารายงาน กระบวนการ รูปแบบ กลวิธี วิธีการนาเสนอเน้ือหาที่แปลก 6. วิเคราะห์วิจารณ์เร่ื องอย่างมี ใหม่ เน้นคุณประโยชน์ ให้ข้อคิดที่ดีงามต่อ เหตุผล ผูอ้ ่าน และช่วยจรรโลงสังคม นอกเหนือจาก 7. แต่งนิทานซอ้ นนิทาน 8. เขียนงานเขียนเชิงสร้างสรรค์ ความรู้ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน

ตารางวเิ คราะห์สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ชี้วดั ช้ันปี กบั หน่วยการเรียนรู้ รายวชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท31101 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 สาระท่ี 1 สาระท่ี 2 สาระที่ 3 การฟัง สาระท่ี 4 หลกั การใช้ สาระที่ 5วรรณคดี การอ่าน การเขยี น มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชี้วดั ช้ันปี / การดู และการพูด ภาษาไทย และวรรณกรรม หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน 1.1 มาตรฐาน 2.1 มาตรฐาน 3.1 มาตรฐาน 4.1 มาตรฐาน 5.1 1234567891 23456781 234561234567123456 หน่วยที่ 1 ธรรมชาติและลกั ษณะของภาษา ✓ ✓✓ ✓✓ หน่วยท่ี 2 การใชภ้ าษาในการส่ือสาร ✓ ✓ ✓✓ ✓ ✓ ✓ ✓ หน่วยที่ 3 อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นิง ✓ ✓✓✓✓ ✓✓✓✓ ✓ หน่วยท่ี 4 การฟัง การดู และการพดู ให้ ✓ ✓✓ ✓ ✓ ✓ ✓✓ สมั ฤทธ์ิผล ✓ ✓✓✓✓✓✓✓ ✓ หน่วยท่ี 5 ส่งสารดว้ ยการเขยี น หน่วยท่ี 6 นิทานเวตาลเร่ืองท่ี 10 ✓✓✓✓✓✓ ✓✓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook