Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เเบบฝึกเล่ม 1 คำไวพจน์น่าจดจำ

เเบบฝึกเล่ม 1 คำไวพจน์น่าจดจำ

Published by saowanee021238, 2021-09-03 09:34:36

Description: เเบบฝึกเล่ม 1 คำไวพจน์น่าจดจำ

Search

Read the Text Version

แบบฝกึ ทกั ษะการแตง่ โคลงสีส่ ุภาพ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 เล่มท่ี 1 คาไวพจน์นา่ จดจา ก. แบบฝกึ ทักษะการแต่งโคลงสี่สุภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มท่ี 1 เร่ือง คาไวพจน์น่า จดจา รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ นักเรียนสามารถใช้ฝึกทักษะการแต่งโคลงส่ีสุภาพได้ด้วยตนเอง มีการประเมินผลก่อนเรียน เนอื้ หาแบบฝึกทักษะพร้อมเฉลยเพ่ือใช้สาหรับตรวจสอบคาตอบ มีการประเมินผลหลังเรียน เพื่อ เปรยี บเทยี บการเรียนรกู้ ่อนและหลังใช้แบบฝึกทักษะ โดยมุ่งเน้นที่จะพัฒนาการแต่งคาประพันธ์ ประเภท “โคลงสี่สภุ าพ” ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ให้สอดคล้องและบรรลุผลตาม มาตรฐานและตวั ช้วี ดั รายวิชาภาษาไทย ที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ผู้จดั ทาตระหนกั ถึงความสาคัญของทักษะภาษาไทย เร่ือง การแต่งคาประพันธ์ ว่าเป็น ทักษจาเป็นท่ีต้องได้รับการฝึกฝน เพ่ือให้เกิดความชานาญ จึงได้จัดทาแบบฝึกทักษะการแต่ง โคลงส่สี ุภาพข้ึน จานวน 3 เลม่ ดงั นี้ เลม่ ที่ 1 คาไวพจน์นา่ จดจา เล่มท่ี 2 ร้อยเรียงคาสมั ผัส เลม่ ท่ี 3 ฝึกหดั โคลงสสี่ ุภาพ แบบฝึกแต่ละเล่มจะมีกิจกรรมที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การแต่งคา ประพันธ์ประเภท โคลงส่ีสุภาพ ซึ่งผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าแบบฝึกน้ีจะสามารถช่วยพัฒนา ทกั ษะภาษาไทย เรอื่ ง การแต่งโคลงสส่ี ุภาพ ของนักเรียนใหด้ ีย่ิงขน้ึ เสาวนีย์ ตะ๊ ตา๋

แบบฝึกทกั ษะการแตง่ โคลงส่สี ภุ าพ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 1 คาไวพจน์น่าจดจา ข. เร่ือง หนา้ คานา ก. สารบัญ ข. คาแนะนาสาหรบั ครู 1. คาแนะนาสาหรบั นกั เรยี น 2. แผนผังข้นั ตอนการเรียนโดยใชแ้ บบฝึกทักษะ 3. มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชวี้ ดั 4. แบบทดสอบก่อนเรียน 5-7 ใบความรู้ที่ 1 ความหมายคาไวพจน์ 8 แบบฝกึ ท่ี 1.1 ความหมายคาไวพจน์ 9 แบบฝกึ ท่ี 1.2 จดั กล่มุ คาไวพจน์ 10 ใบความรู้ที่ 2 ตัวอย่างคาไวพจน์ 11 - 16 แบบฝกึ ที่ 2.1 รคู้ วามหมายคาไวพจน์ 17 แบบฝึกท่ี 2.2 ค้นควา้ หาคาไวพจน์ 18 ใบความรทู้ ี่ 3 การนาคาไวพจนไ์ ปใช้ 19 - 20 แบบฝึกท่ี 3.1 คาไวพจน์ในบทเพลง 21 แบบฝึกท่ี 3.2 คาไวพจน์ในบทประพนั ธ์ 22 - 23 แบบทดสอบหลงั เรียน 24 - 25

แบบฝึกทกั ษะการแตง่ โคลงส่สี ุภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 เล่มท่ี 1 คาไวพจนน์ ่าจดจา ค. เร่อื ง หนา้ ภาคผนวก ง. เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน 27 - 29 เฉลยแบบฝึกที่ 1.1 ความหมายคาไวพจน์ เฉลยแบบฝึกที่ 1.2 จัดกลมุ่ คาไวพจน์ 30 เฉลยแบบฝกึ ท่ี 2.1 รู้ความหมายคาไวพจน์ 31 เฉลยแบบฝกึ ที่ 2.2 ค้นคว้าหาคาไวพจน์ 32 เฉลยแบบฝึกท่ี 3.1 คาไวพจนใ์ นบทเพลง 33 เฉลยแบบฝึกท่ี 3.2 คาไวพจนใ์ นบทประพันธ์ 34 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน 35 - 36 37 - 39 บรรณานุกรม จ.

แบบฝึกทกั ษะการแตง่ โคลงส่ีสุภาพ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 เลม่ ที่ 1 คาไวพจน์น่าจดจา 1. 1. ศึกษารายละเอียดและคาช้ีแจงในการใช้แบบฝึกทักษะและใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ เร่อื งการแตง่ โคลงสี่สภุ าพ โดยให้นักเรียนทาเฉพาะส่วนท่ีระบุในแผนการจัดการเรียนรู้ รายชว่ั โมงน้ัน ๆ 2. ใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) ก่อนการใช้แบบฝึกทกั ษะ 3. จัดการเรียนรตู้ ามแผนการเรยี นรู้ ซ่ึงระบกุ ารใช้ทกั ษะไวต้ ามข้ันตอน 4. อธบิ ายวิธีการใช้แบบฝึกและแจ้งให้นักเรียนอ่านคาช้ีแจงในการใช้แบบฝึกทักษะ เมื่อเร่ิม ใชค้ รง้ั แรก 5. ทาข้อตกลงรว่ มกับนกั เรียนเรื่องความมีวนิ ัยและความซ่อื สตั ย์ในการทาแบบฝกึ ทกั ษะ 6. ตรวจใหค้ ะแนนทุกคร้ังหลังจากนักเรยี นทาแบบฝึกทักษะแต่ละชดุ เสรจ็ 7. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หลังจากเรียนจบและทากิจกรรมใน แบบฝกึ จนครบและเสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว

แบบฝึกทกั ษะการแตง่ โคลงสี่สภุ าพ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 1 คาไวพจน์นา่ จดจา 2. 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pest-test) 2. ศกึ ษารายละเอียดและคาชีแ้ จงของแบบฝกึ ทักษะใหเ้ ข้าใจก่อนทากจิ กรรม โดยทาแบบฝึก ทกั ษะเป็นรายบุคคลตามท่คี รูกาหนดและมอบหมายในการเรยี นแตล่ ะครงั้ 3. ทาแบบฝึกทักษะด้วยความมีวินัยและซ่ือสัตย์ต่อตนเองเพ่ือให้เกิดการพัฒนาทักษะ ภาษาไทย เร่ือง การแต่งโคลงสส่ี ภุ าพ อยา่ งแท้จริง 4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หลังจากเรียนจบและทากิจกรรมในแบบฝึกจน ครบและเสรจ็ เรียบรอ้ ยแล้ว

แบบฝึกทักษะการแตง่ โคลงสี่สภุ าพ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 เล่มท่ี 1 คาไวพจนน์ า่ จดจา 3. ปฏิบัติกิจกรรมตามข้นั ตอน ดังนี้ 1. ทดสอบกอ่ นเรยี น (Pest-test) 2. ศกึ ษาเนื้อหา 3. ทาแบบฝึกทกั ษะ 4. ทดสอบหลังเรยี น (Post-test) ตรวจสอบผลการทาแบบทดสอบหลงั เรยี น ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 60 ไมผ่ า่ นเกณฑ์ ตา่ กวา่ รอ้ ยละ 60 ศกึ ษาแบบฝกึ ทักษะ เล่มต่อไป

แบบฝึกทักษะการแตง่ โคลงสสี่ ุภาพ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 1 คาไวพจน์นา่ จดจา 4. สาระที่ 4 หลักการใชภ้ าษา มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ขิ องชาติ ตวั ชวี้ ดั ท 4.1 ม.4-6/4 แต่งบทร้อยกรอง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธบิ ายลักษณะของคาไวพจน์ได้ 2. นักเรียนบอกความหมายของคาไวพจน์ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 3. นักเรยี นใชค้ าไวพจน์ได้ถกู ต้องตามความหมาย สาระการเรยี นรู้ 1. ลกั ษณะและความหมายของคาไวพจน์ 2. หลักเกณฑ์การใชค้ าไวพจน์

แบบฝกึ ทักษะการแต่งโคลงส่สี ภุ าพ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 1 คาไวพจน์นา่ จดจา 5. คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนเลือกคาตอบทถี่ ูกท่ีสุด แล้วเขียนเคร่อื งหมาย ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดมคี วามหมายต่างกบั “ พนา ” ข. นภดล ก. ไพรสณฑ์ ง. พนัส ค. พงไพร ข. บุษบา บหุ ลนั 2. คาในข้อใดมคี วามหมายวา่ “ ทอ้ งฟา้ ” ง. อัมพร เวหา ก. เวหา บรุ นิ ทร์ ค. นภดล อุทก ข. นลิ ุบล มารศรี นงคราญ ง. สิงขร ภผู า อมั พร 3. ข้อใดมคี าท่มี ีความหมายเหมือนกันทุกคา ก. ชลธาร ชลาลัย มหรรณพ ข. กระบี่ ค. ปกั ษนิ สกุณา มยรุ ี ง. แสม 4. ข้อใดมีความหมายตรงกับ “ กระบอื ” ข. ปฐพี ก. กาสร ง. หล้า ค. มัจฉา ข. คชสาร จิตรจุล 5. ข้อใดมคี วามหมายแตกตา่ ง ง. คช วานร ก. บรรพต ค. ธรณี 6. ขอ้ ใดคอื คาที่มีความหมายเหมือนกันทุกคา ก. เอราวัณ คชาธาร ค. สกุณา มัศยา

แบบฝกึ ทักษะการแตง่ โคลงส่ีสุภาพ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 เล่มท่ี 1 คาไวพจนน์ ่าจดจา 6. 7. คาไวพจน์มปี ระโยชนใ์ นดา้ นใดมากที่สดุ ข. การแตง่ คาประพันธ์ ก. การอ่านคาประพนั ธ์ ง. การเชื่อมประโยค ค. การหาท่มี าของคา 8. ขอ้ ใดมคี าที่มคี วามหมายแตกต่าง ข. วานร แสม กบินทร์ ก. นงคราญ นารี เยาวลักษณ์ ง. ยักษา ไพรี อสรู ค. ชฏั อารัญ พงพี 9. “ ตะวนั พลันสวา่ ง แสงกระจ่างกลางเวหา ประกายในสายตา จาต้องหลบเมอื่ สบมอง ” (ประพันธโ์ ดย ยุพาพร สงิ หวงศ)์ จากบทกลอนขา้ งต้นคาใดทีม่ ีความหมายเหมอื นกับคาวา่ “ ทพิ ากร ” ก. กระจา่ ง ข. ประกาย ค. เวหา ง. ตะวนั 10. “ วารที ี่ไหลหลั่ง คอื มนต์ขลังแหง่ ภผู า เคียงอยูค่ นู่ ครา สงา่ เดน่ เป็นมงิ่ เมอื ง ” (ประพันธโ์ ดย ยพุ าพร สิงหวงศ์) จากบทกลอนข้างตน้ ขอ้ ใดมีความหมายเหมือนกัน ก. วารี – ภูผา ข. นครา - เมือง ค. ภูผา – นครา ง. นครา - วารี

แบบฝึกทักษะการแตง่ โคลงสี่สภุ าพ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 คาไวพจน์น่าจดจา 7. ข้อ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. คะแนนที่ได้ 10

แบบฝึกทักษะการแต่งโคลงส่ีสภุ าพ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 1 คาไวพจน์นา่ จดจา 8. คาไวพจน์ หมายถึง คาที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียง กันมาก ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) หมายถึง คาที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกัน และมีความหมายต่างกัน (ราชบัณฑิตยสถาน, 2546, หน้า 1091) การรู้จักคาและความหมายของคาจานวนมาก นับเป็นองค์ประกอบสาคัญอีกประการหนึ่งโดยเฉพาะการแตง่ คาประพนั ธป์ ระเภทต่าง ๆ ตวั อย่างคาไวพจน์ในบทประพันธ์ ถึงมว้ ยดินสิน้ ฟ้ามหาสมุทร ไมส่ ิ้นสุดความรักสมัครสมาน แมอ้ ยใู่ นใต้หลา้ สุธาธาร ขอพบพานพศิ วาสไม่คลาดคลา แม้เน้อื เยน็ เป็นหว้ งมหรรณพ พี่ขอพบศรีสวสั ดิ์เปน็ มจั ฉา แม้เปน็ บัวตวั พ่ีเปน็ ภมุ รา เชยผกาโกสุมปทมุ ทอง กลอนบทน้ีจะพบคาไวพจน์ ดังน้ี 1. หล้า = แผ่นดิน 2. สธุ าธาร, มหรรณพ, มหาสมุทร = น้า 3. มัจฉา = ปลา 4. ภมุ รา = แมลงผ้ึง, แมลงภู่ 5. ผกา, โกสุม = ดอกไม้ 6. ปทุม = บวั หลวง 7. ศรสี วัสดิ์, เน้อื เยน็ = หญงิ ทีร่ กั 8. ม้วย = ตาย, สนิ้ สดุ

แบบฝึกทกั ษะการแต่งโคลงสส่ี ุภาพ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 1 คาไวพจน์นา่ จดจา 9. คาช้ีแจง ให้นักเรียนนาตัวอักษรทางซา้ ยมาเตมิ ลงในช่องว่างหนา้ คาท่ีมี ความหมายเหมอื นกนั ใหถ้ ูกตอ้ ง ก) ไพรวัน  ท้องฟ้า ข) ชลธาร  นก ค) นงคราญ  ป่า ง) อัมพร  น้า จ) หลา้  ชา้ ง ฉ) บุตรี  สนุ ัข ช) สกุณา  ลูกสาว ซ) อสูร  แผน่ ดิน ฌ) ไอยรา  ผู้หญิง ญ) ศวา  ยกั ษ์ คะแนนทไ่ี ด้ 10

แบบฝึกทักษะการแต่งโคลงสีส่ ภุ าพ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 1 คาไวพจนน์ า่ จดจา 10. คาชแ้ี จง ให้นักเรียนนาคาไวพจนท์ ก่ี าหนดใหม้ าจดั กล่มุ ให้ถูกตอ้ ง นที ไพรรี ภผู า ผกา บุหงา ครี ี พนาวัน คงคา วารี ไพรสัณฑ์ มหรรณพ บรรพต บษุ บา มาลา สิงขร ชลธาร สาคร พงพี ไศล มาลี ดอกไม้ น้า ภเู ขา ป่า คะแนนทไี่ ด้ 10

แบบฝึกทักษะการแตง่ โคลงส่สี ุภาพ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เล่มท่ี 1 คาไวพจน์นา่ จดจา 11. ความหมาย ตัวอยา่ งคาไวพจน์ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้มีพระภาคเจ้า พระบรมศาสดาจารย์ พระโลกุตมาจารย์ พระพทุ ธเจา้ กระสรรเพชร พระสุคต พระโลกนาถ พระมหามุนินทร์ พระชินวร พระชินสีห์ พระนรสีห์ พระสัพพัญญู พระบรมครู พระธรรมสามัสร์ พระศากยมุณี พระจอมไตร พระทศญาณ พระทศพลญาณ พระพชิ ิตมาร พระสมณโคดม พระมหาสมณะ กษัตริย์ ขัตติยะ บพิตร ป่ินเกล้า ผ่านเผ้า พระเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูบาล ภูบดี ภูธร ภูธเรศร์ ไท ไท้ นรินทร์ นเรนทร์ นโรดม ภูมี เจษฎา ฤาสาย วิภู ราช ราชัน ราชินทร์ ราเชนทร์ ทรงธรรม ชนินทร์ ธเรศ จักรพรรดิ์ ทรงภพ นเรศวร พระเจา้ แผน่ ดิน นเรศูร นเรนทรสูร มหิธร มหิบาล มเหศวร ธรณิศ ภูเบศ ภูวนาถ ภูวเนตร ภูวไนย ภูวดล ภมู บิ าล ธรณศิ ธรณิศร ธรณศิ วร์ ธรณนิ ทร์ ภูมศี วร ภูมินทร์ ภูมิบดี อธิราช จักรี จักริน นาราธิป อธิป นฤนารถ นฤเบศร์ นฤบดี นฤบดินทร์ มหิดล นโรดม มหิศวร ราชา ราชาธริ าช สมมติเทวราช อดศิ ร นรศิ นราธิเบศร์ อดิศวร ใจ กมล แด ทรวง ทรวงใน มโน มน มาน รติ ฤทัย ฤดี หฤทัย อก อุระ กมล มโน มน ดวงใจ ดวงหทัย ดวงแด ฤทัย ฤดี หฤทยั คาเปรียบเทียบ กล คล้าย ครุวนา เฉก ฉัน เช่น ด่ัง ดุจ เทียบ เท้ียน เทียม ประดุจ ประเล่ห์ ประหน่งึ พ่าง เพีย้ ง เหมอื น ราว ราวกบั เล่ห์ เสมือน อปุ มา อยา่ ง ปาน เปรียบดว้ ย นักปราชญ์ กวี โกวิท โกศล ธีร ธีมา เธียร บัณฑิต ปัญวา ปราชญ์ ปริญญา เปรียญ พยตั ตะ มนู มุนี มุนนิ ทร์ เมธี เมธาวี วิทุร สธุ ี ดอกไม้ กรรณิกา กุสุม โกสุม กุสุมาลย์ จราว จาว บุปผ บุปผา บุปผชาติ บุษบะ บุษบา บุษบง บุษบัน บุหงัน บุหงา ผกา พบู พเยีย พวงมาลา มาลย์ มาลัย มาลา มาลี สุมน สุมนา สมุ าลี สุคนั ธชาติ สะบู ปสพ พันลอก กะบัง

แบบฝกึ ทักษะการแต่งโคลงสี่สภุ าพ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เล่มท่ี 1 คาไวพจน์น่าจดจา 12. ความหมาย ตัวอยา่ งคาไวพจน์ นงเยาว์ โฉมตรู พธู นงราม สมร กัลยา สตรี อิตถี นารี กามินี พธู อรไท แก้วตา ดวงสมร นงคราญ นงพะงา บังอร สายสมร อนงค์ อิสตรี กัญญา กันยา กัลยาณี ดรุณี นงลักษณ์ มารศรี วนิดา ยุพเยาว์ ยุพเรศ ยุพดี ยุพา ยุพิน เยาวเรศ เยาวลักษณ์ สุดา พนิดา นงราม นชุ แนง่ นอ้ ย นาเรศ นาฏ ยวุ ดี กนษิ ฐ์ กนษิ ฐา กระลาพิน กระลาศรี กัญญา กันยา กัลยาณี กานดา กามนิ ี เกน กลอยใจ แก้วตา ขนิษฐา ดรณุ ี ดวงสมร ถี นง นงคราญ นงราม นงนุช ผูห้ ญงิ นงนาฏ นงเยาว์ นงลักษณ์ นงโพธ นงพาล นงพะงา นรี นารี นฤมล นาเรศ นิรมล นุช เนียง แน่ง แน่งน้อย บังอร โผอน พธู พนิดา พะงา พังงา ภคินี ภาคินี มาณวิกา มารศรี ยอดสร้อย ยาหยี ยุพยง ยุพเรศ ยุพดี ยุพา ยุพาน ยุพิน ยุพาพาล ยุพาพิน ยุวดี เยาวมาลย์ เยาวเรศ เยาว์ลักษณ์ เยาวพา รมณี ร้อยช่ัง วธู วนิดา วรดนู วรางคณา วิมล ศรี สดี สตี สตรี สมร สะคราญ สายสมร สายสวาท สุดา เสาวภาคย์ สุนทรี อนงค์ อร อรไท อ่อนไท อ่อนไท้ อรนชุ องั คณา อัมพา อิตถี อิสตั รี ทอ้ งฟา้ คคนัมพร คคนางค์ คคนานต์ ทิฆัมพร นภ นภดล นภมณฑล นภา นภาลัย โพยม โพยมาน เวหะ เวหา เวหาส เวหน เวหายส หาว อนิลบถ อัมพร ดาราบถ กระสินธ์ กาสาร กุนที เกียน คงคา ชทึง ฉทึง ชรทึง ชร ชล ชลชาติ ชลธาร ชลธี ชลธิศ น้า ชลาธาร ชลมั พุ ชลาลัย ชลาศัย ชเล ชโลทร โตย ตระพัง ตะพัง กระพัง ทก ธาร ธารา นที มหรณพ มหรรณพ ยมนา รหัท ละหาน วหา วาปี วริ สาริน วารี วาหินี ศิรา สมุทร สริต สลลิ สาคร สาคเรศ สนิ ธุ โสทก อรรณพ อมุ พุ อุทก อุทกธาร อุทกธารา โอฆชล เนียร พระจันทร์ แข โค จนั ทร์ จนั ทร จนั ทรพมิ พ์ จันทรมณฑล เดอื น ตโมนุท ตโมทร แถง โทษากร โทษ รมณ์ นิศากร นิศานาถ นิศาบดี นิศามณี นิศารัตน์ บุหลัน ปักษาธร พิธุ มา มาส รชนีกร รัชนีกร วิธู ศศธร ศศพินทุ ศศลักษณ์ ศศิ ศศิน ศศี ศศิธร ศศิมณฑล สวรรคบดี สุมา โสม อนิ ทุ อทุ ุราชา สุมะ รตั ตกิ ร กลา กลาพมิ พ์ กลาแถง มนทกานติ พิธุ สติ างศุ์ ตโมนทุ ตะวนั ไถง ทินกร ทิพากร ทิวากร ประภากร พันแสง ภากร ภาณุ ภาณุมาศ ภาส พระอาทติ ย์ กร รพิ รพี รวิ รวี รังสิมันต์ รังสิมา ราไพ วรุณ สหัสรังสี สุริยะ สุริยง สุริยา สุริเยนทร์ สุริเยศ สุรโิ ย สรุ ิยน สรุ ยิ ัน สูรยะ องั ศธุ ร องั ศมุ าลี อาภากร อษุ ณรศั มี อษุ ณรูจี อุษณกร

แบบฝึกทกั ษะการแต่งโคลงสี่สุภาพ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เล่มท่ี 1 คาไวพจน์น่าจดจา 13. ความหมาย ตวั อย่างคาไวพจน์ เมอื ง ธานิน ธานี ธานินทร์ นคร นครินทร์ นคเรศ บุระ ปุร บุรินทร์ บุรี บูรี ประเทศ พารา โลก กรุงไกร สรุก นก โกกุ ฉมา ดา้ ว ธรณี ธรา ธราดล ธริษตรี ธาษตรี ธาตรี ปฐพี ปฐวี ปถพี ปัถพี ปัถวี ผงอน ไผท ไผทโกรม พสุธา พสุธาดล พสุนธรา พสุมดี พิภพ ภพ ภูดล ภูมิ ภูริ ภูวะ ช้าง ภูวดล มหิ มหิดล เมทนี เมทินี นิมา โลกธาตุ โลกย โลกัย วสุธา วสุนธรา วสุมดี หล้า อจลา อุรพี โกษ ม้า เขจร ทวิช บุหรง ปักษา ปักษี สกุณ สกุณี สุโนก ศาพก โศลาฏ วิหค วิหงค์ ทวิชาติ เสือ ทิช ทิชากร ปักษณิ พิหเคนทร์ ปักษวาหน ปักษคม พหิ ค ววั ควาย คชินทร์ คเชนทร์ หัสดี ดารี ดาไร ดมไร ทนดี หัสดี หัสดินทร์ กรี กรินทร์ กเรนทร์ ลิง กุญชร คช คชา คชาธาร โคบุตร พลาย พงั นาค นาคนิ ทร์ นาเคนทร์ มาตงค์ นรการ สาร หัตถี หัสดินทร์ ไอยรา ไอยราพต คชสาร สาง นาคศวร ทันตี ทันติน พารณ สวรรค์ พารณะ วารณ หตั ถนิ ี กรนิ ี พังคา นาเคศ พระนารายณ์ ตุรงค์ ตรุ คะ มโนมยั สนิ ธพ แสะ หัย อาชา อาชาไนย อัสสะ อัศวะ อัศวิน อัสดร พาชี ดุรค ดรุ งค์ ดรุ งคี ขาล ตะโก ทวีปี พยัคฆ์ พยัคฆา พยัคฆี พยคั ฆิน อชินี พาฬ ศารทูล ขลา วสภ พฤษภ พลพิ ัท ฤษภ วตั สดร อสุ ภ อสุ ภุ คาวี เคา ฉลู มหงิ ส์ มหิษ ลลุ าย กาสร กระบือ มหิงสา ทุโมน พลีมุข ชรโมล วานร พานร วานรินทร์ พานรินทร์ พานเรศ กระบ่ี กบินทร์ กเบนทร์ กบิล มักฏะ วอก สวา ปลวงั ค (อา่ นปะละวังคะ) สรวง สันรวง สุคติ สุรบถ สุราลัย สุรโลก สัค สัคคะ ไกวัล ไกพัล ทิพ ไตรทิพ โสฬส จาตุมหาราชิก ดางดึงส์ ยามะ ดุสิต นิมมานรดี ปรนิมมิตวสวัตดี วยัมหะ กระยาหงัน ลางงดิ ไทวะ สขุ าวดี ศกั รภพน์ พระวิษณุ ตรีโลเกศ จัตุรภุช จักรปราณี สังขกร หริ หริรักษ์ พระทรงครุธ รามราช พระทรงสังข์ พระทรงสบุ รรณ วาสุเทพ พระกฤษณ์ วณิ หุ

แบบฝกึ ทักษะการแต่งโคลงสสี่ ุภาพ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เล่มที่ 1 คาไวพจนน์ า่ จดจา 14. ความหมาย ตวั อย่างคาไวพจน์ พระอนิ ทร์ มฆั วา มฆั วาน มฆวัน ตรเี นตร มหนิ ท์ มเหนท์ วชิร วิชราวุธ วชิรปราณี วชิรหัตถ์ วัชรี พระอศิ วร วัชรินทร์ วัชรเรนทร์ วาสพ ศักร ศักรินทร์ ศักเรนทร์ สักกะ สุชัมบดี สุรบดี สหัสนัยน์ พระพรหม สหสั เนตร สุรนิ ทร์ สุเรนทร์ โกสีย์ โกสินทร์ อมรบดี อมรราช อมรินทร์ อมเรศ เทพบดี เทวดา เพชรายธุ พนั ตา พันเนตร วชั รพาหะ นางฟา้ ศุลี ศูลี ศูลิน ศังกร ปรเมศวร์ สยมภู จอมไตร ศิวะ มหาเทพ เทพาธิบดี ตรีโลกนารถ ตรีโลจน์ มเหศ มเหศวร ภตู บดี ภูเตศวร ธราธร ธราธาร พระทรงโค หร (อา่ น หะระ) ยกั ษ์ ธาดา จัตรุพักตร์ ปรเมษฐ์ ประชานาถ กมลาสน์ กมเลศ กัมลาศ สหัมบดี สุรเชษฐ์ ทองคา หงสรถ กามลาศน์ ขนุ แผน พระทรงหงส์ เทพ เทว เทวัญ เทเวศร์ เทพบุตร เทพยดา เทพยุดา เทพาดิเทพ เทวินทร์ เทพินทร์ ดอกบัว สุรารักษ์ อดิเทพ สุร อมร อมรา อามร สุธาสินี สุธาสี อสัญแดหวา แถน มรุ นิรชร (อา่ นนิระชอน) ปา่ เทวี เทพธิดา สรุ างค์ สรุ างคนางค์ สรุ างคนา รมั ภา อัปสร อจั ฉรา นิรชรา ยักษา ยักษี ยักษิณี ยักข์ ยักขินี รักขสะ รากษส รากโษส อสุร อสูร อสุรา อสุรินทร์ อสรุ ี อสเุ รนทร์ อสุเรศ ราพณ์ ราพณาสรู รามสูร แทตย์ กุมภัณฑ์ โสม เหม จารุ อุไร กาญจน กาญจนา สุพรรณ สุวรรณ สุวรรณา สุวรรณี จามีกร หิรณั ย์ หาดก หาตก มาศ รนิ ชาตรูป ชมพูนุท ชามพนู ุท กนก ไร สิงคี โสณ มหาธาตุ บุณฑริก ปทุม สัตตบุษย์ บุษบัน นิลุบล นิลปัทม์ จงกล ประวาลปัทม์ สัตตบงกช โกมุท โกกนุท ไกรพ บุษกร ปัทม ปัทมา อินทีวร อัมพุช บงกช อรพินท์ สัตตบรรณ อุบล จงกลนี กมล โกเมศ โกมล กรกช สโรช สาโรช นลิน นลินี กช กมุท กระมุช วาริช ชาตบษุ ย์ ตาราไต วารชี ลินจง โบกขร สฤก อปุ บล นรี ช (อ่าน นรี ะชะ) อรัญ อารัญ อารัณย์ อรัณย์ อรัญญิก ชระงม วนวัน พนา พนาวัน พนาลี พนาลัย พนาวา พนาเวศน์ พนาราม พนาดร พนันดร พนัส พนัสบดี พนาสณฑ์ พนาสัณฑ์ ไพร สณฑ์ ไพรสัณฑ์ พงไพร พงพี ไพรศรี พนาศรี ไพรวัณ ไพรระหง พนอง เถ่ือน กานน ครมึ ครุ ดงดาน ชฏั อฏวี (อ่าน อะตะวี)

แบบฝกึ ทักษะการแตง่ โคลงสสี่ ุภาพ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 1 คาไวพจนน์ า่ จดจา 15. ความหมาย ตวั อย่างคาไวพจน์ ภเู ขา พนม พนอม ภู ภูผา คิริ คีรี กันทรากร บรรพต บรรพตา บรรพตชาล บรรพตมาลา มหธิ ร มเหยงค์ ศขิ ร ศิขริน ศิขรี ศงิ ขร ศงิ ขริน ไศล สิขรี สขิ เรศ สงิ ขร สิงค์ เสล เสสา ปลา มนี มจั ฉะ มัจฉา มัจฉาชาติ มัตสยะ มัตสยา มัศยา วารชิ วลชั นรี จร กะรัง พระจันทร์ แข (คาเขมร) รัชนีกร บุหลัน (คาชวา) นิศากร เดือน ศศิ ศศิธร โสม กัษษากร นิศาบดี ศวิ เศขร อนิ ทุ วธิ ู มาส รชนี ทินกร ทิวากร ภาสกร ภากร รวี ระพี ไถง (คาเขมร) ตะวัน อาภากร อังศุมาลี สุริยะ พระอาทิตย์ สุริยา สุริยัน สุริยน สุริยง ภาณุ ภาณุมาศ อุษณกร ทยุมณี อหัสกร พรมัน ประภากร รังสิมันต์ รงั สิมา ราไพ ท้องฟ้า อมั พร คคั นานต์ นภาลยั โพยม นภางค์ ทิฆมั พร เวหา หาว เวหาส แผ่นดนิ ธรณี ปฐพี ธาตรี ธรา หล้า เมทินี ภูมิ ภพ พสุธา ธาษตรี โลกธาตุ ภูวดล พิภพ พสุธาดล ปัถพี ปฐวี ปฐพี ธราดล ภตู ลา พสุนทรา มหิ พสมุ ดี ธรณนิ ไฟ อัคคี เตโช เพลิง อคั นี บาพก กูณฑ์ ปราพก ลงิ กบิล กปิ กระบ่ี กงั พานร พานรนิ ทร์ วานร วานรินทร์ สวา แสม เสน วอก เตา่ กระ กศั ยป กุระมะ จริว จะละเม็ด จติ รจลุ นกยงู กระโงก มยรุ า มยรุ ะ มยุเรศ มยุรี มยรู โมรี โมเรศ จระเข้ กมุ ภา กุมภลิ กมุ ภลี ์ ตะโขง ไอเ้ ค้ียง ตะเข้ แร้ ราชสีห์ ไกรสีห์ ไกรสร นฤเคนทร์ สีหราช เกสรี ศัตรู ปรปกั ษ์ เวรี ไพรี ปัจจามิตร รปิ ู อริ ดัสกร แม่ มารดา มาตา มาตุ มารดร ชนนี ชเนตตี นนทลี พอ่ บิดา ชนก ปติ รุ งค์ บดิ ร ปติ ุ สวรรค์ ไตรทิพย์ สรวง ไตรทศาลัย สุราลัย สรุ ิยโลก ศวิ โลก สุขาวดี สคุ ติ เทวโลก นักปราชญ์ ธีร์ ธีระ ปราชญ์ เธยี ร บณั ฑิต เมธ เมธี เมธา ปรียา เชาวลติ พิชญ์

แบบฝกึ ทกั ษะการแต่งโคลงสส่ี ภุ าพ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มท่ี 1 คาไวพจนน์ า่ จดจา 16. ความหมาย ตวั อยา่ งคาไวพจน์ ยักษา อสูร อสุรา กุมภัณฑ์ รามสูร ราพณาสรู รากษส ยกั ษิณี ยกั ษี ราพณ์ ยักษ์ วาจา วจี วัจนะ พจนา พากย์ ถ้อย วัจนา คาพูด บตุ ร ปรตั ยา ตนชุ โอรส เอารส ดนยั ลกู ชาย บตุ รี ธติ า สุดา ทุหติ า ดนยา ลูกสาว ปรลยั มรณะ วายชนม์ วายชพี ดบั จิต อาสัญ บรรลัย มรณา ตกั ษัย ตาย มชั ชาร (-ชาระ) วฬิ าร วิฬาร์ แมว

แบบฝึกทักษะการแต่งโคลงสส่ี ุภาพ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เล่มที่ 1 คาไวพจน์นา่ จดจา 17. คาชี้แจง ให้นกั เรยี นเขียนความหมายของคาไวพจนท์ ่กี าหนดให้ แล้วค้นหาคา ไวพจน์ในตารางของแบบฝึกหดั ที่ 2.2 ให้ครบและถูกตอ้ งทัง้ 10 คา 1. หาว หมายถึง ____________________________________ 2. สวุ รรณ หมายถึง ____________________________________ 3. อสุรา หมายถึง ____________________________________ 4. บษุ บา หมายถึง ____________________________________ 5. นเรศูร หมายถงึ ____________________________________ 6. เทวา หมายถึง ____________________________________ 7. ธราดล หมายถึง ____________________________________ 8. อปั สร หมายถงึ ____________________________________ 9. อมรา หมายถึง ____________________________________ 10.ปทุม หมายถงึ ____________________________________ คะแนนทไี่ ด้ 10

แบบฝกึ ทักษะการแตง่ โคลงสี่สุภาพ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เล่มท่ี 1 คาไวพจน์น่าจดจา 18. คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนค้นหาคาไวพจน์ทซ่ี ่อนอยู่ในตารางให้ถกู ต้อง อ บุ ร า อ สุ ร ธ ย์ ษ บุ ส ษ า สุ ว ร ร ณ า รวะบรหอดวธ ษ า อุ ห า ว ม ะ บ ร สุ ว น เ ร ศู ร เ ร ต์ ร ศู ด ว ธ า า ม อั ศ า เ ร ต์ อั ศ ทุ ส ป จ ร สุ ท น เ ป ศ ร อุ ร ด ล ร ว ร ค์ ส บุ ส ร ษ ท ธ ร า ด ล ร า ย์ คะแนนทไี่ ด้ 10

แบบฝึกทกั ษะการแต่งโคลงสีส่ ภุ าพ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เล่มท่ี 1 คาไวพจน์น่าจดจา 19. คาไวพจน์ คือ คาที่มีความหมายเหมือนกันแต่มีรูปศัพท์ต่างกันและมักจะใช้ใน โอกาสต่างกัน ส่วนใหญ่มักจะใช้สาหรับการแต่งคาประพันธ์ หรือวรรณคดีท่ีเป็นบทร้อย กรองมากกว่าทจี่ ะใชใ้ นชีวติ ประจาวัน เช่น ตวั อย่างคาไวพจน์ในบทประพนั ธ์ ใตร้ ่มพฤกษามาลีสวย เชิญมาช่วยชมเพลินเจริญนิสยั ฟงั ดนตรีขับกล่อมย้อมหทยั ยามปักษาพสิ มยั ดงดอย ฉนั ชอบเท่ยี วชมไพรพนา เออ้ื งปา่ แลสูงสุดสอย น้าไหลเซาะลอ่ งช่องซอย ซอกเล็กซอกน้อยโตรกธาร กลอนบทน้ีจะพบคาไวพจน์ ดงั นี้ 1. พฤกษา, ไพร, พนา = ปา่ 2. มาลี = ดอกไม้ 3. หทยั = ใจ 4. ปักษา = นก 5. ธาร = น้า

แบบฝึกทักษะการแตง่ โคลงสส่ี ภุ าพ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เล่มที่ 1 คาไวพจนน์ ่าจดจา 20. ตวั อย่างการใช้คาไวพจนใ์ นบทเพลง ฟากฟ้ายามเยน็ เห็นแสงราไร อาทิตย์จะลับโลกไป พระจันทร์จะโผล่ข้นึ มา หมู่มวลวหิ ค เหนิ ลมอยกู่ ลางเวหา จะหลับคนื สชู่ ายคา ชายป่าคือแหลง่ พักพงิ แต่ น้องนางไยไมเ่ หน็ กลับมา จากไปตง้ั หลายปีกว่า ท้องนาบา้ นเราเหงาจัง บทเพลงนี้จะพบคาไวพจน์ ดังน้ี 1. วิหค = นก 2. เวหา = ฟ้า 3. เหนิ = บนิ , เหาะ

แบบฝกึ ทกั ษะการแตง่ โคลงส่สี ภุ าพ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 1 คาไวพจนน์ า่ จดจา 21. คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นขีดเส้นใตแ้ ละบอกความหมายคาไวพจน์ทอ่ี ยู่ในบทเพลงให้ถูกตอ้ ง “ ใกล้ยามเม่ือแสงทองส่อง ฉันคอยมองจ้องฟ้าเรืองราไร ลมโบกโบยมาหนาวใจ รอช้าเพียงไร ตะวันจะมา เพลดิ เพลินฤทัยฟงั ไกป่ ระสานเสยี งกนั ดอกมะลวิ ลั ยอ์ วลกลิน่ ระคนมณฑา โอ้ในยามน้ี เพลนิ หนักหนา แสงทองนวลผ่องนภา แสนเพลินอุราสาราญ หมู่มวลวิหคบินผกมาแต่รังนอน เฝ้า เชยชดิ ชอ้ นลิ้มชมบวั บาน ยนิ เสียงบรรเลงดังเพลงขับขาน สอดคล้องกงั วานซาบซ่านจับใจ ” บทเพลงพระราชนิพนธ์ ใกลร้ ่งุ คาไวพจนใ์ นบทเพลง “ใกล้รุง่ ” 1. ...................................... หมายถึง ………………………………………………………………….. 2. ...................................... หมายถงึ ………………………………………………………………….. 3. ...................................... หมายถงึ ………………………………………………………………….. 4. ...................................... หมายถงึ ………………………………………………………………….. 5. ...................................... หมายถงึ ………………………………………………………………….. 6. ...................................... หมายถงึ ………………………………………………………………….. 7. ...................................... หมายถงึ ………………………………………………………………….. 8. ...................................... หมายถึง ………………………………………………………………….. 9. ...................................... หมายถงึ ………………………………………………………………….. 10. ..................................... หมายถงึ ………………………………………………………………….. คะแนนท่ไี ด้ 10

แบบฝึกทกั ษะการแตง่ โคลงสีส่ ุภาพ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เลม่ ท่ี 1 คาไวพจนน์ ่าจดจา 22. ตอนที่ 1 คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นขีดเสน้ ใตแ้ ละบอกความหมายคาไวพจนท์ อ่ี ยู่ในบทประพนั ธใ์ หถ้ กู ตอ้ ง บดั น้มี สี องกัลยา ลักษณาเลศิ ล้าในต่าใต้ ทรงโฉมประโลมละลานใจ บตุ รีไท้องค์พระพิษณกุ ร อายเุ ยาวเรศเจริญศรี พระเพือ่ นพีแ่ พงน้องสองสมร งามทรงงามองค์อรชร ดงั อปั สรนางฟา้ ลงมาเอย (ลลิ ิตพระลอ) คาไวพจนใ์ นบทประพันธ์ “ลิลติ พระลอ” 1. ...................................... หมายถึง ………………………………………………………………….. 2. ...................................... หมายถึง ………………………………………………………………….. 3. ...................................... หมายถงึ ………………………………………………………………….. 4. ...................................... หมายถึง ………………………………………………………………….. 5. ...................................... หมายถงึ ………………………………………………………………….. 6. ...................................... หมายถึง ………………………………………………………………….. 7. ...................................... หมายถงึ ………………………………………………………………….. 8. ...................................... หมายถึง ………………………………………………………………….. 9. ...................................... หมายถงึ ………………………………………………………………….. 10. ..................................... หมายถงึ ………………………………………………………………….. คะแนนที่ได้ 10

แบบฝกึ ทักษะการแต่งโคลงสสี่ ภุ าพ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 คาไวพจนน์ ่าจดจา 23. ตอนที่ 2 คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นเลือกคาไวพจน์เติมลงในบทประพันธ์ท่กี าหนดใหถ้ ูกตอ้ ง อสรุ ขนิษฐา ชลาสนิ ธ์ุ คลา ทิพากร สาคร แดยนั พระสุริยน โศกา วาริน ดาวเดอื นก็เล่ือนลบั แสงทองระยบั โพยมหน จวนจวบ_______ จะเย่ยี มยอดยุคนธรฯ สมเด็จพระหรวิ งศ์ ภุชพงศ์_______ เสด็จลงสรง_______ กับองคพ์ ระลกั ษณ์อนชุ าฯ เสนาพฤฒามาตย์ โดยพระบาทเสดจ็ _______ เกอื บใกล้จะถงึ สา- คเรศที่ท้าวเคยสรงชล ฯ พระเหลือบเล็ง_______ ใน_______ทะเลวน เห็นรปู _______กล อนั กลายแกล้งเปน็ สดี าฯ ผวาวิง่ ก็หวนั่ จิต ไมท่ ันคดิ ก็_______ กอดแก้ว_______ ฤดดี น้ิ ลง_______ฯ (รามเกยี รติ์ ตอน นางลอย) คะแนนที่ได้ 10

แบบฝึกทักษะการแตง่ โคลงสสี่ ภุ าพ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เลม่ ที่ 1 คาไวพจน์นา่ จดจา 24. คาช้แี จง ใหน้ ักเรยี นเลือกคาตอบที่ถกู ทส่ี ุด แลว้ เขยี นเครอ่ื งหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ 1. ขอ้ ใดมคี าที่มีความหมายเหมือนกนั ทุกคา ข. นลิ ุบล มารศรี นงคราญ ก. ชลธาร ชลาลยั มหรรณพ ง. สงิ ขร ภูผา อมั พร ค. ปกั ษนิ สกณุ า มยรุ ี ข. นภดล 2. ข้อใดมคี วามหมายตา่ งกับ “ พนา ” ง. พนสั ก. ไพรสณฑ์ ค. พงไพร ข. กระบี่ ง. แสม 3. ขอ้ ใดมคี วามหมายตรงกบั “ กระบอื ” ก. กาสร ข. คชสาร จติ รจุล ค. มัจฉา ง. คช วานร 4. ข้อใดคอื คาท่ีมีความหมายเหมือนกันทุกคา ข. บษุ บา บหุ ลัน ก. เอราวณั คชาธาร ง. อัมพร เวหา ค. สกณุ า มศั ยา ข. ปฐพี 5. คาในขอ้ ใดมีความหมายวา่ “ ท้องฟ้า ” ง. หล้า ก. เวหา บุรนิ ทร์ ค. นภดล อุทก 6. ข้อใดมีความหมายแตกต่าง ก. บรรพต ค. ธรณี

แบบฝึกทักษะการแตง่ โคลงสสี่ ภุ าพ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มท่ี 1 คาไวพจนน์ ่าจดจา 25. 7. “ ตะวันพลนั สว่าง แสงกระจ่างกลางเวหา ประกายในสายตา จาต้องหลบเม่ือสบมอง ” (ประพันธ์โดย ยพุ าพร สงิ หวงศ)์ จากบทกลอนข้างตน้ คาใดทม่ี ีความหมายเหมอื นกบั คาว่า “ ทิพากร ” ก. กระจา่ ง ข. ประกาย ค. เวหา ง. ตะวัน 8. คาไวพจนม์ ีประโยชน์ในดา้ นใดมากทส่ี ดุ ข. การแตง่ คาประพันธ์ ก. การอา่ นคาประพนั ธ์ ง. การเช่ือมประโยค ค. การหาท่มี าของคา 9. “ วารที ไ่ี หลหลงั่ คอื มนต์ขลังแห่งภผู า เคยี งอยูค่ ู่นครา สง่าเด่นเปน็ ม่งิ เมือง ” (ประพันธ์โดย ยุพาพร สิงหวงศ์) จากบทกลอนขา้ งต้นข้อใดมีความหมายเหมือนกนั ก. วารี – ภผู า ข. นครา - เมือง ค. ภูผา – นครา ง. นครา – วารี 10. ข้อใดมคี าท่มี คี วามหมายแตกตา่ ง ข. วานร แสม กบินทร์ ก. นงคราญ นารี เยาวลกั ษณ์ ง. ยกั ษา ไพรี อสรู ค. ชฏั อารัญ พงพี

แบบฝึกทักษะการแตง่ โคลงสี่สภุ าพ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เล่มท่ี 1 คาไวพจน์น่าจดจา 26. ข้อ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. คะแนนที่ได้ 10

แบบฝึกทกั ษะการแตง่ โคลงสี่สภุ าพ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เลม่ ที่ 1 คาไวพจน์นา่ จดจา ง.

แบบฝึกทกั ษะการแตง่ โคลงสี่สุภาพ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เลม่ ที่ 1 คาไวพจน์นา่ จดจา 27. ขอ้ ก ข ค ง 1.  2.  3.  4.  5.  6.  7.  8.  9.  10. 

แบบฝกึ ทักษะการแต่งโคลงส่ีสุภาพ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 1 คาไวพจน์นา่ จดจา 28. คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นนาตัวอักษรทางซ้ายมาเติมลงในชอ่ งวา่ งหน้าคาท่ีมี ความหมายเหมอื นกนั ใหถ้ ูกต้อง ก) ไพรวนั ง ท้องฟา้ ข) ชลธาร ช นก ค) นงคราญ ก ป่า ง) อมั พร ข น้า จ) หลา้ ฌ ชา้ ง ฉ) บุตรี ญ สนุ ัข ช) สกณุ า ฉ ลกู สาว ซ) อสรู จ แผน่ ดิน ฌ) ไอยรา ค ผู้หญงิ ญ) ศวา ซ ยกั ษ์

แบบฝึกทักษะการแตง่ โคลงสีส่ ุภาพ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เล่มที่ 1 คาไวพจนน์ ่าจดจา 29. คาช้แี จง ให้นักเรียนนาคาไวพจน์ทก่ี าหนดใหม้ าจัดกลมุ่ ใหถ้ กู ตอ้ ง นที ไพรรี ภูผา ผกา บุหงา คีรี พนาวนั คงคา วารี ไพรสณั ฑ์ มหรรณพ บรรพต บุษบา มาลา สงิ ขร ชลธาร สาคร พงพี ไศล มาลี นที ผกา ดอกไม้ บหุ งา นา้ คงคา วารี บุษบา มหรรณพ ชลธาร มาลา พงพี มาลี สาคร ภผู า ไพรรี ครี ี บรรพต พนาวัน ไพรสัณฑ์ สิงขร ไศล ภเู ขา ป่า

แบบฝกึ ทกั ษะการแต่งโคลงสีส่ ุภาพ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 1 คาไวพจน์น่าจดจา 30. คาชี้แจง ให้นักเรียนเขยี นความหมายของคาไวพจน์ท่ีกาหนดให้ แลว้ ค้นหาคา ไวพจน์ในตารางของแบบฝึกหัดท่ี 2.2 ใหค้ รบและถกู ต้องทง้ั 10 คา 1. หาว หมายถึง ท่ีแจง้ , ทอ้ งฟา้ , อากาศ 2. สุวรรณ หมายถงึ ทอง 3. อสรุ า หมายถงึ อสรู , ยกั ษ์ 4. บษุ บา หมายถงึ ดอกไม้ 5. นเรศูร หมายถึง พระราชา 6. เทวา หมายถึง ชาวสวรรค์ (ผชู้ าย) 7. ธราดล หมายถึง พน้ื แผ่นดิน 8. อปั สร หมายถึง นางฟา้ , นางสวรรค์ 9. อมรา หมายถงึ เทวดา 10.ปทมุ หมายถงึ บัวหลวง, ดอกบวั

แบบฝกึ ทักษะการแตง่ โคลงสี่สุภาพ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เลม่ ท่ี 1 คาไวพจน์นา่ จดจา 31. คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนค้นหาคาไวพจน์ทซ่ี ่อนอยใู่ นตารางให้ถกู ต้อง อ บุ ร า อ สุ ร ธ ย์ ษ บุ ส ษ า สุ ว ร ร ณ า รวะบรหอดวธ ษ า อุ ห า ว ม ะ บ ร สุ ว น เ ร ศู ร เ ร ต์ ร ศู ด ว ธ า า ม อั ศ า เ ร ต์ อั ศ ทุ ส ป จ ร สุ ท น เ ป ศ ร อุ ร ด ล ร ว ร ค์ ส บุ ส ร ษ ท ธ ร า ด ล ร า ย์

แบบฝกึ ทักษะการแต่งโคลงสสี่ ุภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 1 คาไวพจน์นา่ จดจา 32. คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนขดี เส้นใตแ้ ละบอกความหมายคาไวพจน์ท่ีอยใู่ นบทเพลงใหถ้ กู ตอ้ ง “ใกล้ยามเม่ือแสงทองส่อง ฉันคอยมองจ้องฟ้าเรืองราไร ลมโบกโบยมาหนาวใจ รอช้าเพียงไร ตะวนั จะมา เพลิดเพลินฤทัยฟงั ไก่ประสานเสียงกัน ดอกมะลิวัลย์อวลกลนิ่ ระคนมณฑา โอ้ในยามน้ี เพลินหนกั หนา แสงทองนวลผ่องนภา แสนเพลินอุราสาราญ หมู่มวลวิหคบินผกมาแต่รังนอน เฝ้า เชยชิดช้อนลิ้มชมบวั บาน ยินเสยี งบรรเลงดังเพลงขับขาน สอดคล้องกังวานซาบซา่ นจบั ใจ” บทเพลงพระราชนพิ นธ์ ใกล้รุ่ง คาไวพจน์ในบทเพลง “ใกลร้ ่งุ ” 1. ตะวัน หมายถงึ ดวงอาทิตย์, พระอาทิตย์ 2. ฤทยั หมายถงึ ใจ, ความรู้สกึ 3. อวล หมายถึง ตลบ, ฟ้งุ , กระจาย, ฟุ้งด้วยกลน่ิ หอม 4. ระคน หมายถึง ปน หรือผสมคละกนั เป็นหมู่เป็นพวก 5. ผอ่ ง หมายถึง มีนา้ มนี วล, เปลง่ ปลั่ง, ไมม่ ีมลทนิ , ไม่ขนุ่ มวั , ใส 6. นภา หมายถงึ ท้องฟา้ 7. อรุ า หมายถงึ ใจ 8. สาราญ หมายถึง สขุ สบาย 9. วิหค หมายถึง นก 10. ล้มิ หมายถงึ ได้รบั รูค้ วามรสู้ ึกบางอย่างด้วยตนเอง

แบบฝกึ ทักษะการแตง่ โคลงส่ีสุภาพ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 1 คาไวพจน์นา่ จดจา 33. ตอนท่ี 1 คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นขีดเส้นใตแ้ ละบอกความหมายคาไวพจนท์ ี่อย่ใู นบทประพันธ์ใหถ้ ูกตอ้ ง บดั นม้ี ีสองกัลยา ลักษณาเลิศลา้ ในตา่ ใต้ ทรงโฉมประโลมละลานใจ บตุ รีไทอ้ งค์พระพิษณกุ ร อายเุ ยาวเรศเจริญศรี พระเพือ่ นพ่ีแพงนอ้ งสองสมร งามทรงงามองค์อรชร ดงั อัปสรนางฟ้าลงมาเอย (ลลิ ติ พระลอ) คาไวพจนใ์ นบทประพันธ์ “ลลิ ติ พระลอ” 1. กลั ยา หมายถึง หญงิ งาม, นางงาม 2. โฉม หมายถึง รูปร่าง, ทรวดทรง, เคา้ 3. บุตรี หมายถึง ลูกผ้หู ญิง 4. ไท้ หมายถงึ ผู้เปน็ ใหญ่ 5. เยาวเรศ หมายถึง นางกษัตริย์, หญงิ สาวสวย 6. สมร หมายถงึ นางงามซึ่งเป็นที่รัก 7. อรชร หมายถึง งามอย่างเอวบางร่างน้อย 8. อัปสร หมายถงึ นางฟา้ , นางสวรรค์ 9. พระพษิ ณุกร หมายถึง พระวิศวกรรม (เทวดานายช่างใหญ่ของพระอินทร์) 10. ลกั ษณา หมายถงึ ลกั ษณะทดี่ ี

แบบฝึกทักษะการแต่งโคลงสีส่ ุภาพ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เล่มท่ี 1 คาไวพจนน์ ่าจดจา 34. ตอนท่ี 2 คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นเลือกคาไวพจนเ์ ตมิ ลงในบทประพันธท์ กี่ าหนดให้ถกู ต้อง อสรุ ขนษิ ฐา ชลาสินธุ์ คลา ทิพากร สาคร แดยนั พระสุริยน โศกา วาริน ดาวเดอื นกเ็ ลือ่ นลับ แสงทองระยับโพยมหน จวนจวบพระสรุ ิยน จะเยีย่ มยอดยคุ นธรฯ สมเดจ็ พระหริวงศ์ ภุชพงศ์ทิพากร เสด็จลงสรงสาคร กบั องคพ์ ระลักษณ์อนุชาฯ เสนาพฤฒามาตย์ โดยพระบาทเสดจ็ คลา เกอื บใกลจ้ ะถงึ สา- คเรศท่ีท้าวเคยสรงชล ฯ พระเหลือบเล็งชลาสนิ ธ์ุ ในวารินทะเลวน เหน็ รปู อสรุ กล อันกลายแกลง้ เป็นสดี าฯ ผวาวิ่งกห็ วั่นจติ ไม่ทันคิดก็โศกา กอดแกว้ ขนิษฐา ฤดดี ิ้นลงแดยนั ฯ (รามเกยี รต์ิ ตอน นางลอย)

แบบฝึกทกั ษะการแต่งโคลงสสี่ ุภาพ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 1 คาไวพจนน์ ่าจดจา 35. ขอ้ ก ข ค ง 1.  2.  3.  4.  5.  6.  7.  8.  9.  10. 

แบบฝึกทักษะการแต่งโคลงสส่ี ุภาพ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เล่มที่ 1 คาไวพจนน์ า่ จดจา จ. กระทรวงศึกษาธิการ. (2552).สาระและมาตรฐานการเรียนร้กู ล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ์ งค์การรบั สง่ สินค้าและพสั ดภุ ัณฑ์. กาชัย ทองหล่อ. (2554). หลักภาษาไทย. พิมพ์ครง้ั ท่ี 53.กรุงเทพฯ : รวมสาสน์ . นภดล จนั ทร์เพญ็ . (2546). ร้อยกรอง. พิมพค์ ร้งั ท่ี 3. กรงุ เทพ ฯ : ธเนศวรการพิมพ์. บุญเหลอื ใจมโน. (2555). การแตง่ คาประพนั ธ์. พมิ พค์ รงั้ ที่ 2. กรุงเทพฯ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. อาจิณี จันทรมั พร. (2550). วรรคทองในวรรณคดี. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 7. กรงุ เทพ ฯ : แม่คาผาง.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook