บันทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรียนบ้านม่วง ที่ 24/2564 วันท่ี 25 ตลุ าคม พ.ศ. 2564 เรอ่ื ง ส่งแบบข้อตกลงในการพฒั นางาน (Performance Agreement : PA) ประจำปีงบประมาณ 2565 เรยี น ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านมว่ ง ข้าพเจ้าสณุ ีย์ แสงจนั ทร์ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ ปฏบิ ตั หิ น้าทคี่ รผู สู้ อนกลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ได้ดำเนินการทำแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน(Performance Agreement : PA) ประจำปีงบประมาณ 2565 ตามที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาได้ออกประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ตำแหน่งครู ที่ ศธ 0206.3/ว9 ลงวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 ซึ่งในหมวดที่ 2 นั้นได้ให้ ข้าราชการครูทำแบบข้อตกลงในการพฒั นางาน(Performance Agreement : PA) ขึ้นในแต่ละรอบปีงบประมาณ บดั นี้ขา้ พเจ้าไดจ้ ัดทำแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน(Performance Agreement : PA) เป็นท่ีเรยี บร้อยแล้ว จงึ เรียนมาเพือ่ ทราบและพจิ ารณา ลงช่อื ............................................................ (นางสณุ ยี ์ แสงจนั ทร์) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ลงชื่อ ............................................................ (นางสาวรุ้งรัตน์ เทดิ ชนะกุล) หวั หนา้ กลุ่มบริหารงานบุคคล ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .. ............................................................................................................................. ............................................... ลงชอื่ ............................................................ (นางวภิ ารัตน์ เอยี่ ววฒั นา) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นมว่ ง
ก คำนำ แบบขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) จดั ทำข้ึนเพ่อื นำเสนอข้อตกลงในการพฒั นางานสำหรับข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ประจำปีงบประมาณ 2565 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565 ต่อผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านม่วง เพื่อแสดงเจตจำนงว่าภายในรอบการประเมินจะ พัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะท่ีสำคัญตามหลักสตู ร ประกอบดว้ ย 2 สว่ น ดงั นี้ สว่ นท่ี 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหนง่ 1. ภาระงาน 2. งานท่จี ะปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานตำแหน่ง ครู สว่ นท่ี 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานทีเ่ ป็นประเด็นท้าทายในการพฒั นาผลลพั ธก์ ารของผู้เรียน ข้าพเจ้าจะนำข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) นี้ ไปพัฒนาคุณภาพผู้เรียน พัฒนางานและพัฒนาตนเอง ตอ่ ไปใหบ้ รรลุตามเป้าหมายทีต่ ้ังไว้ นางสณุ ีย์ แสงจนั ทร์ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ โรงเรยี นบา้ นมว่ ง
ข สารบัญ รายการ หนา้ บันทึกขอ้ ความ คำนำ ............................................................................................................................. ................................... ก สารบัญ ............................................................................................................................................................. ข รายงานบนั ทกึ ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) …………………………..……………………………………..……………… 1 สว่ นท่ี 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามาตรฐานตำแหน่ง ................................................................... 1 1. ภาระงาน .......................................................................................................................... 1 2. งานที่จะปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานตำแหนง่ ครู ........................................................................ 3 ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพฒั นางานทีเ่ ปน็ ประเด็นท้าทาย ................................................................ 20 1. สภาพปัญหาของผู้เรยี นและการจัดการเรียนรู้ ................................................................ 12 2. วิธีการดำเนนิ การให้บรรลผุ ล ......................................................................................... 20 3. ผลลัพธก์ ารพฒั นาท่ีคาดหวัง .......................................................................................... 21 ผลลพั ธก์ ารพัฒนา ............................................................................................................................. ............ 22 ภาคผนวก ............................................................................................................................. ......................... 23
1 รายงานผลการพัฒนางานตามขอ้ ตกลง (PA) สำหรับขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 รอบการประเมนิ ระหว่างวนั ที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถงึ วนั ท่ี 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2565 ผจู้ ดั ทำข้อตกลง ชือ่ นางสณุ ยี ์ นามสกลุ แสงจนั ทร์ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพเิ ศษ สถานศึกษาโรงเรยี นบ้านม่วง สงั กัด สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 รบั เงนิ เดือนในอนั ดับ คศ.3 อัตราเงนิ เดือน 56,860 บาท ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัดการ เรยี นรจู้ ริง) หอ้ งเรียนวชิ าสามัญหรอื วิชาพื้นฐาน ห้องเรียนปฐมวยั ห้องเรียนการศึกษาพเิ ศษ หอ้ งเรยี นสายวชิ าชพี ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอธั ยาศยั ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพฒั นางาน ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ พิเศษ ซงึ่ เป็นตำแหน่งทีด่ ำรงอยู่ในปัจจบุ ันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปน้ี ส่วนท่ี 1 ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตำแหนง่ (60 คะแนน) 1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามท่ี ก.ค.ศ. กำหนด 1.1 ชวั่ โมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16 ชวั่ โมง/สัปดาห์ ดงั นี้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้/รายวิชาการงานอาชีพ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้/รายวชิ าการงานอาชพี ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 1 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ กลุ่มสาระการเรยี นร/ู้ รายวิชาการงานอาชพี ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนร้/ู รายวชิ าภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 5 ช่วั โมง/สัปดาห์ กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ รายวชิ าคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 จำนวน 5 ชวั่ โมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ กิจกรรมแนะแนว ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 จำนวน 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้/กิจกรรมลกู เสือ-เนตรนารี และบำเพญ็ ประโยชน์ ชั้นประถมศึกษา ปที ่ี 3 จำนวน 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้/กิจกรรมชมุ นมุ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 จำนวน 1 ช่วั โมง/สัปดาห์
2 1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจดั การเรียนรู้ จำนวน 9 ชวั่ โมง/สัปดาห์ ภาระงาน ชั่วโมงการปฏบิ ตั งิ าน 1. โครงการ/กจิ กรรมที่รับผดิ ชอบ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 2. เวรสวัสดกิ ารประจำวัน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 3. การจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้/แผนการจัดการศกึ ษา 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์ เฉพาะรายบคุ คล(IEP) และวิจัยชัน้ เรยี น 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 5. การสรา้ งและพัฒนาสื่อ/นวตั กรรม 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ 6. การมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ(PLC) 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 1.3 งานพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 11 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ภาระงาน ช่ัวโมงการปฏบิ ัติงาน 1. หวั หนา้ ฝ่ายบรหิ ารงบประมาณ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 2. ผูช้ ่วยฝา่ ยงานวชิ าการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 3. หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 4. ครปู ระจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (งานธุรการชั้น 5 ช่วั โมง/สปั ดาห์ งานตดิ ตามดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน Homeroom) 5. การประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 1 ช่วั โมง/สปั ดาห์ 6. ตรวจงาน ตรวจขอ้ สอบ เอกสารประจำวิชา 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน้ จำนวน 5 ช่ัวโมง/สัปดาห์ ภาระงาน ชั่วโมงการปฏิบัตงิ าน 1. โครงการเกษตรเพ่ืออาหารกลางวนั ในโรงเรียน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์ ถิน่ ทรุ กันดารตามพระราชดำริ 2. โรงเรยี นคุณภาพประจำตำบล 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 3. นโยบาย 9 อ.ของผู้อำนวยการสำนักงานเขตพืน้ ท่ี 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ การศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 4. โรงเรียนสุจรติ 1 ช่วั โมง/สัปดาห์
3 2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหนง่ คร(ู ใหร้ ะบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านวา่ จะ ดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการดว้ ยก็ได้) ลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชีว้ ดั (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ที่จะดำเนนิ การพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามข้อตกลง ท่ีจะเกิดขึน้ กับผู้เรยี น ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ที่คาดหวังใหเ้ กิดข้นึ ที่แสดงใหเ้ หน็ ถึงการ กบั ผู้เรยี น(โปรดระบุ) เปล่ียนแปลงไปในทาง ทด่ี ขี ้นึ หรือมกี ารพัฒนา มากขน้ึ หรือผลสัมฤทธิ์ สูงข้นึ (โปรดระบุ) 1. ดา้ นการจัดการเรียนรู้ 1.1 สร้างและหรอื พัฒนาหลักสูตร - ผู้เรียนได้รบั การเรยี นรู้ - ผู้เรียนร้อยละ 70 มีผล ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม : ไดส้ รา้ ง/พัฒนาหลกั สูตรและ ตามหลกั สูตรและหน่วย การประเมนิ ตวั ชี้วัด ถึง การสร้างและหรือพัฒนา จัดทำหนว่ ยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน การเรียนรู้ กลุม่ สาระ กลุ่มสาระการเรียนรู้ หลักสูตร การออกแบบการ การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การเรียนรู้คณติ ศาสตร์ คณิตศาสตร์ ระดับดี จดั การเรยี นรู้ การจดั กิจกรรมการ คณิตศาสตร์ ทส่ี อดคล้องกับ ทส่ี อดคล้องกบั มาตรฐาน ข้นึ ไป เรียนรู้ การสร้างและหรือพัฒนา มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชว้ี ัด และ การเรียนรูแ้ ละตัวชี้วดั - ผู้เรยี นรอ้ ยละ 70 มี สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และ หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วง ของหลักสตู รสถานศึกษา ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น แ ห ล ่ ง เ ร ี ย น ร ู ้ ก า ร ว ั ด แ ล ะ กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านมว่ งและ กลุม่ สาระการเรียนรู้ ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ ฉบับปรุง พทุ ธศักราช 2564 สอดคล้องกบั บริบทของ คณติ ศาสตร์ ระดับดี การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา สถานศึกษา ผเู้ รียนและ ข้ึนไป เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการ ขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ทอ้ งถิ่นอยา่ งมรี ะสิทธภิ าพ เรียนรู้ การจัดบรรยากาศท่ี (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ซ่ึง - ผเู้ รยี นได้รับการพฒั นา ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน และ สอดคลอ้ งกบั บริบทของ สมรรถนะและการเรียนรู้ การอบรมและพัฒนาคุณลักษณะ สถานศึกษา ผ้เู รยี นและท้องถิ่น ไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ ทีด่ ขี องผู้เรยี น และสามารถแก้ไขปญั หาในการ - ผู้เรียนมคี ณุ ภาพการ จัดการเรียนรู้ การพัฒนา เรียนรู้กลมุ่ สาระการ สมรรถนะและการเรียนรู้ของ เรียนร้คู ณติ ศาสตร์ ผเู้ รียนได้เตม็ ตามศักยภาพ ทสี่ ูงขน้ึ สง่ ผลใหค้ ุณภาพการจัดการเรียนรู้ สงู ขึ้น และเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ีในการ สร้างและหรอื พัฒนาหลกั สูตรใหก้ บั ครูทา่ นอืน่ ได้
ผลการปฏิบตั งิ าน 4 ตามมาตรฐานตำแหน่งครู - ผู้เรยี นร้อยละ 73.08 มผี ลการประเมนิ ตัวช้วี ดั รอ่ งรอยหลกั ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดบั ดขี ึน้ ไป - ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 93.75 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น - บนั ทึกผลการประเมินตัวชีว้ ดั ในปพ.5 กลุ่มสาระ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดับดขี นึ้ ไป การเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 - แบบสรุปผลการเรยี นรู้กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ลกั ษณะงานที่ปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวช้ีวดั (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทจ่ี ะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามขอ้ ตกลง ทีจ่ ะเกิดขึ้นกับผูเ้ รียน ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ทค่ี าดหวงั ใหเ้ กิดข้ึน ทีแ่ สดงให้เหน็ ถึงการ กบั ผ้เู รียน(โปรดระบุ) เปลี่ยนแปลงไปในทาง ท่ดี ขี ึน้ หรอื มีการพัฒนา มากขนึ้ หรือผลสัมฤทธ์ิ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.2 ออกแบบการจัดการเรยี นรู้ : - ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ - ผู้เรียนรอ้ ยละ 70 มี กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ และมีคุณลักษณะประจำ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ ใช้มาตรฐาน วิชาคณติ ศาสตร์ กล่มุ สาระการเรียนรู้ การเรยี นร้แู ละตัวช้ีวัดเป็นเปา้ หมาย - ผู้เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะ คณติ ศาสตร์ ระดับดี โดยยดึ หลกั การออกแบบการ อันพึงประสงค์ตาม ขึ้นไป จัดการเรยี นรแู้ บบ Active หลกั สูตรสถานศกึ ษา - ผเู้ รียนรอ้ ยละ 85 มี Learning ผสมผสานกบั แนวคิด กำหนด คุณลักษณะอนั พึง ทฤษฎี - ผเู้ รียนมีสมรรถนะที่ ประสงคร์ ะดับดขี ้นึ ไป การเรยี นรู้ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย สำคญั ตามหลกั สตู ร - ผู้เรยี นรอ้ ยละ 75 มีผล ซึ่งเปน็ รปู แบบการแก้ไขปัญหาและ - ผู้เรียนมีกระบวนการ การประเมินการอา่ น พัฒนาคุณภาพการจดั การเรียนรู้ คิดและค้นพบองค์ คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ใหส้ งู ข้นึ เพ่ือให้ผเู้ รียนมคี วามรู้ ความรู้ด้วยตนเอง ระดับดขี ึน้ ไป ทักษะ คณุ ลักษณะประจำวชิ า และมีแรงบันดาลใจ - ผเู้ รียนร้อยละ 75 มีผล คณิตศาสตร์ คุณลกั ษณะอนั พึง การประเมินสมรรถนะที่ ประสงค์ และสมรรถนะทีส่ ำคัญตาม สำคัญระดบั ดีขน้ึ ไป หลักสูตรสถานศึกษา มีกระบวนการคิด
5 ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตวั ชี้วดั (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ท่ีจะเกิดข้ึนกับผู้เรยี น ทจี่ ะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามขอ้ ตกลง ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถึงการ เปลย่ี นแปลงไปในทาง ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ทีค่ าดหวงั ใหเ้ กิดขึ้น ทด่ี ขี ้นึ หรือมีการพฒั นา มากข้ึนหรือผลสัมฤทธ์ิ กับผู้เรยี น(โปรดระบุ) สงู ขึ้น (โปรดระบุ) คน้ พบองค์ความร้ดู ว้ ยตนเอง สรา้ งแรงบันดาลใจ และเป็น แบบอย่างทดี่ ี ในการออกแบบการ จดั การเรียนรู้ใหแ้ ก่ครทู า่ นอ่ืนได้ นอกจากนยี้ ังเปน็ การออกแบบการ จัดการเรียนร้ทู ่ีสามารถยดื หยุ่นและ ใช้ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาด ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ 19) ได้ ผลการปฏบิ ตั ิงาน รอ่ งรอยหลกั ฐาน ตามมาตรฐานตำแหน่งครู - ผู้เรยี นรอ้ ยละ 93.75 มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นกลุ่ม - แบบสรุปผลการเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดบั ดขี ึน้ ไป คณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 - ผเู้ รียนร้อยละ 100 มีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - บันทกึ ผลการประเมินตัวชี้วัด ใน ปพ.5 กล่มุ สาระ ระดบั ดขี ึน้ ไป การเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 - ผู้เรียนรอ้ ยละ 84.62 มีผลการประเมนิ การอา่ น คิด ปีการศึกษา 2564 วเิ คราะห์ และเขียนระดบั ดีขึ้นไป - ผ้เู รียนรอ้ ยละ 100 มีผลการประเมินสมรรถนะท่ี สำคัญระดับดีขึน้ ไป
6 ลกั ษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตวั ช้วี ัด (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทจี่ ะดำเนนิ การพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามข้อตกลง ทจ่ี ะเกิดขน้ึ กบั ผเู้ รียน ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ทคี่ าดหวังให้เกดิ ขึ้น ท่ีแสดงให้เหน็ ถึงการ กบั ผูเ้ รียน(โปรดระบุ) เปลีย่ นแปลงไปในทาง ท่ดี ขี ้ึนหรอื มีการพัฒนา มากข้ึนหรือผลสมั ฤทธิ์ สูงขน้ึ (โปรดระบุ) 1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ : - ผู้เรียนได้พัฒนาเต็ม - ผู้เรยี นรอ้ ยละ 70 มี กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ตามศักยภาพ ได้เรียนรู้ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน แบบ Active Learning ท่เี นน้ ให้ แ ล ะ ท ำ ง า น ร ่ ว ม กั น กลุ่มสาระการเรียนรู้ ผ้เู รียนแสวงหาและค้นพบความรู้ มกี ระบวนการคิด ค้นพบ คณิตศาสตร์ ดว้ ยตนเอง โดยผสมผสานแนวคดิ องค์ความรู้ด้วยตนเอง ระดับดีขึน้ ไป ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ รูปแบบการ และเกิดแรงบันดาลใจใน เรียนรู้และเทคนิคการเรียนรูต้ ่าง ๆ การเรยี นรู้ อยา่ งหลากหลายที่เหมาะสมกับ เน้ือหาสาระ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ซ่ึงทำใหผ้ เู้ รยี นได้พฒั นาเต็มตาม ศกั ยภาพ ไดเ้ รียนร้แู ละทำงาน รว่ มกนั มีกระบวนการคดิ ค้นพบ องค์ความรู้ดว้ ยตนเองและสร้างแรง บันดาลใจใหก้ บั ผเู้ รยี น นอกจากน้ี ยังเป็นแบบอย่างที่ดีในการจัดการ เรียนร้ใู ห้แกค่ รูท่านอนื่ และในกรณี ทย่ี งั มีสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควดิ 19) ก็สามารถยดื หยนุ่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ในรปู แบบ On-Hand Online On-demand และหรือ On-Site ได้
7 ผลการปฏบิ ตั งิ าน ร่องรอยหลกั ฐาน ตามมาตรฐานตำแหน่งครู - ผู้เรียนรอ้ ยละ 93.75 มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนกลุ่ม - แบบสรุปผลการเรียนรู้กล่มุ สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา ระดับดขี ึน้ ไป 2564 - ปพ.5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ช้ั นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 ลักษณะงานที่ปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ช้ีวดั (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทจ่ี ะดำเนนิ การพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามข้อตกลง ทจ่ี ะเกิดข้ึนกับผเู้ รยี น ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบ)ุ ทค่ี าดหวงั ให้เกดิ ขนึ้ ทแี่ สดงใหเ้ ห็นถึงการ กบั ผเู้ รียน(โปรดระบ)ุ เปล่ียนแปลงไปในทาง ทด่ี ขี ึน้ หรอื มกี ารพฒั นา มากขนึ้ หรือผลสมั ฤทธ์ิ สูงขน้ึ (โปรดระบุ) 1.4 สรา้ งและหรอื พัฒนาสอ่ื - ผู้เรยี นไดร้ บั การ - ผเู้ รียนรอ้ ยละ 70 นวัตกรรม เทคโนโลยแี ละแหลง่ แกป้ ญั หาและพฒั นาการ สามารถสรา้ งชิน้ งาน/ เรียนรู้ : โดยจัดทำคู่มอื ครู เรยี นรู้ นวัตกรรมได้ดว้ ยตนเอง แบบฝกึ ทกั ษะ และ PowerPoint - ผู้เรยี นมีทกั ษะการคิด ในระดบั ดีข้นึ ไป กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ และสามารถสรา้ ง ซึ่งสามารถนำมาใช้จดั กจิ กรรมการ ช้ินงาน/นวตั กรรมได้ด้วย เรียนรู้ในรปู แบบ On-hand ตนเอง Online On-demand และหรอื On-Site ในกรณีทย่ี งั มสี ถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด 19) เพ่ือใช้ แกป้ ัญหาในการเรยี นรู้ ทำให้ ผเู้ รียนมที ักษะการคดิ สามารถ สร้างนวัตกรรมได้ และเป็น แบบอยา่ งทีด่ ใี นการสร้างและหรือ พัฒนานวตั กรรม เทคโนโลยแี ละ แหลง่ เรยี นร้แู กค่ รูทา่ นอ่ืนได้
8 ผลการปฏิบัตงิ าน รอ่ งรอยหลกั ฐาน ตามมาตรฐานตำแหน่งครู - ผเู้ รียนรอ้ ยละ 80 สามารถสรา้ งช้ินงาน/นวตั กรรมได้ - แบบบันทึกการตรวจชน้ิ งาน/นวตั กรรม ด้วยตนเองในระดบั ดีขึ้นไป บทที่ 9 เรอ่ื ง การวัดความยาว กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 ลักษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวช้วี ดั (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหน่ง ท่ีจะดำเนนิ การพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามขอ้ ตกลง ทจี่ ะเกิดข้ึนกบั ผเู้ รียน ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบ)ุ ทีค่ าดหวงั ให้เกิดข้ึน ทีแ่ สดงใหเ้ ห็นถึงการ กบั ผู้เรยี น(โปรดระบุ) เปลี่ยนแปลงไปในทาง 1.5 วดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ที่ดีขน้ึ หรือมกี ารพัฒนา : โดยการรเิ ริม่ คิดคน้ และพัฒนา - ผ้เู รยี นไดร้ ับขอ้ มลู มากขนึ้ หรือผลสมั ฤทธิ์ รูปแบบการวดั และประเมินผลการ สะทอ้ นกลับเพื่อ สูงข้นึ (โปรดระบุ) เรยี นรู้ตามสภาพจริง ดว้ ยวิธกี ารที่ ปรบั ปรุง/พฒั นาการ - ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 70 มผี ล หลากหลายเหมาะสมกับกจิ กรรม เรียนรู้ สมั ฤทธทิ์ างการเรยี น การเรียนรู้ ไดแ้ ก่ การสังเกต - ผู้เรยี นไดร้ ับการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การทดสอบ การประเมนิ ผลงาน พฒั นาการเรยี นรู้อย่าง คณติ ศาสตร์ ระดับดขี ้นึ ไป ซ่งึ สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้/ ต่อเนอ่ื งตามมาตรฐาน - ผู้เรียนรอ้ ยละ 75 มีผล ตัวช้ีวดั และไดน้ ำผลการวดั และ การเรียนร/ู้ ตัวช้ีวดั การประเมินการอา่ น ประเมนิ ผลการเรยี นรู้มาใชแ้ ก้ไข คิดเคราะหแ์ ละเขยี น ปัญหาการจดั การเรียนรูเ้ พื่อให้ ระดบั ดีขนึ้ ไป ผเู้ รียนพัฒนาการเรียนรู้อยา่ ง - ผู้เรียนร้อยละ 85 มี ต่อเนื่อง และยงั เป็นแบบอย่างทด่ี ี คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ ในการวดั และประเมนิ ผลการ ระดับดขี น้ึ ไป เรียนรแู้ ก่ครูท่านอ่ืนได้ - ผู้เรยี นร้อยละ 75 มผี ล การประเมินสมรรถนะที่ สำคญั ระดับดีขึ้นไป
9 ผลการปฏิบัตงิ าน ร่องรอยหลักฐาน ตามมาตรฐานตำแหน่งครู - ผเู้ รียนร้อยละ 93.75 มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นกล่มุ - แบบสรปุ ผลการเรียนรู้กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั ดขี น้ึ ไป คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา - ผ้เู รียนรอ้ ยละ 100 มีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 2564 ระดับดีข้นึ ไป - บนั ทึกผลการประเมินตวั ช้วี ดั ในปพ.5 กล่มุ สาระ - ผู้เรียนรอ้ ยละ 84.62 มีผลการประเมินการอา่ น คิด การเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 วิเคราะห์ และเขียนระดับดขี ้ึนไป ปกี ารศกึ ษา 2564 - ผเู้ รียนรอ้ ยละ 100 มผี ลการประเมินสมรรถนะที่ สำคัญระดับดีขน้ึ ไป ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วดั (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ท่จี ะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามขอ้ ตกลง ท่จี ะเกิดข้นึ กับผู้เรียน ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบ)ุ ทีค่ าดหวงั ใหเ้ กิดขนึ้ ทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ถึงการ กบั ผเู้ รียน(โปรดระบ)ุ เปลยี่ นแปลงไปในทาง 1.6 ศึกษา วเิ คราะห์ และสังเคราะห์ ที่ดีขนึ้ หรือมีการพฒั นา เพอื่ แก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการ - ผู้เรียนไดร้ ับการแก้ไข มากขึ้นหรือผลสมั ฤทธิ์ เรียนรู้ : โดยศกึ ษา วิเคราะห์ และ ปญั หาและพัฒนาการ สูงข้นึ (โปรดระบ)ุ สังเคราะห์รูปแบบการจดั การเรยี นรู้/ เรียนรู้กลมุ่ สาระการ - ผู้เรียนรอ้ ยละ 70 มผี ล เทคนคิ การสอนคมู่ ือครู กลมุ่ สาระการ เรยี นรู้คณติ ศาสตร์ สมั ฤทธ์ิทางการเรียน เรยี นรู้คณิตศาสตร์ เพอื่ แก้ไขปัญหา กลุ่มสาระการเรียนรู้ และพฒั นาการเรยี นรู้ทส่ี ง่ ผลต่อ คณติ ศาสตร์ ระดบั ดี คุณภาพผเู้ รียนและไดน้ ำผลการศกึ ษา ขึ้นไป วเิ คราะห์ และสงั เคราะห์ มาใช้ แกไ้ ขปัญหา/พัฒนาคุณภาพการ จดั การเรียนรู้ให้สูงขึ้นและเปน็ แบบอยา่ ง ที่ดีในการศึกษา วเิ คราะห์และ สงั เคราะห์ เพื่อแกไ้ ขปญั หาและ พฒั นาการเรียนรู้ให้แก่ครทู า่ นอ่นื ได้
10 ผลการปฏบิ ัติงาน ร่องรอยหลกั ฐาน ตามมาตรฐานตำแหนง่ ครู - ผูเ้ รยี นร้อยละ 93.75 มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่ม - แบบสรุปผลการเรยี นรกู้ ล่มุ สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดับดขี ึ้นไป คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2564 ลักษณะงานท่ีปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตวั ช้ีวัด (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนนิ การพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามข้อตกลง ทจ่ี ะเกิดขึ้นกับผ้เู รยี น ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ทค่ี าดหวังให้เกิดขน้ึ ทแ่ี สดงให้เห็นถึงการ กบั ผ้เู รียน(โปรดระบ)ุ เปลย่ี นแปลงไปในทาง ทดี่ ขี ้นึ หรอื มกี ารพัฒนา มากข้นึ หรือผลสัมฤทธิ์ สูงข้ึน (โปรดระบ)ุ 1.7 จัดบรรยากาศท่ีส่งเสริมและ - ผ้เู รียนไดร้ บั การ - ผู้เรียนร้อยละ 70 มี พฒั นาผู้เรยี น : โดยจัดบรรยากาศ พัฒนาการเรียนรูใ้ น ความพงึ พอใจตอ่ ให้เหมาะสมกบั การจดั กจิ กรรมการ บรรยากาศช้ันเรียนที่ บรรยากาศช้ันเรียน เรยี นรู้ และสอดคล้องกับความแตกต่าง เหมาะสมอย่างหลากหลาย ระดบั มากขึ้นไป ผู้เรียนเปน็ รายบคุ คล เช่น และเรยี นร้อู ย่างมี กิจกรรมกลุ่ม การทำงานรว่ มกัน ความสขุ กจิ กรรมเพ่ือนชว่ ยเพ่ือน เพื่อน ค่คู ดิ สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นมีความ รับผิดชอบต่อภาระงาน มคี วาม ซ่อื สตั ย์ตอ่ ตนเอง ฯลฯ และในช่วง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (โควดิ 19) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบ On-Hand Online On-demand และ หรือ On-Site ซึ่งสามารถแก้ไขปัญหา การเรยี นรู้ สร้างแรงบันดาลใจ ส่งเสรมิ และพัฒนาผเู้ รียนให้เกิด กระบวนการคิด ทักษะชีวติ ทกั ษะ การทำงาน ทักษะการเรียนรู้
11 ลกั ษณะงานท่ีปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ช้วี ัด (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหน่ง ท่ีจะเกิดข้นึ กบั ผูเ้ รียน ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามขอ้ ตกลง ทแี่ สดงใหเ้ ห็นถึงการ เปลย่ี นแปลงไปในทาง ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบ)ุ ทคี่ าดหวงั ให้เกิดขึ้น ท่ดี ีขน้ึ หรอื มกี ารพัฒนา มากขนึ้ หรือผลสมั ฤทธ์ิ กบั ผเู้ รยี น(โปรดระบ)ุ สงู ขึ้น (โปรดระบุ) และนวตั กรรมทักษะดา้ นสารสนเทศ สือ่ เทคโนโลยี และเป็นแบบอยา่ งท่ีดี ในการจดั บรรยากาศท่สี ง่ เสริมและ พฒั นาผู้เรียนเรียนร้แู ละนวตั กรรม ทักษะด้านสารสนเทศสือ่ และ เทคโนโลยี ผลการปฏิบัติงาน ร่องรอยหลักฐาน ตามมาตรฐานตำแหนง่ ครู - ผู้เรียนร้อยละ 83.87 มีความพงึ พอใจต่อบรรยากาศช้ัน - แบบสรปุ ความพงึ พอใจตอ่ บรรยากาศชน้ั เรยี น เรียนระดบั มากขน้ึ ไป ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 ลกั ษณะงานที่ปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชีว้ ดั (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทจ่ี ะเกิดขึ้นกับผูเ้ รียน ทจี่ ะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามข้อตกลง ทแ่ี สดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบุ) ท่คี าดหวังใหเ้ กิดขน้ึ ที่ดีขึ้นหรอื มกี ารพฒั นา มากขนึ้ หรือผลสมั ฤทธิ์ กับผู้เรียน(โปรดระบ)ุ สงู ขึน้ (โปรดระบุ) - ผู้เรียนรอ้ ยละ 85 มี 1.8 อบรมและพฒั นาคณุ ลักษณะ - ผูเ้ รยี นมีคุณธรรม คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ ท่ดี ีของผเู้ รียน : มีการอบรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะ ระดับดขี ้นึ ไป บ่มนิสยั ใหผ้ เู้ รียนมคี ุณธรรม อนั พึงประสงค์ และ จริยธรรม คณุ ลักษณะอันพงึ ค่านิยมความเปน็ ไทย ประสงค์ และคา่ นิยมความเป็นไทย ท่ีดีงาม ทดี่ ีงาม โดยการอบรมและสอน แทรกในกจิ กรรมการเรยี นรู้
12 ผ่านกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นา คุณธรรมจรยิ ธรรม โครงการเกษตร เพอื่ อาหารกลางวันในโรงเรียนถน่ิ ทุรกันดารตามพระราชดำริ ซึ่งคำนงึ ถงึ ความแตกต่างของ ผเู้ รียนเป็นรายบุคคล สามารถ แกไ้ ขปัญหาผ้เู รยี นได้ และเป็น แบบอย่างทด่ี ใี นการอบรมและ พฒั นาคณุ ลักษณะที่ดีของผูเ้ รียน แก่ครทู ่านอื่น ผลการปฏบิ ัติงาน ร่องรอยหลกั ฐาน ตามมาตรฐานตำแหนง่ ครู - ผูเ้ รยี นร้อยละ 100 มีคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ระดบั ดี - บนั ทกึ ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ขน้ึ ไป ในปพ.5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564
๒. ด้านการส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจัดการเรยี นรู้ 13 ลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ชวี้ ัด (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ท่ีจะดำเนินการพฒั นาตามข้อตกลง ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดข้นึ กับผเู้ รียน ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบ)ุ ทคี่ าดหวังให้เกิดขึ้น ท่ีแสดงให้เหน็ ถึงการ กับผเู้ รยี น(โปรดระบ)ุ เปล่ียนแปลงไปในทาง ทดี่ ขี น้ึ หรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สงู ขนึ้ (โปรดระบุ) 2 . ด ้ า น ก า ร ส ่ ง เ ส ร ิ ม แ ล ะ 2.1 จดั ทำข้อมลู สารสนเทศของ - ผ้เู รยี นได้รบั การ - ผ้เู รียนร้อยละ 70 ได้ สนบั สนนุ ผเู้ รยี นและรายวิชา : โดยมีการ ปรบั ปรุง แก้ไขปัญหา ปรบั ปรงุ /แก้ไขปญั หา ลกั ษณะงานท่เี สนอให้ครอบคลุม ริเร่ิม คิดค้น และพฒั นารปู แบบ และพัฒนาเป็นรายบุคคล และพัฒนาผลการเรียนรู้ ถงึ การจดั ทำข้อมูลสารสนเทศ การจัดทำข้อมูลสารสนเทศของ ตามข้อมลู สารสนเทศ ในระดบั ดีข้นึ ไป ของผเู้ รียนและรายวชิ า การ ผเู้ รยี นและกลุม่ สาระการเรยี นรู้ ประจำวิชา ดำเนนิ การตามระบบดูแล คณติ ศาสตร์ ให้มีข้อมูลเปน็ ปัจจุบนั ช่วยเหลือผเู้ รยี น การปฏบิ ัตงิ าน โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel วชิ าการ และงานอื่น ๆ ของ ในการจดั เกบ็ ขอ้ มูล และสรปุ สถานศึกษา และการประสาน เป็นสารสนเทศ และรายงานผล ความรว่ มมือกับผ้ปู กครองภาคี สะท้อนกลับให้ผู้เรยี น ทราบว่าต้อง เครือข่าย และหรือสถาน ปรับปรงุ แก้ไขผลการเรียนในหวั ขอ้ ประกอบการ ใดบา้ ง หรือผูเ้ รยี นคนใดยงั ไม่ได้ ทดสอบ ไม่สง่ ภาระงานหรือชนิ้ งาน ตามท่ีกำหนด ซ่งึ เปน็ การสง่ เสริม สนบั สนนุ การเรียนรู้ แกไ้ ขปญั หา และพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น และเปน็ แบบอยา่ งทีดแี ก่ครูท่านอ่ืนได้ ผลการปฏบิ ัติงาน ร่องรอยหลักฐาน ตามมาตรฐานตำแหนง่ ครู - ผ้เู รียนร้อยละ 83.88 ไดป้ รับปรงุ /แก้ไขปญั หา และ - แบบสรปุ ผลการเรียนรู้กล่มุ สาระการเรยี นรู้ พฒั นาผลการเรียนรใู้ นระดบั ดีขึน้ ไป คณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2564
14 ลักษณะงานที่ปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวช้วี ดั (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ท่ีจะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามขอ้ ตกลง ที่จะเกิดขนึ้ กับผ้เู รียน ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบ)ุ ทค่ี าดหวังให้เกิดข้ึน ท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึงการ กับผ้เู รียน(โปรดระบุ) เปลย่ี นแปลงไปในทาง ที่ดขี นึ้ หรอื มกี ารพัฒนา มากข้นึ หรือผลสมั ฤทธิ์ สงู ข้นึ (โปรดระบุ) 2.2 ดำเนนิ การตามระบบดแู ล - ผเู้ รยี นได้รบั การพัฒนา - ผู้เรียนรอ้ ยละ 70 ชว่ ยเหลือผเู้ รียน : มกี ารใชข้ ้อมลู และแก้ไขปัญหาจากครู ไดร้ ับการดูแลช่วยเหลอื สารสนเทศเกย่ี วกบั ผเู้ รยี น ผ้ปู กครองและผู้ท่ี และแก้ปัญหาอย่างเปน็ รายบคุ คลและประสานความ เกยี่ วขอ้ ง ระบบ ร่วมมือกับผู้มีสว่ นเกี่ยวขอ้ ง เพื่อพฒั นาและแก้ไขปัญหาผเู้ รียน โดยการดำเนนิ การตามระบบ ดแู ลชว่ ยเหลอื ผู้เรียน ไดจ้ ดั เกบ็ และบันทึกข้อมูลผู้เรยี นและสรปุ เป็นข้อมลู สารสนเทศ จดั กจิ กรรม เยย่ี มบ้านนักเรยี นแบบออนไลน์ จดั กิจกรรมโฮมรูม ประชุม ผูป้ กครองชนั้ เรยี นในรูปแบบ ออนไลน์ และมีกล่มุ ไลน์ผู้ปกครอง และนักเรยี นสำหรบั เป็นช่องทางใน การตดิ ต่อส่ือสารและเรียนออนไลน์ และหรอื On-demand ซง่ึ เป็น แบบอยา่ งท่ีดีและสามารถให้ คำปรกึ ษากับครูทา่ นอืน่ ได้ ผลการปฏิบตั งิ าน รอ่ งรอยหลักฐาน ตามมาตรฐานตำแหน่งครู - แบบสรุปบนั ทกึ ผลการเย่ยี มบา้ นนักเรยี น - ผ้เู รยี นร้อยละ 96.77 ได้รบั การดูแลชว่ ยเหลอื และแกป้ ัญหา อย่างเปน็ ระบบ
15 ลกั ษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทจี่ ะเกิดขึน้ กบั ผู้เรยี น ทจี่ ะดำเนนิ การพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามขอ้ ตกลง ท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบุ) ท่คี าดหวงั ใหเ้ กิดขึ้น ทีด่ ขี ึ้นหรือมกี ารพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธ์ิ กบั ผเู้ รียน(โปรดระบุ) สงู ขึ้น (โปรดระบ)ุ - ผู้เรียนรอ้ ยละ 70 มี 2.3 ปฏิบตั ิงานวิชาการ และงานอืน่ ๆ - ผู้เรยี นไดร้ บั การ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ของสถานศึกษา : ไดป้ ฏบิ ตั ิงานเป็นครู ปรบั ปรุง/พัฒนาให้มี ประจำชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 เปน็ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ระดับดขี ึ้นไป ผูช้ ว่ ยงานบริหารวชิ าการ คณะกรรมการ บรกิ ารหลักสตู รสถานศึกษา หวั หน้า สูงข้นึ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คณะกรรมการจัดทำ/ปรบั ปรุง/ พฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา และ หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ คณะกรรมการงาน ประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา รบั ผิดชอบโครงการอ่านออก เขยี นได้ ลายมอื สวย ป้ันเดก็ จิว๋ เป็นเด็กแจว๋ โครงการยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ าง วิชาการของผ้เู รยี น และโครงการเกษตร เพอ่ื อาหารกลางวนั ในโรงเรียนถ่นิ ทุรกนั ดารตามพระราชดำริ และ ปฏิบัติงานเป็นหวั หน้าฝ่ายบรหิ าร งบประมาณ และเปน็ ครเู วรสวสั ดิการ ประจำวนั อังคาร เพ่ือยกระดับคุณภาพ การจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีการพัฒนารปู แบบหรือแนวทาง การดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ สูงข้ึนและเปน็ แบบอย่างทีด่ ี
16 ผลการปฏิบตั งิ าน ร่องรอยหลักฐาน ตามมาตรฐานตำแหน่งครู - ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 93.75 มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนกลุ่ม - แบบสรปุ ผลการเรยี นรกู้ ล่มุ สาระการ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั ดขี ึน้ ไป เรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวช้วี ดั (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ท่ีจะเกิดขนึ้ กับผเู้ รียน ท่ีจะดำเนนิ การพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามขอ้ ตกลง ทแ่ี สดงให้เหน็ ถึงการ เปล่ียนแปลงไปในทาง ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบ)ุ ท่คี าดหวังใหเ้ กิดขนึ้ ทด่ี ีข้นึ หรอื มกี ารพัฒนา มากขนึ้ หรือผลสมั ฤทธิ์ กับผเู้ รียน(โปรดระบุ) สูงขึน้ (โปรดระบ)ุ - ผเู้ รยี นร้อยละ 70 มี 2.4 ประสานความร่วมมือกับ - ผูเ้ รียนได้รบั การ ความพงึ พอใจต่อการ จัดระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและหรือ แก้ปญั หาและพัฒนา นกั เรียนระดับมากขึน้ ไป สถานประกอบการ : โดยร่วม ให้ดีขึ้น กิจกรรมประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน ตั้งกลมุ่ ไลนผ์ ปู้ กครองนกั เรยี นชน้ั ป.3 ไวเ้ ปน็ ชอ่ งทางการตดิ ตอ่ สอ่ื สาร กบั ผู้ปกครอง และเปน็ ภาคี เครือข่ายกลมุ่ โรงเรยี นสำนักแตว้ เครอื ข่ายอำเภอสะเดา และ เครือข่ายโครงการเกษตรเพื่อ อาหารกลางวนั ในโรงเรยี นถ่นิ ทุรกนั ดารตามพระราชดำริ เพื่อ รว่ มกนั แกป้ ญั หาและพัฒนาผู้เรียน และเปน็ แบบอย่างท่ีดี ผลการปฏบิ ตั งิ าน รอ่ งรอยหลกั ฐาน ตามมาตรฐานตำแหนง่ ครู - ผ้เู รยี นรอ้ ยละ 83.87 มคี วามพงึ พอใจต่อการจดั ระบบ - แบบสรุปการประเมนิ ความพึงพอใจของ ดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นระดับมากขึน้ ไป ผปู้ กครองนักเรียนชั้น ป.3
17 ลกั ษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ชีว้ ัด (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ท่ีจะเกิดข้นึ กบั ผ้เู รยี น ทีจ่ ะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงให้เหน็ ถึงการ 3. ด้านการพัฒนาตนเองและ เปล่ยี นแปลงไปในทาง วชิ าชพี ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบุ) ทคี่ าดหวงั ใหเ้ กดิ ขน้ึ ท่ดี ีขนึ้ หรอื มกี ารพฒั นา ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม มากขน้ึ หรือผลสมั ฤทธ์ิ ถึง การพัฒนาตนเองอย่างเป็น กบั ผู้เรยี น(โปรดระบ)ุ สูงขนึ้ (โปรดระบ)ุ ระบบและตอ่ เนอ่ื ง การมีส่วนร่วม - ผู้เรยี นรอ้ ยละ 70 มี ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ - ผ้เู รยี นไดร้ บั การพฒั นา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการ ระดับดีขึ้นไป เรียนรู้ และการนำคว ามรู้ และต่อเนื่อง : โดยจัดทำแผนพฒั นา คณุ ภาพการเรียนรู้ให้ ความสามารถ ทักษะท่ไี ด้จากการ พัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ใน ตนเอง (ID Plan) และพัฒนาตนเอง สงู ขึ้น การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการ โดยศึกษาเอกสารตำรา คู่มือ เข้ารับ พัฒนานวัตกรรมการจัดการ เรยี นรู้ การอบรม สัมมนา และเรียนรู้ผ่าน ระบบออนไลน์ เพอื่ ให้ตนเองมคี วามรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพ่ือการส่ือสาร และการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อ การศึกษา มีสมรรถวิชาชีพครูและมี ความรอบรู้ในเนื้อหาวิชา และ วิธีการสอน ซึ่งได้นำความรู้มาพัฒนา คุณภาพผู้เรียนและเป็นแบบอย่างที่ดี ใหก้ บั ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ผลการปฏบิ ัตงิ าน ร่องรอยหลกั ฐาน ตามมาตรฐานตำแหน่งครู - ผู้เรยี นร้อยละ 93.75 มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นกลุ่มสาระ - แบบสรุปผลการเรียนรูก้ ลมุ่ สาระการเรียนรู้ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดบั ดีขึ้นไป คณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2564
18 ลักษณะงานท่ีปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ช้วี ดั (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหน่ง ท่ีจะเกิดขนึ้ กับผเู้ รยี น ท่จี ะดำเนนิ การพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามข้อตกลง ทีแ่ สดงให้เห็นถึงการ เปลีย่ นแปลงไปในทาง ใน 1 รอบการประเมิน(โปรดระบุ) ทีค่ าดหวังให้เกิดขนึ้ ทดี่ ีขน้ึ หรอื มีการพฒั นา มากขึน้ หรือผลสัมฤทธ์ิ กับผเู้ รยี น(โปรดระบ)ุ สงู ขน้ึ (โปรดระบุ) 3.2 มีส่วนร่วม และเป็นผนู้ ำใน - ผ้เู รยี นไดร้ บั การพฒั นา - ผู้เรยี นรอ้ ยละ 70 มี การแลกเปลี่ยนเรียนรทู้ างวิชาชพี คุณภาพการเรยี นรูจ้ าก ความพงึ พอใจตอ่ การ : เข้ารว่ มและเป็นผนู้ ำกจิ กรรมการ นวตั กรรมทเี่ หมาะสม จดั การเรยี นรรู้ ะดับมาก มสี ว่ นรว่ มในชุมชนแห่งการเรียนรู้ ข้ึนไป (PLC) สรา้ งนวัตกรรมเพ่ือพัฒนา การจัดการเรยี นรู้และเป็นแบบอยา่ ง ทด่ี ีให้แก่ครแู ละบุคลากรทางการ ศึกษา ผลการปฏิบัตงิ าน ร่องรอยหลักฐาน ตามมาตรฐานตำแหน่งครู - ผู้เรียนรอ้ ยละ 83.87 มีความพึงพอใจต่อการจัดระบบ - แบบสรปุ การประเมนิ ความพงึ พอใจของผปู้ กครอง ดแู ลช่วยเหลือนักเรียนระดับมากข้ึนไป นกั เรยี นชั้น ป.3
19 ลักษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ชี้วดั (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทีจ่ ะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ของงานตามข้อตกลง ท่ีจะเกิดขึน้ กับผู้เรียน ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบ)ุ ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น ท่แี สดงให้เหน็ ถึงการ กับผ้เู รียน(โปรดระบุ) เปล่ยี นแปลงไปในทาง 3.3 นําความรู้ ความสามารถ ทักษะ ทีด่ ีข้ึนหรือมีการพฒั นา ทไ่ี ด้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ - ผเู้ รียนมีผลสมั ฤทธิ์ มากขึน้ หรือผลสมั ฤทธิ์ มาใช้ในการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ ทางการเรยี นสูงขึ้น สูงขนึ้ (โปรดระบ)ุ การพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี น รวมถึง - ผูเ้ รียนรอ้ ยละ 70 การพฒั นานวัตกรรมการจดั การ มีผลสัมฤทธิท์ างการ เรยี นรทู้ ่มี ีผลต่อคณุ ภาพผเู้ รียน : เรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ไดน้ ำความรู้ที่ไดจ้ าการพฒั นา คณิตศาสตร์ ระดบั ดี ตนเองอย่างเป็นระบบและตอ่ เนอื่ ง ขนึ้ ไป มาพฒั นานวัตกรรมการการจัดการ เรยี นรทู้ ีส่ ่งผลต่อคุณภาพผู้เรยี น และเป็นแบบอย่างทดี่ ี ผลการปฏิบตั ิงาน ร่องรอยหลักฐาน ตามมาตรฐานตำแหนง่ ครู - ผเู้ รียนรอ้ ยละ 93.75 มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นกลุ่ม - แบบสรุปผลการเรยี นร้กู ลมุ่ สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดับดขี นึ้ ไป คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564
20 สว่ นท่ี 2 ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานทีเ่ ป็นประเดน็ ท้าทายในการพฒั นาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผูเ้ รยี น ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของวิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ คือ การริเริ่ม พัฒนา การจัดการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีดขี น้ึ หรือมีการพัฒนามากข้นึ (ทั้งน้ี ประเด็นทา้ ทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติ ทคี่ าดหวงั ในวิทยฐานะที่สูงกว่าได)้ ประเดน็ ท้าทาย เร่ือง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นคณิตศาสตร์ เรอื่ ง โจทย์ปญั หาการวดั ความยาว ด้วยรูปแบบ Active Learning โดยใหผ้ เู้ รียนแสวงหาและคน้ พบความรดู้ ว้ ยตนเอง สำหรบั นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 1. สภาพปญั หาการจดั การเรยี นรูแ้ ละคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรยี น จากรายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนบ้านม่วง ปีการศึกษา 2563 พบว่า ความสามารถด้านคณิตศาสตร์มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 64.80 ระดับคุณภาพดี แต่ในสาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนําไปใช้ ตัวชี้วัด ป.3/6 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็นเซนติเมตรและ มิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 20 ระดับคุณภาพปรับปรุง ดังนั้น ครผู ูส้ อนจงึ จำเปน็ ต้องหานวัตกรรมมาแกป้ ญั หาและพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปัญหา การวัดความยาว และพบว่าการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ Active Learning โดยให้ผู้เรียนแสวงหาและค้นพบ ความรู้ด้วยตนเอง เป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ เกิดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพราะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ Active Learning โดยให้ผู้เรียนแสวงหาและค้นพบความรู้ ด้วยตนเอง เป็นนวัตกรรมท่ีประมวลเน้ือหา ประสบการณ์ แนวคิด วธิ กี าร กิจกรรมและส่ือได้อย่างสอดคล้องกัน แหลง่ เรียนรใู้ นทอ้ งถน่ิ ท่ีสำคัญที่ควรให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้และสามารถพฒั นาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และสร้างเจตคติทดี่ ตี ่อคณิตศาสตร์ เกดิ การเรียนรูอ้ ย่างมคี วามสุข สง่ ผลใหน้ ักเรียนมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสูงขึ้น 2. วิธีการดำเนินการให้บรรลผุ ล : โดยดำเนินการตามข้นั ตอนดงั น้ี ขนั้ การวางแผน (Plan) : 1) ศึกษาและวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด คู่มือการใช้ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา และศึกษาคู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่มที่ 2 ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านม่วง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564) 2) ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล แนวคิดและทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการ จดั การเรียนรทู้ ีส่ ง่ ผลต่อการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนคณติ ศาสตร์ เรื่อง โจทยป์ ัญหาการวัดความยาว 3) ออกแบบการเรียนรู้โดยจัดทำคู่มอื ครู แบบฝึกทกั ษะและ Power Point เรอื่ ง โจทย์ปัญหา การวัดความยาว ดว้ ยรูปแบบ Active Learning โดยใหผ้ ้เู รยี นแสวงหาและค้นพบความรู้ด้วยตนเอง
21 4) แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของคู่มือครู แบบฝึกทักษะและ Power Point เรอ่ื ง โจทยป์ ญั หาการวดั ความยาว ด้วยรปู แบบ Active Learning โดยใหผ้ ูเ้ รยี นแสวงหาและคน้ พบความรดู้ ว้ ยตนเอง 5) ปรับปรุง/พัฒนาคู่มือครู แบบฝึกทักษะและ Power Point เรื่อง โจทย์ปัญหาการวัดความ ยาว ดว้ ยรูปแบบ Active Learning โดยให้ผูเ้ รยี นแสวงหาและคน้ พบความรดู้ ้วยตนเอง ขั้นการปฏิบัติ (Do) : โดยนำคมู่ อื ครู แบบฝึกทักษะและ Power Point เรอื่ ง โจทยป์ ัญหาการวัดความยาว ดว้ ยรปู แบบ Active Learning โดยให้ผเู้ รยี นแสวงหาและค้นพบความรู้ด้วยตนเอง ทผี่ ่านการปรับปรงุ /พัฒนา ไปจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ในรูปแบบ On hand On demand On line และหรือ On site กบั กลมุ่ เปา้ หมาย ขั้นการตรวจสอบ (Check) : โดยศึกษาและตรวจสอบผลการจดั การเรียนรู้ เรื่อง โจทย์ปัญหาการวดั ความยาว ด้วยรูปแบบ Active Learning โดยให้ผเู้ รียนแสวงหาและค้นพบความรู้ด้วยตนเอง ขั้นการปรบั ปรงุ แก้ไข (Act) : 1) ปรับปรุงแกไ้ ข และพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ด้วยรูปแบบ Active Learning โดยให้ผู้เรียน แสวงหาและคน้ พบความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง โจทย์ปญั หาการวัดความยาว กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2) นำประเด็นดังกล่าวเข้าส่วู ง PLC เพอื่ แลกเปล่ยี นข้อมูลและแนวทางการพัฒนาตาม ประเดน็ นำผลสะท้อนในการใช้บนั ทึกข้อมลู คะแนนในระบบสารสนเทศผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนเพอื่ ประเมนิ ผล การเรยี นรู้ นำข้อมลู ท่ีได้พัฒนาผลการเรยี นร้ใู ห้ผเู้ รยี นบรรลุตามวตั ถุประสงค์ที่ต้ังไว้ 3. ผลลพั ธก์ ารพฒั นาทีค่ าดหวัง 3.1 เชิงปริมาณ : 1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีความสามารถแสวงหา ค้นพบความรู้และสร้าง ชิ้นงาน/นวัตกรรม เร่ือง โจทยป์ ัญหาการวัดความยาว กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ ได้ด้วยตนเอง 2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โจทย์ ปญั หาการวดั ความยาว กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ เป็นไปตามคา่ เป้าหมายที่สถานศกึ ษากำหนดไว้ 3.2 เชิงคุณภาพ : 1) นักเรยี นร้อยละ 70 มคี วามสามารถแสวงหา ค้นพบความรู้และสรา้ งชิน้ งาน/นวัตกรรม เรือ่ ง โจทยป์ ัญหาการวัดความยาว กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ได้ด้วยตนเองในระดับดขี ึน้ ไป 2) นักเรียนร้อยละ 70 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการวัด ความยาว ระดับดีข้ึนไป
ผลลัพธ์การพฒั นา 22 3.1 เชงิ ปรมิ าณ : 1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนมีความสามารถแสวงหา คน้ พบความรู้และสร้าง ชิ้นงาน/นวตั กรรม เรื่อง โจทยป์ ัญหาการวดั ความยาว กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ไดด้ ว้ ยตนเอง 2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โจทยป์ ญั หาการวดั ความยาว กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ เปน็ ไปตามค่าเป้าหมายทสี่ ถานศึกษากำหนดไว้ 3.2 เชงิ คุณภาพ : 1) นักเรียนรอ้ ยละ 80 มคี วามสามารถแสวงหา คน้ พบความรู้และสรา้ งชิน้ งาน/นวตั กรรม เรื่อง โจทย์ปญั หาการวัดความยาว กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ได้ดว้ ยตนเองในระดบั ดีขึ้นไป 2) นักเรียนร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการวัด ความยาว ระดบั ดีข้ึนไป ขอรับรองว่ารายงานดงั กลา่ วข้างต้นเป็นความจรงิ ลงชอ่ื ...............สุณีย์ แสงจันทร์...................... (นางสณุ ีย์ แสงจนั ทร)์ ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ ผู้รายงานการจัดทำขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน 29/กันยายน/2565
23 ภาคผนวก
24
24
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: