Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

Published by Thanawat Payungwong, 2021-01-24 14:15:07

Description: นาย อิศรา โตแก้ว

Search

Read the Text Version

วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

คํานํา หนังสือE-Book เลมนี้จัดทําข้ึนเพื่อใหผูอานไดทราบขอ มูลเกี่บวกับวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เชน วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา และอื่นๆ หวังวาผูอานจะได รับประโยชนจากE-Book เลมนี้ ขอบคุณครบั นาย อิศรา โตแกว

สารบัญ หนาที่ วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา ๒ ๔ คํานาํ ๕ วันมาฆบูชา ๖ วันวิสาขบูชา ๗ วันอัฏฐมีบูชา ๘ วันอาสาฬหบูชา ๙ วันเขาพรรษา วันออกพรรษา

วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา วันมาฆบูชา ตรงกับวันข้ึน ๑๕ คาํ่ เดือน ๓ \"มาฆะ\" เปนช่ือของเดือน ๓ มาฆบูชาน้ัน ยอมาจากคาํ วา\"มาฆบุรณมี\" แปลวาการบูชาพระในวันเพ็ญ เดือน ๓ วันมาฆบูชาจึงตรงกับวันข้ึน ๑๕ คาํ่ เดือน ๓ แตถาปใดมีเดือน อธิกมาส คือมีเดือน ๘ สองครั้ง วันมาฆบูชาก็จะเลื่อนไปเปนวันขึ้น ๑๕ คํา่ เดือน ๔ เปนวันสําคัญวัน หน่ึง ในวันพุทธศาสนา คือวันที่มีการประชุมสังฆสันนิบาตคร้ังใหญใน พุทธศาสนา ที่เรียกวา \"จาตุรงคสันนิบาต\" และเปนวันท่ีพระสัมมา สัมพุทธเจาไดทรงแสดงโอวาทปฎิโมกขแกพระสงฆสาวกเปนครั้งแรก ณ เวฬุวันวิหาร กรุงราชคฤห เพื่อใหพระสงฆนําไปประพฤติปฏิบัติ เพ่ือจะยังพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองตอไป กิจกรรมตางๆ ท่ีควรปฏิบัติในวันมาฆบูชา ๑. ทาํ บุญใสบาตร ๒. ไปวัดเพ่ือปฏิบัติธรรม และฟงพระธรรมเทศนา ๓. ไปเวียนเทียนท่ีวัด ๔. ประดับธงชาติตามอาคารบานเรือนและสถานที่ราชการ

วันวิสาขบูชา ตรงกับวัน ข้ึน ๑๕ ค่ํา เดือน ๖ ความหมาย คาํ วา \"วิสาขบูชา\" หมายถึงการบูชาในวันเพ็ญ เดือน ๖ วิสาขบูชา ยอมาจาก \" วิสาขปุรณมีบูชา \" แปลวา \" การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ \" ถาปใดมีอธิกมาส คือ มีเดือน ๘ สองหน ก็เลื่อนไปเปนกลางเดือน ๗ ความสําคัญ วันวิสาขบูชา เปนวันสําคัญยิ่งทางพระพุทธศาสนา เพราะเปนวันท่ีพระพุทธเจาประสูติ คือเกิด ไดตรัสรู คือสาํ เร็จ ไดปรินิพพาน คือ ดับ เกิดข้ึนตรงกันทั้ง ๓ คราวคือ ๑. เม่ือเจาชายสิทธัตถะประสูติท่ีพระราชอุทยานลุมพินีวัน ๒. เมื่อเจาชายสิทธัตถะตรัสรู ๓.เสด็จดับขันธปรินิพพาน หลักธรรมสาํ คัญท่ีควรนํามาปฏิบัติ อริยสัจ ๔ อริยสัจ ๔ คือ ความจริงอันประเสริฐ หมายถึงความจริงของชีวิตท่ี ไมผันแปร เกิดมีไดแกทุกคน มี ๔ ประการ คือ ๑) ทุกข คือ ความจริงที่วาดวยความทุกข ๒) สมุทัย คือ ความจริงที่วาดวยเหตุใหเกิดทุกข ๓) นิโรธ คือ ความจริงที่วาดวยความดับทุกข ๔) มรรค คือความจริงท่ีวาดวยทางแหงความดับทุกข

วันอัฏฐมีบูชา ตรงกับ วันแรม ๘ คาํ่ แหงเดือนวิสาขะ (เดือน ๖) ประวัติความเปนมา เมื่อพระพุทธเจาเสด็จปรินิพพานแลว ๘ วัน มัลล กษัตริยแหงนครกุสินารา พรอมดวยประชาชน และพระสงฆอันมีพระมหา กัสสปเถระเปนประธาน ไดพรอมกันกระทําการถวายพระเพลิงพุทธสรีระ ณ มกุฏพันธนเจดีแหงกรุงกุสินารา วันนั้นเปนวันหนึ่งที่ชาวพุทธตองมีความ สังเวชสลดใจ และวิปโยคโศกเศราเปนอยางยิ่ง เพราะการสูญเสียแหง พระพุทธสรีระ เมื่อวันแรม ๘ คาํ่ เดือน ๖ ซ่ึงนิยมเรียกกันวาวันอัฏฐมีน้ัน เวียนมาบรรจบแตละป พุทธศาสนิกชนบางสวน โดยเฉพาะพระสงฆและ อุบาสกอุบาสิกาแหงวัดนั้น ๆ ไดพรอมกันประกอบพิธีบูชาขึ้น เปนการ เฉพาะภายในวัด เชนที่ปฏิบัติกันอยูในวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏ์ิ เปนตน แตจะปฏิบัติกันมาแตเมื่อใด ไมพบหลักฐาน ปจจุบันนี้ก็ยังถือปฏิบัติกันอยู ความสาํ คัญ โดยที่วันอัฏฐมีคือวันแรม ๘ คํ่า เดือน ๖ เปนวันท่ีมีเหตุการณ สาํ คัญทางพระพุทธศาสนา ถือเปนวันที่ตรงกับวันที่ตรงกับวันถวาย พระเพลิงพระพุทธสรีระเปนวันที่ชาวพุทธตองวิปโยค และสูญเสีย พระบรมสรีระแหงองคพระบรมศาสดา ซึ่งเปนที่เคารพสักการะอยาง สูงยิ่ง และเปนวันควรแสดงธรรมสังเวชและระลึกถึงพระพุทธคุณให สําเร็จเปนพุทธานุสสติภาวนามัยกุศล

วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๘ ประวัติความเปนมา หลังจากพระพุทธเจาไดตรัสรูในวันข้ึน ๑๕ ค่าํ เดือน ๖ หรือวันวิสาขบูชา ปญจวัคคียท้ัง 5 ไดฟงปฐมเทศนาจากพระสัมมาสัม พุทธเจาจนกระทั่ง โกณฑัญญะไดบรรลุดวงตาเห็นธรรมเปนพระอริยบุคคล ระดับโสดาบัน จึงไดรับการอุปสมบทจากพระพุทธเจา นับไดวาวัน อาสาฬหบูชาเปนวันแรกท่ีมีพระภิกษุเกิดขึ้นในพระพุทธศาสนา ใน ประเทศไทยเพิ่งเริ่มมีพิธีกรรมในวันอาสาฬหบูชาเปนครั้งแรกในป พ.ศ. ๒๕๐๑ ตามประกาศของสังฆมนตรี ท่ีไดกําหนดใหวันอาสาฬหบูชาเปนวัน สําคัญในศาสนาพุทธ ออกประกาศในวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๐๑ นับตั้งแต วันน้ันพุทธศาสนิกชนในประเทศไทยก็กําหนดพิธีข้ึนอยางเปนทางการโดยมี การปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาเทียบเทากับวันวิสาขบูชา ความสําคัญวันอาสาฬหบูชา พระพุทธเจาแสดงธรรมจากการตรัสรูครั้งแรก เรียกวา “ธัมมจักรกัป ปวัตนสูตร” แกปญจวัคคียทั้ง ๕ ปญจวัคคียขอบวชเพ่ือศึกษาพระธรรมวินัย จึงเกิดพิธีการบวชคร้ังแรกโดย พระพุทธเจากระทําให เรียกวา “เอหิภิกขุอุปสัมปทา” เปนวันแรกที่ พระพุทธเจาประกาศ “ศาสนาพุทธ” จึงถือวาวันนี้เปนวันท่ีพระรัตนตรัยเกิด ขึ้นโดยสมบูรณ ท้ังพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ

วันเขาพรรษา ตรงกับวันแรม ๑ คาํ่ เดือน ๘ ประวัติวันเขาพรรษา\"เขาพรรษา\" แปลวา \"พักฝน\" หมายถึง พระภิกษุ สงฆตองอยูประจํา ณ วัดใดวัดหนึ่งระหวางฤดูฝน โดยเหตุที่พระภิกษุใน สมัยพุทธกาล มีหนาท่ีจะตองจาริกโปรดสัตว และเผยแผพระธรรมคาํ ส่ัง สอนแกประชาชนไปในที่ตาง ๆ ไมจําเปนตองมีที่อยูประจํา แมในฤดูฝน ชาว บานจึงตําหนิวาไปเหยียบขาวกลาและพืชอื่น ๆ จนเสียหาย พระพุทธเจาจึง ทรงวางระเบียบการจาํ พรรษาใหพระภิกษุอยูประจาํ ท่ีตลอด ๓ เดือน ในฤดู ฝน โดยแบงเปน ปุริมพรรษา หรือ วันเขาพรรษาแรก เริ่มต้ังแตวันแรม ๑ คา่ํ เดือน ๘ ของทุกป หรือถาปใดมีเดือน ๘ สองคร้ัง ก็เล่ือนมาเปนวันแรม ๑ ค่าํ เดือน ๘ หลัง และออกพรรษาในวันข้ึน ๑๕ คํ่า เดือน ๑๑ ปจฉิมพรรษา หรือ วันเขาพรรษาหลัง เร่ิมต้ังแตวันแรม ๑ คา่ํ เดือน ๙ จนถึงวันข้ึน ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ อยางไรก็ตาม หากมีกิจธุระ คือเม่ือเดินทาง ไปแลวไมสามารถจะกลับไดในวันเดียวน้ัน ก็ทรงอนุญาตใหไปแรมคืนได คราวหนึ่งไมเกิน ๗ คืน เรียกวา \"สัตตาหะ\" หากเกินกําหนดน้ีถือวาไมไดรับ ประโยชนแหงการจาํ พรรษา จัดวาพรรษาขาด สาํ หรับขอยกเวนใหภิกษุจาํ พรรษาที่อ่ืนได โดยไมถือเปนการขาด พรรษา เวนแตเกิน ๗ วัน ไดแก ๑. การไปรักษาพยาบาลภิกษุ หรือบิดามารดาที่เจ็บปวย ๒. การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิใหสึกได ๓. การไปเพ่ือกิจธุระของคณะสงฆ เชน การไปหาอุปกรณมาซอมกุฏิท่ีชํารุด ๔. หากทายกนิมนตไปทําบุญ ก็ไปฉลองศรัทธาในการบาํ เพ็ญกุศลของเขาได

วันออกพรรษา ตรงกับวันขึ้น ๑๕ คาํ่ เดือน ๑๑ ประวัติวันเขาพรรษา การออกพรรษา ถือเปนขอปฏิบัติตามพระวินัยสําหรับพระสงฆโดย เฉพาะ เรียกวา ปวารณา จัดเปนญัตติกรรมวาจาสังฆกรรมประเภทหนึ่งที่ ถูกกําหนดโดยพระวินัยญัตติใหโอกาสแกพระสงฆที่จาํ พรรษาอยูรวมกัน ตลอดไตรมาส ใหสามารถตักเตือนและชี้ขอบกพรองแกกันไดโดยเสมอ ภาคดวยจิตที่ปราถนาดีซ่ึงกันและกัน โดยใหพระสงฆท่ีถูกตักเตือนมีโอกาส รับรูขอบกพรองของตนและสามารถนําขอบกพรองน้ันไปแกไขใหดีย่ิงขึ้น เมื่อถึงวันออกพรรษา พุทธศาสนิกชนนับวาเปนโอกาสอันดีที่จะเขาวัดเพ่ือ บําเพ็ญกุศลแกพระสงฆท่ีต้ังใจจาํ พรรษา และตั้งใจปฏิบัติธรรมมาตลอดจน ครบไตรมาสพรรษากาลในวันน้ี และเม่ือถึงวันถัดจากวันออกพรรษา ๑ วัน (วันแรม ๑ คํา่ เดือน ๑๑) พุทธศาสนิกชนในประเทศไทยยังนิยมไปทําบุญ ตักบาตรครั้งใหญ เรียกวา ตักบาตรเทโว หรือ ตักบาตรเทโวโรหณะ เปนการทาํ บุญออกพรรษาเพื่อรําลึกถึงเหตุการณสาํ คัญในพุทธประวัติท่ี กลาววา ในวันถัดจากวันออกพรรษาหน่ึงวัน พระพุทธเจาไดเสด็จลงจาก เทวโลกกลับจากการโปรดพระพุทธมารดาบนสวรรคชั้นดาวดึงสในพรรษาท่ี ๗ แลวลงมายังเมืองสังกัสสนคร พรอมกับทรงแสดงโลกวิวรณปาฏิหารย เปดโลกท้ังสามดวย นอกจากน้ี ในชวงเวลาออกพรรษาตั้งแตวันแรม ๑ คํ่า เดือน ๑๑ ถึง วันขึ้น ๑๕ ค่าํ เดือน ๑๒ ถือเปนเวลากฐินกาลตามพระวินัย ปฎกดถรวาท เปนชวงเวลาที่พุทธศาสนิกชนชาวไทยจะเขารวมบําเพ็ญกุศล เนื่องในงานกฐินประจําปตามวัดตางๆ ซ่ึงถือวาเปนงานบําเพ็ญกุศลที่ไดบุญ มากอีกงานหนึ่ง

Thank you


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook