Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมอาเซียนสัมพันธ์ และการแสดงนานาชาติ ครั้งที่ ๑๐

งานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมอาเซียนสัมพันธ์ และการแสดงนานาชาติ ครั้งที่ ๑๐

Published by khaeg1810, 2023-07-03 03:26:15

Description: หนังสือที่ระลึก งานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมอาเซียนสัมพันธ์ และการแสดงนานาชาติ ครั้งที่ ๑๐ เมื่อวันที่ ๕ - ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
จัดโดย มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

Keywords: อาเซียน,การแสดง,ศิลปวัฒนธรรม

Search

Read the Text Version

ภทั รทศมินทราอาศริ วาท ถวายบงั คมมหาราชนาถบพติ ร ร้อยลขิ ิตบุปผามาลาสวรรค์ น้อมรำ� ลึกบูชาองค์ราชนั พระม่งิ ขวญั แหล่งหลา้ ประชากร สมเด็จพระภทั รมหาราช อภวิ าทเอกองคพ์ ระทรงศร พงศพ์ ระนารายณ์ก�ำจายจร สร้างนครเลิศลำ้� คอยค้�ำคณู คือพ่อหลวงปวงไทยพร้อมใจภักด ์ิ ธ�ำรงรกั ษห์ นอ่ นรินทรม์ ิสนิ้ สญู พระมาลา้ งดบั เข็ญเพ็ญพิบลู ย ์ กลับไวกณู ฐ์สรวงสวรรคอ์ นนั ตก์ าล ทกุ ดอนดงพงไพรพ่อไปถงึ ราษฎรซ์ าบซึ้งพระเมตตามหาศาล ดจุ น้ำ� ทิพย์ชโลมไทยใจเบกิ บาน ปณธิ านตามต่อทางพอ่ เดนิ แมน้ พระสถติ มั่นชน้ั พรหมเมศ คุม้ เกลา้ เกศนิรันดรน์ ้อมสรรเสริญ รอยเสด็จฯ นับไมน่ ้อยรอยดำ� เนนิ เรืองเจรญิ เอกองค์พระทรงธรรม์ ทศมนวมนิ ทร์พระปนิ่ ปก ผองพสกกราบพระบาทพลิ าสขวัญ พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจา้ ชวี ัน เถลงิ ถวัลยน์ ัคราครองธานนิ ทร์ นฤบดีจกั รวี งศ์ด�ำรงขัตตยิ ์ เศวตฉตั รยนื ยงทรงศรศลิ ป์ คบู่ ุญญา พระราชินี ศรีแผ่นดนิ องค์เทพนิ จอมกษัตริยพ์ พิ ัฒน์ชัย พระเกียรตเิ กรกิ กอ้ งฟา้ พระมาเกือ้ ได้โอบเออ้ื อิ่มสขุ ทุกสมยั สบื รกั ษาสานตอ่ ก่อการณ์ไกล เหลา่ ทวยไทยเทิดพระคุณอ่นุ ชีวี ส่งแสงเทียนรอ้ ยรวงดวงใจราษฎร ์ ทนู พระบาททรงยศบทศรี เทิดไทน้ ้อมศรัทธาทั่วธาตรี สดุดอี ธิราชขวัญชาตไิ ทย ประทปี เพชร-ราชภัฏจรสั ค่า ทวั่ ธราพรมพรา่ งสวา่ งไสว ด่งั แสงธรรมสอ่ งปญั ญาอา่ อ�ำไพ พระพรชัยถวายพระองคท์ รงพระเจริญ ดว้ ยเกล้าดว้ ยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพทุ ธเจ้า มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี ประพนั ธโ์ ดย อาจารย์จตพุ ร บุญประเสรฐิ





ประทีปเพชร-ราชภฏั นอ้ มศรทั ธา นบร�ำลึกบชู า สมเดจ็ พระภทั รมหาราชนวมินทร์ เทิดไท้มหาทศมนิ ทร พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ” พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีคณุ ปู การต่อประชาชนชาวไทย ท่ชี ่วยพฒั นาประเทศชาติและคณุ ภาพชีวิตของพสกนกิ ร ด้วยโครงการพระราชด�ำรกิ วา่ ๔,๐๐๐ โครงการ พระมหากรุณาธิคณุ ของลน้ เกลา้ ฯ ยงั คงตรา ตรึงในหัวใจของคนไทยทกุ คนและจักขอเทดิ ทนู ไว้เหนอื เกลา้ สบื ไป จากพระปฐมบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสิน ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงมพี ระราชด�ำรัสว่า “เราจะสบื สาน รักษา และต่อยอด และครองแผน่ ดินโดยธรรมเพ่อื ประโยชนส์ ุขแห่งอาณาราษฎรต่อไป” เปน็ ที่ ประจักษช์ ัดแสดงถงึ พระเมตตาทจี่ ะชว่ ยพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต และธ�ำรงศิลปวัฒนธรรมใหค้ งอยู่ การท่ีมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี ได้จัดงานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมอาเซียนสัมพนั ธ์ และการแสดงนานาชาติ คร้งั ที่ ๑๐ (The ๑๐th ASEAN Art and Culture Exposition with International Performing Art Festival) เพอื่ น้อมร�ำลกึ ถึงพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกา ธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร และเฉลิมพระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกล้าเจ้าอยู่หวั จงึ เปน็ กจิ กรรม ทคี่ วรจะสืบทอดต่อไป เพือ่ ถวายความจงรกั ภักดี และแสดงเอกลักษณ์ของความเป็นไทย ดว้ ยศลิ ปวฒั นธรรมทเี่ ปน็ รากฐานสำ� คญั ของชาติ นอกจากน้ยี ังมกี ารเช่ือมตอ่ ศิลปวฒั นธรรม กบั นานาชาติ เป็นการสรา้ งเครือขา่ ยและแสดงถงึ ความร่วมมือที่จะถ่ายทอดศิลปวฒั นธรรม ใหก้ ว้างขวางมากยง่ิ ข้นึ การจดั งานครั้งนี้มีหลายกจิ กรรม ซึ่งการจดั งานท่ยี ่ิงใหญ่จะส�ำเรจ็ ไดต้ อ้ งเกดิ จากพลงั ความรัก พลังความศรทั ธา และพลงั ของความสามคั คเี ปน็ ท่ตี ้งั จึงขอขอบคุณทุกหนว่ ยงานท่ี ประสานความรว่ มมอื ในการจดั กจิ กรรมครงั้ นีจ้ นสำ� เร็จลงดว้ ยดี ขอใหท้ กุ ท่านร่วมใจเป็นหนึง่ เดยี ว รว่ มนอ้ มถวายพระพรแดพ่ ระบาทสมเด็จพระปร เมนทรรามาธบิ ดีศรสี นิ ทร มหาวชิราลงกรณ พระวชริ เกล้าเจ้าอยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจ้า สุทดิ า พัชรสุธาพมิ ลลักษณ พระบรมราชนิ ี พระผู้เป็น พระมง่ิ ขวัญของปวงชนชาวไทยสืบไป พลอากาศเอก (ชลิต พุกผาสขุ ) องคมนตรีและนายกสภามหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบุรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จัดงานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมอาเซียนสัมพันธ์และ การแสดงนานาชาติมาต่อเนื่องเป็นปีท่ี ๑๐ ด้วยความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณใน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ทรง พระราชทานนาม “ราชภฏั ” พร้อมทัง้ พระราชลญั จกร ตราประจำ� พระองคเ์ ปน็ ราชสญั ลกั ษณ์ ของมหาวิทยาลัย และความเปน็ ภาคภูมิใจสงู สดุ ท่พี ระองคเ์ สด็จมาเพชรบรุ ถี งึ ๒๑๓ คราว ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีย่ิงตระหนักในพระมหากรุณาธิคุณใน พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่ หัว ที่นอกจากจะเสด็จฯ มาพระราชทานปริญญาบัตรให้แก่บัณฑิตราชภัฏในทุกปีแล้ว ยังมี พระบรมราโชบายในการพฒั นาประเทศดว้ ยยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาทอ้ งถนิ่ เพอื่ ใหม้ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั นอ้ มนำ� ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นการพฒั นาทอ้ งถน่ิ เพอื่ ชว่ ยเหลอื ปวงชนขาวไทย นบั เปน็ พระ มหากรณุ าธิคุณอย่างหาท่ีสดุ มไิ ด้ การจัดงานคร้ังน้ี จึงมุ่งท่ีจะน้อมร�ำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหา ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร รามาธบิ ดศี รีสินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชริ เกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ด้วยความจงรกั ภกั ดี ตลอดจน มุง่ จะท�ำนุบ�ำรงุ ศิลปวฒั นธรรมเพ่อื ใหเ้ ป็นเครือ่ งมอื ในการสานสมั พันธ์ ทจ่ี ะรวมหวั ใจของคน ไทยท้ังชาตใิ หเ้ ป็นหน่งึ เดียว มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี ขอขอบคณุ สถาบนั การศกึ ษาทงั้ ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา และอดุ มศกึ ษา นกั แสดงทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ รวมถงึ หนว่ ยงานทงั้ ภาครฐั และเอกชน ต่างๆ ท่ใี ห้การสนบั สนุนในการจัดงานคร้งั น้ี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มุ่งม่ันท่ีจะจัดมหกรรมศิลปวัฒนธรรมอาเซียนสัมพันธ์ และการแสดงนานาชาติ อยา่ งต่อเนือ่ งในทุกปี ด้วยตระหนักดวี ่า “ศลิ ปวฒั นธรรม คือ มรดก ทลี่ ำ�้ ค่า ควรแก่การอนรุ ักษ์ และสืบสาน ศิลปวัฒนธรรม ซึง่ เปรียบเสมือนสายใยทีจ่ ะรอ้ ย ดวงใจคนของทกุ ชาติ ทกุ ภาษา กอ่ ให้เกิดความสมานฉันท์ และมติ รภาพทีย่ ั่งยนื สืบไป” (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสนาะ กลิน่ งาม) อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ี

ความน�ำ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี สถาบันอุดมศึกษาเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน ท่ีมีภารกิจ สำ� คญั คือ การพัฒนาบณั ฑติ การวจิ ยั การบรกิ ารทางวชิ าการ และการสง่ เสรมิ ศิลปวฒั นธรรม ในการส่งเสรมิ ศลิ ปวัฒนธรรม ถือว่าเปน็ ภารกิจท่สี ำ� คัญยง่ิ เนือ่ งจากเปน็ การสืบสาน รากฐานของความเป็นไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ จี ึงจัดกิจกรรมสง่ เสริมศิลปวฒั นธรรม ในงานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมอาเซียนสัมพันธ์ และการแสดงนานาชาติ มาต้ังแต่ปี ๒๕๔๔ และจัดต่อเนอ่ื งในทุกปจี นถงึ ปัจจุบัน ในปี ๒๕๖๓ ได้จัดงานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมอาเซียนสัมพันธ์และการแสดง นานาชาติ เป็นคร้ังท่ี ๑๐ ในหวั ขอ้ “ประทีปเพชร-ราชภัฏน้อมศรทั ธา นบร�ำลึกบูชา สมเด็จ พระภัทรมหาราชนวมินทร์ เทิดไท้มหาทศมินทร พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว” นับเปน็ ๑ ทศวรรษท่ีมหาวิทยาลัยก�ำหนดจัดงานให้ยิ่งใหญ่กว่าทุกปี เพอ่ื เปน็ การนอ้ มร�ำลึก ถงึ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ท่ีทรง มพี ระมหากรณุ าธคิ ณุ ตอ่ ปวงชนชาวไทยอยา่ งใหญห่ ลวง และเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดศี รสี นิ ทร มหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ที่ทรง “สบื สาน พฒั นา และตอ่ ยอด” เพื่อใหก้ ารอนรุ ักษศ์ ิลปวฒั นธรรมคงอยสู่ ืบไป การจดั งานครงั้ น้ี มกี จิ กรรมทีส่ ำ� คญั ใน ๓ ดา้ น คือ ๑. พธิ จี ดุ เทยี นชยั ถวายพระพร และกจิ กรรมแปรอักษรน้อมร�ำลกึ ๒. การปาฐกถาพเิ ศษ เรอ่ื ง “พระมหากรณุ าธคิ ุณลน้ เกล้าฯ ชาวประชา” โดย ดร.สุเมธ ตนั ตเิ วชกลุ เลขาธกิ ารมลู นิธชิ ยั พัฒนาและท่ปี รกึ ษาสภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ี ๓. การแสดงดนตรีและศิลปวฒั นธรรม - การแสดงดนตรี และการบรรเลงปีพ่ าทย์ออกภาษา - การแสดงศิลปวัฒนธรรมจากโรงเรียนประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศกึ ษา - การแสดงศิลปวฒั นธรรมจากตา่ งประเทศ

๔. นิทรรศการเฉลิมพระเกยี รตฯิ และศิลปวฒั นธรรม - นทิ รรศการเฉลมิ พระเกยี รตฯิ ณ ลานหนา้ หอ้ งพะนอมแกว้ กำ� เนดิ อาคารสเุ มธตนั ติ เวชกลุ - นทิ รรศการจติ รกรรมบวั หลวงสญั จร ครงั้ ที่ ๔๒ ณ สถาบนั ชา่ งเมอื งเพชรและศลิ ปะ รว่ มสมยั คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ - นิทรรศการจิตรกรรมและประติมากรรม “ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ ในความทรงจ�ำ” ณ อาคาร ๒๓ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ การจดั งานครั้งน้ีไดร้ บั ความร่วมมอื อยา่ งดีย่งิ จากหนว่ ยงานต่างๆ ในจังหวัดเพชรบุรี ทั้งภาครัฐ และเอกชน จนท�ำให้การจัดงานคร้ังน้ีส�ำเร็จลงด้วยดี และมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบุรี มงุ่ มั่นจะดำ� เนินโครงการนอ้ี ย่างตอ่ เนือ่ ง เพ่อื รว่ มกนั อนุรกั ษแ์ ละสบื สานศลิ ป วัฒนธรรมใหค้ งอยู่สบื ไป มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ี

สารบัญ ภทั รทศมินทราอาศิรวาท ประทีปเพชร-ราชภัฏน้อมศรัทธา นบร�ำลกึ บชู า สมเดจ็ พระภทั รมหาราชนวมินทร์ เทิดไทม้ หาทศมนิ ทร พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว” ความนำ� ราชภฏั สัญลักษณ.์ ....................................................................................................................................... ๑ ความหมายสญั ลกั ษณอ์ าเซยี น.............................................................................................................. ๒ ตราสญั ลกั ษณง์ านมหกรรมศลิ ปวฒั นธรรมอาเซยี นสมั พนั ธ.์ ................................................ ๒ ขอ้ มลู มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ .ี ..................................................................................................... ๓ ประวตั ิและความเป็นมาของงาน......................................................................................................... ๖ ภาพแปรอักษร................................................................................................................................... ๘ วัตถุประสงค์ของงาน..................................................................................................................... ๙ กิจกรรมภายในงาน........................................................................................................................ ๙ การแสดงพิธีเปดิ และการแสดงเทดิ พระเกียรต.ิ ................................................................ ๑๑ พระมหากรณุ าธิคณุ ลน้ เกลา้ ฯ ชาวราชภัฏ...................................................................................... ๑๓ ปพี่ าทย์ มรดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม........................................................................................... ๒๑ ประวตั คิ วามเป็นมาของป่พี าทย.์ .............................................................................................. ๒๓ ประเภทของวงปพ่ี าทย.์ .................................................................................................................. ๒๕ ลกั ษณะการแสดง............................................................................................................................ ๒๗ วธิ กี ารบรรเลง...................................................................................................................................... ๓๒ เพลงทนี่ ยิ มใชใ้ นการบรรเลง........................................................................................................ ๓๓

สารบัญ(ตอ่ ) “ปพ่ี าทย์”เพชรบรุ ี..................................................................................................................................... ๓๔ รายชอ่ื ผสู้ บื ทอดวงปพ่ี าทย.์ ....................................................................................................... ๓๕ เพลงออกภาษา.............................................................................................................................. ๓๗ ๓๙ ก�ำหนดการงานมหกรรมศลิ ปวฒั นธรรมอาเซยี นสมั พนั ธ์.................................................... และการแสดงนานาชาติ คร้ังท่ี ๑๐ ๔๕ ภาคผนวก ๔๗ ๖๘ หน่วยงานทีร่ ว่ มจัดงาน.............................................................................................................. ๖๙ คำ� ส่ังมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี ที่ ๑๔๗๐/๒๕๖๓.................................................. บรรณานกุ รม.............................................................................................................................................. คณะผูจ้ ดั ท�ำ................................................................................................................................................

ราชภัฏสญั ลักษณ์ ราชภัฏสัญลักษณ์ได้หลอมรวมมาจากสัญลักษณ์เดิมของ วิทยาลัยครูจ�ำนวน ๓๖ สถาบัน ให้คงเหลือความเป็นหนึ่งในรูปแบบ สัญลักษณ์ใหม่เพียงรูปแบบเดียว โดยค�ำนึงถึงประโยชน์ในการน�ำไป ใช้เพือ่ การสื่อความหมายง่ายต่อการจดจำ� มีจดุ เดน่ และเป็นเอกลกั ษณ์ เฉพาะตัวของสถาบนั การกำ� หนดรูปแบบสญั ลกั ษณข์ องสถาบนั ราชภฏั รปู แบบทเี่ ก่ยี วข้องกับสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ผู้ทรงใหก้ �ำเนดิ สถาบนั ราชภัฏรูปแบบ ที่เปน็ กลาง เกี่ยวข้องกบั ถ่ินทีต่ ัง้ ธรรมชาตแิ ละความสอดคล้องกบั ชือ่ สถาบนั ราชภัฏท่ไี ดร้ ับ พระราชทาน สีของสัญลกั ษณ์ ประกอบด้วยสีตา่ ง ๆ จำ� นวน ๕ สี ดงั ต่อไปนี้ สีน้�ำเงิน แทนค่า สถาบันพระมหากษัตริย์ผู้ให้ก�ำเนิด และพระราชทาน “สถาบัน ราชภัฏ” สีเขียว แทนค่า แหล่งทต่ี ัง้ ของมหาวิทยาลยั ราชภฏั ๔๐ ในแหลง่ ธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มท่ีสวยงาม สีทอง แทนค่า ความเจรญิ ร่งุ เรอื งทางภมู ิปัญญา สีส้ม แทนค่า ความรุง่ เรืองทางศลิ ปวฒั นธรรมท้องถิ่น ทกี่ ้าวไกลใน ๔๐ มหาวทิ ยาลัย สีขาว แทนค่า ความคดิ อันบรสิ ุทธิ์ ของนักปราชญ์แห่งพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว 1

ความหมายสญั ลกั ษณอ์ าเซียน เป็นตัวแทนสัญลักษณ์ของรวงข้าวสีเหลือง หมาย ถึง การท่ีประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้ง ๑๐ ประเทศ รวมกันเพ่ือมิตรภาพและความเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน ซึ่งในการจัดงานมหกรรมฯ ของการที่ประเทศในกลุ่มเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ได้รวมตัวกันเพื่อเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมอัน เป็นเอกลักษณ์ของตน น�ำมาสู่มิตรภาพของการรวมตัวศิลป วัฒนธรรมจากแขนงต่างๆ ท่ัวโลก ดังชื่อ งานมหกรรมศิลป วัฒนธรรมอาเซียนสัมพันธ์และการแสดงนานาชาติ คร้ังท่ี ๑๐ “ประทีปเพชร-ราชภัฏน้อม ศรัทธา นบร�ำลึกบูชา สมเด็จพระภัทรมหาราชนวมินทร์ เทิดไท้มหาทศมินทร พระบาท สมเด็จพระวชริ เกล้าเจ้าอยูห่ ัว” ตราสัญลกั ษณ์งานมหกรรมศิลปวฒั นธรรมอาเซียนสมั พันธ์ การแสดงถงึ ศลิ ปวฒั นธรรมไทยทม่ี คี วามออ่ นชอ้ ยสวยงามสอ่ื ดว้ ยลายกระหนกทโ่ี คง้ เข้าหากันประกอบด้วยฐานรูปทรงพระนครคีรี ซึ่งเป็นพระราชวังประวัติศาสตร์ของจังหวัด เพชรบุรี มีสัญลักษณ์อาเซียนที่จัดวางในต�ำแหน่งกึ่งกลาง แสดงถึงสันติภาพ เสถียรภาพ และความมนั่ คงทางการเมือง สร้างสรรคค์ วามเจรญิ ก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกจิ การพฒั นา ทางสังคมและวฒั นธรรมของกลุ่มประเทศอาเซียน 2

ข้อมูลมหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ี ปรชั ญา “คณุ ธรรมน�ำความรู้ ค้�ำชสู ังคม” วสิ ยั ทัศน์ “บรู ณาการศาสตร์พระราชาเพอ่ื พฒั นาให้เป็นมหาวทิ ยาลยั ชน้ั นํา ทป่ี ระยกุ ต์องค์ความรู้ สนู่ วตั กรรมในการพฒั นาท้องถนิ่ ภายในปี ๒๕๗๙” ค่านิยมองคก์ ร “ทํางานเชิงรกุ สรา้ งประโยชน์สุขทีเ่ ปน็ ธรรม สํานึกนําความรับผิดชอบ กอบกิจเป็นหนึง่ เดยี ว” (PBRU : Proactive Benefit Responsibility Unity)” 3

พ.ศ. ๒๔๘๕ เปิดสอนนกั เรยี นฝกึ หดั ครปู ระชาบาลและเปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียน ฝึกหดั ครูมลู เพชรบุรี พ.ศ. ๒๔๙๑ ยกเลกิ หลกั สตู รครปู ระชาบาล และเปลย่ี นชอื่ เปน็ โรงเรยี นฝกึ หดั ครเู พชรบรุ ี พ.ศ. ๒๕๐๖ ยา้ ยมาต้ังอยทู่ ต่ี ำ� บลนาวงุ้ อำ� เภอเมือง จงั หวัดเพชรบรุ ี บนเน้ือท่ี ๒๐๐ ไร่ เศษ ซึ่งเป็นสถานท่ตี งั้ ปจั จุบนั พ.ศ. ๒๕๑๒ เปดิ สอนในระดับประกาศนยี บตั รวิชาการศกึ ษาช้ันสงู และยกฐานะเป็น วทิ ยาลยั ครเู พชรบรุ ี เมือ่ วนั ท่ี ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ พ.ศ. ๒๕๑๙ ยกฐานะข้ึนเป็นสถาบนั อุดมศึกษา ตามพระราชบัญญตั วิ ทิ ยาลยั ครู พ.ศ. ๒๕๑๘ พ.ศ. ๒๕๓๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ภมู ิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” เมอ่ื วันท่ี ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๓๘ ยกฐานะเปน็ สถาบนั ราชภฏั เพชรบรุ ี ตาม พ.ร.บ.สถาบนั ราชภฏั พ.ศ. ๒๕๓๘ พ.ศ. ๒๕๔๗ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ภมู ิพลอดุลยเดชฯ มพี ระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ยกฐานะเป็น “มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ”ี ตามพระราชบัญญตั ิมหาวทิ ยาลัย ราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ 4

5

ประวตั ิและความเปน็ มาของงาน งานมหกรรมศลิ ปวฒั นธรรมอาเซยี นสมั พนั ธแ์ ละการแสดงนานาชาตจิ ดั มาแลว้ ๙ ครง้ั โดยได้มีการใช้ชื่องานในรูปแบบต่างๆกันเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์โลกควบคู่กับการ ดำ� รงอยขู่ องศลิ ปวฒั นธรรม ดงั น้ี คร้ังที่ ๑ งานมหกรรมศิลปวฒั นธรรมอาเซียนสัมพนั ธ์ เฉลิมพระเกยี รติ ๘๔ พรรษา ระหว่างวันที่ ๒-๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ วดั พระพทุ ธไสยาสน์ (วัดพระนอน) ครง้ั ท่ี ๒ งานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมอาเซียนสมั พนั ธเ์ ฉลมิ พระเกียรติ ระหว่างวนั ท่ี ๔-๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ วัดพระพทุ ธไสยาสน์ (วัดพระนอน) จงั หวัดเพชรบุรี ครั้งที่ ๓ งานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมอาเซยี นสัมพันธ์เฉลมิ พระเกยี รติ ระหว่างวนั ที่ ๓-๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ณ วัดพระพุทธไสยาสน์ (วดั พระนอน) จังหวดั เพชรบุรี ครั้งท่ี ๔ งานมหกรรมศลิ ปวัฒนธรรมอาเซยี นสัมพันธ์เฉลมิ พระเกยี รติ ระหว่างวันที่ ๓-๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ณ อาคารอเนกประสงค์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี จงั หวดั เพชรบรุ ี ครั้งที่ ๕ งานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมอาเซยี นสัมพันธ์ เฉลิมพระเกยี รติ ระหว่างวนั ที่ ๓-๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ณ อทุ ยานเฉลิมพระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว จังหวดั เพชรบรุ ี ครง้ั ที่ ๖ งานครบรอบ ๙๐ ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี วนั ศกุ ร์ท่ี ๒ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ อาคารศูนย์การเรียนรู้ ๒๕ คร้ังที่ ๗ งานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมอาเซียนสัมพันธ์และการแสดงนานาชาติ “ยกระดบั ภมู ปิ ัญญา สร้างมูลค่าสสู่ ังคม” ระหว่างวันท่ี ๒-๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ อทุ ยาน เฉลมิ พระเกยี รติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั จังหวดั เพชรบรุ ี คร้ังท่ี ๘ งานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมอาเซียนสัมพันธ์ และการแสดงนานาชาติ “เครอื ญาตชิ าตพิ นั ธุ์ รวมกันเปน็ หน่งึ ” ระหวา่ งวันท่ี ๓-๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ณ สนาม หน้าโรงเรยี นเบญจมเทพอทุ ิศ จังหวดั เพชรบุรี คร้ังท่ี ๙ งานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมอาเซียนสัมพันธ์และการแสดงนานาชาติ “รวงข้าวสีอำ� พนั มหศั จรรยส์ ู่มิตรภาพ” ระหว่างวนั ที่ ๓-๕ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๓ ณ วดั คงคา ราม อำ� เภอเมอื ง จังหวัดเพชรบรุ ี 6

ด้วยปีนี้เป็นปีครบรอบ ๑ ทศวรรษของการจัดงานมหกรรมอาเซียนสัมพันธ์และการ แสดงนานาชาติของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ท่ีด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เปน็ ตน้ มานนั้ ในการจดั งานครงั้ นี้ ไดป้ รบั รปู แบบการจดั งานใหเ้ ขา้ กบั สถานการณโ์ ลก อนั เนอื่ งจากการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทำ� ใหร้ ปู แบบการ จดั งานไดเ้ ปลย่ี นแปลงไป แตย่ งั คงไวซ้ ง่ึ การอนรุ กั ษศ์ ลิ ปวฒั นธรรมอนั ดงี าม เนน้ กจิ กรรมและ การแสดงเชิงสร้างสรรค์ อาทิ การแสดงศิลปวัฒนธรรมจากสถาบันการศึกษา การเสวนาเชิง วิชาการ การจดุ เทียนชยั ถวายพระพร และการแปรอักษรเฉลมิ พระเกียรติ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสำ� นึกในพระมหากรุณาธคิ ุณในพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ย เดชมหาราช บรมนาถบพิตร และเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรี สินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชริ เกลา้ เจ้าอยู่หัว และเพอื่ อนรุ ักษ์ สง่ เสรมิ ฟ้ืนฟู และทำ� นุ บำ� รงุ ศิลปวัฒนธรรมของไทย “ประทปี เพชร-ราชภฏั นอ้ มศรทั ธา นบรำ� ลกึ บชู า สมเดจ็ พระภทั รมหาราชนวมนิ ทร์ เทดิ ไทม้ หาทศมนิ ทร พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยู่หัว” “ประทีป” หมายถงึ แสงเทยี นทีจ่ ุดถวายพระพร “เพชร-ราชภัฏ” หมายถึง ชาวจังหวัดเพชรบุรรี ่วมกับชาวมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ ซ่ึงเป็นหัวข้อในการจัดงานปีนี้ โดยชาวจังหวัดเพชรบุรีร่วมกับชาวราชภัฏเพชรบุรีเป็น เจ้าภาพในจัดกิจกรรมเพ่ือส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบ ศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร และเทดิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระปร เมนทรรามาธบิ ดีศรีสนิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยู่หัว ใหช้ าวจังหวดั เพชรบรุ ีได้ มโี อกาสไดแ้ สดงถงึ ความจงรกั ภกั ดแี ละสำ� นกั ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ดว้ ยการจดุ เทยี นชยั ถวาย พระพรพร้อมขบั ร้องบทเพลงพระราชนพิ นธ์โดยศลิ ปนิ แหง่ ชาติและศิลปนิ ชาวเพชรบรุ ี พรอ้ ม ท้งั แปรอกั ษรเฉลิมพระเกียรตจิ ากประชาชนรว่ มกับชาวราชภัฏเพชรบุรไี มต่ ำ่� กวา่ ๑,๐๐๐ คน 7

8

วัตถุประสงคใ์ นการจดั งาน ๑. สำ� นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ย เดชมหาราช บรมนาถบพิตร และเทดิ พระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รี สินทรมหาวชริ าลงกรณพระวชริ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ๒. อนุรกั ษ์ สง่ เสริม ฟ้ืนฟู และท�ำนบุ �ำรงุ ศลิ ปวฒั นธรรมของไทย ๓. สร้างเครือข่ายทางวฒั นธรรมกบั นานาชาติ เสรมิ สรา้ งความปรองดองภายในชาตแิ ละ ภูมภิ าคอาเซียนโดยใชศ้ ิลปวัฒนธรรมเปน็ สอ่ื ในการเช่อื มโยงความรัก ความสามคั คี เชน่ ไหว้ และถือเคลด็ ความเชือ่ ต่างๆ กจิ กรรมภายในงาน กจิ กรรมภาคกลางวัน • การปาฐกถาพเิ ศษ เรอื่ ง “พระมหากรุณาธิคณุ ล้นเกล้าฯ ชาวประชา” โดย ดร.สเุ มธ ตันตเิ วชกุล (เลขาธิการมูลนธิ ชิ ัยพฒั นาและทปี่ รึกษาสภามหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบุร)ี • การแสดงศลิ ปวฒั นธรรมจากสถาบนั ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอดุ มศึกษา • การแสดงจากนกั แสดงประเทศรสั เซียและอนิ โดนีเซยี (ทีพ่ ำ� นักอยใู่ น ประเทศไทย) • การบรรเลงปีพ่ าทยอ์ อกภาษา ด�ำเนินรายการ โดย คณุ สคุ นธ์ แสนหม่นื (ทิดหนว่ ย) กจิ กรรมภาคกลางค�่ำ • พิธเี ปิดงานโดย พลอากาศเอก ชลิต พกุ ผาสขุ องคมนตรแี ละนายกสภา มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ี • การรำ� ถวายพระพรละครชาตรเี มืองเพชร (จำ� นวน ๑๐๐ คน) • การแสดงชดุ “ราชภัฏรอ้ ยดวงใจเทดิ ไท้องค์ราชนั ” จากมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี วไลยอลงกรณฯ์ สุราษฎร์ธานี อุดรธานี กำ� แพงเพชร และหม่บู า้ น จอมบงึ โรงเรยี นในเครือขา่ ยและนักแสดงจากตา่ งประเทศ • การแสดงดนตรีโดยวง PBRU มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ แี ละขับร้องเพลงโดย ศลิ ปินเมอื งเพชร อาทิ คุณโส อานนท์ คณุ ไชโย ธนาวัฒน์ คณุ หมู แผ่นดินไทย และคุณกาญจนา มาศิริ เป็นตน้ 9

• กิจกรรมจดุ เทียนชยั ถวายพระพร • คณุ สันติ ลนุ แผ่ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ รอ้ งเพลงถวายพระพร • กิจกรรมแปรอักษรเฉลิมพระเกียรติ กจิ กรรมย่อยอืน่ ๆ • นทิ รรศการเฉลมิ พระเกียรติฯ ณ ลานหนา้ หอ้ งพะนอมแกว้ ก�ำเนดิ อาคารสุเมธ ตันติเวชกุล • นิทรรศการจิตรกรรมบวั หลวงสญั จร คร้งั ท่ี ๔๒ ณ สถาบนั ช่างเมืองเพชรและ ศิลปะรว่ มสมัย คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ • นทิ รรศการจติ รกรรมและประติมากรรม “ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ในความทรงจำ� ” ณ อาคาร ๒๓ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ โรงเรยี น ๙ โรงเรยี น อุดมศึกษา ๘ แห่ง ต่างประเทศ ๒ ประเทศ ๑. สาธารณรฐั ๑. โรงเรยี นคงคาราม ๑. มหาวิทยาลัยราชภัฏ อนิ โดนีเซยี ๒. สหพันธรัฐรัสเซีย ๒. โรงเรียนเทศบาล ๑ (วัดแก่น อดุ รธานี 10 เหลก็ ) ๒. มหาวิทยาลัยราชภฏั ๓. โรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดพระ หมบู่ า้ นจอมบงึ ทรง) ๓. มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไล ๔. โรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลยั อลงกรณ์ฯ ราชภัฏเพชรบุรี ๔. มหาวิทยาลัยราชภัฏสถ ๕. โรงเรยี นเบญจมเทพอุทศิ ราษฎรธ์ านี ๖. โรงเรียนเทศบาล ๓ (ชมุ ชน ๕. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วดั จนั ทราวาส) นครปฐม ๗. โรงเรยี นเทศบาล ๔ (วัดไชย ๖. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุรนิ ทร์) หมู่บ้านจอมบงึ ๘. โรงเรยี นวัดจันทราวาส (ศุข ๗. มหาวิทยาลัยราชภฏั ประสารราษฎร์) ก�ำแพงเพชร ๙. โรงเรียนพรหมานุสรณ์ ๘. วทิ ยาลยั นาฏศลิ ป ๑๐. โรงเรียนบา้ นทา่ ตะคร้อ สพุ รรณบุรี มิตรภาพที่ 192 (อนุสรณ์แด่พล เอกกฤษณ)์

การแสดงพิธีเปิดและการแสดงเทดิ พระเกยี รติ ช่ือชดุ การแสดง : ระบำ� อาเซยี นสมั พนั ธ์ หน่วยงาน : สาขาวชิ านาฏศลิ ป์ศกึ ษา สาขาวิชาดนตรศี ึกษา คณะ มนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี รูปแบบการแสดง : การแสดงชุดน้ี เปน็ การแสดงที่วทิ ยาลัยนาฏศิลป สถาบันบัณฑิต พฒั นศลิ ป์ กระทรวงวฒั นธรรม สรา้ งสรรคข์ นึ้ โดยมแี นวความคดิ แสดงถงึ เอกลกั ษณก์ ารแสดง ของแตล่ ะประเทศในเอเชยี ตะวนั ออกเชยี งใต้ โดยนำ� ทำ� นองเพลงพน้ื เมอื งของแตล่ ะประเทศรอ้ ย เรยี งตอ่ เนอ่ื งใหส้ มั พนั ธก์ นั ไดแ้ ก่ บรไู น กมั พชู า อนิ โดนเี ซยี ลาว มาเลเซยี พมา่ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ สงิ คโปร์ เวยี ดนาม และไทย อ�ำนวยการแสดงโดย ผศ.ดร.เสนาะ กล่ินงาม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบรุ ี ควบคุมการแสดงโดย ผศ.รพีพรรณ เทียมเดช คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ฝกึ ซอ้ มการแสดงโดย อาจารยจ์ ติ สภุ วฒั น์ สำ� ราญรตั น ประธานสาขาวชิ านาฏศลิ ปศ์ กึ ษา อาจารย์ดร.วรรณวภิ ามธั ยมนนั ท์ อาจารยจ์ ณิ หจ์ ฑุ า สวุ รรณคมั ภรี ะ อาจารยว์ ไิ ลวรรณ ไชยลงั การ และอาจารยศ์ ริ วิ ฒั น์ ขำ� เกดิ 11

ชื่อชดุ การแสดง : ราชภัฏรวมใจเทดิ ไท้องค์ราชนั หน่วยงาน/ผู้แสดง : นักศึกษาและคณาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี มหาวิทยาลัยราชภฏั หมู่บ้านจอมบงึ มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลอลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม รปู แบบการแสดง : การแสดงภาคสนาม องกท์ ี่ ๑ มิง่ ขวญั พระบารมปี ฐพีรม่ เย็น เร่ิมด้วยความแห้งแลง้ ของผืนแผน่ ดนิ สง่ ผลใหร้ าษฎรเกิดความทุกยาก จากนน้ั มีฝน หลวงไดช้ โลมความแหง้ แลง้ ใหก้ ลบั กลายเปน็ ความอดุ มสมบรู ณ์ ดว้ ยพระเมตตาของพอ่ หลวง ของปวงชนชาวไทย การแสดงประกอบเพลงของขวัญจากก้อนดิน องกท์ ่ี ๒ ดุจแสงเพญ็ สอ่ งสวา่ งกระจา่ งหล้า ชาวราชภฏั รวมใจไทยสภี่ าค ไดแ้ ก่ ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคอสี าน และภาคใต้ แสดง ศลิ ปะพน้ื บา้ นเอกลกั ษณข์ องแตล่ ะทอ้ งถน่ิ จบลงดว้ ยการรวมตวั ของชาวไทยสภี่ าคเพอ่ื แสดง ความเป็นเอกภาพและความสามัคคี องก์ท่ี ๓ ปวงประชานอ้ มสดุดพี ระบารมเี กรกิ ไกร ราษฎรร่วมถวายความจงรักภักดีด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เทดิ พระเกยี รติพระบาท สมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว การแสดง ประกอบเพลงพระราชาผูท้ รงธรรม 12

13

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ทว่ั ประเทศนอ้ มสำ� นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทที่ รงมพี ระมหากรณุ าธคิ ณุ โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวิทยาลัยครูว่า “สถาบันราชภัฏ” เมื่อวันท่ี ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ และพระราชทานพระราชลัญจกร ซ่ึงเป็นตราประจ�ำพระองค์ท่ีสูงส่งให้เป็น “ตราประจ�ำสถาบัน” เป็นเครื่องยืนยันว่าพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงไว้วางพระราชหฤทัยในสถาบันนี้ มหาวิทยาลัยราชภฏั จึงไดม้ ีปณธิ านอันสูงสง่ ในการทำ� หน้าทต่ี าม พ.ร.บ. มหาวทิ ยาลัย ราชภฏั พ.ศ. ๒๕๔๗ ในมาตรา ๗ ใหเ้ ปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถน่ิ ทเี่ สรมิ สรา้ ง ภูมิปญั ญาของทอ้ งถน่ิ การผลิตและพัฒนาครู รวมทั้งการศกึ ษา การวิจัย สบื สานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชด�ำริในการปฏิบัติภารกิจของตนเองเพ่ือพัฒนาท้องถ่ิน อีกท้ังชาวราชภัฏ ทั่วประเทศยงั ได้รับพระมหากรณุ าธคิ ุณจาก “พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี ิน ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว” เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ พระราชทานปรญิ ญาบตั ร แกบ่ ณั ฑติ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จนถงึ ปจั จบุ นั และภายหลงั จากการเสดจ็ ขนึ้ ครองราชยเ์ ปน็ พระมหากษตั รยิ ใ์ นรชั กาลท่ี ๑๐ แหง่ ราชวงศจ์ กั รี ไดพ้ ระราชทานพระราชวโรกาสใหอ้ ธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏทว่ั ประเทศ เขา้ เฝา้ ฯ ณ พระทีน่ ั่งอัมพรสถาน พระราชวงั ดุสิต เมือ่ วันที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ โอกาสนี้ ทรงมพี ระราชด�ำรัสวา่ 14

มหาวทิ ยาลัยราชภฏั จงึ ไดม้ ีปณธิ านอันสงู ส่งในการทำ� หน้าทีต่ าม พ.ร.บ. มหาวิทยาลยั ราชภฏั พ.ศ. ๒๕๔๗ ในมาตรา ๗ ใหเ้ ปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถน่ิ ทเ่ี สรมิ สรา้ ง ภมู ปิ ญั ญาของทอ้ งถ่ิน การผลิตและพัฒนาครู รวมทั้งการศกึ ษา การวิจัย สืบสานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชด�ำริในการปฏิบัติภารกิจของตนเองเพ่ือพัฒนาท้องถ่ิน อีกท้ังชาวราชภัฏ ทั่วประเทศยงั ไดร้ ับพระมหากรุณาธิคุณจาก “พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดศี รีสิน ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั ” เสดจ็ พระราชดำ� เนินพระราชทานปรญิ ญาบตั ร แกบ่ ณั ฑติ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จนถงึ ปจั จบุ นั และภายหลงั จากการเสดจ็ ขนึ้ ครองราชยเ์ ปน็ พระมหากษตั รยิ ใ์ นรชั กาลที่ ๑๐ แหง่ ราชวงศจ์ กั รี ไดพ้ ระราชทานพระราชวโรกาสใหอ้ ธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ทว่ั ประเทศ เขา้ เฝ้าฯ ณ พระทน่ี งั่ อัมพรสถาน พระราชวงั ดุสติ เม่อื วนั ที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ โอกาสน้ี ทรงมีพระราชดำ� รัสว่า “...ข้าพเจ้าได้ไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏต่อเน่ืองมา เปน็ เวลากวา่ ๓๐ ปี แลว้ ทำ� ใหร้ สู้ กึ มคี วามสขุ และผกู พนั กบั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ทง้ั หลายอยา่ ง มากไปทุกครั้งก็มีความสุข อยากให้ทุกคนมีก�ำลังใจที่จะท�ำ ให้มหาวิทยาลัยราชภัฏของเรา เปน็ ประโยชน์กับประชาชน เปน็ ประโยชน์ต่อภูมิภาคและทอ้ งถน่ิ จริงๆ จังๆ ในเร่อื งการดำ� รง ชวี ิต ในเร่อื งความรทู้ ัว่ ไป และข้อส�ำคัญคือผลิตคนดี ผลิตคนดีท่เี ห็นประโยชน์แก่ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และสังคม คิดว่ามหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นสถาบันท่ีเป็นประโยชน์และเป็น กลไกท่ีพัฒนาประเทศได้อย่างยง่ิ ถา้ หากต้ังใจ รว่ มกนั และคุยกันมากๆ จะเปน็ สถาบนั หลัก ทพี่ ัฒนาประเทศและประชาชนไดอ้ ยา่ งมาก...” 15

นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระวชริ เกลา้ เจ้าอย่หู วั ได้พระราชทานพระบรมราโชบาย ดา้ นการศึกษา เพือ่ สร้างคุณลักษณะคนไทยทพ่ี ึงประสงค์ ๔ ด้าน ดงั น้ี ๑. มีทัศนคตทิ ี่ดีแและถกู ตอ้ งตอ่ บา้ นเมอื ง ตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจท่ีมีตอ่ ชาติบา้ น เมือง ยึดมั่นในศาสนา ม่ันคงในสถาบันพระมหากษัตริย์ และมีความเอ้ืออาทรต่อครอบครัว และชมุ ชนของตน ๒. มีพ้ืนฐานชีวิตที่ม่ันคง มีคุณธรรม ให้รู้จักแยกแยะสิ่งท่ีผิด-ท่ีถูก ส่ิงช่ัว-ส่ิงดี เพ่ือ ปฏิบัตแิ ต่สงิ่ ท่ีชอบทด่ี ีงาม ปฏเิ สธสิง่ ทีผ่ ิดที่ชว่ั เพื่อสรา้ งคนดีให้แก่บ้านเมอื ง ๓. มีงานท�ำ มอี าชพี ต้องให้เด็กรักงาน สู้งาน ท�ำงานจนส�ำเรจ็ อบรมให้เรียนรูก้ าร ทำ� งาน ใหส้ ามารถเล้ียงตวั และเลย้ี งครอบครวั ได้ ๔. เป็นพลเมืองดี การเป็นพลเมืองดีเป็นหน้าท่ีของทุกคน สถานศึกษาและสถาน ประกอบการตอ้ งสง่ เสรมิ ใหท้ กุ คนมโี อกาสทำ� หนา้ ทพ่ี ลเมอื งดี การเปน็ พลเมอื งดหี มายถงึ การ มนี ำ้� ใจ มคี วามเออื้ อาทร ตอ้ งทำ� งานอาสาสมคั ร งานบำ� เพญ็ ประโยชน์ “เหน็ อะไรทจี่ ะทำ� เพอ่ื บ้านเมืองไดก้ ็ต้องท�ำ” อกี ทงั้ ใหม้ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั ทว่ั ประเทศ ตอ้ งยกระดบั การทำ� งานใหต้ รงตามเปา้ หมาย ในการยกระดับคุณภาพและพัฒนาท้องถ่ินในท้องท่ีของตน โดยวิเคราะห์ปัญหาและความ ต้องการของประชาชนในท้องถ่ิน และน�ำยุทธศาสตร์ใหม่มาพัฒนา และปรับใช้ให้เหมาะสม ตามสภาพและประเพณีทอ้ งถนิ่ ด้วย ซ่ีงมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ทั้ง ๓๘ แห่ง ต้องเป็นแหล่งผลิต ครทู ี่มีคุณภาพ จัดการศึกษาทีม่ คี ณุ ภาพ และพฒั นาทอ้ งถิน่ อย่างมีคณุ ภาพ 16

นับเป็นพระราโชบายที่มหาวิทยาลัยราชภัฏได้ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณและได้ น้อมนำ� มาปฏิบัตติ ามสง่ ผลให้มกี ารจัดท�ำ “ยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภฏั ” ท่ีมสี ว่ นร่วมใน การสรา้ งความมนั่ คงของชาติ ดว้ ยการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและพฒั นาทอ้ งถนิ่ ตลอดจน พฒั นาครแู ละโรงเรยี นใหม้ คี ณุ ภาพ ตามพระราชดำ� ริ “การศกึ ษาคอื ความมน่ั คงของประเทศ” และใหท้ กุ สถาบนั บรู ณาการการทำ� งานเขา้ ดว้ ยกนั และใหเ้ ขา้ ถงึ ประชาชน พรอ้ มรบั ทราบปญั หา ความต้องการ เพ่ือน�ำมาวิเคราะห์หาทางช่วยเหลือแก้ไข ตลอดจนปรับตัวให้เหมาะสมตาม สภาพและประเพณขี องทอ้ งถน่ิ โดยมแี ผนยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอื่ การพฒั นาทอ้ ง ถ่ิน ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ประกอบดว้ ย ๔ ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การพัฒนาท้องถ่ิน มีเป้าหมายที่จะพัฒนาท้องถิ่นในด้าน สังคม เศรษฐกจิ สง่ิ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรม ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ การผลติ และพฒั นาครู ผลติ ครทู ไี่ ดม้ าตรฐานวชิ าชพี และมจี ติ วญิ ญาณ ความเป็นครูและสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น พัฒนาศักยภาพของครู ครูและ บุคลากรทางการศกึ ษาให้มคี วามเป็นมืออาชีพ รวมทั้งสรา้ งนวัตกรรมเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพการ จัดการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ สู่การศกึ ษา ๔.๐ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ การยกระดับคุณภาพการศกึ ษา ดว้ ยการยกระดับความเป็นเลิศของ มหาวิทยาลัยราชภฏั พัฒนาอาจารย์และคุณภาพบณั ฑติ ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ด้วยการแบ่งพ้ืนท่ีความรับผิด ชอบของแต่ละมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พฒั นาระบบฐานข้อมลู การใชท้ รพั ยากรรว่ มกัน พฒั นา เครือข่าย จัดระบบงานสคู่ วามเปน็ เลิศ และเสรมิ สรา้ งธรรมาภบิ าล 17

มหาวิทยาลัยราชภัฏทุกแห่งได้ด�ำเนินการโครงการในรูปแบบเดียวกันให้ครอบคลุม พนื้ ทท่ี วั่ ประเทศ ภายใตย้ ทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นาทอ้ งถนิ่ ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๖๑ จนถงึ ปจั จบุ นั เพอื่ ใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธใิ์ นระดบั ท้องถนิ่ และประเทศ ประกอบด้วยโครงการหลกั และโครงการ ตามแตล่ ะบริบทของมหาวทิ ยาลัยแตล่ ะแห่ง ดังน้ี ๑. โครงการยกระดับสินค้าชุมชน OTOP มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและยกระดับ คณุ ภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ในชุมชนและท้องถิน่ ใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐานทส่ี ูงขึ้น ๒. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ครวั เรอื นยากจนใหส้ ามารถบรหิ ารจดั การชวี ติ ตนเอง ได้อย่างเหมาะสม ด�ำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถพ่ึงพาตนเองและ ชมุ ชนไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื โดยมเี ปา้ หมายแกไ้ ขปญั หาความยากจนกระจายในทวั่ ประเทศทกุ ภมู ภิ าค ๓. โครงการส่งเสริม ความรักสามัคคี ความมีระเบียบวินัยและเข้าใจสิทธิหน้าที่ของ ตนเองและผู้อื่น พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือชุมชนต่อการเรียนรู้ เข้าใจในสิทธิหน้าที่ของ พลเมืองและสังคมประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ๔. โครงการยกระดับคุณภาพการเรยี นรู้ ด้านการอ่าน การเขียน การคดิ วเิ คราะห์ของ นักเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อพัฒนานักเรียนให้สามารถอ่านออกเขียนได้และ มีทักษะการอ่านเขียนเพ่ิมขึ้นผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมที่มี ประสทิ ธิภาพและเป็นระบบ ๕. โครงการพฒั นาความรู้ ทกั ษะดา้ นภาษาองั กฤษในศตวรรษที่ ๒๑ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื พฒั นาความรู้ ทกั ษะภาษาองั กฤษในศตวรรษที่ ๒๑ สำ� หรบั นกั ศกึ ษาครใู นมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ๖. โครงการสนับสนุน DLTV เพ่ือแก้ไขปัญหาขาดแคลนครูและการเรียนการสอนให้ กบั โรงเรยี นขนาดเลก็ 18

ทงั้ นี้ นอกจากโครงการทดี่ ำ� เนนิ รว่ มกนั ในขา้ งตน้ แลว้ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั แตล่ ะแหง่ ยงั มโี ครงการทด่ี ำ� เนนิ การภายใตบ้ รบิ ทตามความเหมาะสมและศกั ยภาพของตนเอง ประกอบดว้ ย ๑. โครงการด้านพฒั นาทอ้ งถ่ินดา้ นเศรษฐกจิ สร้างเพ่มิ มลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ของชุมชน ส่งเสริมการท่องเท่ียวและแหล่งสินค้าแปรรูปจากภูมิปัญญาชาวบ้าน ชุมชนบ้าน ยกระดับ เศรษฐกิจชมุ ชนจากการเกษตรอาหารปลอดภยั และการคา้ ชายแดน ๒. โครงการด้านพัฒนาท้องถ่ินด้านสังคม พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน ผสู้ งู อายุ เยาวชนและผู้พิการ ๓. โครงการด้านพัฒนาท้องถิ่นด้านส่ิงแวดล้อม เพ่ือบริหารจัดการการใช้ ทรัพยากรธรรมชาตสิ ่งิ แวดลอ้ ม และท�ำนบุ �ำรุงศลิ ปวฒั นธรรม ๔. โครงการด้านผลิตและพัฒนาครู เพื่อพัฒนาบัณฑิตครูต้นแบบท่ีมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และทักษะที่น�ำไปใช้ในการปฏิบัติหน้าท่ีครูเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษาโดยรวมของประเทศไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๕. โครงการด้านยกระดับคุณภาพการศึกษา เพ่ือพัฒนายกระดับความเป็นเลิศของ บคุ ลากรและนักศึกษา นักเรียน และโรงเรียนในพื้นท่กี ารให้บรกิ ารของมหาวทิ ยาลยั ๖. โครงการด้านพฒั นาระบบบริหารจัดการ เพ่อื พฒั นาฐานข้อมูล และสนบั สนนุ ศูนย์ ความเป็นเลิศของมหาวทิ ยาลัย การสร้างเครอื ข่ายในการทำ� งาน และการใหบ้ ริการวิชาการใน การพฒั นาท้องถนิ่ มหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศได้ท�ำงานสนองตามพระบรมราโชบายอย่างเป็นรูป ธรรม และเชอื่ มน่ั วา่ ไดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ ามปณธิ านและพนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั ทจ่ี ะเปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษาเพอื่ พฒั นาทอ้ งถนิ่ และสรา้ งคณุ คา่ ใหก้ บั สงั คมเปน็ ทป่ี ระจกั ษไ์ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และส่งผลตอ่ การพฒั นาทีย่ ่งั ยนื 19

20

“ป่พี าทย”์ มรดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรม จากสถานการณ์ปัจจุบันการหาคณะปี่พาทย์ไปแสดงตามงานลดน้อยลง อาจสืบ เน่ืองมาจากเศรษฐกิจที่ไม่ค่อยดี ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ตลอดจนเจ้าภาพงานลดการแสดงป่ีพาทยแ์ บบแสดงสด เปน็ ใชเ้ คร่อื งเสียงแทน แต่หลายคณะเชื่อม่ันว่าคณะปี่พาทย์ยังไม่สูญสลายแน่นอน เพราะปี่พาทย์แต่ละคณะต้องมี ทีมงานหลายคน ลูกทีมสามารถสลับปรับเปล่ียนกันไปช่วยงานคณะอื่นได้ หรือเรียกว่างาน ลงแขก ชว่ ยกนั ให้เดก็ และลกู ทีมมีงานท�ำ แต่ก็ตอ้ งยอมรบั วา่ สถานการณแ์ ละยคุ สมยั เปลย่ี น ไป มีอุปกรณเ์ ทคโนโลยี เคร่ืองเสยี งเขา้ มามีบทบาทร่วม แต่กเ็ พียง ๔๐-๕๐ % ส่วนพน้ื ที่ต่าง จงั หวดั บางครงั้ กใ็ ชเ้ ครอ่ื งดนตรปี พ่ี าทยไ์ ปประยกุ ตข์ บั รอ้ งกบั เพลงลกู ทงุ่ กม็ สี ว่ นชว่ ยใหเ้ ครอ่ื ง ดนตรแี ละคณะปพ่ี าทยไ์ มม่ วี นั สญู หายไป โดยสว่ นใหญจ่ ะใชเ้ ลน่ ในงานศพเปน็ ประเพณสี ำ� คญั ในวงจรชวี ติ ของทกุ วฒั นธรรมกลา่ วไดว้ า่ กรณวี ฒั นธรรมไทยงานศพไทยมปี พ่ี าทยเ์ ปน็ สว่ นหนง่ึ ทสี่ ำ� คญั ยง่ิ ในวฒั นธรรมงานศพยคุ รตั นโกสนิ ทร์ เมอื่ ดนตรไี ดร้ บั การปรบั ปรงุ ใหม้ เี พลงประกอบ สำ� หรบั งานศพ งานศพคนไทยจงึ มดี นตรบี รรเลงกลายเปน็ สว่ นหนง่ึ ของวฒั นธรรมงานศพทไ่ี ด้ รบั ความนยิ มเเพรห่ ลายมาจนถงึ ทกุ วนั น้ี โดยเฉพาะงานศพทมี่ ปี พ่ี าทยถ์ อื วา่ เปน็ ศพผดู้ ใี นอดตี การบรรเลงเพลงของวงดนตรปี พ่ี าทยส์ ว่ นใหญจ่ ะเลน่ ในงานศพ เพลงทบี่ รรเลงจงึ เปน็ เพลงที่ค่อนข้างเศร้า โดยเฉพาะในคืนแรกของงานและวันเผา ในวันอื่นจะเล่นเพลงเศร้าบ้าง สนกุ บา้ ง เดมิ วงปพ่ี าทยเ์ ปน็ เครอื่ งดนตรปี ระจำ� ของชาวรามญั อยา่ งหนง่ึ ซง่ึ บรรเลงในกรณตี า่ งๆ ไม่วา่ จะเป็นงานมงคลและงานอวมงคล แมง้ านฉลองทใ่ี หญ่โตกใ็ ชป้ ีพ่ าทยบ์ รรเลงกัน ซง่ึ คน ไทยในสมยั โบราณกถ็ อื เชน่ นนั้ เชน่ งานสมโภชพระแกว้ มรกตในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ี แตค่ นไทยในสมยั ปจั จบุ นั ยดึ ถอื กนั วา่ ปพ่ี าทยม์ อญใชบ้ รรเลงไดแ้ ตง่ านศพเทา่ นนั้ ที่ เป็นดังนก้ี ็คงเปน็ ดว้ ยสมยั ต่อมา ไดเ้ หน็ ปี่พาทย์ออกบรรเลงแต่งานพระบรมศพ เมื่อออกพระ เมรุ (ซ่ึงป่ีพาทยป์ ระโคมตลอดเวลา ) เพราะปพี่ าทยไ์ ทย ซ่งึ เป็นของหลวงบรรเลงเฉพาะเวลา ทรงธรรมเ์ ทา่ นน้ั เมอ่ื เหน็ ดงั นจี้ งึ คอ่ ยเอาอยา่ งกนั มา ตอ่ เมอื่ มงี านศพทา่ นผใู้ หญท่ เี่ คารพนบั ถอื กจ็ ะหาปี่พาทย์มอญมาประโคมเป็นเกียรต์ิ และยึดถอื เป็นแบบแผนมาจนถงึ ทกุ วันนี้ 21

อีกประการหน่ึงคงจะเป็นด้วยเสียงเพลงของวงปี่พาทย์มอญมีความไพเราะเยือกเย็น ระคนเศรา้ เหมาะกบั งานศพเปน็ อยา่ งยง่ิ และเครอ่ื งดนตรกี ม็ คี วามสวยงาม แกะลวดลายลงรกั ปิดทอง กลมกลืนกับตู่พระธรรม์และเคร่ืองตงั้ ศพ ดังกล่าวปี่พาทยม์ อญจึงเปน็ วงดนตรที นี่ ยิ ม ใชใ้ นเฉพาะงานศพ ขนบธรรมเนยี มและความเชอ่ื ในการบรรเลงของวงดนตรปี พ่ี าทยม์ อญ นกั ดนตรสี ว่ น ใหญ่ให้ความนับถือเคารพกราบไหว้ครูอาจารย์ (ครูเทพฯและพ่อแก่) เป็นอย่างมาก เพราะ เป็นอาจารย์ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ให้ ในการบรรเลงแต่ละคร้ังจะต้องมีของบูชาและ คา่ กำ� นัลบชู าครูทกุ ครงั้ เพ่อื เป็นมงคลต่อตนเองและคณะ พรอ้ มท้ังมกี ารไหวค้ รู เคร่อื งดนตรี และการประสมวงของวงดนตรีป่พี าทย์มอญ ประกอบด้วย ฆอ้ งมอญวงใหญ่และฆ้องมอญวง เลก็ ระนาดเอก ๑ ราง รางระนาดท้มุ ๑ ราง ตะโพนมอญ ปมี่ อญ เปิงมากคอก โหมง่ ชุด ฉง่ิ ฉาบเลก็ ฉาบใหญ่ เปิงมางคอก และเครอื่ งดนตรใี นการบรรเลงปพี่ าทยไ์ ทยประกอบบางช่วง ไดแ้ ก่ กลองสองหนา้ กลองแขก ขลุ่ย โทน กรบั เปน็ ต้น ท่มี าภาพ : เวบ็ ไซต์ เคร่ืองดนตรไี ทย 22

ประวัติความเป็นมาของปีพ่ าทย์ จากหลกั ฐานและบันทึกเร่อื งราวต่างๆ ทางประวัติศาสตรน์ ัน้ ย่อมจะเปน็ ที่ยอมรับกนั โดยทั่วไปว่า ไม่ว่าจะเป็นชนชาติใดก็ตามล้วนแต่มีศิลปวัฒนธรรมท่ีได้รับการสืบทอดมาแต่ โบราณแทบทง้ั สนิ้ ศลิ ปวฒั นธรรมทคี่ นในสงั คมหรอื ในชาตนิ นั้ ๆ ไดร้ ว่ มกนั สรา้ งสรรคส์ บื ทอด และพฒั นาสบื มาจากอดตี ถงึ ปจั จบุ นั ยอ่ มจะเปน็ สงิ่ ทแี่ สดงถงึ ความรงุ่ เรอื งของชาตนิ นั้ ๆ อกี ทงั้ เปน็ เครอื่ งยนื ยนั ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ วา่ ชาตทิ เ่ี จรญิ แลว้ ยอ่ มตอ้ งมศี ลิ ปวฒั นธรรมเปน็ ของตนเองดว้ ย มอญกเ็ ปน็ ชาตหิ นง่ึ ทม่ี คี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งทางดา้ นศลิ ปวฒั นธรรมมาตง้ั แตโ่ บราณ อาจ กล่าวได้ว่าในอดีตน้ัน มอญเป็นชนชาติท่ีมีอารยธรรมและวัฒนธรรมเก่าแก่ที่สุดชาติหนึ่งใน ภมู ภิ าคเอเชยี อาคเนย์ แตก่ เ็ ปน็ ทน่ี า่ เสยี ดายเพราะวา่ ในปจั จบุ นั นมี้ อญไมม่ ปี ระเทศหรอื แมแ้ ต่ ดินแดนท่ีเป็นถิ่นท่ีอยู่ของตนเอง เนื่องจากต้องสูญเสียอิสรภาพให้แก่พม่าซ่ึงพม่าเองก็ได้เข้า ครอบครองดินแดนที่เคยเป็นที่อยู่อาศัยของชนชาติมอญอย่างเต็มท่ี ด้วยเหตุน้ีเองท�ำให้ชาว มอญตอ้ งอพยพออกจากดนิ แดนของตนเองเคลอ่ื นยา้ ยประชากรเขา้ มาอาศยั อยใู่ นแผน่ ดนิ ไทย ท้ังนี้เน่ืองมาจากมอญและไทยมีดินแดนใกล้ชิดติดกัน ซึ่งตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์นั้น พบว่าชนชาติมอญได้อพยพเขา้ สู่ประเทศไทย ครง้ั สำ� คญั ๆหลายครัง้ มอญนนั้ เปน็ ชนชาตทิ เ่ี ครง่ ครดั ในขนบธรรมเนยี มประเพณขี องตนเองมากชาตหิ นงึ่ ตาม ประวตั ศิ าสตรก์ เ็ ปน็ ทที่ ราบกนั ทว่ั ไปวา่ มอญไดส้ ญู เสยี เอกราชไปเปน็ เวลาหลายรอ้ ยไปแลว้ แต่ มอญก็ยังคงรกั ษาขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษา ตลอดจนศลิ ปวัฒนธรรมของตนไวไ้ ดต้ ลอด มาตราบเท่าทุกวันน้ี ซงึ่ ในปัจจุบนั ชาวมอญท่ีอยู่ในแผ่นดนิ ไทย กย็ ังคงปฏบิ ัตขิ นบธรรมเนียม ประเพณเี หลา่ นน้ั อยเู่ สมอ เปน็ ตน้ วา่ พธิ ตี รษุ สงกรานต์ เลน่ สะบา้ ทะแยมอญ ตลอดจนพธิ กี า รอ่นื ๆ ตามลทั ธปิ ระเพณี เปน็ ตน้ แมบ้ างสง่ิ บางอยา่ งจะมกี ารแกไ้ ขปรับปรุงไปตามกาลเทศะ หรือตามกระแสของสภาพแวดล้อมก็ตาม แต่ส่ิงท่ีเป็นแก่นหรือหลักของวัฒนธรรมเหล่าน้ัน ยังคงปรากฏให้เหน็ อย่อู ยา่ งเดน่ ชดั สง่ิ นีเ้ องท่ที �ำให้มผี ูร้ จู้ กั ชนชาตมิ อญอยู่เสมอมา ท้งั น้ยี อ่ ม เป็นเคร่ืองแสดงให้เห็นว่าขนบธรรมเนียมประเพณีแห่งชนชาติเป็นเครื่องแสดงความเป็นเชื้อ ชาติไดเ้ ป็นอย่างดี 23

ศลิ ปวฒั นธรรมที่สำ� คญั อย่างหนงึ่ ของมอญ ซึ่งถอื ได้ว่ามีความสัมพนั ธเ์ กี่ยวข้องกับวิธี การด�ำเนนิ ชีวติ ของคนในสังคมไทย กค็ อื ป่ีพาทยม์ อญ ซง่ึ เป็นรูปแบบของศิลปะประเภทหน่ึง ซึ่งได้ผ่านการสร้างสรรค์ พัฒนา ตลอดจนสืบทอดโดยผ่านกระบวนการต่างๆ มาโดยล�ำดับ จากอดีตส่ปู จั จบุ นั จนเปน็ วงปพ่ี าทยป์ ระเภทหน่งึ ที่มบี ทบาทและความสำ� คัญตอ่ วิชาการทาง ดา้ นดนตรีไทยเปน็ อยา่ งมาก ฉะน้นั การศึกษาทางด้านประวัติศาสตร์ของวงป่ีพาทย์มอญ จงึ มีความสำ� คัญเป็นอย่างมาก จากการพจิ ารณาหลกั ฐานทางดา้ นประวตั ศิ าสตร์ จะพบว่าชนชาติมอญเป็นชนชาติ ที่เก่าแกช่ นชาติหน่งึ ท่ีเคยมดี ินแดนทอ่ี ยู่อาศัยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณตอน ใต้ของประเทศพม่าหรือเมียนมาร์ในปัจจุบัน ชนชาติมอญเคยมีอ�ำนาจปกครองดินแดนของ ประเทศพม่ามากอ่ น โดยครง้ั นัน้ มศี ูนย์กลางการปกครองอยู่ทเี่ มืองหงสาวดี ซึง่ ต่อมาชนชาติ มอญกถ็ กู ชนชาตพิ ม่ารกุ ราน และสูญเสยี เอกราชให้แกพ่ ม่าในท่สี ุด ชนชาตมิ อญ เป็นชนชาติทีม่ ีอารยธรรมและวฒั นธรรมเก่าแก่ที่สดุ ชาติหน่งึ ในบรรดา ประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ร่องรอยทางอารยธรรมของมอญที่ยังปรากฏให้เห็นใน ปจั จุบันนี้ เชน่ ภาษาพูด ภาษาเขียน การแตง่ กาย ดนตรี นาฎศิลป์ ตลอดจนประเพณีอ่ืนๆ ของมอญ เป็นตน้ สิง่ ตา่ งๆ เหลา่ น้ี เป็นส่งิ ที่แสดงถงึ ความเจริญรุ่งเรอื งของชนชาตอิ ยู่ในอดตี ไดเ้ ปน็ อยา่ งดยี ง่ิ แมว้ า่ ในปจั จบุ นั น้ี ชนชาตมิ อญจะไมม่ ปี ระเทศหรอื ดนิ แดนทเ่ี ปน็ ถน่ิ ทอ่ี ยขู่ อง คนเชอื้ ชาตเิ ดยี วกนั แตว่ ฒั นธรรมประเพณตี า่ งๆ เหลา่ น้ี ยอ่ มเปน็ เครอื่ งแสดงถงึ ความเปน็ ชาติ มอญในอดตี ทใี่ หช้ าวโลกและคนไทยไดร้ จู้ กั กนั เปน็ อยา่ งดี ทสี่ ำ� คญั กค็ อื วฒั นธรรมและประเพณี ต่างๆ ของชนชาติยงั ปรากฏให้เห็นในแผ่นดนิ ไทยจนถงึ ทุกวันน้ี เช่น ทะแยมอญ มอญร�ำ ปี่ พาทย์มอญ เป็นต้น สิ่งต่างๆ เหล่าน้ีได้รับการสืบทอดและพัฒนาสืบมาจากอดีตถึงปัจจุบัน นบั ได้วา่ ชนชาตมิ อญไดร้ ว่ มกนั สรา้ งสรรค์ส่ิงทเ่ี ป็นมรดกอนั ส�ำคญั ทางวฒั นธรรมไว้ด้วย ป่ีพาทย์มอญ ทป่ี รากฏอยใู่ นแผน่ ดินไทยน้ี ไมม่ หี ลกั ฐานในทางลายลักษณอ์ ักษรหรือ หลักฐานทางโบราณคดีท่ีเป็นเครื่องพิสูจน์ได้อย่างแน่ชัดว่าส่ิงท่ีเป็นเคร่ืองดนตรีหรือบทเพลง ต่างๆ ของชนชาติมอญท่ีสืบทอดต่อกันมาและได้ปรากฏออกมาในรูปแบบของปี่พาทย์มอญ นัน้ ได้เข้ามาสูป่ ระเทศไทยในสมยั ใด 24

จากเอกสารของอาจารย์มนตรี ตราโมท ราชบัณฑิต ได้กล่าวไว้ว่า วงปี่พาทย์ท่ีมีใน เมืองไทยน้ี เข้าใจว่าพ่ึงมีขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีน้ี เพราะในสมัยสุโขทัยมอญก็ ไมค่ อ่ ยได้เก่ยี วข้องกบั ไทยนัก การท่ีมอญจะนำ� วงป่พี าทย์หรือเครอื่ งบนั เทิงใดๆเขา้ มาไดก้ จ็ ะ ตอ้ งเปน็ สมยั ทพ่ี ากนั เขา้ มามากๆ เปน็ ครอบครวั พจิ ารณาตามพงศาวดารกเ็ หน็ มอี ยไู่ มก่ ค่ี ราว เชน่ สมยั สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ทรงกวาดตอ้ นครอบครวั มอญอันมีพระยาราม พระยา เกยี รติ เป็นหัวหนา้ ควบคุมเขา้ มา สว่ นวงป่พี าทย์ของมอญก็คงจะมมี าแล้ว และสบื ทอดจาก รุ่นสรู่ ่นุ จนถึงปจั จบุ นั ประเภทของวงป่พี าทย์ วงปี่พาทย์ มที ง้ั หมด ๗ ประเภท ดงั นี้ ๑. วงป่ีพาทยช์ าตรี เครื่องดนตรีท่ีใช้ในวงดนตรี ได้แก่ โทนชาตรี กลองชาตรี ฆอ้ งคู่ ฉ่ิง กรับ และป่นี อก โอกาสท่ีใช้ในการบรรเลง ใชบ้ รรเลงประกอบการแสดงหนงั ตะลงุ และโนราชาตรี บทเพลงท่ี บรรเลงในวงดนตรบี ทเพลงประกอบการแสดงโนราชาตรี ๒. วงป่ีพาทย์ไม้แเข็ง เป็นวงดนตรที ใี่ ชบ้ รรเลงประกอบการแสดงตา่ ง ๆ เชน่ โขน ลเิ ก ละคร ฯลฯ นอกจาก นยี้ งั นยิ มบรรเลงในงานมงคล เชน่ งานทำ� บญุ เลยี้ งพระหรอื ในศาสนพธิ แี ละในโอกาสทบี่ รรเลง ส�ำคัญอกี อย่างหน่งึ ก็คอื วงปี่พาทยไ์ มแ้ ข็งใชบ้ รรเลงในงานไหว้ครูดนตรีไทย ๓. วงปีพ่ าทย์เสภา เปน็ วงดนตรไี ทยชนิดหน่งึ เกดิ ขนึ้ ในสมัยรัชกาลท่ี ๒ ในยคุ แรกจะมีผูข้ บั เสภาเปน็ เร่ือง ราวต่างๆ พร้อมกบั ขยบั กรับให้สอดประสานกบั บทจนจบเรือ่ ง ตอ่ มาได้มดี นตรเี ขา้ มาบรรเลง ประกอบ แต่จะบรรเลงเฉพาะช่วงทแ่ี สดงอารมณ์ตา่ งๆ ของตัวละคร ภายหลงั ได้น�ำบทเสภา บางตอนมารอ้ งสง่ และใหว้ งปพ่ี าทยร์ บั ในยคุ ตอ่ ๆ มา การขยบั กรบั เสภาทเี่ ปน็ เรอ่ื งเปน็ ราวจงึ ค่อยๆ หายไป คงเหลือแต่การน�ำบทเสภามารอ้ งส่งและใหว้ งปพี่ าทยร์ ับ คลา้ ยกบั วงปพี่ าทย์ ไมแ้ ขง็ เพยี งแตเ่ อาตะโพนกับกลองทัดออกและใช้กลองสองหนา้ เปน็ ตัวกำ� กบั หน้าทับแทน 25

๔. วงป่ีพาทย์ไม้นวม มีลักษณะการประสมวงคล้ายกับวงปี่พาทย์ไม้แข็ง แต่มีเสียงที่นุ่มนวลกว่า และใช้ ไมน้ วมตีระนาดเอก จงึ ได้ชือ่ วา่ ปพี่ าทย์ไม้นวม มกี ารตัดเครอ่ื งดนตรีทม่ี ีเสยี งดังมากออกไป และน�ำเครื่องดนตรีชิ้นอื่นเข้ามาแทน นิยมบรรเลงประกอบการแสดงละคร บรรเลงในงาน มงคลทัว่ ไป ๕. วงปี่พาทย์นางหงส์ เครื่องดนตรีท่ีใช้ในวงดนตรี เคร่ือง ดนตรีท่ีน�ำ มาใช้ประกอบด้วยปี่ชวา ๑ เลา กลองมลายู ๑ คู่ โดย ตดั ปใ่ี นออกและใชป้ ช่ี วา แทน ใช้กลองมลายแู ทนตะโพนและกลองทัด เคร่ืองดนตรีที่ใชไ้ ด้แก่ ระนาดเอก ระนาดท้มุ ฆ้องวงใหญ่ ฆอ้ งวงเล็ก กลองมลายฉู ง่ิ ฉาบ ที่มาภาพ : เว็บไซต์ เคร่ืองดนตรีไทย เล็กระนาดเอกเหล็กระนาดทุ้มเหล็กโหม่งและปี่ชวา โอกาสที่ใช้บรรเลงใช้บรรเลงในงานศพ บทเพลงท่ีบรรเลงในวงดนตรีบรรเลงเพลงนางหงส์ ๖. วงปี่พาทยด์ กึ ด�ำบรรพ์ เป็นวงดนตรีไทยที่ปรับปรุง ขึ้นเพ่ือใช้บรรเลงประกอบการแสดง ละครดกึ ดำ� บรรพ์ โดยสมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศ รานุวัดติวงค์ ลักษณะของเสียงดนตรี ที่บรรเลงโดยวงปี่พาทย์ดึกด�ำบรรพ์ จะมีเสียงค่อนข้างทุ้ม-ต่�ำเพราะใช้ เครื่องดนตรีที่มีเสียงต�่ำเป็นส่วนใหญ่ ท่มี าภาพ : เวบ็ ไซต์ เครอื่ งดนตรไี ทย ปจั จบุ นั หาดู หาฟัง ไดย้ าก เน่อื งจากไม่ค่อยนิยมบรรเลง นอกจากจะเปน็ โอกาสพเิ ศษจริงๆ เท่านน้ั ๗. วงปี่พาทยม์ อญ มีลกั ษณะการประสมวงคลา้ ยวงปพี่ าทย์ไม้แขง็ แตเ่ ครือ่ งดนตรีส่วนใหญ่ไดร้ ับอทิ ธิพล จากวฒั นธรรมของมอญ ซ่งึ ไทยไดร้ ับเอาแบบอยา่ งมา และปัจจบุ นั นิยมบรรเลงเฉพาะในงาน ศพเท่าน้ัน 26

ลักษณะการแสดง บทบาทหนา้ ทีข่ องเครอื่ งดนตรแี ตล่ ะประเภท ๑. ปี่มอญ ปี่มอญเป็นเครื่องดนตรีที่ท�ำหน้าท่ีด�ำเนินท�ำนองช้ินหน่ึงในวงปี่พาทย์มอญ วิธีการ ดำ� เนินท�ำนองโดยส่วนใหญ่แล้วป่ีมอญจะเปา่ โดยด�ำเนินทำ� นองต่าง ๆ โหยหวนเปน็ เสียงยาว ท�ำหน้าท่ีเช่ือมโยงเคร่ืองดนตรีในวงให้เกิดความสนิทสนมกลมกลืนกันบทบาทหน้าที่ของปี่ มอญคอ่ นขา้ งจะแตกตา่ งจากปใ่ี น เนอ่ื งจากปใ่ี นจะเปา่ โหยหวนเปน็ เสยี งยาวแลว้ ในบางครงั้ ก็ จะเปา่ โดยดำ� เนนิ ทำ� นองถค่ี ลา้ ยระนาดเอก ซงึ่ ปใ่ี นจะทำ� หนา้ ทช่ี ว่ ยนำ� วงดว้ ย แตป่ ม่ี อญนนั้ ไม่ นิยมเป่าเกบ็ ท�ำนองถเ่ี หมือนปใี่ น ทั้งนี้เนอื่ งมาจากปมี่ อญมีกงั วานเสียงยาวเหมาะส�ำหรบั เปา่ ทำ� นองหา่ ง ๆ โดยใชเ้ สยี งยาวในการดำ� เนนิ ทำ� นองซงึ่ เสยี งของปม่ี อญจะใหอ้ ารมณน์ มุ่ นวลเชงิ โศกเศรา้ สง่ิ นถ้ี อื วา่ เปน็ Character ทส่ี ำ� คญั ของปม่ี อญถา้ เปรยี บเทยี บศกั ยภาพของปม่ี อญกบั ปใ่ี นนน้ั จะพบวา่ มคี วามแตกตา่ งกนั ปใ่ี นนน้ั มขี ดี ความสามารถในการเปา่ เสยี งรอ้ งไดด้ สี ามารถ เป่าเลียนเสียงร้องได้ใกล้เคียงมากกว่าปี่มอญ แต่ถ้าเป็นการเป่าคลอเสียงร้องที่มีเสียงยาวปี่ มอญจะสามารถทำ� ไดด้ กี วา่ มคี วามกลมกลนื มากกวา่ อยา่ งเชน่ มอญรอ้ งไห้ เปน็ ตน้ สงิ่ นแ้ี สดง ใหเ้ หน็ ถงึ จดุ เดน่ ของเครอ่ื งดนตรที ม่ี คี วามแตกตา่ งกนั เนอื่ งจากเสยี งของปม่ี อญใหอ้ ารมณ์ และ ความร้สู ึกออกไปทางโศกเศร้า วงั เวง ซึง่ เปน็ ความร้สู ึกในเชิงลบ ฉะนั้นความเช่อื และค่านยิ ม ของไทยจงึ สรา้ งกรอบให้ปี่มอญเปน็ เคร่ืองดนตรตี ัวแทนของงานอวมงคล ปม่ี อญ ทมี่ าภาพ : TK Park Music Library 27

๒. ฆ้องมอญวงใหญ่ เป็นเคร่ืองดนตรีท่ีถือว่าเป็นเอกลักษณ์ ของปี่พาทย์มอญ นอกจากจะท�ำหน้าที่เป็นหลัก ของวง โดยด�ำเนินท�ำนองหลักของเพลงมอญแล้ว ยังท�ำหน้าท่ีเป็นประธานของวงปี่พาทย์มอญด้วย สังเกตจากบทบาท และหน้าที่ในการข้ึนต้นเพลง ของฆ้องวงใหญ่ ฆ้องมอญวงใหญ่ ท่ีมาภาพ : TK Park Music Library ๓. เปงิ มางคอก เปน็ เครอ่ื งดนตรที ท่ี ำ� หนา้ ทค่ี วบคมุ จงั หวะหนา้ ทบั ควบคกู่ บั ตะโพนมอญ ตะโพนมอญ และเปงิ มางคอก นบั เปน็ เครอื่ งดนตรที มี่ บี ทบาท และหนา้ ทส่ี ำ� คญั ในวงปพ่ี าทยม์ อญ นอกจาก จะท�ำหน้าท่ีควบคุมจังหวะหน้าทับแล้ว ยังเป็นเครื่องวัดสัดส่วน หรือประโยคของเพลง ซ่ึง ในกลุ่มน้ีจะเป็นเพลงที่มีหน้าทับตะโพนมอญ ควบคุมจังหวะหนา้ ทับโดยเฉพาะ เช่น หนา้ ทับ ประจำ� วดั หนา้ ทบั ประจำ� บา้ น หนา้ ทบั เพลงมอญ รำ�่ (ยำ่� เทย่ี ง) หนา้ ทบั ยำ่� คำ่� เปน็ ตน้ คบู่ รรเลงจะ ตอ้ งยดึ จงั หวะหนา้ ทบั หรอื ตะโพนมอญไวเ้ ปน็ สง่ิ ส�ำคัญ ถา้ ผูบ้ รรเลงตะโพนมอญบรรเลงหน้าทบั ขาดหรอื เกินกจ็ ะท�ำให้คร่อม หรอื ขดั กับทำ� นอง เพลงเช่นเดียวกันถ้าผู้บรรเลงเคร่ืองด�ำเนิน เปิงมางคอก ท�ำนองบรรเลงไม่ตรงกับหน้าทับตะโพนมอญ ทมี่ าภาพ : TK Park Music Library ก็ ถือว่าบรรเลงผิด ซึ่งอาจเกิดจากการบรรเลงขาด หรอื เกนิ ส่วนเพลงที่อยูใ่ นกลมุ่ เพลงมอญูสองช้นั และเพลงเรว็ น้ัน หนา้ ทบั ตะโพนมิได้กำ� หนด แนน่ อนตายตวั เหมอื นกบั เพลงในกลมุ่ ทไี่ ดก้ ลา่ วขา้ งตน้ วธิ กี ารบรรเลงตะโพนมอญและ เปงิ มาง คอก คงยดึ หลกั การบรรเลงใหม้ กี ารสอดประสาน มคี วามสอดคลอ้ งและกลมกลนื ซงึ่ กนั และกนั 28

๔. ตะโพนมอญ เปน็ เครือ่ งดนตรีท่ีทำ� หนา้ ทีค่ วบคุมจังหวะหน้าทบั ในวงป่พี าทย์มอญ ตะโพนมอญ ที่มาภาพ : TK Park Music Library ๕. ระนาดเอก บทบาทหน้าที่ของระนาดเอกในวงปี่พาทย์มอญ มีลักษณะเช่นเดียวกับการบรรเลง ในวงปีพ่ าทย์ คือ เปน็ ผ้นู ำ� วง ดำ� เนินท�ำนอง เก็บ หรือแปรทำ� นองจากทำ� นองหลักเป็นทำ� นอง เฉพาะของระนาดเอก แตว่ ธิ กี ารดำ� เนนิ ทำ� นองในวงปพ่ี าทยม์ อญ มลี กั ษณะสำ� คญั ประการหนง่ึ คอื จะตอ้ งประดิษฐห์ รือแปรทำ� นองให้มที ำ� นองหลกั ของฆอ้ งมอญมากที่สดุ ระนาดเอกมอญ ทมี่ าภาพ : TK Park Music Library 29

๖. ระนาดทุม้ ฆ้องวงเลก็ ระนาดเอกเหลก็ ระนาดทุ้มเหล็ก เคร่อื งดนตรีท้ัง 4 ชนิดนี้ เปน็ เครอ่ื งดนตรีทไี่ ด้เพิ่มเข้ามาในวงปีพ่ าทยม์ อญในสมัย หลังต่อมา กล่าวคือ เพ่มิ ระนาดทุ้ม และฆ้องวงเล็กพฒั นาเปน็ วงปีพ่ าทย์เครื่องคูเ่ พมิ่ ระนาด เอกเหลก็ เเละระนาดทมุ้ เหลก็ พฒั นาเปน็ วงปพ่ี าทยเ์ ครอื่ งใหญก่ ารเพม่ิ เตมิ เครอ่ื งดนตรเี ขา้ ไป ในวงปพ่ี าทยม์ อญ จนมกี ารพฒั นารปู แบบวงดนตรเี ปน็ เครอื่ งค”ู่ และ “เครอ่ื งใหญ”่ นน้ั อนโุ ลม ตามแบบแผน และหลกั การประสมวงเครอ่ื งดนตรใี นวงปพ่ี าทยข์ องไทย เพราะฉะนนั้ บทบาท หนา้ ทใี่ นการบรรเลงของเครอ่ื งดนตรแี ตล่ ะชนดิ คงยดึ หลกั และวธิ กี ารบรรเลงตามแบบแผนของ ไทย แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม วธิ กี ารดำ� เนนิ ทำ� นอง หรอื การแปรทำ� นองนนั้ กค็ งยดึ หลกั เกณฑเ์ ชน่ เดยี ว กบั ระนาดเอก คอื การดำ� เนนิ ทำ� นองนน้ั จะตอ้ งมลี กั ษณะใกลเ้ คยี งกบั ทำ� นองหลกั ของฆอ้ งมอญ ให้มากทสี่ ดุ ทงั้ น้เี พอ่ื เปน็ การรกั ษาเอกลกั ษณข์ องเพลงมอญ ระนาดทมุ้ ปีพ่ าทย์ ระนาดทุม้ มอญ ฆอ้ งวงเลก็ ระนาดเอกเหลก็ ระนาดทุ้มเหลก็ ** ที่มาของภาพ : TK Park Music Library 30

๗. โหม่ง ๓ ใบ เดิม ๑ ใบ ตลี งทจ่ี งั หวะหนกั จัดเป็นเครอ่ื งดนตรี ประเภทกำ� กบั จงั หวะประเภทหนง่ึ นยิ มใชโ้ หมง่ ๓ ลกู โดย ใหม้ ีเสียงสงู ตำ่� เรียงกัน ๓ เสียง ปรากฏเปน็ เสยี งดงั น้ี ใบท่ี ๑ เสียง โม้ง ใบที่ ๒ เสยี ง มง ใบที่ ๓ เสียง โหมง่ (เสียงหมุ่ย หรือเสียงหุ่ย) ในการบรรเลงก�ำกับ จังหวะในเพลงมอญ จะท�ำหน้าท่ีควบคุมจังหวะใหญ่ ซ่ึง โหม่ง ๓ ใบ บรรเลงพรอ้ มกับเสยี งฉบั ซ่งึ เปน็ จงั หวะหลักของฉ่งิ ที่มาภาพ : TK Park Music Library ๘. ฉาบใหญ่ ฉาบใหญถ่ อื เปน็ เครอื่ งดนตรปี ระกอบจงั หวะทส่ี ำ� คญั อกี อยา่ งหนง่ึ ในวงปพ่ี าทยม์ อญ ซง่ึ มีบทบาทและหน้าที่ในการบรรเลงต่างไปจากบรรเลงในวงปพ่ี าทย์ประเภทตา่ งๆ กล่าวคอื ใน วงปพี่ าทย์อ่นื ๆ ฉาบใหญจ่ ะดำ� เนนิ จังหวะลงจังหวะใหญ่ หรือจงั หวะหนกั ดงั น้ี --- ฉงิ่ --- ฉับ --- ฉ่ิง --- ฉับ ---- --- แช่ ---- --- แช่ (แทนเสียงฉาบใหญ)่ ส่วนในวงปี่พาทย์มอญนั้น ลักษณะการด�ำเนิน จังหวะจะแตกต่างกัน คือ ไม่เน้น หรือบรรเลงลงที่ จังหวะหนัก แต่กลับลงที่จังหวะย่อยแทน (จังหวะยก) หมายความว่า เสียงหนักของฉาบใหญ่จะบรรเลงพรอ้ ม ฉาบใหญ่ ทม่ี าภาพ : http://music.tkpark.or.th เสียงฉ่งิ ส่วนตรงฉับน้ันเป็นเสียงเบา ๙. ฉง่ิ กรบั ฉาบเลก็ ฉงิ่ , กรับคู(่ กรบั ไม)้ เคร่อื งประกอบจงั หวะนย้ี ึดหลัก และวธิ ี ทมี่ าภาพ : http://music.tkpark.or.th การบรรเลงเหมือนกับการบรรเลงในวงดนตรี อ่ืนๆ ซ่ึงต่างก็มีบทบาทและหน้าท่ีคล้ายคลึง กัน ทั้งน้ีค�ำนึงถึงความสอดคล้องกลมกลืนกัน กบั ทำ� นองเพลงสำ� คัญ 31

วธิ กี ารบรรเลง ๑. ลักษณะการข้ึนต้นของบทเพลง เพลงเชิญนั้นมีการข้ึนต้นบทเพลงที่มีแบบเฉพาะ ตวั คอื นำ� ประโยคแรกของบทเพลงมาเปน็ ทำ� นองตน้ โดยใชเ้ ครอื่ งดนตรี คอื ฆอ้ งมอญวงใหญ่ บรรเลงขนึ้ ตน้ เพลงโดยเรมิ่ ตน้ ดว้ ยเสยี งเร ตเี ปน็ คแู่ ปดเปน็ เสยี งขนึ้ ทำ� นอง แลว้ ตสี ะบดั ๒ เสยี ง ต่อจากน้นั ตีเปน็ คู่ ๑๑ และกลบั มาเสียงเรอีกคร้ัง แลว้ จึงตที �ำนองดว้ ยการกรอเปน็ ท�ำนองยาว ๆ ดำ� เนนิ ท�ำนองเพลงตอ่ ไป ดังตวั อยา่ งของการข้นึ ต้นเพลงเชิญ ๒. ลักษณะการลงจบของเพลง เพลงเชญิ มีลักษณะการลงจบทเ่ี ปน็ แบบเฉพาะเช่นกนั คือ ลงจบด้วยลูกหมดมอญ ซ่ึงมีลักษณะท�ำนองการจบแบบค่อยๆ ตัดท่อนท�ำนองให้เหลือ นอ้ ยลงจนหมด และทำ� นองลกู หมดมอญนนั้ เรมิ่ ตน้ ดว้ ยทำ� นองจากจงั หวะทชี่ า้ แลว้ คอ่ ยๆ เรว็ ขึ้นไปเรอ่ื ยๆ จนเร็วท่ีสดุ จึงจบลงดว้ ยการกรอของโนต้ เสียงสดุ ทา้ ยของเพลงเชิญ คือ เสยี งโด ดังตัวอย่างของ การจบลงด้วยลูกหมดมอญของเพลงเชญิ ๓. จังหวะหน้าทับ เพลงเชิญเป็นเพลงที่มีส�ำเนียงมอญ ดังนั้นจึงต้องใช้ตะโพนมอญ และเปงิ มางคอกเปน็ เครอื่ งประกอบจงั หวะหนา้ ทบั โดยใชห้ นา้ ทบั มอญของเดมิ ซง่ึ ใชป้ ระกอบ จงั หวะท้ังในอตั ราจังหวะสองช้นั และชน้ั เดียวสำ� หรับหนา้ ทบั ตะโพนมอญ และเปิงมางคอกใน เพลงเชญิ ของวงดนตรี ๔. มอื เฉพาะทางฆอ้ ง ทางฆอ้ งมอญถอื เปน็ ทางเฉพาะของแตล่ ะวงแตล่ ะท่ี ซงึ่ อาจแตก ตา่ งกนั ไป แมแ้ ตว่ งปพ่ี าทยม์ อญในจงั หวดั ปทมุ ธานี แตล่ ะวงจะมที างฆอ้ งมอญทเี่ ปน็ มอื เฉพาะ เชน่ กนั ทางฆ้องมอญท่ถี อื เปน็ มือเฉพาะของวงดนตรีเจริญในเพลงเชญิ น้นั จากการสมั ภาษณ์ และการบันทึกแถบเสียงฆ้องมอญจากพันจ่าอากาศเอกวีระ ดนตรีเจริญ ท่านได้ตีฆ้องมอญ ของเพลงเชิญดว้ ยกนั ๑๗ มอื ถอื เปน็ ทางฆ้องมอญทีเ่ ปน็ ลกั ษณะเฉพาะของวงดนตรีเจริญ • การบรรเลงแตล่ ะครงั้ ใชเ้ วลา ๑ ช่วั โมง ถงึ ๗ วัน (แลว้ แต่ความต้องการของเจา้ ภาพ) • นักดนตรใี นการแสดงแตล่ ะครั้งมตี งั้ แต่ ๑๐ คนขึ้นไป • ในการแสดงแตล่ ะครง้ั ต้องจดั เตรียม เครอื่ งดนตรี นักดนตรี • สถานที่แสดงส่วนใหญ่จะเป็นตามวัดต่างๆ ในจังหวัดและต่างจังหวัดท่ีเป็นบ้าน ของเจา้ ภาพหรือทเี่ จ้าภาพต้องการให้ไปแสดง 32

เพลงทน่ี ิยมใช้ในการบรรเลง ส�ำหรับเพลงทน่ี ยิ มใช้ในการบรรเลงในงานมงคลสมรส ส่วนใหญ่จะนิยมบรรเลงเพลง ที่มีช่ือเป็นมงคล หรือมีเนื้อร้องไปในทางความรักตามความเชื่อของคนไทยหรือ เพลงท่ีมี อัตราจังหวะ ๒ ชั้น ซ่งึ เป็นเพลงทม่ี จี งั หวะกลางๆ ไมช่ ้า หรือเร็วจนเกนิ ไป นอกจากนเ้ี พลงที่ ขาดไม่ไดใ้ นงานมงคลสมรส ได้แก่ เพลงตับวิวาห์ พระสมุทร สองชัน้ ซึ่งประกอบด้วยเพลง คล่ืนกระทบฝ่ัง เพลงบังใบ และ เพลงแขกสาหรา่ ย นอกจากนเี้ พลงบรรเลงอนื่ ๆ ทใี่ ชเ้ ป็น ได้แก่ เพลงอ๊ะเชิญ เพลงปละตอ เพลงกะบ๊ะชาน เพลงเกมทอ เพลงกะววั ตอย เพลงปอ๊ ดขะ นอม เพลงฮะยา่ น เพลงทะ๊ ปัวแกวว่ เพลงฮะวา่ ย เพลงนางหงส์ เพลงเถา เพลงตับ เพลงเรื่อง เพลงรำ� เชญิ พมา่ กลาง พม่าเล็ก พม่าใหญ่ ย่ำ� เท่ยี ง ย่�ำค�่ำ มอญอ้อยอิ่ง มอญร�ำดาบ สุดสงวน นางครวญ แขกมอญ แขกตอ่ ยหม้อ แขกมอญบางขุนพรหม สาวถอดแหวน พม่าเห่ และเพลง มอญเฉพาะทางของตน การแต่งกายของนักดนตรีจะใส่เสื้อผ้าที่เป็นสีด�ำหรือสีขาวสุภาพหรือเป็นชุดของทีม งาน เนื่องจากบรรเลงในงานศพ ในบางงานเปน็ งานทใ่ี ชเ้ ครอื่ งปีพ่ าทยม์ อญแต่เปน็ งานแสดง ประกอบลเิ ก หรอื งานมงคลก็จะแต่งตวั ทมี ีสีสนั ให้เหมาะสมกับงาน กระบวนการสืบทอดและการถ่ายทอดโดยการรับศิษย์เข้าเรียนในคณะเป็นวิธีหนึ่งใน การสบื ทอด โดยการไหวค้ รซู ง่ึ ตอ้ งมพี ธิ ีรับศษิ ย์ คือ มีดอกไม้ ธูป เทยี น เงิน ๖ และ ๑๒ บาท ผา้ ขาว ๑ ผืน ขนั นำ้� ๑ ลกู แลว้ ครจู ับมือและถา่ ยทอดเพลงให้ หรอื ไม่มกี ารรับศิษย์ ส่วนลูก หลานแล้วแต่ความสมัครใจ เป็นการถ่ายทอดแบบครอบครัวหรือพ่อสอนลูก ไม่มีพิธี แต่จะ สอนตามที่ตนได้เรยี นมา หรือการสอนตอ่ เพลงต่างๆโดยตรง จะมกี ารไหว้ครกู บั คณะเมื่อถงึ วนั ไหวค้ รู การฝึกซอ้ มเปน็ อกี วธิ หี น่ึงในการถ่ายทอด เป็นการฝกึ ซอ้ มด้วยเพลงทีใ่ ครยงั ไมไ่ ด้ จะตอ่ เพลงให้ เปน็ การสืบทอดโดยตรงแบบไม่มีพิธี 33

“ปพี่ าทย์” เพชรบรุ ี ส่วนของจังหวัด “เพชรบุรี” ยังไม่มีหลักฐานการสืบทอดท่ีชัดเจนจากหลักฐานใน เอกสารของณรงคฤ์ ทธ์ิ คงปิ่น ได้กล่าววา่ จากประวตั ิความเปนมาทยี่ าวนานเจรญิ รงุ เรอื งสืบ มาจนถึงปจจุบันมีพระมหากษัตริยหลายพระองคจึงทรงโปรดเสด็จฯ ประพาสและประทับ แรมตง้ั แตค รง้ั อดตี โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยหู วั รชั กาล ที่ ๔ พระองคทรงมรี ับสั่งใหม กี ารสรางพระราชวงั บนเขามหาสมณะขน้ึ ปจจุบนั รูจ กั กนั ในชอ่ื ของพระนครคีรีหรือเขาวัง นอกจากความเปนมาทางประวตั ิศาสตรท ส่ี ัมพันธก นั แลว จังหวดั เพชรบุรียงั เปน อกี จงั หวดั หนง่ึ ทมี่ กี ารสงั่ สมทางศิลปวัฒนธรรมมาอยา งชา นาน จังหวัดเพชรบุรียังเปนเมืองแหงศิลปะการดนตรีท่ีสําคัญอีกดวย เม่ือกลาวถึงความ สาํ คญั ทางดา นวฒั นธรรมดนตรี การสบื ทอดวงดนตรไี ทยในจงั หวดั เพชรบรุ เี ปน การสบื ทอดจาก ภมู ปิ ญ ญาของครดู นตรไี ทยจากรนุ สรู นุ ศลิ ปน ผถู า ยทอดจงึ เปน ผทู มี่ บี ทบาทสาํ คญั ในการถา ย ทอดองคค วามรทู างดนตรไี ทยใหแ กศ ษิ ย การเรยี นการสอนของครดู นตรไี ทยตามทอ งถน่ิ ตา งๆ นนั้ คือ ครูเตอื น พาทยกลุ ซ่ึงเป็นบคุ คลของดนตรีไทยในอดีตและเป็นรากแกว ทส่ี าํ คัญของ ในการสืบทอดวฒั นธรรมดนตรไี ทยที่มคี วามส�ำคัญของจงั หวัดเพชรบุรีคนหน่งึ ตลอดจนเปน็ ภูมิปญญาของครูดนตรีไทยในสมัยกอนท้ังสิ้นหากแตจะกลาวกันโดยตรงแลว การถายทอด ในสมัยกอนจะข้ึนอยูกับครูผูถายทอดวาจะถายทอดความรูใหอยางไรและผลสัมฤทธ์ิในตัว ศิษยแตละคนที่ไดรับนั้นก็ไมเทากัน โดยจะขึ้นอยูกับสติปญญาและความสามารถของแตละ คน แมแตการถายทอดกลเม็ดและเทคนิคท่ีครูมอบใหก็แตกตางกันดวย ความแตกตางจาก องคค วามรใู นศษิ ยแ ตล ะคนทไี่ ด จงึ ทาํ ใหเ กดิ ความหลากหลายและเปน เอกลกั ษณท ส่ี าํ คญั อยา ง หนง่ึ ของดนตรีไทยในจังหวดั เพชรบรุ ีท่ปี รากฎ 34

รายชื่อผูส้ บื ทอดวงปพี่ าทย์ ผสู้ บื ทอดวงป่ีพาทย์ในจังหวดั เพชรบรุ ี ปจั จบุ ันมปี ระมาณ ๘๐ วง (ข้อมูลนเ้ี ป็นเพยี ง บางสว่ นเท่านน้ั ) ได้แก่ รายชือ่ วงปี่พาทย์ หัวหนา้ คณะ/ผู้ควบคมุ /กลมุ่ /สมาคม/ชมุ ชน วงปพ าทยค ณะครูวินยั อยู่ยง่ั ยืน นายวนิ ัย อย่ยู งั่ ยนื วงปพาทยค ณะ ส.สรอยทอง นายสํารอง ทองมา วงปพ าทยค ณะ ส.แสงทอง นายสด แสงทอง วงปพาทยค ณะ ส.พิทักษศลิ ป์ นายธวชั รตั นพิทกั ษ วงปพ าทยค ณะ ส.บรรเลง นายสันทัด ผาดศรี วงปพ าทยคณะศษิ ย ส. สรอ ยทอง นายสุนทร ดนตรี วงปพาทยค ณะ ส.สมบรู ณศ ิลป์ นายสมบรู ณ ทองมา วงปพาทยคณะเชือ้ รวมบรรเลง นายเช้อื นาเมอื ง วงปพ าทยค ณะแตรวง คณะ ส.สรอ ยทอง นายสวุ ทิ ย พุมพฤกษ วงปพ าทยค ณะศรวี ัชราภรณ นายสมพร จินดา วงปพาทยคณะศษิ ย์ศรทอง นายเยอื่ อุบลน้อย วงปพ าทยค ณะเฉลา ลูกเพชร นายเฉลา ทศั นา วงปพาทยค ณะศิษย์หลวงรามไพเราะ นายผ่อง (หมบู่ า้ นหวั สะพาน) วงปพ าทยค ณะ ร.รกั ษ์ศิลป นายตงี๋ (ถนนหนา้ พระลาน) วงปพ าทยค ณะบญุ นาคบรรเลงศิลป์ นางชวน ขาวผอ่ ง วงปพาทยคณะศษิ ย์ทองหล่อ นายสธุ า โหมดเขียว วงปพาทยคณะศษิ ย์สพุ จน์ นายออด (บ้านกุ่ม) วงปพ าทยคณะสัมฤทธิศ์ ิษย์พอ่ แก่ นายสมั ฤทธิ์ เลิศอาวาส วงปพ าทยคณะ ส.ประสงค์ นายส�ำรอง อบแย้ม 35

รายช่ือผู้สบื ทอดวงปี่พาทย์(ตอ่ ) รายชื่อวงปี่พาทย์ หัวหน้าคณะ/ผู้ควบคุม/กลุ่ม/สมาคม/ชุมชน วงปพ าทยค ณะเพชรเสรี นายประยรู อินทรประสิทธิ์ วงปพ าทยคณะ ป.ศลิ ปนิ นายปม่ิ (หมบู่ ้านยาวหยอ่ ง) วงปพ าทยค ณะอำ� พนั บรรเลง นายพวง (หมบู่ ้านเขากระจิว) วงปพ าทยคณะ ส.สมศกั ด์ิ นายประเสรฐิ ยิ้มรอด วงปพ าทยคณะศษิ ยร์ วมภริ มย์ นายบุญ เพชรงาม วงปพ าทยคณะเกตคุ อย คุณเลก็ ไฝศิริ วงปพาทยค ณะวรสิทธ์ริ วมบรรเลง คุณบุญเกอื้ วรสทิ ธิ์ วงปพ าทยคณะนาฎดุรยิ างค์ นายเทิง (หม่บู ้านบางเคม็ ) วงปพ าทยคณะอ�ำพนั บรรเลง นายชบุ (หมบู่ ้านบางแกว้ ) วงปพาทยคณะ น.ดรุ ยิ ศลิ ป์ นายวนิ ัย ใจดี วงปพ าทยคณะศิษย์ ส.สรอยทอง นายอว้ น (ต.บา้ นแหลม) วงปพ าทยคณะ ส.เลศิ ศิลป์ นายสวน (ต.ชะอ�ำ) วงปพ าทยค ณะ ป. พพิ ฒั น์ภางามโฉม วงปพาทยคณะเข็มทองลูกเพชร นายพิพฒั น์ (หมู่บา้ นหนองเผาถ่าน) วงปพาทยคณะลูกไข่กาฬวงศ์ นายชะเอม (หมู่บ้านหนองควง) นายไข่ (หม่บู ้านหนองควง) 36

เพลงออกภาษา เพลงออกภาษา หรือ เพลงภาษา หมายถึงการบรรเลงเพลงในวงปี่พาทย์ โดยมีชื่อ เพลงขนึ้ ต้นเป็นภาษาของชาติอื่น เช่น เพลงจนี ขมิ เลก็ เพลงเขมรพายเรอื เพลงมอญร�ำดาบ เพลงแขกตอ่ หมอ้ เพลงพมา่ รำ� ขวาน เพลงฝรงั่ รำ� เทา้ โดยนกั ดนตรจี ะบรรเลงเลยี นสำ� เนยี งของ เพลงในชาตนิ นั้ ๆ ซง่ึ ผฟู้ งั สามารถสงั เกตและเขา้ ใจเพลงภาษาไดจ้ ากสำ� เนยี งเพลงและหนา้ ทบั ของกลองซงึ่ เปน็ เครอ่ื งประกอบจงั หวะ เชน่ เพลงพมา่ จะใชก้ ลองยาวตปี ระกอบ เพลงจนี จะใช้ กลองและฉาบตคี ลา้ ยๆ กบั การเชดิ สงิ หโ์ ต เพลงแขกจะใชก้ ลองแขก หรอื กลองมลายปู ระกอบ เพลง เพลงฝรงั่ กจ็ ะใชก้ ลองมะรกิ นั ประกอบการบรรเลง ขอ้ สงั เกตอกี ประการหนงึ่ กค็ อื การฟงั ส�ำเนียงเพลงของแต่ละชาตแิ ต่ละภาษา ซง่ึ จะมเี อกลักษณ์เฉพาะของแต่ละชาติ เพลงออกภาษาหรือเพลงภาษาจะบรรเลงติดต่อกันไปหลายๆ ภาษา หรือท่ีเรียกว่า “ออกภาษา” หรือ “ออกสิบสองภาษา” ตามแบบแผนการบรรเลงเพลงออกภาษานิยมออก ๔ ภาษาแรก คอื จีน เขมร ตลงุ พม่า แลว้ จึงออกภาษาอ่ืน หรือนกั ดนตรแี ตล่ ะวงจะมีความ คิด ดดั แปลงเพลงตามสมัยนิยมเพือ่ ความสนกุ สนานกส็ ามารถทำ� ได้ วงดนตรีทบ่ี รรเลงเพลง ออกภาษา จะใช้วงปี่พาทยม์ อญ วงป่ีพาทยไ์ มแ้ ขง็ วงเคร่อื งสาย แตเ่ มอ่ื ต้องออกภาษาก็จะใช้ เครอื่ งประกอบจงั หวะของแตล่ ะชาตมิ าบรรเลงรว่ มเพอื่ ใหส้ ำ� เนยี งภาษาทบี่ รรเลงชดั เจนยง่ิ ขนึ้ เพลงออกภาษาที่ใช้บรรเลงกันมาแต่เดิมจะใช้บรรเลงเฉพาะเครื่องดนตรีล้วนๆ ไม่มี การขับร้องแต่ปัจจุบันวงปี่พาทย์บางวงนักร้องที่มีความสามารถก็จะมีความคิดสร้างสรรค์ แต่งเพลงโดยใช้ท�ำนองภาษาของแต่ละชาติ มาร้องประกอบเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน แก่ผชู้ มผ้ฟู งั ก็ได้ ในงานมมี หกรรมอาเซยี นสัมพันธแ์ ละการแสดงนานาชาติ “ประทปี เพชร-ราชภฏั น้อม ศรทั ธา นบรำ� ลกึ บชู า สมเดจ็ พระภทั รมหาราชนวมนิ ทรเ์ ทดิ ไทม้ หาทศมนิ ทร สมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจ้าอย่หู วั ” ซึ่งจดั งานในวันที่ ๕-๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี ทางมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ได้รับความอนุเคราะห์จากครูวินัย อยู่ยั่งยืน จัดวงประชัน เพลงออกภาษาสองวง มาบรรเลงโดยเน้นความบันเทงิ สนุกสนานมกี ารรอ้ งประกอบ ทางครู วินยั อยู่ยั่งยืน ครเู พลง/หัวหน้าคณะวงป่ีพาทย์อยู่ย่ังยืน เพชรบรุ ี ได้กรณุ าคัดเลือกนกั ดนตรี ทม่ี คี วามสามารถของจงั หวดั เพชรบรุ รี ว่ มการแสดงในครงั้ น้ี โดยเปน็ วงปพ่ี าทยไ์ มแ้ ขง็ ประกอบ ด้วยเครอ่ื งดนตรี คือ ระนาดเอก ระนาดทุม้ ฆอ้ งวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ปใี่ น ปม่ี อญ ป่ีชวา กลอง ตรี หรอื กลองตุ๊ก กลองยาว กลองมะริกนั กลองแขก กลองจีน ฉ่ิง ฉาบ กรับ โหม่ง ตะโพน 37

ซ่ึงการบรรเลงเพลงออกภาษาในคร้ังน้ี นักดนตรีทุกคนตั้งใจฝึกซ้อมเพื่อบรรเลง เปน็ การเฉลมิ พระเกยี รติ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนารถบพิตร และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชริ เกลา้ เจ้าอยู่หัว 38

ก�ำหนดการ งานมหกรรมศลิ ปวฒั นธรรมอาเซียนสมั พันธ์และการแสดงนานาชาติ คร้งั ท่ี ๑๐ The 10th ASEAN Art and Culture Exposition with International Performing Art Festival วันเสารท์ ่ี ๕ ธนั วาคม ๒๕๖๓ เวลา กจิ กรรม กิจกรรมภาคเช้า ณ ห้องพะนอมแกว้ กำ� เนิด (อาคารสุเมธตันติเวชกลุ ) ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบยี น พิธีเปิดกรวยถวายราชสักการะและกล่าวถวายราชสดุดีเฉลิมพระ เกียรตฯิ - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสนาะ กล่ินงาม อธิการบดีมหาวิทยาลัย ราชภฏั เพชรบุรี ประธานในพธิ ี เดนิ ทางถึงบรเิ วณพิธี ๐๙.๐๐ - ๑๐.๐๐ น. - ประธานจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อย หน้าพระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร - ประธานเปิดกรวยถวายราชสักการะและกล่าวถวายราชสดุดี เฉลิมพระเกียรตพิ ระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจา้ อย่หู วั - ทกุ คนรว่ มร้อง “เพลงสรรเสริญพระบารม”ี การปาฐกถาพเิ ศษ เรอ่ื ง “พระมหากรณุ าธคิ ณุ ลน้ เกลา้ ฯ ชาวประชา” ๑๐.๐๐ - ๑๑.๓๐ น. โดย ดร.สเุ มธ ตนั ตเิ วชกุล เลขาธกิ ารมลู นิธชิ ัยพฒั นา และทปี่ รึกษาสภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี ๑๑.๓๐ - ๑๒.๐๐ น. มอบของทีร่ ะลึก และถ่ายภาพรว่ มกนั 39