Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore lesson 3

lesson 3

Published by Sean, 2019-05-31 02:41:00

Description: lesson 3

Search

Read the Text Version

1 เอกสารประกอบการสอน DIGITAL MEDIA PRODUCTION รายวชิ าการผลติ ส่ือระบบดจิ ทิ ัล 1031502 การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

2 บทท่ี 3 ขอ้ ความดิจทิ ลั ข้อความดิจิทัล หรือ Digital Text เป็นข้อความแบบอิเล็กทรอนิกส์ที่พบได้บนอินเทอร์เน็ตหรือหน้า จอคอมพวิ เตอร์ทัว่ ไป รวมไปถึงบนอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ต่างๆเช่น มือถือ นาฬิกา เคร่ืองเสียง ฯลฯ ข้อความ ดิจิทัลสามารถเปล่ียนหรือปรับแต่งข้อความได้ง่ายตามต้องการ โดยธรรมชาติของข้อความดิจิทัลมีความ ยืดหยุ่นมาก สามารถคน้ หา, จัด, เขยี นโดยใช้อปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ และซอฟแวร์ท่ีผลิตข้ึนมาเพ่ือสร้างข้อความ นักศึกษาจึงคว รทาคว ามเข้าใจลักษณะสื่อข้อคว ามดิจิทัลให้เข้ าใจด้วยเป็นรูปแบบสื่อดิจิทัลพ้ืนฐานท่ีมี กระบวนการสร้างทง่ี า่ ยทส่ี ดุ 1. ลกั ษณะขอ้ ความดิจทิ ัล ข้อความดิจิทัลทาหน้าท่ีนาเสนอข้อมูลแบบลายลักษณ์อักษร ถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานท่ีสาคัญ ของสือ่ ดิจิทลั ปจั จบุ นั ข้อความดจิ ิทัลมีรปู แบบและสีของตัวอักษรให้เลือกมากมายตามความต้องการ นอกจาก ลักษณะทางกายภาพของข้อมึวามดิจิทัลและ ยังสามารถกาหนดลักษณะของการปฏิสัมพันธ์โต้ตอบระหว่าง การนาเสนอได้ ทเ่ี รยี กวา่ ข้อความไฮเปอร์เท็กซ์ ลกั ษณะข้อความดิจิทัลมีหลายรปู แบบ ดังน้ี 1.1 ข้อความที่ได้จากการพมิ พ์ ข้อความที่ได้จากการพิมพ์เป็นข้อความปกติท่ีพบได้ทั่วไป เกิดข้ึนจากการพิมพ์ด้วยโปรแกรม ประมวลผลงาน เช่น NotePad ตวั อย่างดังภาพท่ี 3.1, Microsoft office ตัวอยา่ งดงั ภาพท่ี 3.2 ภาพที่ 3.1 แสดงตัวอย่างการสร้างข้อความจาก Notepad ที่มา : ฟิสิกส์ ฌอณ บวั กนก (2556) การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

3 ภาพท่ี 3.2 แสดงตัวอยา่ งการสรา้ งข้อความจาก Microsoft office ที่มา : ฟสิ กิ ส์ ฌอณ บวั กนก (2556) 1.2 ข้อความจากการสแกน ข้อความจากการสแกนเป็นข้อความในลักษณะภาพ(Image) เกิดจากการนาข้อความท่ีพิมพ์ไว้แล้ว (เอกสารต้นฉบับ) มาทาการสแกน ด้วยเครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) ซ่ึงจะได้ผลออกมาเป็นภาพ(Image) ตัวอย่างดังภาพที่ 3.3 ปกติข้อความที่มีลักษณะเป็นภาพจะไม่สามารถแก้ไขตัวอักษรแต่ละตัวได้ แต่ด้วย เทคโนโลยที ท่ี ันสมัย ได้มีการพัฒนาจนสามารถแปลงข้อความภาพกลับมาเป็นข้อความปกติท่ีสามารถแก้ไขได้ โดยอาศัยโปรแกรม Optical character recognition หรือท่ีเรียกกันส้ันๆว่า OCR (โอซีอาร์) ทาให้ไม่ต้อง เสยี เวลาพิมพ์ขอ้ ความอเิ ลก็ ทรอนิกส์ใหม่ เป็นขอ้ ความทีพ่ ฒั นาใหอ้ ยู่ในรปู ของสอ่ื ท่ีใชป้ ระมวลผลได้ ภาพที่ 3.3 แสดงตวั อย่างขอ้ ความท่เี กดิ จากการสแกน ทม่ี า : http://www.scanner-thailand.com การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

4 1.3 ข้อความไฮเปอร์เทก็ ซ์ (Hypertext) ข้อความไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) เป็นข้อความหรือกลุ่มของข้อความที่ทาให้มีคุณสมบัติการ เชอ่ื มโยง คือ การนาข้อความมาเป็นจุดเชื่อมโยง ซึ่งตาแหน่งข้อความท่ีเป็นจุดเชื่อมโยงจะต้องทาให้มีลักษณะ เด่นกว่าข้อความอื่น เช่น การขีดเส้นใต้ การเน้นด้วยสี ตัวหนา หรือตัวเอียง เป็นต้น ดังภาพท่ี 3.4 ลักษณะ ของการส่ือสารในยุคไร้พรมแดน เป็นการเข้าถึงข้อมูลด้วยการสืบค้น ดังนี้ทาให้รูปแบบของข้อความ ไฮเปอร์เท็กซ์ได้รับความนิยมสูงในปัจจุบัน โดยเฉพาะการเผยแพร่เอกสารในรูปของข้อความบนเว็บ ซ่ึงใช้ เทคนิคการเชื่อมข้อความไปยังข้อมูล หรือจุดอื่นๆได้ (การสร้างการเชื่อมโยงหลายมิติ, 2555). Hypertext เป็นการจัดการหน่วยสารสนเทศ โดยมีลักษณะการเชื่อมข้อมูลเข้าด้วยกัน (Link) ซ่ึงเป็นแนวคิดหลักในการ นาไปสู่การคิดค้น World Wide Web ซ่ึงเป็นการจัดการสารสนเทศจานวนมหาศาล และมีเส้นทางการ เชอื่ มต่อมหาศาลเช่นกนั ภาพที่ 3.4 แสดงตวั อย่างข้อความแบบHyperlink ทเี่ ชอ่ื มขอ้ ความไปยังขอ้ ความ ที่มา : http://www.inf.fu-berlin.de 2. การสรา้ งส่ือข้อความดิจิทลั ข้อความดิจิทัลที่มีหลายลักษณะเกิดจากลักษณะการสร้างท่ีแตกต่างกัน อาทิ จากโปรแกรมจัดการ เอกสาร จากโปรแกรมตกแต่งภาพ จากการการแสกน ซง่ึ รายละเอยี ดแตล่ ะแนวทางแสดงไดด้ งั น้ี 2.1 สร้างข้อความดจิ ิทลั จากโปรแกรมจดั การเอกสาร 2.1.1 Notepad การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

5 การสร้างข้อความดิจิทัล โดยใช้ Notepad สามารถดาวน์โหลดโปรแกรม Notepad หรือ โปรแกรม Text-Editor(โปรแกรมแก้ไขข้อความ) ได้จากเวปไซต์ ซึ่งมีทั้งแบบ free ware และมีค่าใช้จ่าย หลังจากดาวน์โหลดโปรแกรมและติดต้ังแล้ว การเปิดใช้งาน Notepad สามารถทาได้ 2 วิธี ดังน้ี วธิ ีท่ี 1 start -> programs -> accessories -> notepad (ดงั ภาพท่ี 3.5) ภาพท่ี 3.5 แสดงการเปดิ ใช้งาน Notepad วิธที ่ี1 ท่ีมา : ฟิสกิ ส์ ฌอณ บัวกนก (2555) วธิ ีที่ 2 กด Ctrl + Esc แลว้ ทางานตามภาพที่ 3.6 การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

6 ภาพท่ี 3.6 แสดงการเปดิ ใช้งาน Notepad วธิ ีท่ี2 ทมี่ า : ฟิสิกส์ ฌอณ บวั กนก (2555) 2.1.1.1 ความสามารถของโปรแกรม Notepad ความสามารถของ Notepad ในการสรา้ งขอ้ ความดิจิทลั สรปุ ไดด้ งั น้ี 1) เป็นโปรแกรม Text-Editor ทร่ี องรบั ภาษาเขียนโปรแกรมมากมาย ไม่ ว่าจะเป็น C, C++, HTML, ASP, Java, Pascal, CSS และอ่ืนๆ อีก มากมาย พร้อมการไฮไล้ท์ เปล่ียนสีคาสั่ง (Syntax) เมื่อพิมพ์ถูก ให้ คุณไมพ่ ลาดการผิดพลาดทไ่ี มเ่ ปน็ เร่อื ง 2) มีระบบช่วยเติมคาสั่งให้ถูกต้องโดยอัตโนมัติ (Auto-Completion) เพ่ือปอ้ งกนั การลมื คาสั่ง หรือการสะกดคาส่ังท่ถี กู ตอ้ ง 3) สามารถค้นหาข้อความ (Search) เปลี่ยนข้อความ (Replace) พร้อม กันทุกไฟลท์ ีเ่ ปดิ อยู่ได้ 4) สนบั สนุนการลากแลว้ วาง (Drag-and-Drop) 5) สนับสนุนการซุมเข้าออก ข้อความ หรือคาส่ังต่างๆ (Zoom In / Zoom Out) 6) มีระบบการจดจาคาสั่งที่พิมพ์ไปแล้ว หรือแก้ไขไป ได้อย่างละเอียด ทุกคาสั่ง ทกุ ตัวอักษร 7) สามารถโหลดปลั๊กอินเสริม เพ่ือการใช้งานเฉพาะทางได้หลากหลาย พร้อมระบบอัพเดทปลก๊ั อินอัตโนมัติ 2.1.1.2 ตวั อยา่ งการประยุกตใ์ ช้ Notepad โปรแกรม Notepad สามารถประยุกต์ใช้ทางาน ดังนี้ 1) ใช้ในการคัดลอกข้อความจากหน้าเว็บใส่ Microsoft Word บางคร้ัง ตัวอักษรที่คัดลอกมาจากหน้าเว็บมีหลายสี หากคัดลอกข้อความท่ี ต้องการท้ังหมดแล้วนาไปวางใน Notepad โปรแกรมจะเปล่ียนท้ังสี ตวั อกั ษร ขนาด ฟ้อนต์ ให้เป็นเหมือนกันทั้งหมดรวมถึงการลบรูปออก ด้วย แล้วคัดลอกข้อความใน Notepad ไปใส่ใน Microsoft Word ขอ้ ความก็จะเหมือนกัน ทั้งสีตัวอกั ษร ขนาด ฟอ้ นต์ 2) สามารถเก็บงานไว้ใช้ในการพิมพ์กับเครื่องพิมพ์อื่นๆโดยคัดลอกใส่ Notepad ไว้ สามารถแก้ปญั หาเร่ืองฟ้อนต์ท่ีไม่มีในคอมพิวเตอร์เคร่ือง อ่นื ๆไดร้ วมท้งั การทเ่ี ครอื่ งอน่ื ไม่มีโปรแกรม Word ดว้ ย 3) ใช้ได้แทนกระดาษจดบันทึก พิมพ์ข้อความแล้วย่อหน้าให้เล็กลง สามารถใช้แทนกระดาษจดบันทกึ 4) ใช้ในการเก็บขอ้ ความลบั ได้ โดย Save เป็นสุกลไฟล์อ่ืน เช่น .zip .rar เป็นต้น ทาใหค้ นทไี่ มร่ วู้ ธิ เี ปดิ ไม่สามารถเปดิ อา่ นได้ วิธีเปิดก็คลิกขวา > Open With > Notepad ก็สามารถเปดิ อ่านไดเ้ หมอื นเดมิ การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

7 2.1.2 Microsoft office ในการใช้งานดา้ นเอกสารผู้ใช้สว่ นใหญ่มกั ใช้โปรแกรม Microsoft Office ในการทางาน อาจ เป็นเพราะว่าโปรกรม Microsoft Office สามารถใช้งานง่ายและมีประสิทธิภาพสูง โปรแกรมต่างๆใน Microsoft Office มีโครงสร้างและวิธีการใช้งานคล้ายๆกัน ดังน้ันเมื่อเข้าใจโปรแกรมใดโปรแกรมหน่ึงใน Microsoft Office ก็จะช่วยลดเวลาในการเรียนรู้โปรแกรมอื่นๆ ได้เป็นอย่างดี ซ่ึงเกี่ยวข้องกับการสร้างและ ผลติ ขอ้ ความดิจิทลั เป็นพืน้ ฐาน 2.1.2.1 องคป์ ระกอบ Microsoft office Microsoft office มีองค์ประกอบพื้นฐาน ที่ส่งเสริมการใช้งานเกี่ยวกับการสร้าง ขอ้ ความมากมาย ด้วยเป็นโปรแกรมท่ีสร้างข้ึนมาเพื่อตอบสนองการใช้งานด้านเอกสารโดยเฉพาะ ซ่ึงสามารถ สรปุ องค์ประกอบสาคัญๆเก่ียวกับการสร้างข้อความได้ดงั นี้ (ความรพู้ นื้ ฐานไมโครซอฟทเ์ วิร์ด, 2011) 1) มรี ะบบอัตโนมัติต่างๆ ท่ีช่วยในการทางานสร้างข้อความดิจิทัลให้ สะดวกข้ึน เช่น การตรวจคาสะกด การตรวจสอบไวยากรณ์ การ ใสข่ ้อความอตั โนมตั ิ เปน็ ต้น 2) สามารถ สรา้ งตารางที่สลบั ซบั ซ้อนยา่ งไรกไ็ ด้ 3) สามารถใช้สร้างจดหมายได้อย่างรวดเร็ว โดยสามารถกาหนดให้ ผ้วู เิ ศษ (Wizard) ใน Word สรา้ งแบบฟอร์มของจดหมายได้หลาย รูปแบบตามต้องการ 4) ตกแต่งเอกสารได้ง่ายและรวดเร็ว สามารถตกแต่งเอกสารหรือ เพื่อความสะดวกจะให้ Word ตกแต่งให้ก็ได้ โดยที่สามารถเป็นผู้ กาหนดรูปแบบของเอกสารเอง 5) สามารถแทรกรูปภาพ กราฟ หรอื ผงั องคก์ รลงในเอกสารได้ 6) เป็นโปรแกรมที่ทางานบนวินโดว์ คุณสมบัติต่างๆของวินโดว์จะมี อยู่ใน Microsoft office ด้วย เช่น สามารถย่อขยายขนาด หน้าต่างได้ ใช้รูปแบบอักษรท่ีมอี ย่มู ากมายในวินโดว์ได้ 7) ความสามารถในการเชื่อมต่อกับโปรแกรมอื่นๆในชุดโปรแกรม Microsoft Office สามารถโอนย้ายข้อมูลต่างๆระหว่างโปรแกรม ได้ เช่น สามารถดึงข้อมูลใน Excel มาใสใ่ น Word ได้ 8) มีผู้ช่วยเหลอื ทม่ี ชี ื่อว่า \" Office Assistance\" เพอื่ การใช้งาน 9) ใช้ในงานข้อความเกี่ยวกับการคานวนและตาราง เช่น Excel ใช้ เพือ่ งานนาเสนอ presentation เชน่ Power point 2.1.2.2 สัญญลักษณพ์ ้นื ฐาน Microsoft office การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

8 การสรา้ งขอ้ ความดว้ ย Microsoft office สามารถทาไดง้ า่ ย ด้วยการใช้เคร่ืองมือบน โปรแกรม ซึ่งสว่ นใหญป่ รากฏบนแถบเมนู (Menu bar) โดยสัญลกั ษณพ์ น้ื ฐานในการทางานแสดงไว้ดังตารางท่ี 3.1 ตารางที่ 3.1 แสดงสัญลกั ษณพ์ น้ื ฐานในชดุ โปรแกม Microsoft Office เพอ่ื งานสรา้ งข้อความดิจิทัล สญั ลกั ษณ์ ชือ่ ความหมาย File New สรา้ งเอกสารใหมโ่ ดยใช้แบบเอกสารปกติ File Open เปดิ เอกสารหรือแบบเอกสารทม่ี อี ยู่แล้ว File Save บนั ทึกเอกสารหรือแบบเอกสารปัจจุบนั File Print พิมพเ์ อกสารปัจจุบนั โดยใช้คา่ ท่ีตงั้ ไว้ Print Preview แสดงเอกสารเต็มหนา้ เหมอื นตอนพิมพ์ Tools Spelling ตรวจคาสะกดในเอกสารปจั จบุ นั Edit Cut ตดั ส่วนท่ีทาแถบสไี วแ้ ละวางไวบ้ นคลิปบอรด์ Edit Copy คดั ลอกสว่ นท่แี ถบสไี วแ้ ละวางไว้บนคลิปบอร์ด Edit Paste แทรกเน้อื หาของคลปิ บอรด์ ท่จี ัดแทรก Edit Painter คัดลอกรปู แบบของสว่ นที่แถบสีไวไ้ ปไว้ที่ตาแหน่งที่ระบุ Edit Undo กลับการกระทาสดุ ท้าย Edit Redo ทาการทางานหลงั สดุ ซ่งึ ถกู ยกเลกิ การกระทา Insert Table แทรกตาราง Columns เปลย่ี นคอลมั นข์ องตอนทเี่ ลอื กไว้ Show/Hide แสดงหรือซ่อนสญั ลักษณ์ในการจดั เอกสาร Zoom Control ย่อ-ขยายจอภาพ Help แสดงวิธีใช้คาสงั่ หรือตรวจสอบรปู แบบของขอ้ ความ Style จัดรูปแบบดงั ท่ีมอี ยแู่ ลว้ หรือรูปแบบข้อความตามตวั อยา่ ง Font เปลีย่ นประเภทตัวอกั ษรของสว่ นที่แถบสไี ว้ Font Size เปลยี่ นบนาดตวั อกั ษรของสว่ นทแ่ี ถบสีไว Bold ทาหรอื ยกเลกิ รูปแบบตัวอักษรส่วนท่แี ถบสไี ว้ให้เป็นตัวหนา Italic ทาหรือยกเลกิ รูปแบบตัวอกั ษรส่วนที่แถบสีไว้ให้เป็นตัวเอียง Underline ทาหรอื ยกเลิกรปู แบบตวั อักษรสว่ นท่ที าแถบสีไวเ้ ป็นขดี เส้นใต้ Align Left จดั เรยี งข้อความทีท่ าแถบสีไวใ้ หอ้ ยชู่ ิดขอบซา้ ยของบรรทัด Center จดั เรียงขอ้ ความที่ทาแถบสไี วใ้ ห้อยู่กง่ึ กลางบรรทดั Align Right จัดเรียงขอ้ ความที่มาแถบสีไวใ้ หอ้ ยชู่ ดิ ขอบขวาของบรรทัด การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

9 สญั ลักษณ์ ชือ่ ความหมาย Justify จดั เรียงขอ้ ความท่ที าแถบสไี ว้ให้อยู่ชดิ ขอบซ้ายและขอบขวา Numbering ใสเ่ ลขหน้าข้อความท่ีทาแถบสีไว้ Bullets ใส่เครือ่ งหมายหน้าข้อความที่ทาแถบสีไว้ Decrease ลดระยะเยื้องของข้อความท่ีทาแถบสีไว้ Indent Increase Indent เพิ่มระยะเยื้องของขอ้ ความท่ีทาแถบสีไว้ Border แสดงหรอื ซอ่ นแถบเคร่อื งมอื เสน้ ขอบ Normal View เปลย่ี นมมุ มองเป็นมมุ มองปกติ Page Layout เปลยี่ นมุมมองเป็นมมุ มองเคา้ โครงออนไลน์ View Outline View เปล่ียนมมุ มองเปน็ มุมมองเหมือนพิมพ์ ท่มี า : ฟิสกิ ส์ ฌอณ บวั กนก (2555) 2.2 สรา้ งขอ้ ความดิจิทัลจากโปรแกรมตกแต่งภาพ การสร้างข้อความดิจิทัล สามารถสร้างได้จากโปรแกรมตกแต่งภาพ เช่น Photoshop หรือ Illustrator ซ่ึงเป็นโปรแกรมที่มีเมนูการเขียนข้อความเพ่ือประกอบในการทางานตกแต่งภาพ โดยการใช้ โปรแกรมประเภทน้ีจะมีรูปแบบที่หลากหลายมากกว่าการพิมพ์ข้อความท่ีเกิดจาก Microsoft office หรือ Notepad แต่การสร้างข้อความจากโปรแกรมตกแต่งภาพจาเป็นต้องมีความรู้เก่ียวกับการใช้งานและมี จินตนาการเพ่ือสร้างสรรค์ข้อความตามความคิดเพราะไม่มีรูปแบบตายตัวเหมือน Microsoft office หรือ Notepad ซ่ึงลักษณะการใชง้ านในการสรา้ งขอ้ ความด้วยโปรแกรมตกแตง่ ภาพดังตวั อยา่ งในภาพท่ี 3.7 การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

10 ภาพท่ี 3.7 แสดงขอ้ ความจากการสรา้ งดว้ ยโปรแกรมตกแต่งภาพ Photoshop ทม่ี า : ฟิสิกส์ ฌอณ บัวกนก (2556) 2.2.1 การใชงานโปรแกรม Photoshop แม้โปรแกรม Photoshop จะมีมากมายหลากหลาย version ทว่าแต่ละ version พ้ืนฐาน การทางานก็ไม่ต่างกัน สาเหตุที่ Photoshop ถูกพัฒนาให้มีหลายversion เพื่อวัตถุประสงค์การทางานด้วย ฟังช่ันย่อยบางอย่างมีการปรับแก้ให้พิเศษข้ึนเท่าน้ัน เช่นนี้ หากสามารถใช้งาน version อย่างใดอย่างหนึ่งก็ สามารถใช้ version อ่นื ๆได้ ในบทน้ีจะยกตัวอย่างการใช้งาน Photoshop CS6 โดยโปรแกรม Photoshopมี ลักษณะหน้าจอ และสวนประกอบหนาจอโปรแกรม ดงั ภาพที่ 3.8 2.2.1.1 Menu Bar 2.2.1.3 Options Bar 2.2.1.2. Toolbox ภาพที่ 3.8 แสดงหนาจอโปรแกรม Photoshop CS6 2.2.1.4. Palette ท่มี า : ฟสิ กิ ส์ ฌอณ บวั กนก (2556) 2.2.1.1 เมนูหลัก (Menu Bar) จะประกอบดวยกลุมคาส่ังตางๆ ที่ใชจัดการกับไฟล, ทางานกับรูปภาพ และใชปรับแตงการทางานของโปรแกรมโดยแบงตามลักษณะการใชงาน ซ่ึงในบางเมนูหลัก จะมีเมนูยอย ซอนอยู ซึ่งเราตองเปดเขาไปเพ่ือเลือกคาสั่งภายในอีกที เมนูหลักก็จะประกอบด้วย File, Edit, Image, Layer, Select, Filter, View, Window, Help 1) File หมายถึง คาสงั่ เก่ยี วกบั การจดั เกบ็ และเรยี กใชไ้ ฟล์ตา่ งๆ 2) Edit หมายถึง คาสั่งเก่ียวกับการแก้ไขลักษณะของรูปภาพและ Image ต่างๆ การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

11 3) Image หมายถึง คาส่ังการจัดการรูปภาพต่างๆ เช่น การเปล่ียนสี และการเปล่ยี นขนาด 4) Layer หมายถึง ชั้นหรือลาดับของรูปภาพและวัตถุท่ีเราต้องการ จะทา Effects 5) Select เป็นคาสั่งการเลือกพื้นที่หรือส่วนต่างๆ ของรูปภาพและ วตั ถุในการท่จี ะเลน่ Effects 6) Filter เปน็ คาส่งั การเล่น Effects ตา่ งๆส าหรับรปู ภาพและวัตถุ 7) View เป็นคาสั่งเก่ียวกับมุมมองของภาพและวัตถุในลักษณะต่างๆ เชน่ การขยายภาพ และยอ่ ภาพใหด้ ูเลก็ 8) Window เปน็ ส่วนคาส่ังในการเลือกใช้อุปกรณ์เสริมต่างๆท่ีจาเป็น ในการใชส้ รา้ ง Effects 9) Help เป็นคาสั่งเพ่ือแนะนาเก่ียวกับการใช้โปรแกรมฯและจะมี รายละเอียดของโปรแกรม 2.2.1.2 แถบเครื่องมือ (Toolbox) จะประกอบดวยเคร่ืองมือตางๆ ที่ใชในการวาด ตกแตง และแกไขภาพ เครื่องมือเหลานี้มีจานวนมาก ดังนั้นจึงมีการรวบรวมเคร่ืองมือท่ีทาหนาท่ีคลายๆ กัน ไวในปุมเดียวกนั 2.2.1.3 แถบตัวเลือก (Option Bar) เปนสวนที่ใชปรับแตงคาการทางานของ เครอ่ื งมือตางๆ โดยรายละเอียด ใน Option Bar จะเปลีย่ นไปตามเคร่อื งมอื ท่คี ุณเลือกใช 2.2.1.4 Palettes คือสว่ นท่ีใชต้ รวจสอบและกาหนดคณุ สมบัติต่างๆ ให้กับรูปภาพ 2.2.2 การพมิ พต์ ัวอกั ษรหรือขอ้ ความ เครื่องมือท่ีใช้สร้างตัวอักษรหรือข้อความคือเครื่องมือในกลุ่ม Type โดยมีการจัดทิศทางการ สรา้ งข้อความไว้ 4 ทิศทาง ซี่งมีรายละเอียดและหน้าตา่ งการใชง้ านดงั ภาพท่ี 3.9 2.2.2.1 Horizontal Type : ใชพ้ ิมพ์ขอ้ ความแนวนอน 2.2.2.2 Vertical Type : ใชพ้ ิมพข์ อ้ ความแนวตง้ั 2.2.2.3 Horizontal Type Mask : ใชส้ ร้าง Selection ใหพ้ ิมพข์ ้อความแนวนอน 2.2.2.4 Vertical Type Mask : ใช้สร้าง Selection ให้พมิ พ์ข้อความในแนวตั้ง การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

12 ภาพที่ 3.9 แสดงเคร่อื งมอื ในกลมุ่ Type ท่ีมา : ฟิสกิ ส์ ฌอณ บวั กนก (2556) 2.2.3 ขั้นตอนในการสร้างตวั อกั ษรหรือข้อความ การพิมพ์ข้อความตามทิศทางทั้ง 4 ทิศทางสามารถทาได้โดยการคล๊ิกเลือกทิศทางท่ี ตอ้ งการ โดยจะยกตวั อยา่ งการสรา้ งขอ้ ความในแนวนอน ดังนี้ 2.2.3.1 เลอื กเคร่อื งมือ Horizontal Type จาก Toolbox 2.2.3.2 คลิกตรงบรเิ วณทต่ี อ้ งการวางข้อความ 2.2.3.3 พิมพ์ขอ้ ความตามตอ้ งการ 2.2.3.4 ปรับแต่งข้อความจาก Options Bar, Character, Paragraph Palette ลักษณะของข้อความก็จะเป็นไปในทิศทางแนวนวน ดังภาพท่ี 3.10 ซ่ึงหากเลือก ทิศทางใดในการสร้างขอ้ ความ ตวั อกั ษรทปี่ รากฏกจ็ ะเปน็ ไปในทิศทางท่ีเลือก ภาพที่ 3.10 แสดงการใช้เคร่อื งมือ Horizontal Type ทมี่ า : ฟสิ ิกส์ ฌอณ บัวกนก (2556) 2.2.4 ขัน้ ตอนในการพิมพ์ตวั อกั ษรหรอื ข้อความตามเสน้ Path การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

13 การสร้างตัวอักษรในโปรแกรมตกแต่งภาพ สามารถสร้างทิศทางของตัวอักษรได้นอกเหนือ แนวตั้งและแนวนอน โดยสามารถสร้างได้ไม่จากัดทิศทางเพ่ือตอบสนองการใช้งานตกแต่งภาพท่ีออกแบบไว้ ตามจินตนาการ โดยใช้เครอื่ งมือการพิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความตามเส้น Path เพ่ือให้ได้ทิศทางที่ไม่จากัด ซ่ึง มีข้ันตอนการเลอื กใชง้ าน ดังนี้ 2.2.4.1 เลือกเครือ่ งมือ Pen จาก Toolbox 2.2.4.2 วาดเส้น Path เปน็ เสน้ โค้ง หรือ รปู ทรงอสิ ระ 2.2.4.3 เลือกเคร่ืองมือ Horizontal Type 2.2.4.4 คลกิ บนเส้น Path ตรงตาแหนง่ ทจ่ี ะเร่มิ พมิ พ์ 2.2.4.5 กาหนดลกั ษณะของตวั อักษร เชน่ ชนิด ขนาด จาก Options Bar 2.2.4.6 พมิ พ์ข้อความตามต้องการ เมอ่ื ทาตามขัน้ ตอนก็จะไดต้ ัวอักษรทเี่ รยี งไปตามเสน้ path ดงั ตวั อยา่ งในภาพท่ี 3.11 ภาพท่ี 3.11 แสดงขอ้ ความตามเสน้ Path ที่มา : ฟิสิกส์ ฌอณ บัวกนก (2556) 2.2.5 เคร่ืองมอื Pen ในการใช้วาดเส้น Path เครอ่ื งมอื Pen ท่ใี ชเ้ พ่อื การวาดเส้น path น่ัน มีรายละเอียดของฟั่งชั่น อยู่ 5 แบบ ซ่ึงแสดง ดังภาพท่ี 3.12 และมีการใชง้ านดังนี้ 2.2.5.1 Pen : ใช้วาดเสน้ Path ด้วยวธิ ีคลกิ เพื่อกาหนดจุดตาแหน่ง 2.2.5.2 Freeform Pen : ใช้วาดเส้น Path ดว้ ยวธิ ีคลกิ ลากเมาสแ์ บบอิสระ 2.2.5.3 Add Anchor Point : ใชเ้ พมิ่ จุด 2.2.5.4 Delete Anchor Point : ใช้ลบจดุ 2.2.5.5 Convert Point : ใช้เปลี่ยนจส่วนโคง้ เป็นมุม หรอื กลบั กนั การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

14 ภาพท่ี 3.12 แสดงรายละเอียดเครอ่ื งมือ Pen ทม่ี า : ฟิสกิ ส์ ฌอณ บัวกนก (2556) 2.2.6 ขนั้ ตอนในการใช้เสน้ Path ในการข้นึ โครงตวั อกั ษร ในบางครง้ั หากต้องการสรา้ งสรรคต์ วั อักษรให้มีรูปแบบท่ีแปลกและไม่เหมือนใคร สามารถใช้ เสน้ path ในการวางโครงตัวอกั ษร กอ่ น ซง่ึ มีขนั้ ตอนตา่ งๆด้านลา่ ง และตัวอย่างดงั ภาพที่ 3.14 2.2.6.1 เลอื กเครื่องมือ Pen จาก Toolbox 2.2.6.2 คลิกบนพ้ืนท่ีของภาพเป็นจุดหลายๆจุด เพ่ือใช้ในการสร้างภาพข้ึนมา วน กลับมาถงึ จุดเร่มิ ตน้ เป็นการสรา้ งเส้น Path แบบปิด 2.2.6.3 เลือกเคร่ืองมือ Add Anchor Point เมื่อต้องการเพิ่มจุด เพื่อปรับลักษณะ ของภาพท่ีวาด 2.2.6.4 เลือกเคร่ืองมือ Delete Anchor Point เมือ่ ตอ้ งการลบจุด เพือ่ ปรับ ลักษณะของภาพทวี่ าด ภาพที่ 3.13 แสดงการใช้เส้น Path กาหนดรูปร่างตัวอักษร การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

15 ทม่ี า : ฟิสกิ ส์ ฌอณ บวั กนก (2556) 2.2.7 การวาดและตกแต่งขอ้ ความดว้ ยเคร่ืองมือ Brush และ Pencil หากผู้สร้างข้อความไม่ต้องการท่ีจะใช้ตัวพิมพ์ท่ีโปรแกรมตกแต่งภาพที่กาหนดไว้ให้ ก็ สามารถออกแบบตัวอักษรได้ด้วยเคร่ืองมือ Brush และ Pencil ใช้ในการเขียนได้อย่างอิสระ ซ่ึงตัวอักษรที่ เกดิ ขน้ึ จะเป็นไปตามผู้สรา้ งไดค้ ดิ ข้นึ ทงั้ รูปแบบ ขนาด และทิศทาง ไร้ขีดจากัด ซ่ึงมีข้ันตอนในการวาดรูปด้วย เคร่ืองมอื Brush และตัวอยา่ งตวั อักษรท่เี กิดข้นึ ดงั ภาพที่ 3.12 ดงั นี้ 2.2.7.1 เลือกเครอ่ื งมอื Brush หรอื Pencil จาก Toolbox 2.2.7.2 คลกิ เลือกสขี องหวั แปรง หรอื ลกั ษณะของหวั แปรงได้จาก Brush Palette 2.2.7.3 วาดหรือระบายสบี นพืน้ ท่ภี าพตามตอ้ งการ ภาพท่ี 3.14 แสดงการวาดและตกแตง่ ขอ้ ความ ทมี่ า : ฟสิ กิ ส์ ฌอณ บวั กนก (2556) 2.2.8 การเลือกสีเพือ่ ตกแตง่ อักษรหรือขอ้ ความทีส่ รา้ งข้ึน ในการทางานข้อความ สีก็เป็นปัจจัยสาคัญในการทางาน อาจจะใช้ในการสร้างการรับรู้ หรือ สร้างความสนใจ แต่ก็เป็นปัจจัยท่ีส่งผลต่อการส่ือสารผ่านข้อความ ในการสร้างข้อความด้วยโปรแกรมตกแต่ง ภาพ ทุกเครื่องมือในโปรแกรมสามารถกาหนดสีได้ตามต้องการ สามารถศึกษาขั้นตอนการเลือกใช้สี และดู ตัวอย่างดงั ภาพที่ 3.15 ƒ 2.2.8.1 สี Foreground และ Background เป็นสว่ นเลือกสีให้กับอุปกรณ์ต่างๆการ เลือกสีForeground/Backgroundทาไดโ้ ดยใช้เคร่อื งมือบนToolbox ƒ 2.2.8.2 วิธกี ารเปลี่ยนสขี อง Foreground และ Background 1) คลิกทีช่ อ่ งสี Foreground หรือ Background บน Toolbox การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

16 2) จะแสดง Dialog Box Color Picker 3) คลิกเลอื กตรงสีทต่ี อ้ งการ 4) คลกิ ปุ่ม Ok ภาพที่ 3.15 แสดงการเลือกสเี พื่อตกแตง่ อักษร ที่มา : ฟิสกิ ส์ ฌอณ บัวกนก (2556) 2.2.9 Color Palette ขั้นตอนในการใช้สีใน Color Palette เป็นอีกวิธีท่ีสามารถเลือกสีเพ่ือใช้งานสร้างข้อความใน โปรแกรมตกแต่งภาพได้ ซึ่งหน้าต่างการใช้ Color Palette เป็นดังตัวอย่างภาพที่ 3.16 และมีข้ันตอน การ เลอื กใชง้ าน ดงั น้ี 2.2.9.1 คลิกเลือกว่าต้องการเปลี่ยนสี Foreground หรอื Background 2.2.9.2 คลกิ เลือกสที ่ีตอ้ งการ ภาพที่ 3.16 แสดงการเปิด / ปิด Color Palette ทาได้โดยเลือกคาสง่ั Window > color ทีม่ า : ฟิสกิ ส์ ฌอณ บวั กนก (2556) 2.2.10 Swatches Palette การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

17 Swatches Palette เป็น Palette ที่ใช้สาหรับเกบ็ สีต่างๆที่ตอ้ งใช้บ่อยๆ เพ่ือให้เรียกกลับมา ใชง้ านไดส้ ะดวก ข้ันตอนในการใช้สใี น Swatches Palette มีดงั นี้ 2.2.10.1 คลิกเลอื กว่าตอ้ งการเปลยี่ นสี Foreground หรอื Background 2.2.10.2 คลิกเลือกสีท่ีตอ้ งการ ซึง่ สตี า่ งๆมใี ห้เลอื กมีมากมาย แสดงดังภาพที่ 3.17 ภาพท่ี 3.17 แสดง Swatches Palette ท่ีมา : ฟสิ ิกส์ ฌอณ บวั กนก (2556) 2.2.11 Palette สาหรบั การปรับแต่งตวั อักษร มี 2 Palette คอื 2.2.11.1 Character Palette (ภาพที่ 3.18) ประกอบด้วย Options ต่างๆ ท่ีใช้ จัดรูปแบบตวั อักษร เชน่ ชนิดตวั อกั ษร ลกั ษณะตัวอักษร ขนาดตวั อักษร เปน็ ตน้ ภาพท่ี 3.18 แสดง Palette สาหรับการปรับแต่งตัวอักษร ที่มา : ฟสิ กิ ส์ ฌอณ บัวกนก (2556) 2.2.11.2 Paragraph Palette (ภาพท่ี 3.19) ประกอบด้วย Options ต่างๆ ที่ใช้ใน การจัดตาแหน่งของขอ้ ความเชน่ ชิดซา้ ย ตรงกลาง ชดิ ขวา เต็มขอบ เป็นต้น การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

18 ภาพที่ 3.19 แสดง Paragraph ทมี่ า : ฟิสิกส์ ฌอณ บัวกนก (2556) 2.3 สร้างขอ้ ความจากการแสกน การสร้างข้อความโดยการแสกน ต้องอาศัยอุปกรณ์ท่ีเรียกว่า สแกนเนอร์ (Scanner) ซึ่งเป็นเคร่ือง อ่านภาพ จะทาการอ่านข้อความบนเอกสารโดยอาศัยการสะท้อน หรือการส่องผ่านของแสง กับเอกสาร ต้นฉบับท่ีทึบแสง หรือโปร่งแสง ให้ตกกระทบกับ แถบของอุปกรณ์ไวแสง (Photosensitive) ซึ่งมีชื่อในทาง เทคนิคว่า Charge-Couple Device (CCD) (สแกนเนอร์, 2010). ตัว CCD จะรับแสงดังกล่าวลงไปเก็บไว้ใน เส้นเล็กของเซล และจะแปลงคล่ืนแสง ของแต่ละเซลเล็กๆ ให้กลายเป็นคล่ืนความต่างศักย์ ซึ่งจะแตกต่างไป ตามอัตราส่วน ของระดับความเข้มของแสงแต่ละจุด ตัวแปลงสัญญาณอะนาล็อก เป็นดิจิทัล (Analog to Digital Convertor) จะแปลงคลนื่ ความตา่ งศกั ย์ ใหเ้ ป็นขอ้ มูล ในรูปแบบทคี่ อมพิวเตอร์เข้าใจ ในเวลาเดียวกัน โปรแกรมในการอา่ น จะควบคุมการทางาน ของเครอื่ งอา่ นภาพ ให้รบั ข้อมูลเข้า และจัดรูปแบบเป็นแฟ้มข้อมูล ในลกั ษณะรปู ภาพ ในระบบคอมพิวเตอร์ต่อไป รูปภาพข้อมูล จะอยู่ในรูปแบบดิจิทัล เรียกว่า พิกเซล (Pixels) ขนาดของไฟล์รูปภาพ จะประกอบด้วย จานวนพิกเซลเป็นร้อยเป็นพัน คอมพิวเตอร์จะบันทึก ค่าความเข้ม และค่าสีของพิกเซลแต่ละพิกเซล ด้วยจานวน 1 บิต หรือหลายๆ บิต จานวนของพิกเซล จะเป็นตัวแสดงถึง ความละเอียด และถ้ามจี านวนบิตตอ่ พกิ เซลมาก สีท่ไี ด้ก็จะมากตามไปดว้ ย 2.3.1 ชนิดของเคร่ืองสแกนเนอร์ ชนิดของสแกนเนอรส์ ามารถจัดแบง่ ตามลักษณะวสั ดทุ ่ีใชส้ แกนได้ 2 ชนดิ คอื 2.3.1.1 Flatbed scanners ใชส้ แกนภาพถ่ายหรือภาพพมิ พ์ต่าง ๆ 2.3.1.2 Slide scanners ใช้สาหรับสแกนโลหะโปร่ง เช่น ฟลิ ม์ และ สไลด์ 2.3.2 การทางานของสแกนเนอร์ การจบั ภาพของสแกนเนอร์ ทาโดยฉายแสงบนเอกสารทจ่ี ะสแกน แสงจะผ่านกลับไปมาและ ภาพ จะถูกจับโดยเซลลท์ ไ่ี วต่อแสง เรยี กว่า charge-couple device หรือ CCD ทมี่ ืดบน กระดาษจะสะทอ้ น แสงไดน้ ้อยและพน้ื ท่ีท่สี ว่างบนกระดาษจะสะท้อนแสงไดม้ ากกว่า CCD จะสบื หาปรมิ าณแสงท่สี ะทอ้ นกลบั การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

19 จากแต่ละพนื้ ที่ของภาพน้ัน และเปลย่ี นคล่นื ของแสงทส่ี ะท้อน กลบั มาเป็นข้อมลู ดิจิทัล หลังจากน้นั ซอฟต์แวร์ ที่ใชส้ าหรับการสแกนภาพก็จะแปลงเอาสัญญาณเหล่านนั้ กลับมาเป็นภาพ บนคอมพิวเตอรอ์ ีกทีหน่งึ 2.3.3 สิ่งทจ่ี าเป็นสาหรับการสแกนภาพ มดี งั น้ี 2.3.3.1 สแกนเนอร์ 2.3.3.1 สาย SCSI สาหรับตอ่ จากสแกนเนอรไ์ ปยงั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ 2.3.3.2 ซอฟตแ์ วรส์ าหรบั การสแกน ซ่งึ ทาหนา้ ทค่ี วบคุมการทางานของสแกนเนอร์ 2.3.3.3 จอภาพที่เหมาะสมสาหรับการแสดงภาพทีส่ แกนมาจากสแกนเนอร์ 2.3.3.4 เครือ่ งมือสาหรบั พมิ พ์ภาพที่สแกน เช่น เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ เปน็ ตน้ 2.3.4 ประเภทของภาพที่เกิดจากการสแกน แบ่งเปน็ ประเภทดังนี้ 2.3.4.1 ภาพ Single Bit เป็นภาพทมี่ คี วามหยาบมากท่ีสดุ ใช้พ้นื ที่ในการเกบ็ ข้อมูล น้อยทสี่ ดุ ซงึ่ ไมน่ ิยมนามาใชป้ ระโยชน์เพราะไมค่ มชดั แตข่ ้อดีของภาพ ประเภทน้ีคือ ใช้ทรัพยากรของเคร่ืองน้อยที่สดุ ใชพ้ ้นื ท่ี ในการเก็บข้อมูล นอ้ ยทส่ี ดุ ใช้ระยะเวลาในการสแกนภาพน้อยที่สดุ Single-bit แบง่ ได้คอื 1) Line Art ไดแ้ กภ่ าพท่ีมีสว่ นประกอบเป็นภาพขาวดา ตวั อย่าง ของภาพ ได้แก่ ภาพจากการสเก็ต (Sketch) 2) Halftone ภาพพวกนี้ให้สีทเี่ ป็นโทนสเี ทามากกว่า แต่ยัง ถูกจดั เปน็ ภาพปSingle-bit เนื่องจาก เ ป็ น ภ า พ ห ย า บ ๆ 2.3.4.2 ภาพ Gray Scale ภาพประเภทน้ีจะมีส่วนประกอบมากกว่าภาพขาวดา โดยจะประกอบด้วยเฉดสีเทาเป็นลาดับข้ัน ทาให้เห็นรายละเอียดด้านแสง เงา ความชัดลึกมากขึ้นกว่าเดิม ภาพพวกนี้แต่ละพิกเซลหรือแต่ละจุดของ ภาพอาจประกอบด้วยจานวนบิตมากข้ึนต้องการพื้นท่ีเก็บข้อมูลมากขึ้น 2.3.4.3 ภาพสี หนึ่งพกิ เซลของภาพสีประกอบด้วยจานวนบิตมหาศาล และใช้พ้ืนท่ี เก็บข้อมูลมาก ความสามารถในการสแกนภาพให้ละเอียดขึ้นอยู่กับการใช้ สแกนเนอร์ว่าผู้ใช้ได้มีการกาหนดขนาดของความละเอียดเป็นเท่าไร 2.3.4.4 ตัวหนังสอื ไดแ้ ก่ เอกสารต่างๆ เช่น ต้องการเก็บเอกสารโดยไม่ต้องพิมพ์ลง ในแฟ้มเอกสารของเวริ ด์ โปรเซสเซอร์ กส็ ามารถใชส้ แกนเนอรส์ แกน เอกสาร และเก็บไวเ้ ป็นแฟ้มเอกสารได้ 2.3.5 วิธีการสแกนภาพหรอื เอกสาร เรม่ิ จากการลงโปรแกรมสแกนที่มาพร้อมกบั เคร่อื ง สแกนเนอรเ์ พื่อเชอื่ มต่อการทางานกับเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ แคน่ ้ีกส็ ามารถใช้งาน ได้ทันที หรือ เลือกใช้โปรแกรม Paint สาหรับการสแกนก็ได้ ซึ่งมรี ายละเอยี ดดังน้ี 2.3.5.1 การสแกนรูป/เอกสารต่างๆ โดยใช้โปรแกรม Paint จะมีความสะดวกและ งา่ ยเพราะจะต่อเคร่ืองปริ้นเตอร์ หรือเคร่ืองสแกนย่ีห้อใดๆก็ได้ โดยไม่ต้อง ใช้โปรแกรมสแกนเฉพาะยห่ี ้อ แต่ตอ้ งลง ไดเวอร์ เครอื่ งสแกนนน้ั ๆก่อน 2.3.5.2 เมือ่ ลงไดเวอร์ เคร่ืองสแกนแลว้ กส็ ามารถเปดิ ใชง้ าน โปรแกรม Paint การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

20 2.3.5.3 ไปท่ี start–>Accessories –> Paint ตามภาพท่ี 3.20 ภาพที่ 3.20 แสดงการเปิดเมนู Paint ทม่ี า : ฟสิ ิกส์ ฌอณ บัวกนก (2556) 2.3.5.4 หนา้ ตาโปรแกรม จะเปน็ ตามภาพที่ 3.21 หลงั จากเปิดหน้าต่างโปรแกรม ภาพท่ี 3.21 แสดงหนา้ ตาโปรแกรม Paint การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

21 ท่มี า : ฟสิ กิ ส์ ฌอณ บวั กนก (2556) 2.3.5.5 ไปที่ File-> From Scanner or Camera ดงั ภาพท่ี 3.22 ภาพท่ี 3.22 แสดงการเปิดใช้งานสแกน ทม่ี า : ฟิสิกส์ ฌอณ บัวกนก (2556) 2.3.5.6 เลือกการสแกน 2.3.5.7 รอให้เครอ่ื งทาการสแกนเอกสาร 2.3.5.8 เซพรูปลงเคร่อื ง โดยไปที่ File –> Save As 2.3.5.9 เลือกโฟลเดอร์เพื่อเกบ็ รูป กด Save 2.3.6 ตาแหนง่ การบันทึก หลังจากทาการแสกนข้อมูลเสร็จส้ิน สามารถเก็บข้อมูลการแสกน ไวย้ ังตาแหน่งตา่ งๆขน้ึ อยูก่ ับความสะดวกในการใช้งาน โดยตาแหนง่ การบันทึกมีดงั นี้ 2.3.6.1 Scan to E-mail เลือก \"Scan to E-mail\" บนแผงควบคุมของเคร่ืองพิมพ์ และเอกสารที่ถูกสแกนจะถูกส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ อีเมล์จะถูกสร้าง ขนึ้ มาใหม่โดยอัตโนมัตโิ ดยมีเอกสารทส่ี แกนเป็นไฟล์แนบ 2.3.6.2 Scan to OCR ซ่งึ จะเปลี่ยนข้อมูลภาพเป็น ข้อมูลอักษร 2.3.6.3 Scan to image สแกนขอ้ มูลไปยังแอพพลิเคชัน่ ซง่ึ แอพพลิเคช่นั ท่ี รองรับประกอบไปดว้ ย Acrobat, Adobe, Photoshop, Paint และอน่ื ๆ 2.3.6.4 Scan to USB การสแกนไปยัง USB จะช่วยให้ท่านสามารถสแกนเอกสาร ไปยังอุปกรณ์หน่วยความจา USB ได้โดยตรงโดยไม่จาเป็นต้องเปิดเคร่ือง คอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายความว่าท่านสามารถสร้างสาเนาเอกสารดิจิทัลได้ ในทนั ที รวมถงึ บนั ทึกการประชมุ ทเ่ี ขยี นด้วยมือ, ใบรบั รอง, นามบัตร และ การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

22 ภาพวาด ท่านจึงสามารถม่ันใจได้ว่าเอกสารท้ังหมดท่ีสแกนอยู่ในไดร์ฟ USB เพอื่ ใช้งานในภายหลงั 2.3.6.5 Scan to file บันทึกขอ้ มลู ทีส่ แกนไปยังโฟลเดอร์ เพ่อื ใหง้ า่ ยตอ่ การแบง่ ปัน 2.4 สร้างขอ้ ความไฮเปอร์เทก็ ซ์ การสร้างไฮเปอร์เท็กซ์ คือการโยงข้อความหรือกลุ่มของข้อความเข้าด้วยกันโดยมีการนาเสนอแบบ ปฏิสมั พันธ์ โดยการนาขอ้ ความทใี่ ช้มาเปน็ จุดเช่ือมโยงซ่งึ มอี งคป์ ระกอบการสร้างดังนี้ 2.4.1 องคป์ ระกอบของระบบไฮเปอรเ์ ทก็ ซ์ ประกอบด้วย 2.4.1.1 พอยต์ (Point) หมายถึง กลุ่มคา หรือ วลี ท่ีเป็นข้อความพิเศษที่แสดงว่ามี การเชอ่ื มโยงเกดิ ขน้ึ เช่น การขีดเส้นใต้ การเน้นด้วยสี หรือตัวหนา เพื่อทา ให้รู้วา่ เป็น พอยต์ เมือ่ เลื่อนเคอร์เซอร์มาถงึ พอยต์ เคอร์เซอร์จะเปล่ียนเป็น สัญลกั ษณอ์ ่นื เชน่ รปู มือ 2.4.1.2 โหนด (Node) หมายถงึ กลุม่ คาของข้อมูลที่สมั พันธ์กันหรอื เปน็ เร่ือง เดียวกัน ซึ่งถูกจัดไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน ซ่ึงในโหนดนั้น อาจมีพอยต์มากกว่า หน่ึงพอยต์ก็ได้ ความหมายของโหนดน้ันไม่สามารถระบุได้ตายตัว โหนด หนึ่งโหนดอาจเปรียบเทียบได้กับเน้ือหาข้อมูลท่ีเขียนขึ้นมาอยู่บนกระดาษ แผ่นเดยี วกัน 2.4.1.2 ลิงค์ (Link) หมายถึง การเช่อื มโยงเอกสารจากตน้ ทางไปปลายทาง ลงิ คจ์ าแนกออกไดเ้ ปน็ 3 ชนิด ประกอบดว้ ย 1) ลิงค์ชนิดอ้างถึง (Referential Link) ใช้เชื่อมโยงโดยอ้างถึง ระหวา่ งจุดสองจดุ เช่น ปุ่มที่ลงิ คไ์ ปขา้ งหนา้ หรอื ยอ้ นกลบั 2) ลิงค์ชนิดแผนภูมิ (Organization Link) มีความคล้ายคลึงกับลิงค์ ชนิดอ้างถึง จะแตกต่างกันตรงที่ เป็นการเชื่อมโยงระหว่างโหนด ด้วยกนั ในลักษณะทเี่ ป็นโครงสร้างเปน็ ชน้ั ๆ (hierarchy) 3) ลิงค์ชนิดคีย์เวิร์ด (Keyword Link) เป็นการนากลุ่มคาหรือวลี ต่างๆ ท่ีมีความหมายและสัมพันธ์ระหว่างกันมาเช่ือมโยงด้วย วิธีการเดียวกบั การลงิ ค์ชนิดอ้างถงึ หรือแผนภูมิ 2.4.2 การสรา้ งการเช่ือมโยง สามารถทาไดห้ ลายลักษณะซ่งึ มีการเส้นทางเชื่อมโยง ดงั นี้ 2.4.2.1 สร้างการเชอื่ มโยงหลายมิตแิ บบกาหนดเองลงในเอกสาร แฟ้ม หรือเว็บเพจ 1) เลอื กขอ้ ความท่ตี อ้ งการแสดงเปน็ การเชื่อมโยงหลายมิติ การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

23 2) บนแท็บ แทรก ในกลุ่ม การเช่ือมโยง ให้คลิก การเชื่อมโยงหลาย มิตจิ ากนนั้ คลกิ Hyperlink บนเมนทู างลัด (ภาพท่ี 2.23) ภาพที่ 3.23 แสดงการใช้เมนูการเชือ่ มโยง ทม่ี า : ฟิสกิ ส์ ฌอณ บัวกนก (2556) 2.4.2.2 สรา้ งการเชือ่ มโยงหลายมติ ลิ งในอีเมลเปล่า 1) เลอื กข้อความหรอื รปู ภาพท่ีตอ้ งการแสดงเปน็ การเชื่อมโยง 2) บนแท็บ แทรก ในกลุ่ม การเชื่อมโยง ให้คลิก การเชื่อมโยงหลาย มติ จิ ากน้ัน คลกิ Hyperlink บนเมนูทางลดั (ภาพที่ 2.24) ภาพที่ 3.24 แสดงการใช้เมนกู ารเชอ่ื มโยงในอีเมลเปลา่ ท่มี า : ฟิสิกส์ ฌอณ บัวกนก (2556) 3) ภายใต้ “เชอื่ มโยงไปยงั ” ใหค้ ลกิ “ทอี่ ย่อู ีเมล” 4) ให้พิมพ์ท่ีอยู่อีเมลที่ต้องการในกล่อง “ท่ีอยู่อีเมล” หรือเลือกท่ีอยู่ อเี มลในรายการ “ที่อยอู่ ีเมลทีใ่ ช้ลา่ สุด” อย่างใดอยา่ งหนึง่ 5) ในกล่อง “เร่ือง” ให้พิมพ์เร่ืองของข้อความอีเมล เว็บเบราว์เซอร์ บางเว็บและโปรแกรมอีเมลบางโปรแกรมอาจไม่รู้จักบรรทัดเรื่อง เมื่อต้องการกาหนดคาแนะนาบนหน้าจอท่ีปรากฏเม่ือวางตัวช้ีบน การเช่ือมโยงหลายมิติ ให้คลิก คาแนะนาบนหน้าจอ จากน้ันให้ พมิ พ์ขอ้ ความที่ตอ้ งการ ถา้ ไมไ่ ดร้ ะบุเคลด็ ลบั Word จะใช้ \"mailto\" ตามดว้ ยทอ่ี ยูอ่ เี มลและบรรทัดเรื่องเป็นเคลด็ ลบั 2.4.2.3 สร้างการเช่ือมโยงหลายมิติไปยังตาแหน่งที่ระบุการเช่ือมโยงไปยังตาแหน่ง ที่ต้ัง ในเอกสารเดียวกัน หรือ ในเอกสารท่ีแตกต่างกัน ต้องทาเครื่องหมาย การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

24 ตาแหน่งที่ตัง้ ของการเชือ่ มโยงหลายมิตหิ รือปลายทางแล้ว เพม่ิ การ เช่ือมโยงไปท่ปี ุ่มนั้น 2.4.2.4 การแทรกทคี่ ่นั หน้า ในเอกสารท่ีตอ้ งการเช่อื มโยงไป ทาตอ่ ไปน้ี 1) เลอื กขอ้ ความกาหนดที่คนั่ หนา้ โดยคลิกตาแหนง่ ทีต่ ้องการค่ันหน้า 2) แทรก tab ในการเชื่อมโยง จดั กลมุ่ คลิกทค่ี ัน่ หน้า (ภาพท่ี 3.25) ภาพท่ี 3.25 แสดงการใช้เมนแู ทรกทีค่ น่ั หนา้ ท่มี า : ฟิสิกส์ ฌอณ บัวกนก (2556) 3) ภายใต้ ชอ่ื ท่คี นั่ หนา้ ให้พิมพช์ ่อื ชอื่ ทค่ี ่นั หน้าต้องเริ่ม ด้วยตัวอักษร และสามารถประกอบดว้ ยตัวเลขไม่สามารถรวมช่องว่างในช่ือที่ค่ัน หน้าอย่างไรก็ตาม สามารถใช้อักขระขีดล่างแต่ละคา ตัวอย่างเช่น First heading ได้ 4) คลิก เพมิ่ (Add) 2.4.2.5 นาลักษณะหัวเร่ืองไปใช้ เมื่อเช่ือมโยงไปยังตาแหน่งในเอกสารเดียวกัน สามารถใชล้ กั ษณะหัวเร่ืองที่มีอยแู่ ล้วภายใน Word อยา่ งใดอย่างหน่ึงไปยัง ข้อความทีต่ าแหน่งท่ีต้องการจะไปในเอกสารปัจจบุ ัน ทาตอ่ ไปน้ี 1) เลอื กข้อความทตี่ ้องการนาลักษณะหวั เรือ่ งไปใช้ 2) บนแทบ็ หนา้ แรก ในกลมุ่ ลักษณะ ให้คลิก ลักษณะท่ตี ้องการ ดังแสดงในภาพท่ี 3.26 ภาพท่ี 3.26 แสดงเมนหู วั เรอ่ื ง ทม่ี า : ฟสิ กิ ส์ ฌอณ บัวกนก (2556) การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

25 2.4.2.6 เพม่ิ การเช่อื มโยงไปยงั ตาแหนง่ เฉพาะในเอกสารปัจจบุ นั 1) เลือกขอ้ ความทตี่ ้องการเพื่อแสดงเปน็ การเช่อื มโยงหลายมติ ิ 2) คลกิ ขวา จากนั้น คลิก Hyperlink บนเมนทู างลัด 3) ภายใต้ เชอ่ื มโยงไปยงั ใหค้ ลิก ตาแหน่งในเอกสารน้ี 4) ในรายการ เลอื กคั่นหนา้ หรือหัวเรอื่ งหรอื ที่ต้องการเช่ือมโยงไปยัง 2.4.2.7 เพมิ่ การเช่อื มโยงไปยงั ตาแหนง่ เฉพาะในเอกสารอนื่ 1) เลอื กข้อความหรือวตั ถุท่ีตอ้ งการเพือ่ แสดงเปน็ การเช่ือมโยง 2) คลกิ ขวา จากนัน้ คลิก Hyperlink บนเมนทู างลดั 3) ภายใต้ เชอ่ื มโยงไปยัง ให้คลิก “แฟ้มหรอื เวบ็ เพจท่ีมีอยู่” 4) คลกิ แฟม้ ท่ีต้องการเชอ่ื มโยงไป แล้ว คลกิ “ที่คน่ั หน้า” 5) ในรายการ เลอื กคัน่ หนา้ ท่ตี อ้ งการเชือ่ มโยงไปยัง 6) เมื่อต้องการกาหนดคาแนะนาบนหน้าจอเองซ่ึงจะปรากฎเมื่อ วางตัวช้ีบนการเช่ือมโยงหลายมิติ ให้ คลิก คาแนะนาบนหน้าจอ จากน้นั ใหพ้ ิมพ์ข้อความท่ตี ้องการ ถ้าไม่ได้ระบุเคล็ดลับ Word จะ ใช้ \"เอกสารปัจจุบัน\" เป็นเคล็ดลับสาหรับการเชื่อมโยงไปยังหัว เร่ือง สาหรบั การเชอ่ื มโยงไปยังทค่ี ่ันหนา้ Word จะใชช้ ่ือทคี่ ่นั หนา้ 7) จากเอกสาร Word สามารถสรา้ งการเชื่อมโยงไปยังตาแหน่งที่ตั้งที่ ระบุในแฟ้มที่ถูกบันทึกไว้ใน รูปแบบแฟ้ม Microsoft Excel หรือ รูปแบบแฟ้มของ Microsoft PowerPoint เมื่อ ต้องการเชื่อมโยง ไปยังตาแหน่งท่ีต้ังท่ีเจาะจงในสมุดงาน Excel สร้างชื่อกาหนดไว้ ในสมุดงาน และที่ส่วนท้ายของช่ือแฟ้มในการเชื่อมโยงหลายมิติ พิมพ์ # ตามด้วยชอ่ื ทกี่ าหนดไว้ เมื่อตอ้ งการเช่ือมโยงไปยังภาพน่ิง ที่ระบุไว้ในงานนาเสนอ PowerPoint พิมพ์ # ตามด้วยหมายเลข ภาพน่ิงหลงั จากช่อื แฟ้ม 2.4.2.8 สร้างการเช่ือมโยงหลายมิติอย่างรวดเร็วลงในแฟ้มอื่น สามารถสร้างการ เชื่อมโยงหลายมิติได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องใช้เครื่อง “แทรกการเชื่อมโยงหลาย มิติ” กล่องโต้ตอบ ด้วยการลากข้อความท่ีเลือกหรือรูปภาพจากเอกสารใน Word แต่ส่ิงสาคัญคือข้อความที่คัดลอกต้องมาจากแฟ้มท่ีได้รับการบันทึกแล้ว ไม่สามารถ ลากวัตถุรูปวาด เช่นรูปร่าง การสร้างการเชื่อมโยงหลายมิติ หากต้องการสร้างการ เชือ่ มโยงหลายมิตสิ าหรบั วัตถุรปู วาด ให้เลอื กออป เจ็กต์ คลิกขวา และคลิก “Hyperlink” บนเมนทู างลัด วธิ ีสรา้ งการเชื่อมโยงหลายมติ ิดว้ ยการลาก เน้ือหาจากเอกสารของ Word อน่ื 1) บันทึกแฟม้ ท่ตี อ้ งการเชอื่ มโยงไปถึง ซึ่งจะเป็นเอกสารปลายทาง 2) เปิดเอกสารในตาแหน่งที่ตอ้ งการเพมิ่ การเชื่อมโยงหลายมติ ิ การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

26 3) เปดิ เอกสารปลายทางและเลือกข้อความ กราฟกิ หรือรายการอื่นที่ ตอ้ งการไปถึง ตัวอยา่ งเช่น คุณ อาจต้องการเลือกคาสองสาม คาแรกของส่วนเอกสารทเี่ ลอื กทต่ี อ้ งการจะเช่ือมโยงไปถึง 4) คลิกขวาท่ีรายการท่ีเลือก ลากรายการนั้นไปยังแถบงานและวาง บนไอคอนของเอกสารที่ต้องการจะเพ่ิมการเชื่อมโยงหลายมิติ 5) ปล่อยปมุ่ เมาส์ขวาท่บี ริเวณทีต่ ้องการเชือ่ มโยงหลายมิติ จะปรากฏ บนเพจ แล้ว คลิก สร้างการเช่ือมโยงหลายมิติที่น่ี . คานึงว่า ข้อความ กราฟิก หรือรายการอ่ืนที่เลือกเป็นการเช่ือมโยงไปยัง เอกสารปลายทาง 2.4.3 ประโยชน์ของระบบไฮเปอร์เทก็ ซ์ 2.4.3.1 สามารถบริหารจัดการ เชื่อมโยงและติดต่อข้อมูลเพื่อสื่อความหมายอย่างมี ปฏสิ มั พนั ธใ์ นสภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสม 2.4.3.2 สามารถทาให้ผู้ใช้เลือกใช้เส้นทางที่สะดวกและรวดเร็ว ไม่ว่าจะไปข้างหน้า หรือย้อนกลบั ในเสน้ ทางเดมิ ได้ 2.4.3.3 สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ว ท้ังนี้เนื่องจากการทางาน ในระบบไฮเปอร์เท็กซจ์ ะมกี ารเช่ือมโยงท่ไี ม่เปน็ แนวเสน้ ตรง อย่างไรก็ตามไฮเปอร์เท็กซ์ก็สร้างความสับสนกับผู้ใช้งานได้ ในกรณีที่ออกแบบไว้ไม่ดีพอ ดังนั้นควรค้นหาวิธีการดัดแปลงให้เหมาะสมกับการนาเสนอข้อมูล (Presentation) การนาทาง (Navigation) เพอื่ ชว่ ยให้เกิดความราบรน่ื สามารถควบคุมการทางานได้อย่างอิสระและมีประสิทธิผลมากยง่ิ ข้นึ 3. ไฟล์ข้อความดิจิทัล ประเภทของไฟล์ หรือ นามสกุลของไฟล์ในการสร้างข้อความจะเป็นตัวบ่งบอกว่าเป็นไฟล์อะไร สามารถใช้โปรแกรมอะไรเปิดไดบ้ ้าง การเรียนรู้ หรอื เข้าใจประเภทของไฟล์ต่าง ๆ ย่อมจะมีส่วนช่วยให้ทางาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน(นามสกุลไฟล์, 2557). ลักษณะของนามสกุลของไฟล์จะอยู่หลังช่ือ เช่น Readme.txt นามสกุลของไฟล์คือ .txt เป็นต้น ซึ่งไฟลต่างๆท่ีนิยมเลือกใช้ในการบันทึกข้อความดิจิทัล ได้ แสดงไวใ้ นตารางท่ี 3.2 ซึ่งหากนกั ศึกษาเข้าใจรายละเอียดประเภทของาฟล์ดิจิทัล และเลือกใช้ได้ถูก ตลอดจน ทราบโปรแกรมท่ีสามารถเปิดไฟล์แต่ละชนิดได้ จะทาให้ลดความผิดพลาดในการบันทึกข้อความดิจิทัล และ การเรียกใชง้ านกบั โปรแกรมต่างๆได้ ตารางที่ 3.2 แสดงไฟลข์ ้อความดิจิทัล การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

27 นามสกุล รายละเอยี ดของไฟล์ โปรแกรมที่สามารถเปดิ ได้ ไฟล์ .asp Active Server Page ไฟล์ คือไฟล์เอกสาร asp สาหรับดู Text Editor ทว่ั ไป บนเวบ็ คล้ายกับเอกสาร htm, html .avi Video ไฟล์ คอื ไฟล์ภาพยนตร์ ภาพเคลือ่ นไหว Windows Media Player,Quick Time, ACDsee เวอร์ชัน่ ใหมๆ่ .bak Back up ไฟล์ คอื ไฟล์สารองของโปรแกรมทั่วไป ข้นึ อยู่กบั ว่าสร้างโดยโปรแกรมอะไร .bat Batch ไฟล์ คือ text ไฟล์ทบ่ี รรจชุ ุดคาสัง่ ลงไป ทางานโดยเรียกโปรแกรมอื่น ๆ .bmp Bitmap ไฟล์ เป็นไฟล์รูปภาพประเภทหน่งึ Photoshop, ACDsee, Quick view และ โปรแกรมท่ีใชต้ กแต่งภาพ .com Execute ไฟล์ คือไฟลโ์ ปรแกรมท่สี ามารถรนั ได้ ทางานได้ตัวมนั เอง .dat ไฟล์ภาพยนตร์แผ่นจาก VCD หรืออาจเป็นไฟล์ของ Power DVD, Windows Media Player และ โปรแกรมอื่นๆ อกี ด้วย อืน่ ๆ อกี มาก .dbf Database ไฟล์ คอื ไฟลฐ์ านข้อมูล Dbase,Foxpro, Access,Excel .doc Document ไฟล์ คอื ไฟล์เอกสาร word MS Word, WordPAD .exe Execute ไฟล์ คือไฟลโ์ ปรแกรมที่สามารถรันได้ ทางานได้ตัวมนั เอง .gif Gif ไฟล์ เปน็ ไฟลร์ ปู ภาพประเภทหนึ่ง Photoshop, ACDsee, Quick view และ โปรแกรมทีใ่ ช้ตกแต่งภาพ .htm,html เอกสาร Hypertext Markup Language สาหรับดูบน Browser เช่น Netscape, IE, Opera และ web site ทวั่ ๆ ไป Browser อ่นื ๆ รวมทัง้ Text Editor ท่วั ไป .ini INI ไฟล์ คือไฟล์ configuration ของ windows NotePad, Wordpad, Editor ทวั่ ไป .jpg Jpeg ไฟล์ เปน็ ไฟลร์ ปู ภาพประเภทหนงึ่ Photoshop, ACDsee, Quick view และ โปรแกรมที่ใชต้ กแตง่ ภาพ .lnk Link ไฟล์ ลิงคไ์ ฟล์ของ MS Windows MS Windows .log Log ไฟล์ คือไฟลท์ ่เี ก็บการทางานอย่างใดอยา่ งหนง่ึ NotePad, WordPad, Editor ทั่วไป .mid MiDi ไฟล์ เปน็ ไฟล์เพลงท่ีมแี ต่เสียงดนตรี Winamp, Sonique, Windows Media Player และอ่ืนๆ .mp3 MP3 ไฟล์ เปน็ ไฟลเ์ พลงประเภทหน่งึ Winamp, Sonique, Windows Media Player และอ่ืนๆ .ogg OGG ไฟล์ เป็นไฟล์เพลงประเภทหน่ึง ท่ีมีขนาดเล็กกว่า Winamp, Sonique, FreeAmp MP3 .pdf PDF ไฟล์ เปน็ ไฟล์ขนาดเล็ก คุณภาพสูงจากค่าย Adobe Acrobat Reader (ฟรแี วร์ท่ี download ได้ฟรี) .ppt Powerpoint ไฟล์ เป็นไฟล์พรีเซ็นเทช่ัน MS Powerpoint .prg Program ไฟล์ เป็น Text ไฟลป์ ระเภทหนงึ่ NotePad, WordPad หรือ text editor ตา่ งๆ .psd PSD ไฟล์ เปน็ ไฟล์รูปภาพประเภทหนึ่ง Photoshop, ACDsee และโปรแกรมเก่ียวกับ การตกแตง่ ภาพ .scr Screen Saver ไฟล์ คือไฟล์โปรแกรมพักหน้าจอ MS Windows การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

28 นามสกุล รายละเอียดของไฟล์ โปรแกรมท่ีสามารถเปิดได้ ไฟล์ .swf Flash File ภาพเคล่ือนไหว ของค่าย Macromedia Flash และโปรแกรมอนื่ ๆ ท่ี support Macromedia .tif Tiff ไฟล์ เปน็ ไฟล์รปู ภาพประเภทหนึง่ Photoshop, ACDsee, Quick view และ โปรแกรมทใ่ี ช้ตกแตง่ ภาพ .txt Text ไฟล์ ธรรมดา NotePad, WordPad, Word หรอื text editor ตา่ งๆ .wav Wave ไฟล์ เปน็ ไฟล์เพลงประเภทหนง่ึ Winamp, Sonique, Windows Media Player และอน่ื ๆ .xls, xlw Excel ไฟล์ คือไฟลต์ ารางขอ้ มูล MS Excel .zip Zip ไฟล์ คือไฟล์ทีถ่ ูกบีบอดั ขอ้ มลู Winzip, Pkzip, Winrar ท่มี า : ฟสิ กิ ส์ ฌอณ บวั กนก (2556) การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

29 4. สรปุ ท้ายบท ขอ้ ความ เปน็ ส่วนทีเ่ กี่ยวกับเน้ือหาของสื่อดิจิทัล ใช้แสดงรายละเอียด หรือเน้ือหาของเร่ืองท่ีนาเสนอ ถือวา่ เปน็ องค์ประกอบพื้นฐานที่สาคัญของส่ือดิจิทัล ปัจจุบันข้อความดิจิทัลจะมีรูปแบบและสีของตัวอักษรให้ เลือกมากมายตามความต้องการแล้วยังสามารถกาหนดลักษณะของการปฏิสัมพันธ์ (โต้ตอบ)ในระหว่างการ นาเสนอได้อีกด้วย ซ่ึงปัจจุบันลักษณะข้อความดิจิทัล มีหลายรูปแบบ ได้แก่ ข้อความท่ีได้จากการพิมพ์ ซึ่ง เครื่องมือสร้างข้อความจากการพิมพ์ อาทิ Notepad, Microsoft office, นอกจากนี้โปรแกรมตกแต่งภาพ ก็ สามารถสร้างข้อความดิจิทัลได้ รวมถึง ข้อความท่ีได้จากการแสกนก็เรียกว่าเป็นข้อความดิจิทัล ซึ่งสามารถ สร้างข้อความจากเครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) หรือเคร่ืองอ่านภาพ โดยทาการอ่านข้อความบนเอกสารและ เก็บไว้ในรูปแบบรูปภาพข้อมูล ในโลกของโครงข่าย ยังสามารถสร้างข้อความดิจิทัลที่มีคุณสมบัติเช่ือมโยงหา กันได้ เรียกว่า ข้อความไฮเปอร์เท็กซ์ การสร้างไฮเปอร์เท็กซ์ เป็นการโยงข้อความหรือกลุ่มของข้อความเข้า ด้วยกนั โดยมีการนาเสนอแบบปฏิสัมพันธ์ ซง่ึ การเช่ือมโยงมีหลากหลายลักษณะ อาทิ สร้างการเชื่อมโยงหลาย มติ แิ บบกาหนดเองไปยงั เอกสาร ไฟล์ หรือเว็บเพจ, สร้างการเชื่อมโยงหลายมิติไปยังข้อความอีเมลที่ว่างเปล่า, สรา้ งการเชื่อมโยงหลายมิติไปยังตาแหน่งทร่ี ะบุ, สร้างการเชอ่ื มโยงหลายมติ ิไปยงั แฟ้มอน่ื อยา่ งรวดเร็ว หลักจากเสร็จส้ินกระบวนการสร้างข้อความดิจิทัล จะมีการบันทึกข้อมูลซ่ึงไฟล์ข้อความหรือนามสกุล ไฟล์เพ่อื จัดเก็บข้อความดิจทิ ัลก็มีความแตกต่าง ท้งั นขี้ ึน้ อยกู่ บั ประโยชนก์ ารเลือกใชข้ องผ้ทู าการบันทึก การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

30 5. แบบฝกึ หัดท้ายบท 1. จงอธบิ ายลักษณะสื่อข้อความดิจิทลั ท่ไี ดเ้ รยี นรู้และชนิดการเกิดขนึ้ ของขอ้ ความดิจิทลั 2. จงวาดแผนภมู (ิ Mapping)ของวธิ ีการสรา้ งขอ้ ความดิจิทัลในแต่ละแบบรวมถึงวธิ กี ารสร้างมาให้ เขา้ ใจ 3. หากต้องการจะส่งเอกสารราชการเพื่อไม่ให้เกิดความคลาดเคลื่อควรเลือกบันทึกด้วยไฟล์ข้อความ ดจิ ิทัลใดเพอ่ื ความเหมาะสม เพราะเหตุใด 4. หน้าต่างโปรแกรม Photoshop สามารถจดั กลมุ่ เคร่อื งมือสาหรับใชง้ านที่ปรากฏบนหนา้ ตา่ ง โปรแกรมออกเปน็ เปน็ กีก่ ลมุ่ อะไรบา้ ง 5. มคี ุณครูท่านหน่ึงต้องการแบบตัวอักษร สาหรับใช้เขียนเป็นชื่อเล่นของนักเรียนในชั้น โดยต้องการ อักษรที่มีความเป็นเอกลักษณ์ท่ีไม่เหมือนใคร หากนักศึกษาต้องช่วยออกแบบอักษรขึ้นมาจะใช้ เคร่ืองมอื ใดในการปฏบิ ตั ิงานน้ี 6. จงอธบิ ายการสร้างการเชอื่ มโยงหลายมติ ิลงในอีเมลเปลา่ มาใหเ้ ข้าใจ 7. จากรปู ท่กี าหนดให้ คืออะไร และทาหน้าที่อยา่ งไร 8. เครอ่ื งมือ Brush และ Pencil ใชท้ าอะไร และมีประโยชน์อย่างไร 9. จงบอกนามสกุลไฟล์ทส่ี ามารถบนั ทกึ ภาพเคลื่อนไหวได้มาให้ไดม้ ากที่สดุ 10. จงอธิบายข้ันตอนการบันทึกข้อมูลด้วย Zip และผลท่ีเกิดข้ึนจากการบันทึกน้ีจะเป็นเช่นไร หาก ตอ้ งการเปิดเพื่อใช้ประโยชน์ของขอ้ มลู ต้องทาอย่างไร การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

31 6. ใบงานที่ 1 “My digital writing”การสรา้ งข้อความดจิ ิทัล งานเด่ยี ว : 10 คะแนน Folder / File ตง้ั ชอ่ื DMP1035102-workshop1-ระหัสนักศึกษา Download ภาพจาก www.Aowwa.com และทาตามคาชีแ้ จงต่อไปนี้ กาหนดส่งงาน : นักศึกษาส่งงานภายใน 7 วันที่หลังได้รับคาสังให้ดาเนินการทางาน โดนส่งผลงานท่ี [email protected] ต้ังชื่อหัวข้อ DMP1035102-workshop1-ระหัสนักศึกษา และรวบรวมไว้ในแฟ้ม สะสมงานของตนเอง เพอ่ื การวัดประเมนิ ปลายภาคการศึกษา คาชแ้ี จง: ดาเนินกิจกรรม 2 ข้อ 1. นักศึกษาคิดข้อความดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์และให้เหมาะสมกับภาพท่ีกาหนดให้ เพื่อส่ือสารกับ ผูช้ มภาพตามแนวคดิ และจินตนาการของนักศึกษาเอง โดยใช้โปรแกรม Photoshop เขียนและเลือกจัดวางลง ไปในภาพใหเ้ หมาะสม การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502

32 2. นักศึกษาหาภาพ background ท่ีชอบ จะเป็นภาพอะไรก็ได้ แล้วออกแบบFrontโดยใช้ Photoshop ในการเขียนชื่อ-สกุลของตัวนักศึกษาเองวางบนภาพดังกล่าว ให้ลงตัวและเหมาะสมสวยงาม สอดคล้องทั้งภาพและลกั ษณะตวั ออกั ษรหรือช่อื ของนักศึกษา ภาพตวั อยา่ ง เกณฑก์ ารให้คะแนน  มคี วามสวยงาม เหมาะสมทั้งภาพและตัวอกั ษร  มีความคดิ สร้างสรรค์ ไมล่ อกเลียนแบบใคร การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook