1 เอกสารประกอบการสอน DIGITAL MEDIA PRODUCTION รายวชิ าการผลติ ส่ือระบบดจิ ทิ ัล 1031502 การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502
2 บทที่ 4 เสียงดิจิทลั เสียง (Sound) เป็นหน่ึงในองค์ประกอบท่ีสาคัญของสื่อดิจิทัล เสียงถูกจัดเก็บอยู่ในรูปของสัญญาณ ดิจิทัลท่ีสามารถเล่นซ้ากลับไปกลับมา หากสื่อดิจิทัลมีการใช้เสียงที่เหมาะสมและสอดคล้องกับเน้ือหาในการ นาเสนอ จะช่วยให้สือ่ ระบบดจิ ิทัลนั้นเกดิ ความน่าสนใจมากยงิ่ ขน้ึ นอกจากนยี้ ังช่วยสร้างความน่าสนใจและน่า ติดตามในเร่อื งราวต่างๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดีเมอื่ มเี สยี งประกอบ เการใช้เสียงร่วมในส่ือมีอิทธิพลต่อผู้ใช้โปรแกรมสื่อ มากกว่าการใช้เพียงข้อความหรือภาพนิ่งอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังน้ันเสียงจึงเป็นองค์ประกอบท่ีจาเป็นสาหรับสื่อ ดิจิทลั ซ่ึงสามารถนาเขา้ เสียงผา่ นทางไมโครโฟน แผ่น CD DVD เทป และวิทยุ เปน็ ต้น 1. Digital Audio Audio แปลว่าการได้ยิน (hearing) โดยเสียงที่เราได้ยินมีหลายแบบ ทั้งเสียง คน สัตว์ เคร่ืองจักร เสียงร้องเพลง เสียงพูด หรือเสียงท่ีได้จากการสร้างข้ึนด้วยเครื่องดนตรี คุณสมบัติของเสียงทางฟิสิกส์ถือว่า เสียงมีคุณสมบัติเป็นคล่ืน (wave) อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงความกดดันของอากาศด้วยการสั่นของ แหล่งกาเนิดเสยี ง มคี ณุ สมบตั ิที่สาคญั กค็ อื - ความถี่ (frequency) ทาใหเ้ กดิ เสยี งสูงหรือเสยี งตา่ - ระดับความดัง (Amplitude) ทาให้เกิดเสยี ง เบา - ค่อย - ดงั - ดงั มาก – ดังมากๆ - รูปแบบของคล่นื (wave from) มีลักษณะดงั ภาพท่ี 4.1 ภาพท่ี 4.1 แสดงลักษณะคล่ืนเสยี ง การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502
3 ท่ีมา : http://www.cchrispeters.com เสียงดิจิทัลเป็นการจัดเกบ็ เสียงธรรมชาติในรปู แบบรหสั ดจิ ิทลั ผ่านอปุ กรณผ์ ลติ ส่ือดิจิทัลแลว้ จัดเก็บ ในคอมพิวเตอร์ เรียกว่า เสยี งแบบดิจิทัล (Digital Audio) เปน็ สัญญาณเสียงที่สง่ มาจากไมโครโฟน เคร่อื งเล่น เทป หรอื จากแหลง่ กาเหนดิ เสียงต่างๆ เสยี งดิจิทัลจะมีขนาดของข้อมลู ใหญ่จงึ ใช้พ้นื ทีใ่ นการจัดเก็บเยอะ เสยี ง ทพ่ี บบ่อยจะอยใู่ นชว่ งความถี่ 44.1 KHz ,22.05 KHz และ 11.025 KHz (Digital audio ข้นั พน้ื ฐาน, 2556). 2. ลักษณะและประเภทของเสยี งสาหรับการผลติ สื่อดิจิทัล ลกั ษณะของเสยี งสาหรบั การผลติ ส่อื ดิจิทลั ประกอบด้วยคลื่นเสียงแบบออดิโอ (Audio) ซ่ึงมีฟอร์แมต (format)เป็น .wav, .au การบันทึกจะบันทกึ ตามลูกคลื่นของเสียง โดยมีการแปลงสัญญาณให้เป็นดิจิทัล และ ใชเ้ ทคโนโลยีการบีบอดั เสียงให้เลก็ ลงซึ่งคณุ ภาพก็จะต่าลงด้วย รูปแบบการบันทึกท่ีมีคุณภาพสูง ได้แก่ เสียงที่ บนั ทกึ ลงในแผ่น CD มมี าตรฐานการบีบอัดข้อมูล(ระบบเสียงดิจิทัล Sound, 2554) เสียงท่ีมีคุณภาพดี มักจะ มีขนาดใหญ่ จงึ ตอ้ งมกี ารบบี อดั ข้อมลู ให้มีขนาดเล็กลง ซง่ึ มาตรฐานการบีบอัดข้อมลู เสยี งก็มีแตกตา่ งกนั ดงั นี้ ADPCM - Adaptive Differential Pulse Code Modulation โดยจะทาการบีบอัดข้อมูลที่มีการ บันทึกแบบ 8 หรือ 16 บิต โดยมีอัตราการบีบอัดประมาณ 4:1 หรือ 2:1u-law, A-law สามารถบีบอัดเสียง 16 บิต ไดใ้ นอตั รา 2:1 MACE มจี ดุ เด่นคอื บบี อดั และขยายข้อมลู ใหม้ ีขนาดเทา่ เดมิ ได้ จึงใช้ได้เฉพาะข้อมูลเสียง 8 บิต อัตรา การบบี อดั คือ 3:1 และ 6:1 อยา่ งไรกต็ ามคณุ ภาพเสยี งยงั ไม่ดีเทา่ ที่ควร และทางานได้เฉพาะกับ Mac เท่าน้ัน MPEG เป็นมาตรฐานการบีบอัดข้อมุลท่ีนิยมมากในปัจจุบัน โดยชื่อน้ีเป็นชื่อย่อของทีมงานพัฒนา Moving Picture Export Group โดยปัจจุบันมีฟอร์แมตที่นิยมคือ MP3 (MPEG 1 Audio Layer 3) ซ่ึงเป็น เทคโนโลยีการบีบอดั ข้อมลู เสียงมาตรฐานของMPEG 1 และเป็นไฟล์ท่ีนิยมใช้กับเครอื ขา่ ยอินเตอรเ์ น็ตดว้ ย 3. การเตรยี มอุปกรณส์ าหรับการบนั ทกึ เสียง ในการทางานผลิตสื่อระบบดิจิทัลหากมีความจาเป็นท่ีจะต้องใช้เสียงในการนาเสนองาน จาเป็นต้องมี อุปกรณ์สาหรบั การบันทกึ เสยี ง อันประกอบดว้ ย 3.1 เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ โดยคอมพิวเตอรส์ าหรับการบนั ทกึ เสียงต้องเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีการติดต้ัง การร์ดเสียง(sound card) หรือชิปประมวลผลด้านเสียงไว้ และลงไดรเวอร์(driver) ไว้ให้เป็นท่ีเรียบร้อย การตรวจสอบว่าคอมพิวเตอร์มี การตดิ ตง้ั แลว้ หรือไม่ สังเกตจากการท่ีเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถฟังเพลงได้ และนอกจากนี้ส่ิงที่สาคัญในการ การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502
4 ใช้คอมพิวเตอร์บันทึกเสียง คือ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ต้องมีช่องต่ออุปกรณ์ 3 ช่อง (ภาพที่ 4.2) สาหรับอุปกรณ์ เหล่านี้ 3.1.1 ไมค์ .ใช้สาหรับการ อัดเสยี ง 3.1 2 Line in สาหรับนาเขา้ เสียงจากอุปกรณเ์ ล่นเสียงตา่ งๆ เชน่ เคร่อื งเล่น mp3 ฯลฯ 3.1 3 Line out สาหรบั ตอ่ หูฟงั หรอื จะตอ่ ออกลาโพง ภาพที่ 4.2 แสดงชอ่ งเสยี บอุปกรณบ์ นั ทึกเสยี งของคอมพิวเตอร์ ทีม่ า : http://res1.windows.microsoft.com 3.2 ไมค์โครโฟน การเลือกใช้ไมค์โครโฟนสาหรับการบันทึกเสียง สามารถเลือกได้ตามความต้องการ ขอให้อัดเสียงได้ และต่อเข้ากับช่องไมค์โครโฟนได้พอดี โดยไมค์โครโฟนก็มีลักษณะให้เลือกใช้หลากหลายแตกต่างไปตาม คุณภาพของไมค์โครโฟน รูปแบบการใช้งาน และทุนทรัพยข์ องผู้ใช้ ตัวอยา่ งไมคโ์ ครโฟนดังภาพที่ 4.3 ภาพท่ี 4.3 แสดงอุปกรณ์ไมโครโฟนลักษณะต่างๆ ที่มา : http://crystalstranaghan.com 3.3 การต้ังคา่ ใหร้ ะบบคอมพวิ เตอร์ การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502
5 เพ่ือบันทึกเสียงจาก Line in หรือ Microphone จาเป็นต้องมีการต้ังค่าให้ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ึง ขัน้ ตอนก็มีดงั น้ี 3.3.1 ทาการมองหาสัญลักษณ์ ท่ี Taskbar ของวินโดวส์ และกด double click ซึ่ง จะปรากฏหน้าต่างตามภาพที่ 4.4 เป็นส่วนของการปรับ Volume Control หน้าจอส่วนท่ีเห็นในภาพ เป็น ส่วนของ กับปรบั สญั ญาณ Playback หรือ การปรับเสียงทอี่ อกมาจากเครือ่ งสาหรับการไดย้ ิน ภาพท่ี 4.4 แสดงส่วนของการปรบั Volume Control ทม่ี า : http://tones.wolfram.com 3.3.2 ในการปรับระดับเสียงสามารถใช้ Volume Control เพ่ือควบคุมให้ได้เสียงตาม ต้องการ โดยเลือกกดทเี่ มนู options และเลือกท่ี Properties แล้วปรบั ระดบั ต่างๆ ตามภาพที่ 4.5 การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502
6 ภาพที่ 4.5 แสดงการปรับ Volume Control ท่มี า : http://tones.wolfram.com 3.3.3 ทาการปรับส่วนของการ recording โดยเลือกกดที่ recording แล้วเลือก การ บันทึกเสียง เพ่ือพร้อมใช้งานกับทุกแหล่งต้นกาเนิดเสียง อาจต้องคลิ๊กเลือกทุกแหล่งตามภาพท่ี 4.6 ซ่ึงอาจมี ให้เลือกแตกต่างกันตามซาวการ์ดท่ีติดตั้งอยู่ในเคร่ือง โดยหลักๆจะมี Stereo Mix, Line in, Microphone, ไมค์ด้านหลัง เปน็ ต้น ภาพที่ 4.6 แสดงส่วนของการ Recording ทมี่ า : http://tones.wolfram.com 3.3.4 ขั้นตอนสุดท้าย หากใช้ไมค์โครโฟนเป็นแหล่งกาเนิดเสียง ให้เลือกท่ี ไมค์ และต่อสายสัญญาณ ไมคเ์ ขา้ กบั ชอ่ งต่อไมคด์ ้านหลงั เปน็ อนั สิน้ สดุ การต่อ เครื่องคอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื พรอ้ มรบั เสียงเข้าไปในเครื่องได้ การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502
7 ภาพที่ 4.7 แสดงส่วน Recording Control ทีม่ า : http://tones.wolfram.com 4. การบันทกึ เสียง ในระบบดจิ ิทลั ไมว่ ่าสญั ญาณธรรมชาติจะมีลักษณะใดก็จะถกู จดั เก็บไว้ในรูปของรหัสดิจิทัล(0,1) และ เสียงก็เช่นกัน จะถูกบันทึกรหัสเป็นแบบตัวเลข ซึ่งตัวเลขเหล่าน้ีจะเป็นดิจิทัลโค๊ด(digital code) หรือที่ เรียกว่า บิต(bits) กระบวนการบนั ทกึ นีเ้ รียกว่า sampling rate ซึ่งค่าของ sampling rate จะบอกถึงคุณภาพ ของเสียง และเม่ือต้องการฟังเสียงที่บันทึก digital codeก็จะถูกถอดรหัสออกมาเพ่ือเปลี่ยนเป็นเสียง ซ่ึงการ ถอดรหัสน้ีจะทาด้วยความเร็วนับพันครั้งต่อวินาที ซึ่งเราเรียกการถอดรหัสนี้ว่า PCM (Pulse Code Modulation) สาหรับคาว่า ”บิต”ได้ถูกนิยามออกเป็น 2 หมวด ตามการใช้งาน หมวดท่ีหนึ่ง เป็นหมวดของระบบ บัสหรือระบบการส่งสัญญาณ ก็จะมีอยู่ด้วยกันสองลักษณะคือ ส่งแบบอนุกรม(1 Bit) และส่งแบบขนาน (Multi-Bit หรือ 16/18/20/24/32/36 Bit) แตเ่ ดมิ จะมีการจาแนกประสิทธิภาพของอุปกรณ์เครื่องเสียงดิจิทัล ออกเป็นสองแพลทฟอรม์ คอื ถ้าเปน็ เคร่ืองเสยี งระดับสามัญท่ีใช้งานท่ัวไป ก็จะใช้แพลทฟอร์ม(plat from)การ ส่งสัญญาณในแบบอนุกรม (1 Bit) และถ้าเป็นเคร่ืองเสียงระดับสูง(high end)ที่เน้นรายละเอียดของเสียงที่ดี มักจะใช้แพลทฟอร์มการส่งสัญญาณในแบบขนาน (Multi-Bit หรือท่ีนิยมกันมากก็ 20 Bit/24 Bit) (ความรู้ พื้นฐาน เรื่องการบันทึกเสียง, 2553) ในการส่งสัญญาณแบบขนานน้ันจะให้รายละเอียดของเสียง, ความ ถูกต้องเหมือนจริง และไดนามิคเรนจ์(dynamic range)ท่ีสูงกว่า แต่เทคโนโลยีก็จะมีราคาสูงตามไปด้วย ไม่ สามารถนามาประยกุ ตใ์ ช้กับเครื่องเสยี งราคาปานกลางหรอื เคร่ืองเสียงระดับสามัญได้ หมวดที่สอง เก่ียวข้องกับข้ันตอนการประมวลผล (หรือความสามารถของโปรเซสเซอร์) จะใช้หน่วย “บิต” ในการแสดงความสามารถเป็นไปตามจานวนบิต โปรเซสเซอร์ท่ีมีการคานวณ 36 บิต ย่อมทางานได้ การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502
8 ละเอียด/ถกู ต้อง/รวดเร็วกวา่ 24 บิต ซึ่งโปรเซสเซอร์ 24 บิต ก็ทางานได้ละเอียด/ถูกต้องแม่นยา/รวดเร็วกว่า 16 บิต (ปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถสูงสุด มักจะทางานท่ีระดับ 64 Bit * 2 หรือทางานด้วย โปรเซสเซอร์ 64 บิต พรอ้ มกนั 2 ตวั หรอื 128 Bit Platform) ดังน้ันในการบันทึกเสียงด้วยคอมพิวเตอร์จึงจาเป็นต้องใส่ใจรายละเอียดเก่ียวกับเสียงท่ีต้องการ จัดเก็บว่าต้องการคุณภาพสูงต่าเพียงใดซ่ึงข้ึนอยู่กับการใช้งาน ทาให้ต้องศึกษาการใช้ซอฟต์แวร์บันทึกเสียง และการต้งั ค่าทีเ่ หมาะสม 4.1 การบนั ทึกเสียงดว้ ยคอมพิวเตอร์ เสียงมีคุณสมบัติเป็นคลื่น โดยเป็นการส่ันสะเทือน คล่ืนเสียงท่ีเกิดขึ้นจะถูกแปลงให้อยู่ในรูปของ สัญญาณไฟฟ้าก่อนโดยใช้ไมโครโฟนเป็นตัวรับเสียงแล้วเปล่ียนให้อยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้า ในคอมพิวเตอร์ น้ันทางานในเชิงตัวเลขหรือดิจิทัล จึงต้องมีวงจรแปลงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าแบบอะนาล็อกท่ีมาจาก ไมโครโฟนใหอ้ ย่ใู นรูปของดิจิทลั ก่อน วงจรนี้มีชอ่ื ตรง ๆ วา่ Analog-to-Digital Converter หรือ ADC เม่ือข้อมูลในรูปแบบดิจิทัลแล้ว การที่จะนาข้อมูลชุดนี้กลับมาสร้างเป็นเสียงอีกจะต้องใช้วงจรอีกชุด หน่ึงท่ีเปลี่ยนข้อมูลดิจิทัลกลับมาเป็นสัญญาณไฟฟ้าแบบแอนะล็อก วงจรชุดนี้เรียกว่า Digital-to-Analog Converter หรือ DAC เมื่อได้สัญญาณเสียงกลับมาแล้วเราสามารถท่ีจะส่งต่อสัญญาณน้ีไปยังลาโพงเพื่อที่จะ เปลีย่ นใหเ้ ป็นคลื่นเสยี งต่อไป ดังภาพท่ี 4.8 การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502
9 ภาพท่ี 4.8 แสดงวงจร Analog-to-Digital Converter (ADC)/ Digital-to-Analog Converter (DAC) ที่มา : ฟสิ กิ ส์ ฌอณ บวั กนก (2556) จากภาพอธบิ ายได้วา่ เป็นขัน้ ตอนการแปลงสัญญาณไฟฟา้ ท่ีผ่านจากไมคโ์ ครโฟนใหเ้ ป็นข้อมลู ดจิ ิทัล และการแปลงจากขอ้ มลู ดจิ ิทัลให้กลบั เปน็ สัญญาณไฟฟา้ ออกทางลาโพง ซึง่ สญั ญาณไฟฟ้าเปน็ สญั ญาณท่ี ต่อเนอื่ งกันเปน็ ช่วงคลนื่ ยาวๆ พันธศ์ กั ด์ิ พฒุ ิมานิตพงศ์ (พันธ์ศกั ดิ์ พุฒมิ านติ พงศ์ และคณะ, 2557) ไดอ้ ธิบาย วธิ ีท่ใี ชใ้ นการแปลงสญั ญาณไฟฟา้ ใหเ้ ปน็ ข้อมูลดิจิทลั วา่ ต้องใชว้ ธิ กี ารสมุ่ ตวั อย่างโดยตวั วงจร ADCจะทาการ อ่านคา่ สญั ญาณเสยี งตามเวลาท่ีกาหนด เช่น ทกุ ๆ 16 มิลลิวินาที หรอื ทกุ ๆ 13 มิลลวิ ินาที เรยี กความถใี่ น การอ่านคา่ น้วี า่ Sampling Rate โดยมีหน่วยเปน็ Hz ซ่ึง 1Hz หมายถงึ อา่ นข้อมูล 1 ครัง้ ในหน่งึ วินาที เมือ่ ได้ ค่าตวั อย่างแล้ว วงจร ADC จะทาการวัดศกั ย์ไฟฟา้ ว่าอยใู่ นระดับใด แลว้ เปลี่ยนค่าศักย์ไฟฟ้ามาเกบ็ เปน็ ตัวอยา่ งในรูปของตวั เลข โดยแตล่ ะตวั อยา่ งจะมีขนาดคงที่ อาจจะเปน็ 8บิต 16บิต หรอื อะไรก็แล้วแต่ จะเรียก ค่าจานวนบิตตรงนี้วา่ bit-depth ซ่งึ ยง่ิ มี bit-depth มากก็จะมีคา่ ที่เปน็ ไปไดม้ ากขึน้ ทาให้สามารถเก็บคา่ ได้ ใกลเ้ คยี งกบั ข้อมูลเสยี งเดิมได้มากข้นึ นน่ั เอง โดยท่วั ไปเรามักจะพบการเกบ็ ข้อมลู เสยี งด้วยเทคนคิ ท่ีเรียกวา่ Pulse-Code Modulation หรือ PCM ซึ่งจะเก็บค่าตัวอย่างแตล่ ะคา่ แยกออกจากการโดยไม่เกีย่ วขอ้ งกันเลย เช่น ท่ีตัวอยา่ งท่ี 0 ตาแหน่งของสัญญาณเสยี งอยู่ที่ -6db ในแดนบวก แตใ่ นตวั อยา่ งถดั ไปนั้นสญั ญาณเสยี ง อาจจะเป็น -8db ในแดนลบ ท้ังสองค่าไม่เก่ียวข้องกนั สาหรบั การแปลงกลบั นน้ั ก็ทาทุกอยา่ งตรงข้ามกบั การ แปลงจากสัญญาณไฟฟ้าเป็นขอ้ มลู ดิจิทลั นั่นคอื ตวั วงจรจะทาการอ่านขอ้ มลู ดว้ ยอัตราตามความถ่ี sampling rate แลว้ เอาคา่ ท่อี ่านได้ไปปรบั เปลยี่ นศกั ยไ์ ฟฟ้าให้เปลี่ยนไปตามคา่ ตวั อยา่ งทเี่ กบ็ ไว้ ในการทางานบนั ทึกเสียงดิจิทัลมศี พั ท์ทางเทคนิคตา่ งๆทเ่ี ก่ียวข้อง ซึ่งต้องทาความเข้าใจ เพ่ือสามารถ ส่อื สารในการทางาน สรุปไดด้ ังตารางที่ 4.1 ตารางท่ี 4.1 แสดงศัพท์ตา่ งๆทเ่ี กีย่ วข้องในการบนั ทกึ เสียงดจิ ิทัล ศัพท์ ความหมาย Sampling Rate คอื คา่ ความละเอียดในการบันทกึ โคต๊ ตวั เลขลงไป ยิ่งมคี ่ามากเสยี งกจ็ ะ ยิง่ ดี หมายความว่าภายใน 1 วนิ าทีคา่ sampling rate ยิ่งมากเท่าไร ย่อมไดค้ ณุ ภาพเสยี งท่ดี ีมากข้ึน ซ่ึงคา่ sampling rate ทใ่ี ชใ้ นการ บันทึกเสยี งอย่างเช่นในห้องบันทกึ เสียงจะนิยมอยู่ที่ 44.1 kHz และ 48 kHz ซงึ่ คา่ sampling rate ยง่ิ มากเท่าไรกจ็ ะยง่ิ ใช้เน้อื ที่ใน หน่วยความจามากขน้ึ เท่านนั้ แตค่ ุณภาพเสียงกจ็ ะดีข้นึ ด้วย คา่ บติ (bit – rate) คอื เปรยี บไดก้ บั ความคมชัดของภาพในการถ่ายภาพ ในเรื่องของเสียงค่า bit-rate สูงจะยงิ่ ทาใหเ้ สยี งยิ่งดี และคมชดั ซง่ึ เครื่องเสยี งระบบดิจิทัล การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502
10 ศัพท์ ความหมาย ในปจั จุบนั นยิ มใช้ระบบบ 24 บิต ADA คือ เป็นกระบวนการแปลงสญั ญาณทเ่ี ปน็ แอนนาลอก(เช่นไมโครโฟน (Analog to Digital to Analog) เสยี งดนตรี ฯ )ให้เป็นดิจทิ ลั แล้ว แปลงกับมาเปน็ แอนนาลอกอีกคร้งั ADC คือ ขบวนการแปลงสญั ญาณที่เป็นแอนนาลอกใหเ้ ป็นดิจิทัล (Analog to digital converter) DAC คือ ขบวนการแปลงสัญญาณดจิ ทิ ัลให้เปน็ แอนะล๊อก (Digital to analog converter) PCM คอื เทคนคิ การเก็บขอ้ มูลเสียงในรปู ของชุดของตวั เลขตามความถ่ี (Pulse-code modulation) Bit-depth คือ ขนาดของตัวอย่างขอ้ มลู มีหนว่ ยเปน็ บติ ท่ีมา : ฟิสิกส์ ฌอณ บวั กนก (2555) ปัจจุบันเทคโนโลยีบันทกึ เสียงในคอมพวิ เตอรม์ กี ารพฒั นาไปอย่างรวดเร็วเพื่อรองรับการใช้งานได้ใน ทุกๆกลุ่มผู้บริโภค แม้แต่คอมพิวเตอร์ท่ีมีประสิทธิภาพพ้ืนฐานทั่วไปก็สามารถบันทึกเสียงได้อย่างมืออาชีพ หากมซี อฟต์แวรท์ ีเ่ หมาะสมซ่ึงเปน็ ปัจจยั สาคัญ ดว้ ยพ้ืนฐานการบันทึกเสียงคล้ายกันหมดคือใช้ไมโครโฟนหรือ สายต่อ line in สาหรับต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ ช่องเสียบต่อไมค์ถือเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดในการบันทึกเสียง โดยตรงจากไมโครโฟนคอมพิวเตอร์ ส่วนสาย line in เหมาะสาหรับบันทึกเสียงจากต้นทางอ่ืน ๆ เช่น เครื่อง เล่น CD หรือมิกเซอร์ ดงั นน้ั ซอฟตแ์ วร์จงึ มบี ทบาทสาคญั ในการยกระดับการทางานบนั ทึกเสยี ง 4.2 การใช้ซอฟต์แวร์บนั ทึกเสยี ง หลังจากติดตั้งไมโครโฟนเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการติดต้ัง ซาวการ์ด หรือชิปประมวลผลด้าน เสียงไว้ พร้อมลงไดรเวอร์ ไว้ให้เป็นท่ีเรียบร้อย ก็สามารถเริ่มการบันทึกเสียงผ่าน Audacity ได้โดยเลือก รายการ จากนั้นกดปุ่มบันทึก สามารถบันทึกแทร็คเสียงเดียวในคอมพิวเตอร์และสามารถแก้ไขจุดผิดพลาดใน ภายหลังตามคาแนะนาที่จัดมาให้พร้อมกับโปรแกรม โปรแกรมบันทึกเสียงส่วนใหญ่ทางานคล้ายคลึงกัน หาก ต้องการบันทึกเพลงลงคอมพิวเตอร์มากกว่าแทร็คเดียว(single-track) ให้ปลดล็อคแทร็คที่ต้องการบันทึกและ เพิ่มแทร็คใหม่เข้ามา การบันทึกใหม่ทุกครั้งจะต้องมีแทร็คเป็นของตัวเอง ทาการปรับเมนูต้ังค่าเพื่อตรวจสอบ ว่าแทร็คเดิมสามารถเปิดเล่นได้ขณะบันทึกแทร็คใหม่ การรองรับหลายๆแทร็คหรือมัลติแทร็ค(multi- track)ของคอมพิวเตอรจ์ ะจากดั ตามการประมวลผล(processer) แม้แต่คอมพิวเตอร์ความเร็วสูงก็อาจมีปัญหา ในการบันทึกและเปิดเล่นแทร็คเสียงจานวนมากพร้อมกัน การเพ่ิมเอฟเฟกต์จะทาให้โปรเซสเซอร์และการ์ด เสียงทางานหนักมากยิ่งข้นึ การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502
11 ดังน้ันหากจะบันทึกเสียงและต้องการบันทึกแบบมัลติแทร็ค อาจต้องหาการ์ดเสียงดี ๆ หรือมี อินเทอร์เฟซบันทึกเสียงระดับสูงเพ่ือจะทาให้กระบวนการทางานดียิ่งขึ้น นอกจากนี้การเลือกซอฟต์แวร์ท่ี เหมาะสม ก็ช่วยทาให้การทางานมีประสิทธิภาพที่สูงและประสบความสาเร็จ โดยซอฟแวร์ท่ีใช้ในการทางาน ดา้ นเสยี ง สรุปไดด้ ังน้ี (สมาร์ทเลิร์นนง่ิ , 2555). 4.2.1 Windows 7* และ XP* มีโปรแกรมติดต้ังสาเร็จที่สามารถบันทึกแทร็คเสียงเล็กๆได้ แตห่ ากตอ้ งการคุณสมบตั แิ ละประสทิ ธิภาพทีเ่ หนือกว่า อาจจาเป็นต้องใช้ซอฟต์แวร์ จากภายนอก โปรแกรมบนั ทึกเสยี งยอดนยิ มไดแ้ ก่ 4.2.2 Audacity* - โปรแกรมฟรีที่มีประสิทธิภาพดี สามารถบันทึกและตัดต่อเสียงได้อย่างท่ี ใจต้องการ ถอื เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ที่ดสี าหรับฝกึ การบันทึกเสยี งท่วั ไป 4.2.3 Adobe* Audition* - Audition มีคุณสมบัติในการทางานมากกว่าและมีเอฟเฟกต์อยู่ มากมาย เหมาะอย่างย่ิงสาหรับตัดต่อเสียงสาหรับใช้กับวิดีโอ หรือผลิตผลงานเสียง ระดบั มืออาชีพ ซอฟต์แวร์ตัวนีม้ ีราคาแพง แตส่ ามารถรองรับฮารด์ แวรเ์ สยี งได้ทุกตัว 4.2.4 ProTools* - ProTools คือชดุ ระบบเสยี งระดบั มืออาชีพ ซ่ึงต้องใช้งานร่วมกบั ฮาร์ดแวรท์ ่ีกาหนดและพัฒนาขึน้ มาโดยเฉพาะ การติดตง้ั และใชง้ านมคี ่าใชจ้ ่ายสูง 4.3 การต้ังคา่ บันทึกเสยี งที่เหมาะสม การต้ังค่าบันทึกเสียงท่ีเหมาะสมควรทาให้เสร็จส้ินก่อนการทางานบันทึก เพื่อความสมบูรณ์และ ประสิทธิภาพของการทางาน โดยหลังจากดาเนินการดาวน์โหลดและติดตั้ง Audacity หรือโปรแกรม บันทึกเสียง ให้เลือกช่องสัญญาณเข้าท่ีถูกต้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเป็นการบันทึกผ่านช่อง line in ของ คอมพิวเตอร์ ปรับแต่งค่าบันทึกเสียงใน Windows โดยเข้าไปท่ี Control Panel ----> \"Hardware And Sound\" ----> \"Manage Audio Devices\" ตั้งค่าการเลือกไมโครโฟนหรืออุปกรณ์ line in สามารถใช้แท็บ \"Recording\" ในเมนู จะช่วยให้ผู้ใช้ สามารถเลือกไมโครโฟนหรืออุปกรณ์ line in ที่ต่ออยู่กับคอมพิวเตอร์ หลังจากเลือกไมค์ท่ีต้องการได้แล้ว สามารถปรบั ระดบั เสียงโดยใช้แถบสไลด์เพื่อใหเ้ สียงทบี่ นั ทึกไม่เกิดการโอเวอร์ไดร์ฟ ท่ีทาให้มีเสียงหวีดรบกวน ในการบันทึกเสียงข้อสังเกตทค่ี วรปรบั แต่งระหว่างบันทกึ คอื เสียงจะถูกบันทึกเป็นแถบสีแดงหากดังมากเกินไป ควรพยายามปรบั แถบสไลด์เพือ่ ให้เสียงอยู่ในแถบสีเขียวและเหลืองตามเกณฑ์ประสิทธิภาพที่เหมาะสม 5. การจดั เกบ็ (File Format) ในการทางานกับเสียงดิจิทัล จาเป็นต้องเข้าใจไฟล์เสียงดิจิทัล ซึ่งมีหลายประเภทด้วยกัน แต่ละ ประเภทกม็ ีคุณสมบัตติ ่างกัน ไฟลเ์ สยี งบางชนดิ อาจใช้งานได้กบั บางโปรแกรมเท่าน้ัน แต่บางชนิดอาจใช้งานได้ กับหลายๆโปรแกรม ไฟลเ์ สียงท่ีพบเหน็ กนั บ่อยมีดังนี้ การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502
12 5.1 ไฟล์ MIDI (.mid) ยอ่ มาจาก Musical Instrument Digital Interface เป็นไฟล์เก่ียวกับงานดนตรีและเสียงเพลง แต่ไม่ สามารถบนั ทกึ เสียงร้องได้ เพราะเป็นไฟล์ที่เก็บคาส่ังท่ีส่งไปให้อุปกรณ์ดนตรีได้แสดงเสียงออกมาตามข้อมูลที่ อยูข่ า้ งในได้ ทาให้อปุ กรณม์ เี สยี งดนตรที ่ตี ่างกัน ซง่ึ เมื่อไดท้ างานกบั ไฟล์ MIDI อันเดียวกัน อาจทาเสียงออกมา ไม่เหมือนกันก็ได้ แต่ไฟล์น้ีเป็นที่นิยมมาก เพราะมีขนาดเล็ก และแก้ไขได้ง่าย สามารถประยุกต์ให้ไฟล์ MIDI ออกมาเป็นเสียงดนตรีจริงๆได้ คุณภาพเสียงท่ีอ่านได้จากไฟล์ MIDI จะดีหรือไม่ข้ึนอยู่กับการ์ดเสียง (support MIDI) หรือ อปุ กรณ์+software ประเภท synthesizer 5.2 ไฟล์ WAVE (.wav) เปน็ ไฟลเ์ สยี งทีไ่ ด้มาจากการบนั ทึกเสียง แล้วเก็บไว้ในระบบดิจิทัล ทาให้เราสามารถนาไฟล์เหล่าน้ีไป ประยุกต์ใช้งานต่างๆต่อได้อีก ไม่ว่าจะเป็นการปรับแต่งเสียง ผสมเสียง หรือ convert ไปเป็นไฟล์เสียง ประเภทอน่ื ๆได้ (เมื่อทางานรว่ มกบั software) ไฟล์ประเภทน้มี ีขนาดใหญ่ เพราะสามารถเก็บความละเอียดไว้ ไดม้ ากเท่าทเี่ ราต้องการโดยไม่มีการบบี อัดข้อมูล (นอกจากว่าจะมาปรับแต่งทีหลัง) เป็นไฟล์เสียงประเภทหนึ่ง ที่มกั จะพบในวงการดนตรี เพราะอยา่ งนอ้ ยทีส่ ุดก็เปน็ บนั เก็บบันทกึ เสยี งของนักร้อง 5.3 ไฟล์ CD Audio (.cda) เป็นไฟล์เสียงท่ีบันทึกลงบนแผ่นซีดี ใช้เล่นกับเคร่ืองเสียงท่ัวไป ไฟล์ประเภทนี้มีความคมชัดของ สญั ญาณมาก เพราะไม่มีการบบี อัดข้อมูล เพียงเขา้ รหสั ในระบบ Linear PCM เปน็ ไฟล์ .cda ที่มักจะต้ังค่าการ เก็บข้อมูลเสียงโดยการสุ่มและแปลงสัญญาณไว้ที่ 44,100 ครั้งต่อวินาที ปกติคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถอ่าน ไฟลน์ ้ีไดโ้ ดยตรง ตอ้ งเลน่ ผ่านอปุ กรณอ์ ่ืนๆ เชน่ เครื่องเสียง , ซีดีรอม หรอื software บางชนดิ 5.4 ไฟล์ MP3 (.mp3) เป็นท่ีนิยมมากในหมู่นักฟังเพลงท่ัวไปในปัจจุบัน เพราะเป็นไฟล์เสียงที่ถูกบีบข้อมูลให้เล็กลงจาก สัญญาณเสยี งจรงิ ไดถ้ ึง 10 เท่า โดยเราสามารถเลือกความละเอียดของการเข้ารหัสได้ ทาให้คุณภาพเสียงของ ไฟล์ประเภทน้ีที่บีบอัดข้อมูลไม่มากนัก มีคุณภาพดีใช้ได้เลยทีเดียว (bitrate 128 Kbps) และเนื่องจากความ เลก็ ของไฟล์ประเภทนท้ี าใหเ้ ป็นทน่ี ิยมในการสง่ ไฟลน์ ีผ้ า่ นระบบอนิ เตอร์เนต็ กันด้วย 5.5 ไฟล์ WMA (.wma) เป็นไฟล์เสียงท่ีบริษัทไมโครซอฟท์ คิดขึ้นมาให้ทางานร่วมกับโปรแกรม Windows Media Player ของระบบวินโดว์ส สามารถฟังเสียงผ่านระบบ streaming ได้ คือ ดาวน์โหลดข้อมูลไปด้วยพร้อมกับถอดรหัส เสียงให้ฟงั ไปพร้อมๆกนั เลย โดยไมต่ อ้ งรอใหด้ าวน์โหลดครบ 100% ส่วนคุณภาพเสียงน้ันมีความละเอียดสูงไม่ แพ้ mp3 128 Kbps แต่จะมีขนาดเล็กกว่า mp3 ท่ีความละเอียดเสียงพอๆกัน เพราะเข้ารหัสแบบ bitrate 64 Kbps (คร่งึ เดียว) ปจั จบุ ันเครื่องเสยี งบา้ นและรถยนต์ไดห้ ันมารองรบั ไฟลร์ ะบบนม้ี ากขนึ้ 5.6 ไฟล์ Real Audio (.ra) การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502
13 เปน็ ไฟล์เสียงท่ีทางานคู่กับโปรแกรม Real Player เน้นการทางานแบบ Streaming สามารถฟังเสียง และดูภาพขณะกาลังดาวน์โหลดข้อมูลได้พร้อมๆกันเลย มีหลายความละเอียดให้เลือกหลายระดับ เป็นที่นิยม ในหม่นู ักดูหนงั ฟงั เพลงในอนิ เตอร์เน็ตมาก 5.7 ไฟล์ Audio Streaming Format (.asf) เป็นไฟล์เสียงหน่ึงท่ีมีรูปแบบ Streaming ท่ีเน้นส่งข้อมูลเสียงแบบ real time ใช้กันมากในการฟัง วิทยอุ อนไลน์บนอนิ เตอร์เนต็ 5.8 ไฟล์ Audio Interchange File Format (.aif , .aiff) เป็นไฟลล์ กั ษณะคล้ายไฟล์ Wave แตใ่ ชส้ าหรบั เคร่อื ง Macintosh 5.9 ไฟล์ ACC (.acc) เป็นไฟล์เสียงท่ีมีคุณภาพสูงมาก สุ่มความถี่ได้ถึง 96 kHz รองรับอัตราการเล่นไฟล์สูงถึง 576 Kbps สามารถแยกเสยี งไดถ้ ึงระบบ 5.1ชอ่ ง เทียบเท่า Dolby Digital หรือ AC-3 6. สรุปทา้ ยบท เสียงดิจิทัล เป็นการเปลี่ยนคล่ีนสัญญาณเสียงเป็นคล่ืนสัญญาณไฟฟ้า โดยนาเสียงเข้าผ่านทาง Microphone สัญญาณเสียงจะถูกนาส่งเข้าคอมพิวเตอร์เพ่ือเข้าสู่การแปลงสัญญาณ เพ่ือเปลี่ยนรูปแบบ สัญญาณแอนะล็อกไปเป็นดิจิทัลแล้วทาการส่งต่อไปประมวลผลท่ีโปรเซสเซอร์ เม่ือประมวลผลแล้วเสร็จก็จะ ส่งต่อไปยังตัวเปล่ียนอีกครั้ง เพื่อเปล่ียนสัญญาณดิจิทัลไปเป็นอนาล็อก ก่อนจะส่งออกทางช่องลาโพงเพื่อให้ มนุษย์ไดย้ นิ และเขา้ ใจ .การเตรียมการบันทึกเสียง ต้องมีการเตรียมอุปกรณ์ โดยจะประกอบไปด้วย ไมโครโฟนเพ่ือเป็น อุปกรณน์ าเสียงเข้าสรู่ ะบบการแปลงญั ญาณ คอมพิวเตอร์ทมี่ กี ารติดตั้งซาวการ์ด หรือชิปประมวลผลด้านเสียง ไว้เพ่อื ทาการแปลงสญั ญาณไฟฟ้าเป็นสญั ญาดจิ ิทัล และจัดเกบ็ ไว้ในไฟล์เสียงรูปแบบต่างๆตามความเหมาะสม ในการใชง้ าน ปกติรูปแบบของเสียงดิจิทัลจะมีอยู่เพลทฟอร์มเดียวคือ CD AUDIO หรือ WAVE เมื่อโลกของดิจิทัล ออดิโอเข้าสู่ยุค”มัลติฟอร์แมท(multi format)” คือส่ือเสียงถูกเข้ารหัสในหลายฟอร์แมท ท้ัง MP3, MP4 ที่ เพ่ิมความสามารถด้านภาพ, WMA, DivX และอ่ืนๆอีกมากมาย ซึ่งฟอร์แมทต่างๆเหล่านี้จะเน้นในเรื่องของ ความสามารถการบรรจุ อาทิเช่น ถ้าเป็นแผ่น CD audio ปกติจะบันทึกได้ราวๆ 10-12 เพลง แต่ถ้าหากเป็น แผ่น MP3 จะ สามารถบนั ทกึ ได้ถึง 100-120 เพลง รวมไปถึงฟอร์แมทอื่นๆท่คี ล้ายคลึงกัน โดยใช้หลักการของ การบีบอัดในการบันทึกและใช้หลักการของการขยายออกในการเล่น กลับ แน่นอนว่าเทคนิคของการบีบอัด/ ขยายออกนจี้ ะตอ้ งมาพรอ้ มกบั ความสามารถของโปรเซสเซอร์ประสิทธภิ าพสงู ๆ การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502
14 7. แบบฝกึ หดั ท้ายบท 1) จงอธบิ ายความหมายและลักษณะส่ือเสยี งดจิ ิทลั มาใหเ้ ข้าใจ 2) อุปกรณ์สาหรับการบันทึกเสียงมีอะไรบ้าง และจงอธิบายการติดต้ังระบบการบันทึกเสียงท่ี สามารถสรา้ งและบนั ทึกเสยี งดจิ ิทัลได้ 3) ไฟล์บนั มึกเสยี งมีอะไรบา้ ง และจะเลือกใช้เพือ่ จดั เก็บให้เหมาะสมกับงานอย่างไร 4) การจัดเกบ็ เพ่อื ใช้ทางานเกี่ยวกับงานได้เสียงวิทยุออนไลน์บนอินเตอร์เน็ต ควรจัดเก็บไฟล์ใน ลกั ษณะใด 5) Control Panel ----> \"Hardware And Sound\" ----> \"Manage Audio Devices\" จากผัง การทางานน้ี ผูท้ างานดา้ นเสยี งกาลงั ดาเนินการอะไร 6) ProTools คืออะไร มีขอ้ ดแี ละข้อเสยี อย่างไร 7) การทางานเสียงที่ต้องอาศัยความละเอียดมากๆ และให้ได้ความคมชัดของเสียงระดับDolby ควรดาเนนิ ผลิตและจัดเกบ็ อยา่ งไร และดว้ ยอปุ กรณ์อะไรบา้ ง 8) จงวาดแผนผังแสดงวงจร Analog-to-Digital Converter (ADC)/ Digital-to-Analog Converter (DAC) 9) Sampling Rate คืออะไร มีความสาคญั ทางดา้ นการผลิตสอ่ื เสียงดิจทิ ัลอยา่ งไร 10) จงบอกความสาคัญของเสียงในกระบวนการผลติ ส่ือดจิ ทิ ัลตามความคดิ เห็นของตนเอง การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502
15 8. ใบงาน “Hey Mr. DJ” งานกลุม่ : 10 คะแนน Folder / File ต้งั ช่อื DMP1035102-workshop2-ชอื่ กลุ่ม กาหนดส่งงาน : นกั ศึกษาสง่ งานภายใน 14 วนั ที่หลังไดร้ บั คาสังให้ดาเนินการทางาน โดนส่งผลงานที่ [email protected] ตง้ั ชื่อหวั ขอ้ DMP1035102-workshop2 และแยกรวบรวมไวใ้ นแฟ้มสะสมงานของ ตนเอง ตง้ั ชื่อDMP1035102-workshop2-ชอ่ื กลมุ่ เพื่อการวัดประเมนิ ปลายภาคการศึกษา คาชแี้ จง: 1. นักศกึ ษาแบ่งกลุม่ ทางานกลมุ่ ละ 3 คน โดยทาการบันทึกเสยี งการดาเนนิ รายการตามสไตล์ที่ตกลงกันใน กลุ่ม ความยาว 10 นาที โดยมอี งค์ประกอบของรายการดงั นีด้ งั นี้ ตอ้ งมเี สยี งผู้ดาเนินรายการครบท้งั 3 คน ตอ้ งทีการกล่าวเปิดและปิดรายการและมีชอื่ รายการ ต้องมเี น้ือหาเกร็ดความรู้ 1 เรอื่ ง ต้องมีเพลงจะเปน็ เพลงไทยหรือสากลก็ได้ 1 เพลง ต้องมีการใช้ sound effect ประกอบการดาเนินรายการและใชไ้ ด้อย่างเหมาะสม บันทกึ เปน็ Mp3 เกณฑ์การให้คะแนน: มคี วามเหมาะสมในองค์ประกอบเสียงทุกอยา่ งทสี่ อดคลอ้ งสัมพนั ธ์กนั มคี วามคดิ สร้างสรรค์ น่าสนใจ ชวนใหต้ ิดตามฟงั มคี ณุ ภาพของเสยี งท่ชี ัดเจน มอี งคป์ ระกอบครบตามที่กาหนด การผลิตสือ่ ระบบดิจิทลั 1031502
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: