Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore biology5

biology5

Published by พลฤทธิ์ พัดดี, 2021-02-03 18:06:44

Description: biology5

Search

Read the Text Version

90 บทที่ 19 | การเคลอ่ื นท่ขี องส่ิงมีชีวติ ชีววทิ ยา เลม่ 5 3. การออกกำ�ลังกายอย่างสม่ำ�เสมอ โดยเฉพาะการบริหารกล้ามเน้ือต้นขาจะทำ�ให้ กล้ามเน้ือแข็งแรงจะช่วยลดแรงทก่ี ระท�ำ ต่อเข่า 4. การเดินหรือว่ิงควรใส่รองเทา้ ทเี่ หมาะสม 5. การทำ�กายภาพบำ�บัด ควรปฏิบัติตามแพทย์แนะนำ� เช่น วิธีการบริหารกล้ามเนื้อและ ข้อเข่าเพื่อลดอาการปวด ป้องกันข้อผิดรูปรวมทั้งทำ�ให้กล้ามเน้ือและกระดูกบริเวณ ขอ้ เขา่ แข็งแรง ครคู วรเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นขยายความรเู้ พม่ิ เตมิ โดยอภปิ รายถงึ ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี ทางการแพทยท์ ส่ี ามารถปลกู ถา่ ยหรอื เปลย่ี นกระดกู ใหแ้ กผ่ ปู้ ว่ ยทม่ี ปี ญั หาเกย่ี วกบั กระดกู การเปลย่ี น ขอ้ ตอ่ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นไดร้ บั ความรคู้ วามกา้ วหนา้ ทางการแพทยอ์ นั เปน็ ประโยชนต์ อ่ ไป ระบบกล้ามเนอื้ ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 19.20 ในหนงั สอื เรยี นเพอ่ื แสดงลกั ษณะของเซลล์ กลา้ มเนอ้ื โครงรา่ ง กลา้ มเนอ้ื หวั ใจและกลา้ มเนอ้ื เรยี บ แลว้ ถามนกั เรยี นวา่ เซลลก์ ลา้ มเนอ้ื ทง้ั 3 ชนดิ เหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร นกั เรยี นควรตอบไดว้ า่ เซลลก์ ลา้ มเนอ้ื โครงรา่ งมรี ปู รา่ งเปน็ ทรงกระบอก ยาว มลี ายขวาง มองเหน็ เปน็ แถบเขม้ จางสลบั กนั เซลลก์ ลา้ มเนอ้ื หวั ใจคลา้ ยกบั เซลลก์ ลา้ มเนอ้ื โครงรา่ ง มลี กั ษณะเปน็ รปู ทรงกระบอกสน้ั แตกแขนงมลี ายเชน่ เดยี วกนั เซลลก์ ลา้ มเนอ้ื เรยี บมลี กั ษณะยาวเรยี ว แหลม ครกู ระตนุ้ ความสงสยั ของนกั เรยี นโดยถามนกั เรยี นวา่ การเคลอ่ื นทข่ี องมนษุ ยเ์ กย่ี วขอ้ งและ สมั พนั ธก์ บั การท�ำ งานของกลา้ มเนอ้ื โครงรา่ งและกระดกู อยา่ งไร โดยครอู าจใหน้ กั เรยี นน�ำ ปกี ไกด่ บิ มาศกึ ษา และใหส้ งั เกตในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี - ลกั ษณะของกลา้ มเน้ือปกี ไก่ - ส่วนปลายของมัดกลา้ มเนอื้ ทต่ี ดิ กับกระดกู - ข้อตอ่ - สว่ นปลายของกระดูก จากน้ันครูให้นักเรียนอภิปรายว่าโครงสร้างเหล่าน้ีทำ�งานสัมพันธ์กันและเหมาะสมต่อการ เคลอ่ื นทอ่ี ยา่ งไร แลว้ จงึ ใหน้ กั เรยี นท�ำ กจิ กรรม 19.3 เพอ่ื ศกึ ษาการท�ำ งานของกลา้ มเนอ้ื โครงรา่ งทแ่ี ขน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 5 บทท่ี 19 | การเคล่อื นที่ของสง่ิ มีชีวิต 91 กจิ กรรม 19.3 การท�ำ งานของกล้ามเน้อื โครงร่างทแ่ี ขน จดุ ประสงค์ สงั เกตและเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งระหวา่ งกลา้ มเนอ้ื บรเิ วณตน้ แขนดา้ นบนกบั ดา้ นลา่ ง เมอ่ื ท�ำ กจิ กรรมที่แตกตา่ งกนั ตวั อย่างการท�ำ กจิ กรรม ยกหนงั สอื กดพ้นื โตะ๊ เฉลยคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม กล้ามเนื้อแขนขณะที่ออกแรงยกหนังสือและกดพื้นโต๊ะกับขณะวางราบบนพ้ืน มีลักษณะ แตกต่างกันหรอื ไม่ อย่างไร แตกต่างกัน ขณะที่ออกแรงยกหนังสือ กล้ามเนื้อต้นแขนด้านบนจะเกร็งมีลักษณะแข็ง มากกวา่ ขณะทกี่ ดพนื้ โตะ๊ หรอื ขณะวางแขนราบบนพนื้ โตะ๊ เพราะกลา้ มเนอื้ ตน้ แขนดา้ นบน หดตัวและกล้ามเน้ือต้นแขนด้านล่างคลายตัว และเมื่อออกแรงกดบนพื้นโต๊ะกล้ามเนื้อ ต้นแขนด้านล่างจะเกร็งมีลักษณะแข็งมากกว่าขณะท่ียกหนังสือหรือขณะวางแขนราบบน พ้นื โต๊ะเพราะกล้ามเนื้อต้นแขนดา้ นลา่ งหดตวั และกลา้ มเนอ้ื ตน้ แขนด้านบนคลายตัว นกั เรียนจะสรุปผลการทดลองเกีย่ วกบั การท�ำ งานของกล้ามเนื้ออยา่ งไร เม่ือกล้ามเนื้อต้นแขนด้านบนหรือไบเซพหดตัว กล้ามเน้ือต้นแขนด้านล่างหรือไตรเซพจะ คลายตัวทำ�ให้แขนงอเข้าหากัน เม่ือกล้ามเน้ือไตรเซพหดตัว กล้ามเน้ือไบเซพจะคลายตัว ทำ�ให้แขนเหยยี ดออก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

92 บทที่ 19 | การเคลือ่ นทข่ี องสิ่งมีชวี ิต ชวี วิทยา เลม่ 5 จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 19.21 เพอ่ื อธบิ ายการท�ำ งานของกลา้ มเนอ้ื ไบเซพและกลา้ ม เนอ้ื ไตรเซพ ทท่ี �ำ งานเปน็ คใู่ นสภาวะตรงกนั ขา้ มในการเหยยี ดแขนและงอแขน เมอ่ื นกั เรยี นเขา้ ใจการ ทำ�งานของกล้ามเน้อื แล้วจึงให้อธิบายการทำ�งานของกล้ามเน้อื ท่บี ริเวณอ่นื ของร่างกาย เช่น ข้อเข่า โดยใชแ้ นวค�ำ ถามดงั น้ี กล้ามเนื้อท่ีเก่ียวข้องกับการเคลื่อนไหวของร่างกายส่วนใดอีกบ้าง ท่ีทำ�งานในสภาวะ ตรงกันข้าม กลา้ มเนอื้ ตน้ ขาดา้ นหนา้ และกลา้ มเนอื้ ตน้ ขาดา้ นหลงั (แฮมสตรงิ ) ท�ำ ใหง้ อขาและเหยยี ด ขาได้ ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 19.22 หรอื ครอู าจใหน้ กั เรยี นสงั เกตวา่ ระหวา่ งกลา้ มเนอ้ื กบั กระดกู จะ มเี นอ้ื เยอ่ื เกย่ี วพนั ยดึ กลา้ มเนอ้ื ตดิ กบั กระดกู เรยี กวา่ เอน็ ยดึ กระดกู หลงั จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถาม ในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี เอน็ ยึดขอ้ และเอ็นยึดกระดูกเหมอื นหรอื แตกต่างกันอย่างไร แตกต่างกันคือ เอ็นยึดข้อจะยึดกระดูกให้ต่อกัน ทำ�ให้กระดูกทำ�งานสัมพันธ์กันในขณะที่มี การเคลื่อนไหว ส่วนเอ็นยึดกระดูกจะยึดระหว่างกล้ามเนื้อกับกระดูก เพ่ือให้กระดูกท่ี กล้ามเนื้อยึดไว้เกิดการเคล่ือนไหวได้ เหมือนกันคือ ท้ังเอ็นยึดข้อและเอ็นยึดกระดูกเป็น เนอื้ เยอ่ื เกี่ยวพันท่มี ีความเหนียวและแขง็ แรง ตรวจสอบความเขา้ ใจ ขณะท่ีรา่ งกายเคลอ่ื นไหว กระดูก กล้ามเนอ้ื และข้อตอ่ มีการทำ�งานสัมพนั ธก์ นั อยา่ งไร ขณะทรี่ า่ งกายเคลอ่ื นไหว กลา้ มเนอ้ื โครงรา่ งทที่ �ำ งานรว่ มกนั ในลกั ษณะสภาวะตรงกนั ขา้ ม จะหดตวั หรอื คลายตวั เพอื่ ควบคมุ การเคลอ่ื นไหวของกระดกู ในขณะทขี่ อ้ ตอ่ จะชว่ ยควบคมุ ทิศทางในการเคลื่อนไหวของกระดูก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 5 บทที่ 19 | การเคล่อื นท่ขี องส่ิงมชี วี ิต 93 ครูให้นักเรียนเช่ือมโยงกับหลักของวิชาฟิสิกส์เร่ืองคาน เพ่ือให้นักเรียนเกิดความเข้าใจว่า การหดตวั ของกลา้ มเนอ้ื ทท่ี �ำ ใหก้ ระดกู เคลอ่ื นไหวอาศยั หลกั การท�ำ งานโดยการออกแรงตา้ นน�ำ้ หนกั แบบ คานดดี คานงดั โดยมขี อ้ ตอ่ ระหวา่ งกระดกู เปน็ จดุ หมนุ กลา้ มเนอ้ื กบั กระดกู ท�ำ งานโดยอาศยั หลกั การของ คาน คอื มกี ระดกู เปน็ คานและขอ้ ตอ่ เปน็ จดุ หมนุ สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายสามารถเปรยี บเทยี บกบั คานไดด้ งั น้ี - กระดกู เปรียบไดก้ บั ตัวคาน - ข้อตอ่ เปรยี บไดก้ บั จดุ หมุน - แรงดงึ กล้ามเนอ้ื เปรยี บไดก้ บั แรงพยายาม - นำ�้ หนกั ของกระดูกและวตั ถุที่ถือในมือเปรยี บไดก้ บั แรงตา้ น ตวั อยา่ งเชน่ การหดตวั ของกลา้ มเนอ้ื ทท่ี �ำ ใหก้ ระดกู เคลอ่ื นไหวอาศยั หลกั การท�ำ งานโดยการ ออกแรงตา้ นน�ำ้ หนกั แบบคานงดั คานดดี มกี ระดกู เปน็ คานและขอ้ ตอ่ เปน็ จดุ หมนุ ดงั รปู แรงพยายาม จุดหมนุ แรงต้าน แรงต้าน โครงสรา้ งและการทำ�งานของกล้ามเนือ้ โครงรา่ ง ipst.me/10797 ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใชร้ ปู 19.23 ในหนงั สอื เรยี นเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นศกึ ษา โครงสรา้ งและการท�ำ งานของกลา้ มเนอ้ื โครงรา่ ง จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 19.24 19.25 และ 19.26 แลว้ ตง้ั ค�ำ ถามถามนกั เรยี นวา่ กลา้ มเนอ้ื โครงรา่ งหดตวั และ คลายตวั ไดอ้ ยา่ งไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

94 บทที่ 19 | การเคล่ือนท่ีของสิง่ มีชีวิต ชวี วิทยา เลม่ 5 นกั เรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ กลา้ มเนอ้ื โครงรา่ งหดตวั เกดิ จากการกระตนุ้ โดยเซลลป์ ระสาททส่ี ง่ กระแส ประสาทมาท่กี ล้ามเน้อื น้นั กล้ามเน้อื ของมนุษย์จะประกอบด้วยมัดกล้ามเน้อื ซ่งึ มีเซลล์กล้ามเน้อื หรือ เสน้ ใยกลา้ มเนอ้ื ภายในเสน้ ใยกลา้ มเนอ้ื ประกอบดว้ ยเสน้ ใยกลา้ มเนอ้ื เลก็ ซง่ึ มโี ปรตนี หลกั เปน็ ไมโอซนิ และแอกทนิ เมอ่ื ระดบั แคลเซยี มทส่ี งู ขน้ึ จนเหมาะสมจะไปจบั กบั โปรตนี ควบคมุ ท�ำ ใหไ้ มโอซนิ ทไ่ี ดร้ บั ATP สามารถจบั กบั แอกทนิ เกดิ การเลอ่ื นของแอกทนิ และเกดิ การหดตวั ของกลา้ มเนอ้ื จากนน้ั แคลเซยี ม จะถกู ดงึ กลบั สู่ SR โดยแคลเซยี มปม๊ั ซง่ึ ตอ้ งใช้ ATP การลดลงของระดบั แคลเซยี มนท้ี �ำ ใหโ้ ปรตนี ควบคมุ กลบั ไปจบั กบั แอกทนิ เหมอื นเดมิ ไมโอซนิ จงึ ไมส่ ามารถจบั กบั แอกทนิ ได้ กลา้ มเนอ้ื จงึ คลายตวั ส�ำ หรบั ค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี นมแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี จงเปรียบเทียบการหดและคลายตวั ของกลา้ มเน้ือโครงรา่ ง กลา้ มเนอ้ื หดตวั กล้ามเนอ้ื คลายตวั มกี ารกระตนุ้ จากเซลลป์ ระสาท ไมม่ กี ารกระตุ้นจากเซลล์ประสาท แคลเซยี มไอออนจาก SR ออกมาใน แคลเซียมไอออนในไซโทพลาซมึ ถกู ดงึ ไซโทพลาซึม กลับสู่ SR โปรตนี ควบคมุ ไมข่ วางการเขา้ จบั ของ โปรตนี ควบคมุ ขวางการเขา้ จบั ของ ไมโอซิน ไมโอซนิ ใช้ ATP ใช้ ATP ไมโอซินจับกบั แอกทนิ ไมโอซินไม่จบั กับแอกทิน แอกทนิ เลอ่ื นเขา้ หากนั แอกทนิ เลอ่ื นออกจากกนั ตะครวิ เปน็ อาการเกรง็ ตวั หรอื หดเกรง็ ของกลา้ มเนอ้ื เพราะเหตใุ ดถา้ มกี ารออกก�ำ ลงั กายหนกั จึงอาจเป็นตะครวิ ได้ การคลายตัวของกลา้ มเนื้อต้องมีการดงึ แคลเซยี มไอออนกลบั สู่ SR โดยแคลเซยี มป๊ัมซ่งึ ตอ้ ง ใชพ้ ลังงานจาก ATP การออกก�ำ ลังกายหนกั ท�ำ ใหก้ ล้ามเนอื้ มกี ารใช้ ATP จำ�นวนมาก เมอื่ กล้ามเนื้อหดตัวแล้วเกิดภาวะขาด ATP กล้ามเน้ือจะคลายตัวไม่ได้ จึงเกิดการหดเกร็งเป็น ตะคริวได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 5 บทท่ี 19 | การเคลื่อนท่ขี องส่งิ มีชวี ติ 95 แนวการวัดและประเมินผล ด้านความรู้ - โครงสร้างและหน้าที่ของกระดูกและกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวและการ เคลือ่ นทข่ี องมนษุ ย์ - การทำ�งานของข้อต่อชนิดต่าง ๆ และการทำ�งานของกล้ามเน้ือโครงร่างท่ีเกี่ยวข้องกับการ เคลอื่ นไหวและการเคล่ือนทีข่ องมนุษย์ ด้านทักษะ - การสังเกตและการลงความเหน็ จากขอ้ มลู จากการทำ�กิจกรรมและการอภิปรายรว่ มกัน - ทักษะการจดั กระทำ�และสอื่ ความหมายขอ้ มูลจากการท�ำ กจิ กรรม - ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีม และภาวะผู้นำ� และการส่ือสารสารสนเทศและการรู้ เท่าทันส่ือ จากการท�ำ กจิ กรรมและการนำ�เสนอ ด้านจิตวิทยาศาสตร์ - ความอยากรู้อยากเห็นและความมุ่งมั่นอดทน จากการสังเกตพฤติกรรมในการท�ำ กิจกรรม และการอภิปรายร่วมกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

96 บทที่ 19 | การเคลื่อนท่ีของสิง่ มีชีวติ ชวี วิทยา เล่ม 5 เฉลยแบบฝกึ หดั ทา้ ยบทท่ี 19 1. จงใส่เครื่องหมายถูก (√) หน้าข้อความที่ถูกต้อง ใส่เครื่องหมายผิด (×) หน้าข้อความที่ ไมถ่ กู ตอ้ ง และขดี เสน้ ใตเ้ ฉพาะค�ำ หรอื สว่ นของขอ้ ความทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง และแกไ้ ขโดยตดั ออก หรือเตมิ คำ�หรือขอ้ ความทถี่ ูกต้องลงในชอ่ งวา่ ง ��������� 1.1 การเคลื่อนที่ของหมึกเกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อบริเวณลำ�ตัว ทำ�ให้นำ้� ภายในล�ำ ตวั พน่ ออกทางไซฟอน หมกึ จงึ เคลอื่ นทไี่ ปในทศิ ทางเดยี วกบั น�้ำ ทพ่ี น่ ออกมา แกไ้ ขเป็น ตรงกันขา้ ม ��������� 1.2 ขณะท่ีกล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์คลายตัว กล้ามเนื้อเอ็กเทนเซอร์หดตัว จะทำ�ให้ ขาของแมลงงอเข้า ขอ้ ความทผี่ ดิ กรณีที่ 1 ขณะท่ีกล้ามเน้ือเฟล็กเซอร์คลายตัว กล้ามเน้ือเอ็กเทนเซอร์หดตัว จะทำ�ให้ ขาของแมลงงอเข้า แก้ไขเปน็ เหยียดออก ข้อความทผ่ี ดิ กรณที ี่ 2 ขณะท่ีกล้ามเน้ือเฟล็กเซอร์คลายตัว กล้ามเน้ือเอ็กเทนเซอร์หดตัว จะทำ�ให้ ขาของแมลงงอเขา้ แกไ้ ขเปน็ หดตัว และ คลายตวั ตามล�ำ ดบั ��������� 1.3 การเคลอ่ื นทข่ี องสตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั เกดิ จากการท�ำ งานรว่ มกนั ของกระดกู และ กลา้ มเนอ้ื โดยมรี ะบบประสาทท�ำ หนา้ ทค่ี วบคมุ ��������� 1.4 การบบี ตวั และคลายตวั ของหวั ใจเกดิ จากการท�ำ งานของกลา้ มเนอ้ื เรยี บ แกไ้ ขเป็น กล้ามเนือ้ หวั ใจ ��������� 1.5 กระดูกบางช้ินในทารกแรกเกิดยังไม่เช่ือมประสานกันทำ�ให้จำ�นวนชิ้นของ กระดกู มีมากกว่าในผูใ้ หญ่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 5 บทท่ี 19 | การเคล่ือนท่ขี องส่ิงมชี วี ติ 97 ��������� 1.6 เนอ้ื เยอื่ เกยี่ วพนั ทย่ี ดึ ระหวา่ งกระดกู 2 ชน้ิ บรเิ วณขอ้ ตอ่ เรยี กวา่ เอน็ ยดึ กระดกู ขอ้ ความทีผ่ ิดกรณีที่ 1 เนอ้ื เยอื่ เกย่ี วพนั ทยี่ ดึ ระหวา่ งกระดกู 2 ชนิ้ บรเิ วณขอ้ ตอ่ เรยี กวา่ เอน็ ยดึ กระดกู แกไ้ ขเปน็ เอน็ ยดึ ขอ้ ข้อความท่ีผดิ กรณที ่ี 2 เนอ้ื เยอื่ เกยี่ วพนั ทย่ี ดึ ระหวา่ งกระดกู 2 ชน้ิ บรเิ วณขอ้ ตอ่ เรยี กวา่ เอน็ ยดึ กระดกู แกไ้ ขเปน็ กระดูกกบั กลา้ มเนอื้ ������� 1.7 ถ้าระบบประสาทโซมาติกถูกทำ�ลาย จะทำ�ให้กล้ามเน้ือหัวใจและกล้ามเนื้อ โครงร่างไม่สามารถท�ำ งานได้ ข้อความทผ่ี ิดกรณีที่ 1 ถ้าระบบประสาทโซมาติกถูกทำ�ลาย ทำ�ให้กล้ามเนื้อหัวใจและกล้ามเนื้อโครง ร่างไม่สามารถท�ำ งานได้ แก้ไขโดย ตดั ค�ำ วา่ กลา้ มเนื้อหัวใจและ ขอ้ ความท่ผี ดิ กรณีท่ี 2 ถ้าระบบประสาทโซมาติกถูกทำ�ลาย ทำ�ให้กล้ามเนื้อหัวใจและกล้ามเนื้อโครง รา่ งไมส่ ามารถท�ำ งานได้ แก้ไขเป็น อัตโนวัติและตัดค�ำ ว่า และกลา้ มเนอ้ื โครงรา่ ง ������� 1.8 ขอ้ ตอ่ ทบ่ี รเิ วณหวั ไหลเ่ ปน็ ขอ้ ตอ่ ชนดิ เดยี วกบั ขอ้ ตอ่ ทต่ี น้ คอกบั ฐานของกะโหลก ศรี ษะ แก้ไขเป็น ต่างชนิด ������� 1.9 เมอ่ื พจิ ารณาในแตล่ ะซารโ์ คเมยี ร์ การหดตวั และคลายตวั ของกลา้ มเนอื้ เกดิ จาก การเล่อื นของแอกทนิ และไมโอซิน แกไ้ ขโดย ตัดค�ำ วา่ และไมโอซิน ������� 1.10 ผปู้ ว่ ยท่ีมีอาการโรคขอ้ เขา่ เสือ่ มแบบท่ีมนี �ำ้ ไขขอ้ ลดลง เม่ือเคลือ่ นไหวจะทำ�ให้ กระดูกในบริเวณเข่าเสียดสกี ัน และเกดิ อาการเจ็บปวด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

98 บทที่ 19 | การเคล่ือนที่ของส่ิงมชี วี ติ ชวี วิทยา เลม่ 5 ������� 1.11 ขณะเอ้ือมมือไปหยิบของ กล้ามเน้ือไบเซพจะหดตัวและกล้ามเนื้อไตรเซพจะ คลายตวั แกไ้ ขเป็น คลาย และ หด ตามลำ�ดบั ������� 1.12 แคลเซียมไอออนที่ปล่อยจากซาร์โคพลาสมิกเรติคูลัมจะจับกับโปรตีนควบคุม ทำ�ให้ไมโอซินจับกับแอกทินได้ เกิดการเลื่อนของแอกทินเข้าหากันและทำ�ให้ กลา้ มเนื้อหดตัว ������� 1.13 การกระตนุ้ โดยเซลลป์ ระสาททำ�ใหก้ ลา้ มเนอ้ื หดตวั และเมอ่ื ไมม่ กี ารกระตนุ้ จะ ท�ำ ใหก้ ลา้ มเนอ้ื คลายตวั 2. การเคลื่อนท่ีของส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียว ได้แก่ อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา เหมือนหรือ แตกตา่ งกัน และมีความสัมพนั ธ์กับออรแ์ กเนลล์ภายในเซลล์หรอื ไม่ อย่างไร แตกตา่ งกนั โดยการเคลอ่ื นทข่ี องอะมบี าเกดิ จากการไหลของไซโทพลาสซมึ ซง่ึ เกดิ จากการ รวมตัวและแยกตัวของโปรตีนแอกทินท่ีเป็นไมโครฟิลาเมนท์ ขณะท่ีการเคล่ือนท่ีของ พารามเี ซยี มและยกู ลนี าเกดิ จากการท�ำ งานของซเิ ลยี และแฟลเจลลมั ซง่ึ มไี มโครทบู ลู เปน็ สว่ น ประกอบ 3. เพราะเหตใุ ดการออกก�ำ ลงั กายทใ่ี ชก้ ลา้ มเนอ้ื โครงรา่ ง เชน่ การวง่ิ วา่ ยน�ำ้ จงึ ตอ้ งการพลงั งาน จากการสลายสารอาหารระดับเซลล์มาก เพราะการหดและคลายตัวของกล้ามเน้อื โครงร่างต้องอาศัย ATP การออกกำ�ลังกายทำ�ให้ กลา้ มเนอ้ื โครงรา่ งท�ำ งานมากขน้ึ จงึ ตอ้ งการ ATP จากการสลายสารอาหารระดบั เซลลม์ ากขน้ึ 4. เพราะเหตใุ ดภายหลงั คนตายเพยี งไมก่ ช่ี วั่ โมง จงึ เกดิ อาการแขง็ ตวั ของกลา้ มเนอื้ ทวั่ รา่ งกาย อาการแขง็ ตวั ของกลา้ มเนอ้ื ทวั่ รา่ งกายเกดิ หลงั จากเสยี ชวี ติ ตามปกตปิ ระมาณ 2- 4 ชว่ั โมง เนื่องจากเซลล์กล้ามเน้ือเริ่มตาย แคลเซียมจึงร่ัวออกมาจากซาร์โคพลาสมิกเรติคิวลัม และไปจับกับโปรตีนควบคุม ทำ�ให้ไมโอซินสามารถจับแอกทินและเกิดการหดตัวของ กล้ามเน้ืออย่างเต็มท่ี และไม่มีการสร้าง ATP ทำ�ให้แคลเซียมไม่ถูกดึงกลับเข้าสู่ ซาร์โคพลาสมิกเรติคิวลัม โปรตีนควบคุมไม่กลับไปจับกับแอกทิน กล้ามเนื้อจึงไม่เกิดการ คลายตัว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 5 บทท่ี 20 | ระบบตอ่ มไร้ทอ่ 99 20บทท่ี | ระบบต่อมไร้ท่อ ipst.me/10785 ผลการเรยี นรู้ 1. สืบคน้ ข้อมลู อธบิ าย และเขยี นแผนผงั สรุปหน้าท่ขี องฮอร์โมนจากตอ่ มไรท้ ่อและเนือ้ เยอ่ื ที่สรา้ งฮอรโ์ มน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

100 บทท่ี 20 | ระบบต่อมไรท้ ่อ ชีววิทยา เล่ม 5 การวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ 1. สบื คน้ ขอ้ มลู อธบิ าย และเขยี นแผนผงั สรปุ หนา้ ทขี่ องฮอรโ์ มนจากตอ่ มไรท้ อ่ และเนอื้ เยอื่ ที่ สรา้ งฮอรโ์ มน จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายการทำ�งานร่วมกนั ของระบบต่อมไรท้ อ่ และระบบประสาท 2. ระบตุ �ำ แหนง่ ของตอ่ มไรท้ ่อและเนอื้ เย่ือทีส่ �ำ คญั ในร่างกายที่ทำ�หน้าท่ีสร้างฮอร์โมน 3. สบื คน้ ขอ้ มลู และอธบิ ายเกยี่ วกบั ประเภทและหนา้ ทข่ี องฮอรโ์ มนจากตอ่ มไรท้ อ่ และเนอ้ื เยอ่ื ทส่ี ร้างฮอร์โมน 4. ยกตวั อยา่ งและอธบิ ายการท�ำ งานรว่ มกนั ของฮอรโ์ มนหลายชนดิ ในการรกั ษาดลุ ยภาพของ รา่ งกาย 5. อธบิ ายและเขียนแผนผงั การจัดกลมุ่ ฮอรโ์ มนชนดิ ต่าง ๆ ตามการท�ำ งานของฮอร์โมน 6. อธิบายอาการผิดปกตขิ องร่างกายที่เกดิ จากการมฮี อร์โมนปรมิ าณมากหรือน้อยเกนิ ไป ทักษะกระบวนการ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 จติ วิทยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. การใช้วจิ ารณญาณ 1. การสังเกต 1. การสอ่ื สารสารสนเทศและ 2. ความอยากรู้อยากเห็น 3. ความใจกว้าง 2. การจ�ำ แนกประเภท การรเู้ ท่าทนั สอ่ื 4. ความมงุ่ มนั่ อดทน 5. ความซ่ือสตั ย์ 3. การลงความเห็นจากข้อมลู 2. การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและ 4. การตคี วามหมายขอ้ มลู และ การแก้ปญั หา ลงข้อสรุป 3. ความรว่ มมือ การทำ�งานเป็นทมี และภาวะผู้น�ำ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บทท่ี 20 | ระบบต่อมไรท้ ่อ 101 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

102 บทที่ 20 | ระบบตอ่ มไร้ท่อ ชวี วทิ ยา เลม่ 5 ผังมโนทศั น์ บทที่ 20 ระบบต่อมไร้ทอ่ ศกึ ษาเกยี่ วกบั การทำ�งานร่วมกนั ของระบบ ต่อมไรท้ อ่ และระบบประสาท ตอ่ มไร้ทอ่ และเนอื้ เยื่อที่สร้างฮอร์โมน เกยี่ วขอ้ ง เชน่ ตอ่ มใต้สมอง ไฮโพทาลามสั ไฮโพทาลามสั ต่อมใต้สมอง ต่อมไทรอยด์ ต่อมพาราไทรอยด์ ไทมัส ต่อมหมวกไต ตบั ออ่ น รังไข่และอัณฑะ ตอ่ มไพเนยี ล อืน่  ๆ เชน่ รก กระเพาะอาหาร ลำ�ไสเ้ ลก็ ไต สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 5 บทที่ 20 | ระบบตอ่ มไรท้ ่อ 103 ฮอรโ์ มนและการทำ�งานของฮอร์โมน การรบั รู้และการตอบสนอง แบง่ เปน็ โดย ฮอร์โมนท่คี วบคุมการสร้างและหลงั่ ฮอร์โมนชนิดอ่ืน การควบคมุ แบบปอ้ นกลับ เชน่ แบง่ เปน็ GnRH TRH CRH GHRH GHIH PIH Gn TSH ACTH แบบป้อนกลับยบั ยัง้ ฮอร์โมนท่คี วบคุมและเกีย่ วข้องกับเมแทบอลซิ ึม แบบปอ้ นกลบั กระตุ้น เชน่ ไทรอกซนิ คอรท์ ิซอล เอพิเนฟริน นอรเ์ อพิเนฟรนิ อนิ ซูลิน กลคู ากอน ฮอรโ์ มนท่ีควบคมุ การสืบพันธุ์และการเจริญเตบิ โต เช่น อสี โทรเจน โพรเจสเทอโรน แอนโดรเจน เทสโทสเทอโรน FSH LH GH ไทรอกซนิ ฮอร์โมนทค่ี วบคุมการรักษาดลุ ยภาพของน�ำ้ และแรธ่ าตุ เชน่ ADH แอลโดสเทอโรน แคลซโิ ทนนิ พาราทอรโ์ มน ฮอร์โมนที่ทำ�หนา้ ทอ่ี น่ื  ๆ เช่น เมลาโทนนิ ออกซโิ ทซนิ โพรแลกทิน เอนดอรฟ์ ิน hCG ไทโมซิน แกสทริน ซีครีทิน คอลีซิสโทไคนิน อีรโี ทรโพอทิ ิน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

104 บทท่ี 20 | ระบบตอ่ มไร้ท่อ ชวี วทิ ยา เลม่ 5 สาระสำ�คญั ระบบต่อมไร้ท่อมีการทำ�งานร่วมกันกับระบบประสาทเพื่อควบคุมการทำ�งานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย ระบบประสาทมีสารสื่อประสาทเป็นตัวกลางในการถ่ายทอดกระแสประสาทไปยัง เซลล์เป้าหมายโดยตรง ในขณะท่ีระบบต่อมไร้ท่อจะมีฮอร์โมนซึ่งลำ�เลียงผ่านระบบหมุนเวียนเลือด ไปยังเซลลเ์ ป้าหมายซึง่ สว่ นใหญ่อยู่ไกลออกไปและมีตวั รบั ทีจ่ ำ�เพาะต่อฮอร์โมน มนุษย์และสัตว์มีกระดูกสันหลังมีต่อมไร้ท่อและเน้ือเยื่อทำ�หน้าที่ผลิตฮอร์โมน กระจายอยู่ใน ตำ�แหนง่ ตา่ ง ๆ ท่ัวรา่ งกาย เช่น ตอ่ มใต้สมอง ตบั อ่อน ตอ่ มหมวกไต ตอ่ มไทรอยด์ ตอ่ มพาราไทรอยด์ อวัยวะสืบพันธ์ุ ต่อมไพเนียล เน้ือเย่ือของกระเพาะอาหาร ลำ�ไส้เล็กส่วนดูโอดินัม ไทมัส รก และไต โดยสร้างและหล่งั ฮอร์โมนซึ่งอาจเปน็ สารประเภทเพปไทด์หรือโปรตีน เอมีน หรอื สเตอรอยด์ ฮอรโ์ มนมหี ลายชนดิ ท�ำ หนา้ ทแี่ ตกตา่ งกนั และควบคมุ การท�ำ งานของรา่ งกาย เชน่ เมแทบอลซิ มึ การยอ่ ยอาหาร การควบคมุ ดลุ ยภาพของสารในเลอื ด การสบื พนั ธุ์ การเจรญิ เตบิ โต จงึ อาจแบง่ ฮอรโ์ มน ออกเปน็ กลุ่มต่าง ๆ ดังนี้ ฮอร์โมนท่ีควบคุมการสร้างและหล่ังฮอรโ์ มนชนดิ อน่ื ฮอร์โมนทค่ี วบคุมและ เก่ียวข้องกับเมแทบอลิซึม ฮอร์โมนท่ีควบคุมการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ฮอร์โมนท่ีควบคุม การรักษาดุลยภาพของนำ้�และแร่ธาตุ และฮอร์โมนที่ทำ�หน้าท่ีอื่น ๆ นอกจากนี้สัตว์ยังมีฟีโรโมนซึ่ง ผลิตจากตอ่ มมที อ่ ของสัตว์ซึ่งส่งผลตอ่ สตั วต์ ัวอ่นื ท่เี ปน็ สปีชีสเ์ ดียวกัน การรักษาสมดุลของฮอร์โมน เป็นการควบคุมการหล่ังฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อ โดยปริมาณของ ฮอร์โมนเอง ระดับสารเคมีอ่ืน ๆ ในเลือด และระบบประสาท ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นวิธีการควบคุมแบบ ปอ้ นกลบั ซึง่ มี 2 แบบ คือแบบป้อนกลบั ยบั ยงั้ และแบบปอ้ นกลับกระตุ้น เวลาทีใ่ ช้ 1 ช่วั โมง บทน้ีควรใช้เวลาสอนประมาณ 12 ช่ัวโมง 1 ชวั่ โมง 20.1 การท�ำ งานรว่ มกนั ของระบบตอ่ มไรท้ ่อและระบบประสาท 8 ชัว่ โมง 20.2 ตอ่ มไร้ท่อ 2 ช่วั โมง 20.3 ฮอร์โมนและการท�ำ งานของฮอรโ์ มน 12 ชั่วโมง 20.4 การรกั ษาสมดลุ ของฮอร์โมน รวม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 5 บทท่ี 20 | ระบบตอ่ มไร้ทอ่ 105 ตรวจสอบความรูก้ ่อนเรยี น ให้นักเรยี นใส่เคร่อื งหมายถูก (√) หรือผดิ (×) หนา้ ขอ้ ความตามความเขา้ ใจของนกั เรยี น 1. ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อถูกลำ�เลียงไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกายโดยระบบหมุนเวียนเลือด และก�ำ จัดออกจากร่างกายโดยระบบน้�ำ เหลอื ง 2. ฮอร์โมนเพศทำ�หนา้ ทค่ี วบคุมการแสดงออกของลักษณะทางเพศทีแ่ ตกตา่ งกัน 3. รงั ไข่ท�ำ หนา้ ทส่ี ร้างฮอร์โมนเพศ คอื เทสโทสเทอโรน อสี โทรเจน และโพรเจสเทอโรน 4. ยาคมุ ก�ำ เนิดเป็นฮอร์โมนสังเคราะหท์ มี่ ีโครงสร้างคลา้ ยฮอร์โมนเพศหญงิ 5. อีสโทรเจนและเทสโทสเทอโรนเปน็ ฮอรโ์ มนท่สี ังเคราะห์มาจากคอเลสเตอรอล 6. อสี โทรเจนและโพรเจสเทอโรนเป็นฮอร์โมนกลุ่มสเตอรอยด์ 7. การควบคุมสมดุลของนำ้�ในร่างกายเก่ียวข้องกับแอนติไดยูเรติกฮอร์โมน (ADH) ซ่ึง กระตนุ้ ใหท้ อ่ ขดสว่ นปลายของหนว่ ยไตและทอ่ รวมดดู กลบั น�ำ้ คนื เขา้ สหู่ ลอดเลอื ด ท�ำ ให้ ปริมาณน้ำ�ในเลือดสมดลุ 8. การควบคมุ สมดลุ ของโซเดียม โพแทสเซยี ม และฟอสเฟตเกี่ยวขอ้ งกบั แอลโดสเทอโรน จากไต โดยกระตุ้นใหม้ กี ารดดู กลับสารตา่ ง ๆ เข้าสหู่ ลอดเลือด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

106 บทท่ี 20 | ระบบตอ่ มไร้ท่อ ชีววิทยา เลม่ 5 แนวการจัดการเรียนรู้ ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นศกึ ษารปู น�ำ บทในหนงั สอื เรยี น หรอื วดี ทิ ศั นเ์ กย่ี วกบั ความ ผดิ ปกตขิ องฮอรโ์ มนกับขนาดของรา่ งกาย เช่น คนแคระกับคนร่างยกั ษ์ จากน้ันใช้ค�ำ ถามดงั น้ี ในขณะฟังเพลงท่ีช่ืนชอบ ออกกำ�ลังกาย รับประทานอาหารท่ีชอบ เราจะมีความสุข และสดชื่น นักเรียนคิดวา่ เกี่ยวขอ้ งกบั ฮอรโ์ มนหรือไม่ อย่างไร ในชีวิตประจ�ำ วนั นกั เรียนคิดว่ามกี จิ กรรมใดอีกบา้ งท่ีเกี่ยวข้องกบั ฮอร์โมน คนแคระกบั คนร่างยกั ษม์ คี วามผิดปกติเกี่ยวกบั ฮอร์โมนอะไร ค�ำ ตอบขนึ้ อยกู่ บั ประสบการณข์ องนกั เรยี น และนกั เรยี นอาจตอบไดว้ า่ เกยี่ วขอ้ งกบั ฮอรโ์ มน ซึ่งเป็นสารเคมีที่ร่างกายสร้างจากต่อมไร้ท่อและเนื้อเย่ือต่าง ๆ เพื่อทำ�หน้าที่ควบคุมการทำ�งานของ ร่างกายให้อยู่ในดุลยภาพได้ กิจกรรมในชีวิตประจำ�วันที่เก่ียวข้องกับฮอร์โมน เช่น การขับถ่าย การ ยอ่ ยอาหาร และครใู หค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ วา่ คนแคระกบั คนรา่ งยกั ษเ์ กดิ จากความผดิ ปกตขิ องโกรทฮอรโ์ มน จากน้นั ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันระดมความคดิ ในประเดน็ ตา่ ง ๆ เพอื่ นำ�ไปสหู่ วั ขอ้ การทำ�งานรว่ ม กนั ของระบบต่อมไร้ทอ่ และระบบประสาท ดังนี้ ตอ่ มไรท้ อ่ และเนอ้ื เยอื่ ในรา่ งกายประสานงานและควบคมุ ใหร้ า่ งกายอยใู่ นดลุ ยภาพได้ อย่างไร ฮอร์โมนมีการท�ำ งานรว่ มกบั ระบบใดในการควบคมุ ดุลยภาพของร่างกาย 20.1 การท�ำ งานรว่ มกันของระบบต่อมไรท้ อ่ และระบบประสาท จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการท�ำ งานรว่ มกนั ของระบบต่อมไรท้ ่อและระบบประสาท แนวการจัดการเรียนรู้ ครนู �ำ เข้าสบู่ ทเรยี นโดยใชร้ ูป 20.1 เพ่ือระบตุ �ำ แหน่งของไฮโพทาลามสั และทบทวนความรู้ เกี่ยวกับหน้าที่ของไฮโพทาลามัส การควบคุมการตอบสนองของร่างกายโดยระบบประสาท แล้วใช้ ค�ำ ถามดงั นี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 5 บทที่ 20 | ระบบต่อมไร้ท่อ 107 ไฮโพทาลามัสมีหนา้ ทีอ่ ะไรบา้ ง เก่ยี วข้องกบั ระบบตอ่ มไรท้ อ่ หรอื ไม่อยา่ งไร ไฮโพทาลามัสเป็นส่วนของสมองส่วนหน้ามีหน้าท่ีควบคุมการรักษาดุลยภาพของนำ้� และอุณหภูมิของร่างกาย ควบคุมการเต้นของหัวใจและความดันเลือด สร้างฮอร์โมน ประสาทไปควบคมุ การหลั่งฮอร์โมนของต่อมใตส้ มองสว่ นหนา้ จากนั้นครูให้นกั เรยี นศกึ ษารปู 20.1 ในหนงั สอื เรยี น แล้วอภิปรายรว่ มกัน เพื่อเปรยี บเทียบ ความสัมพันธ์ระหว่างไฮโพทาลามัสกับต่อมใต้สมองส่วนหน้าและไฮโพทาลามัส กับต่อมใต้สมอง ส่วนหลงั ในการสร้าง การหล่งั และการล�ำ เลยี งฮอรโ์ มน โดยครูอาจใช้คำ�ถามเพือ่ น�ำ ไปสูก่ ารอภิปราย ดังนี้ สารที่สร้างจากไฮโพทาลามัสมีอะไรบา้ ง สารสอื่ ประสาทและฮอร์โมนประสาท ฮอร์โมนประสาทที่หล่ังจากเซลล์นิวโรซีครีทอรีจากไฮโพทาลามัสเข้าสู่ต่อมใต้สมอง ส่วนหน้าได้อยา่ งไร ผา่ นระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ปลายแอกซอนของเซลลน์ วิ โรซคี รีทอรใี นไฮโพทาลามสั อยทู่ ่ตี ่อมใต้สมองส่วนใด ตอ่ มใต้สมองสว่ นหลงั ฮอร์โมนประสาทท่ีสร้างจากเซลล์นิวโรซีครีทอรีในไฮโพทาลามัสเก่ียวข้องกับ ต่อมใต้สมองสว่ นหน้าอยา่ งไร ทำ�หน้าท่ีเป็นฮอร์โมนกระตุ้นหรือฮอร์โมนยับยั้งการสร้างและหล่ังฮอร์โมนของ ต่อมใต้สมองส่วนหนา้ ตอ่ มใต้สมองส่วนหลังสรา้ งฮอรโ์ มนหรือไม่ ตอ่ มใตส้ มองสว่ นหลงั ไมม่ กี ารสรา้ งฮอรโ์ มน แตร่ บั ฮอรโ์ มนทสี่ รา้ งมาจาก ไฮโพทาลามสั เพ่อื หล่งั ไปยังอวัยวะเป้าหมาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

108 บทที่ 20 | ระบบต่อมไรท้ ่อ ชวี วทิ ยา เล่ม 5 ครูและนักเรียนร่วมกันอธิบายและสรุปให้ได้ว่า ระบบต่อมไร้ท่อและระบบประสาททำ�งาน ร่วมกันในการควบคุมดุลยภาพของร่างกาย โดยมีไฮโพทาลามัสซึ่งเป็นส่วนของสมองส่วนหน้าและมี ตำ�แหน่งอยู่ติดกับต่อมใต้สมองทำ�หน้าท่ีสร้างและหล่ังฮอร์โมนประสาทมาควบคุมการสร้างและหลั่ง ฮอรโ์ มนของตอ่ มใตส้ มองสว่ นหนา้ ไฮโพทาลามสั จงึ เปน็ ตวั เชอ่ื มการท�ำ งานระหวา่ งระบบประสาทและ ระบบต่อมไร้ทอ่ ฮอรโ์ มนทสี่ รา้ งและหลงั่ จากไฮโพทาลามสั ทไ่ี ปยงั ตอ่ มใตส้ มองสว่ นหนา้ และสว่ นหลงั จะมกี าร ล�ำ เลยี งแตกตา่ งกนั โดยฮอรโ์ มนทไ่ี ปยงั ตอ่ มใตส้ มองสว่ นหนา้ จะถกู ล�ำ เลยี งผา่ นระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ในขณะท่ีต่อมใต้สมองส่วนหลังรับฮอร์โมนจากปลายแอกซอนของเซลล์นิวโรซีครีทอรี (รูป 20.1 ข.) จากนัน้ จึงหล่ังและลำ�เลยี งไปตามระบบหมุนเวียนเลอื ดไปยงั อวยั วะเป้าหมาย 20.2 ตอ่ มไรท้ ่อ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ระบตุ �ำ แหนง่ ของต่อมไร้ท่อและเนือ้ เยอื่ ที่ส�ำ คัญในรา่ งกายที่ทำ�หน้าที่สร้างฮอร์โมน แนวการจัดการเรยี นรู้ ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยทบทวนเกย่ี วกบั ตอ่ มน�ำ้ ลาย ตอ่ มน�้ำ ตา ซงึ่ เปน็ ตอ่ มมที อ่ และตบั ออ่ น ซง่ึ เป็นทง้ั ตอ่ มมที อ่ และต่อมไรท้ อ่ โดยใช้คำ�ถามดังนี้ ตอ่ มน้�ำ ลายสรา้ งอะไร มหี นา้ ทอี่ ยา่ งไร ต่อมน้ำ�ลายสร้างน้ำ�ลายซ่ึงมีเอนไซม์อะไมเลส ลำ�เลียงไปตามท่อไปเปิดในช่องปาก ท�ำ หน้าท่ียอ่ ยแปง้ ในปาก ตับอ่อนสรา้ งอะไร มีหน้าที่อย่างไร ตับอ่อน เป็นท้ังต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อ ส่วนที่เป็นต่อมมีท่อสร้างเอนไซม์ส่งเข้าสู่ ดูโอดินัมเพ่ือย่อยอาหาร ส่วนที่เป็นต่อมไร้ท่อกระจายอยู่ทั่วตับอ่อนจะสร้างฮอร์โมน เช่น อินซูลินลำ�เลียงไปตามระบบหมุนเวียนเลือดไปยังอวัยวะเป้าหมาย เช่น ตับ ท�ำ หน้าท่คี วบคุมระดับนำ�้ ตาลในเลือด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 5 บทท่ี 20 | ระบบตอ่ มไรท้ ่อ 109 ต่อมไร้ท่อมีลักษณะแตกตา่ งจากต่อมมที อ่ อย่างไร คำ�ตอบน้ีนักเรียนจะได้จากการเปรียบเทียบโครงสร้างและการเกิดต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อ โดยใชร้ ปู 20.2 ในหนงั สอื เรยี น จากนนั้ อภปิ รายรว่ มกนั โดยใชค้ �ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซงึ่ มแี นวค�ำ ตอบ ดังนี้ จากรปู สารทส่ี รา้ งจากตอ่ มไรท้ อ่ และตอ่ มมที อ่ มกี ารล�ำ เลยี งไปสอู่ วยั วะเปา้ หมายเหมอื นหรอื แตกตา่ งกันอยา่ งไร แตกตา่ งกัน คือ ตอ่ มมที ่อใช้ทอ่ ในการล�ำ เลยี งสารทต่ี ่อมสร้างข้ึนไปยงั อวัยวะทีเ่ กย่ี วข้องกับ การทำ�งานซึ่งส่วนใหญ่อยู่ใกล้กับต่อมมีท่อ ส่วนต่อมไร้ท่อไม่มีท่อสำ�หรับลำ�เลียงสารท่ีต่อม สร้างข้ึนไปยังอวัยวะเป้าหมายแต่จะลำ�เลียงสารผ่านระบบหมุนเวียนเลือด จึงทำ�ให้บริเวณ รอบ ๆ ต่อมไร้ท่อมีหลอดเลือดมาหล่อเลี้ยงจำ�นวนมาก อวัยวะเป้าหมายของต่อมไร้ท่อ สว่ นใหญ่อยู่ไกลออกไปจากต่อมไร้ท่อ ครใู ชค้ �ำ ถามใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายวา่ ตอ่ มไรท้ อ่ ของมนษุ ยม์ อี ะไรบา้ ง ท�ำ หนา้ ทอี่ ะไร จากนั้นให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลแล้วอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับตำ�แหน่งของ ต่อมไร้ท่อและเนื้อเยื่อที่ ส�ำ คญั ในการสรา้ งฮอรโ์ มนของมนษุ ย์ รวมทงั้ ฮอรโ์ มนทตี่ อ่ มไรท้ อ่ หรอื เนอื้ เยอื่ นน้ั สรา้ งขนึ้ หรอื อาจใช้ รปู 20.3 ในหนังสือเรียน ประกอบการอธบิ าย หรอื ครูอาจให้นักเรยี นทำ�เป็นตารางสรปุ ดังน้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

110 บทที่ 20 | ระบบต่อมไรท้ อ่ ชวี วิทยา เล่ม 5 ตาราง 20.1 ตอ่ มไรท้ ่อและเนื้อเยอ่ื ท่ีส�ำ คญั ในการสร้างและหลงั่ ฮอร์โมนของมนุษย์ ชอื่ ต่อมไรท้ ่อและเนือ้ เยื่อ ฮอร์โมน ทีส่ ร้างและหลง่ั ฮอร์โมน GnRH TRH CRH GHRH GHIH PIH ไฮโพทาลามสั ADH ออกซิโทซิน Gn (FSH LH) TSH ACTH GH โพรแลกทนิ ต่อมใต้สมองสว่ นหน้า เอนดอรฟ์ ิน ADH ออกซิโทซิน (หลัง่ ) ต่อมใต้สมองสว่ นหลัง เมลาโทนนิ ตอ่ มไพเนียล ไทรอกซิน แคลซโิ ทนนิ ต่อมไทรอยด์ พาราทอรโ์ มน ตอ่ มพาราไทรอยด์ กลคู ากอน ตบั ออ่ น เซลล์แอลฟา อนิ ซูลิน ตบั ออ่ น เซลล์บตี า กลโู คคอรท์ คิ อยด์ เช่น คอรท์ ิซอล ตอ่ มหมวกไตสว่ นนอก มิเนราโลคอร์ทคิ อยด์ เช่น แอลโดสเทอโรน เอพิเนฟรนิ นอร์เอพิเนฟรนิ ตอ่ มหมวกไตสว่ นใน ไทโมซิน ไทมัส อสี โทรเจน โพรเจสเทอโรน รงั ไข่ เทสโทสเทอโรน อัณฑะ hCG รก แกสทรนิ กระเพาะอาหาร ซคี รที นิ คอลีซสิ โทไคนนิ ลำ�ไส้เลก็ อีรโี ทรโพอิทิน ไต สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 5 บทท่ี 20 | ระบบต่อมไร้ท่อ 111 แนวการวดั และประเมินผล ด้านความรู้ - ตำ�แหน่งของต่อมไร้ท่อและเน้ือเยื่อท่ีสำ�คัญในร่างกายท่ีทำ�หน้าที่สร้างฮอร์โมน จาก การทำ�ตารางสรุป การตอบคำ�ถามในหนังสือเรียน การทำ�แบบฝึกหัดท้ายบทและ แบบทดสอบ ด้านทักษะ - การสงั เกต และความร่วมมอื การทำ�งานเปน็ ทีมและภาวะผูน้ �ำ จากการทำ�กิจกรรมกล่มุ - การจ�ำ แนกประเภท การลงความเหน็ จากขอ้ มลู การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ จาก การตอบค�ำ ถาม การอภปิ รายรว่ มกัน และการนำ�เสนอข้อมูล - การสอื่ สารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ จากการสืบค้นข้อมลู ด้านจติ วิทยาศาสตร์ - ความอยากรอู้ ยากเหน็ และการใชว้ จิ ารณญาณ ความใจกวา้ ง ความมงุ่ มนั่ อดทน และความ ซอื่ สตั ย์ จากการอภิปรายรว่ มกัน 20.3 ฮอรโ์ มนและการทำ�งานของฮอร์โมน จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. สืบค้นข้อมูลและอธิบายเก่ียวกับประเภทและหน้าท่ีของฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและ เนื้อเย่ือทสี่ ร้างฮอรโ์ มน แนวการจัดการเรยี นรู้ ครูนำ�เขา้ ส่บู ทเรยี นโดยใชว้ ดี ิทศั น์หรือแอนเิ มชันเกีย่ วกบั การท�ำ งานของฮอร์โมนชนิดต่าง ๆ หรืออาจใช้คำ�ถาม เพื่อตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับฮอร์โมนและการลำ�เลียงฮอร์โมน โดยระบบหมนุ เวยี นเลือดของมนษุ ย์ ดังนี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

112 บทที่ 20 | ระบบต่อมไรท้ อ่ ชวี วทิ ยา เล่ม 5 ฮอร์โมนคอื อะไร ฮอรโ์ มนท�ำ หน้าที่เก่ียวกบั อะไร ฮอรโ์ มนผลิตจากทใ่ี ด ล�ำ เลียงไปยังอวยั วะเป้าหมายได้อยา่ งไร นักเรียนควรตอบได้ว่า ฮอร์โมนเป็นสารเคมีท่ีทำ�หน้าท่ีควบคุมการทำ�งานของระบบต่าง ๆ ให้อยู่ในดุลยภาพ สร้างจากต่อมไร้ท่อหรือเนื้อเยื่อบางชนิด โดยมีการลำ�เลียงไปตามระบบหมุนเวียน เลือดไปส่สู ว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย ครูใหน้ ักเรียนสืบคน้ ข้อมูลเกย่ี วกบั หนา้ ทแี่ ละการจ�ำ แนกฮอร์โมน เพื่อสรุปให้ได้วา่ ฮอรโ์ มน มีผลควบคุมการทำ�งานของเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่อยู่ไกลออกไปโดยฮอร์โมนจะถูกลำ�เลียงผ่าน ระบบหมนุ เวียนเลอื ด ฮอร์โมนมีความส�ำ คัญต่อ การควบคมุ การทำ�งานของระบบตา่ ง ๆ ในรา่ งกาย ฮอร์โมนจำ�แนกตามโครงสร้างทางเคมีได้เป็นกลุ่มเพปไทด์หรือโปรตีน กลุ่มเอมีนและกลุ่ม สเตอรอยด์ หรอื อาจแบง่ ตามสมบตั กิ ารละลายในน้�ำ และละลายในลิพดิ จากนัน้ ครใู ห้นกั เรียนตอบคำ�ถามในหนงั สือเรยี น ซึง่ มีแนวค�ำ ตอบ ดงั น้ี เซลล์ท่ีมีการสังเคราะห์ฮอร์โมนกลุ่มเพปไทด์หรือโปรตีนควรจะมีออร์แกเนลล์ชนิดใดมาก เพราะเหตุใด RER และกอลจิคอมเพล็กซ์ เพราะท่ีผิวของ RER มีไรโบโซมทำ�หน้าท่ีสังเคราะห์โปรตีน เกาะอยู่ เมื่อโปรตีนท่ี RER สังเคราะห์แล้วจะถูกส่งมาที่กอลจิคอมเพล็กซ์ ซึ่งจะทำ�หน้าท่ี รวบรวมโปรตีนแล้วสรา้ งเวสเิ คิลทีบ่ รรจฮุ อร์โมนสง่ ออกนอกเซลล์ ครใู ชค้ �ำ ถามให้นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเก่ยี วกบั การออกฤทธข์ิ องฮอร์โมน ดงั นี้ ฮอรโ์ มนลำ�เลียงผา่ นเซลล์ต่าง ๆ มากมาย เพราะเหตุใดเซลลท์ ่ีไม่ใช่เป้าหมายจึงไมเ่ กิด การตอบสนอง หลังจากน้ันครูใช้คำ�ถามในหนังสือเรียนว่า เม่ือฮอร์โมนถูกลำ�เลียงไปถึงอวัยวะเป้าหมาย ฮอรโ์ มนจะออกฤทธติ์ ่อเซลล์เป้าหมายได้อย่างไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บทที่ 20 | ระบบตอ่ มไร้ท่อ 113 ครูให้นักเรียนศึกษาวีดิทัศน์เก่ียวกับการออกฤทธ์ิของฮอร์โมน หรืออาจใช้รูป 20.4 ใน หนงั สอื เรยี น แลว้ รว่ มกนั อภปิ รายเพอื่ ใหน้ กั เรยี นสรปุ ไดว้ า่ ฮอรโ์ มนจะจบั กบั ตวั รบั ของเซลลเ์ ปา้ หมาย ท่ีจำ�เพาะกบั ฮอร์โมนนัน้  ๆ ฮอรโ์ มนจงึ จะสามารถออกฤทธกิ์ บั เซลล์เปา้ หมายได้ ครูให้นักเรียนศึกษารูป 20.5 ในหนังสือเรียน เพ่ือศึกษาตำ�แหน่งของตัวรับฮอร์โมน ทเี่ ซลลเ์ ปา้ หมายวา่ มตี �ำ แหนง่ ทแ่ี ตกตา่ งกนั คอื บางชนดิ อยบู่ รเิ วณเยอื่ หมุ้ เซลล์ บางชนดิ อยภู่ ายในเซลล์ โดยฮอร์โมนทล่ี ะลายในน้ำ�จะจบั กบั ตวั รบั บริเวณเยอื่ หมุ้ เซลล์ สว่ นฮอร์โมนที่ละลายในลพิ ิดจะจบั กบั ตวั รบั ทอ่ี ย่ภู ายในเซลล์ จากนนั้ ครใู ห้นักเรยี นตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรียน ซึ่งมแี นวคำ�ตอบ ดังน้ี เพราะเหตใุ ด ฮอร์โมนกลุ่มเพปไทดห์ รอื โปรตนี จึงมีตัวรบั อย่ทู บ่ี รเิ วณเยือ่ หมุ้ เซลล์ เพราะฮอร์โมนกลุ่มเพปไทด์หรือโปรตีนไม่ละลายในลิพิดจึงไม่สามารถลำ�เลียงผ่านเยื่อหุ้ม เซลลไ์ ด้ เซลลเ์ ปา้ หมายจงึ ตอ้ งมโี ปรตนี ตวั รบั อยทู่ บ่ี รเิ วณเยอ่ื หมุ้ เซลลเ์ พอ่ื จบั กบั ฮอรโ์ มนกลมุ่ นนั้  ๆ เพราะเหตุใด อสี โทรเจนจงึ เขา้ ไปจับกับตวั รบั ท่ีอยู่ภายในเซลลเ์ ป้าหมายได้ เพราะอีสโทรเจนเป็นฮอร์โมนในกลุ่มสเตอรอยด์ที่มีสมบัติละลายได้ในลิพิดจึงลำ�เลียงเข้าสู่ เซลล์ ซ่ึงเยื่อหุ้มเซลล์มีฟอสโฟลิพิดเป็นองค์ประกอบและมีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่านที่ทำ�ให้ สารท่ีละลายได้ในลิพิดสามารถเข้าสู่เซลล์ได้ และสามารถจับกับตัวรับท่ีอยู่ภายใน เซลลเ์ ป้าหมายได้ ตรวจสอบความเข้าใจ เอพิเนฟรินมีตัวรับอยู่บริเวณใดของเซลล์เป้าหมายและตำ�แหน่งของตัวรับมีความสัมพันธ์ กบั สมบัติการละลายของเอพเิ นฟรนิ อย่างไร เอพิเนฟรินมีตัวรับอยู่บริเวณเย่ือหุ้มเซลล์ของเซลล์เป้าหมาย เน่ืองจากเอพิเนฟรินเป็น ฮอร์โมนกลุ่มเอมีน มีสมบัติละลายในน้ำ�ได้ ไม่สามารถลำ�เลียงผ่านช้ันลิพิดบริเวณเย่ือหุ้ม เซลล์จึงตอ้ งจับกับโปรตนี ตวั รับบริเวณเยอ่ื หมุ้ เซลล์ และออกฤทธต์ิ อ่ เซลลเ์ ปา้ หมายได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

114 บทที่ 20 | ระบบตอ่ มไร้ท่อ ชีววทิ ยา เลม่ 5 ครูอาจใช้วีดิทัศน์ หรือรูป 20.6 ในหนังสือเรียนเพ่ืออธิบายการออกฤทธิ์ของฮอร์โมน โดย เน้นให้เห็นว่าฮอร์โมนชนิดเดียวกันสามารถมีผลต่อเซลล์เป้าหมายได้หลายชนิด และออกฤทธ์ิให้มี การตอบสนองทีแ่ ตกตา่ งกนั ครูให้นักเรียนศึกษารูป 20.7 ในหนังสือเรียนแล้วอภิปรายร่วมกันเก่ียวกับการควบคุม ดลุ ยภาพของรา่ งกายดว้ ยสารเคมชี นดิ ตา่ ง ๆ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นสรปุ ไดว้ า่ สารเคมที สี่ ตั วส์ รา้ งขนึ้ นอกจาก ฮอร์โมน ฮอร์โมนประสาท และสารส่ือประสาทแล้วยังมีฟีโรโมนซึ่งไม่มีผลต่อร่างกายของสัตว์ตัวท่ี สรา้ งฟีโรโมนแต่มีผลตอ่ สัตวต์ ัวอน่ื ท่ีเปน็ สปชี สี ์เดยี วกนั จากนน้ั ครูให้นกั เรียนตอบคำ�ถามในหนังสือเรียน ซึง่ มีแนวค�ำ ตอบ ดงั น้ี จากรปู 20.7 การลำ�เลยี งสารเคมไี ปยังเซลลเ์ ปา้ หมายมีความแตกตา่ งกนั อยา่ งไร แบบ ก. ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและแบบ ข. ฮอร์โมนประสาทมีการลำ�เลียงผ่านระบบ หมนุ เวยี นเลอื ด ซ่ึงแตกต่างจากแบบ ค. สารสอ่ื ประสาททมี่ ีการส่งผ่านบรเิ วณไซแนปส์ สว่ น แบบ ง. ฟีโรโมนแพรผ่ ่านสงิ่ แวดล้อม ความเร็วของการตอบสนองของฮอร์โมนและสารส่ือประสาทท่ีเซลล์เป้าหมายมีความ แตกตา่ งกันอย่างไร ฮอรโ์ มนจะตอบสนองชา้ กวา่ สารสอื่ ประสาทเนอื่ งจากตอ้ งล�ำ เลยี งผา่ นระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ไปยงั อวยั วะเปา้ หมาย แตก่ ารหลง่ั สารสอ่ื ประสาทสเู่ ซลลเ์ ปา้ หมายอาศยั การถา่ ยทอดกระแส ประสาทซ่ึงสามารถเกิดไดอ้ ย่างรวดเร็ว ฟีโรโมนเหมอื นหรือแตกตา่ งจากฮอร์โมนอยา่ งไร เหมอื นกัน คอื เปน็ สารเคมีทีส่ ัตว์สรา้ งขึน้ แตกต่างกัน คือ ฟีโรโมนสร้างจากต่อมมีท่อแล้วแพร่ออกไปมีผลต่อสัตว์ตัวอื่นท่ีเป็นสปีชีส์ เดียวกัน ส่วนฮอร์โมนสร้างจากต่อมไร้ท่อแล้วลำ�เลียงผ่านระบบหมุนเวียนเลือดไปมีผลต่อ เซลลเ์ ปา้ หมายภายในรา่ งกายของสตั ว์นัน้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 5 บทท่ี 20 | ระบบตอ่ มไรท้ ่อ 115 การท�ำ งานของฮอรโ์ มน ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยใช้วีดิทัศน์หรือแอนิเมชันเก่ียวกับการทำ�งานของฮอร์โมน แล้วแบ่ง กลุ่มให้นกั เรยี นสืบค้นข้อมูลเก่ยี วกับการทำ�งานของฮอรโ์ มนในประเด็นตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. ฮอรโ์ มนท่คี วบคมุ การสร้างและหลง่ั ฮอร์โมนชนิดอน่ื 2. ฮอรโ์ มนทีค่ วบคมุ และเกยี่ วขอ้ งกับเมแทบอลิซมึ 3. ฮอรโ์ มนทคี่ วบคุมการสบื พันธ์ุและการเจริญเตบิ โต 4. ฮอร์โมนทค่ี วบคุมการรกั ษาดลุ ยภาพของน�้ำ และแร่ธาตุ 5. ฮอรโ์ มนที่ทำ�หนา้ ทีอ่ ่นื  ๆ จากนนั้ นำ�ข้อมูลทไ่ี ด้จากการสบื คน้ มาอภิปรายร่วมกัน และศกึ ษาแต่ละประเด็นดงั นี้ 1. ฮอรโ์ มนทคี่ วบคมุ การสรา้ งและหลง่ั ฮอรโ์ มนชนิดอ่นื ครูให้นักเรียนศึกษาเก่ียวกับฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัส และต่อมใต้สมองส่วนหน้า ดังรูป 20.8 จากน้นั อภปิ รายร่วมกันเพื่อสรุปเกีย่ วกับ - ฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัสซึ่งทำ�หน้าท่ีท้ังกระตุ้นและยับยั้งการสร้างและหลั่งฮอร์โมน จากตอ่ มใต้สมองสว่ นหนา้ เชน่ กลุ่มท�ำ หนา้ ทก่ี ระต้นุ เช่น GnRH TRH CRH GHRH กลุ่มทำ�หนา้ ที่ยบั ยง้ั เช่น GHIH PIH - ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าทำ�หน้าที่กระตุ้นการสร้างและหลั่งฮอร์โมนจาก ตอ่ มไร้ท่ออ่นื  ๆ เชน่ Gn (FSH LH) TSH ACTH จากนนั้ ครูใหน้ กั เรียนตอบค�ำ ถามในหนังสอื เรยี น ซงึ่ มีแนวค�ำ ตอบดงั นี้ ความสัมพันธ์ระหว่างฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัสกับต่อมใต้สมองส่วนหน้าสามารถสรุปได้ อยา่ งไร ฮอร์โมนส่วนใหญ่ท่ีสร้างจากไฮโพทาลามัสทำ�หน้าท่ีกระตุ้นหรือยับย้ัง การสร้างและหล่ัง ฮอร์โมนของต่อมใตส้ มองส่วนหน้า ดงั นี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

116 บทที่ 20 | ระบบตอ่ มไรท้ อ่ ชีววทิ ยา เลม่ 5 ฮอรโ� มนจากไฮโพทาลามัส GnRH TRH CRH PIH GHRH GHIH กระตุน� กระต�ุน กระต�นุ ยับย้ัง กระต�ุน ยบั ยั้ง ฮอร�โมนจากต�อมใตส� มองสว� นหน�า Gn (FSH LH) TSH ACTH โพรแลกทิน GH กระตนุ� กระต�ุน กระตนุ� กระต�นุ กระตน�ุ อวยั วะเป�าหมาย รงั ไขแ� ละอณั ฑะ ต�อมไทรอยด� ต�อมหมวกไต ตอ� มนำ้ นม เซลล�ตา� ง ๆ ท่ัวร�างกาย ส�วนนอก ตอ่ มไรท้ อ่ ใดทีไ่ ม่ถกู ควบคุมโดยตอ่ มใตส้ มองสว่ นหนา้ ตอ่ มพาราไทรอยด์ ตอ่ มหมวกไตสว่ นใน ตอ่ มไพเนยี ล ตบั ออ่ นบรเิ วณไอสเ์ ลตออฟลงั เกอรฮ์ นั ส์ 2. ฮอรโ์ มนท่คี วบคุมและเกยี่ วข้องกบั เมแทบอลิซึม ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการเมแทบอลิซึมของร่างกาย ขึ้นอยู่กับการทำ�งานของฮอร์โมนหลายชนิด คือ กลุ่มฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ กลุ่มฮอร์โมนจาก ต่อมหมวกไต และกลุ่มฮอร์โมนจากตับอ่อน 2.1 กลุ่มฮอรโ์ มนจากตอ่ มไทรอยด์ ครูให้นักเรียนศึกษารูป 20.9 และรูป 20.10 ในหนังสือเรียนเพ่ือศึกษาตำ�แหน่งของ ต่อมไทรอยด์และไทรอยด์ฟอลลิเคิลซึ่งทำ�หน้าท่ีสร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยส่วนใหญ่อยู่ในรูป ไทรอกซิน จากน้ันครูให้ความรู้เพ่ิมเติมว่าไทรอกซินทำ�หน้าที่ควบคุมอัตราเมแทบอลิซึมของร่างกาย ควบคุมการเจรญิ เตบิ โตของร่างกายและพฒั นาการของสมอง ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลหรือศึกษารูป 20.11 และ 20.12 ในหนังสือเรียนแล้ว อภปิ รายรว่ มกนั เพอ่ื สรปุ วา่ กรณที ต่ี อ่ มไทรอยดส์ รา้ งไทรอกซนิ ไดน้ อ้ ยกวา่ ปกตจิ ะแสดงออกในผปู้ ว่ ย ท่ีเป็นเด็กและผู้ใหญ่แตกต่างกัน ในเด็กพบความผิดปกติของ การเจริญเติบโตของร่างกายและสมอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 5 บทท่ี 20 | ระบบต่อมไรท้ ่อ 117 เรียกว่า เครทินิซึม ส่วนในผู้ใหญ่จะพบความผิดปกติของเมแทบอลิซึมต่าง ๆ ของร่างกาย เรียกว่า มิกซีดีมา ส่วนในกรณีร่างกายขาดไอโอดีนจะทำ�ให้ต่อมไทรอยด์ไม่สามารถสร้างไทรอกซินได้ ตอ่ มไทรอยดจ์ ะขยายขนาดผดิ ปกติ ท�ำ ใหเ้ ปน็ โรคคอพอก แตถ่ า้ ตอ่ มไทรอยดถ์ กู กระตนุ้ ใหส้ รา้ งฮอรโ์ มน มากเกนิ ไปก็จะทำ�ให้เปน็ โรคคอพอกเป็นพิษ จากน้นั ครใู หน้ ักเรียนตอบค�ำ ถามในหนังสือเรยี น ซึ่งมีแนวค�ำ ตอบ ดงั น้ี ไอโอดีนมีความเก่ียวข้องกับต่อมไทรอยด์อย่างไร และถ้าขาดไอโอดีนจะส่งผลต่อร่างกาย อยา่ งไร ไอโอดนี เปน็ องคป์ ระกอบในการสรา้ งไทรอกซนิ ถา้ รา่ งกายขาดไอโอดนี จะท�ำ ใหต้ อ่ มไทรอยด์ สร้างไทรอกซินได้น้อยกว่าปกติ ซ่ึงจะพบการขยายขนาดของต่อมไทรอยด์ทำ�ให้มีลักษณะ คอโตหรือเรยี กวา่ โรคคอพอก และพบอาการผิดปกติของร่างกายอน่ื  ๆ ได้เช่นเดียวกบั ภาวะ ท่ีต่อมไทรอยด์สรา้ งไทรอกซินไดน้ ้อยกวา่ ปกติด้วยสาเหตอุ น่ื  ๆ 2.2 กลุม่ ฮอร์โมนจากตอ่ มหมวกไต ครูให้นักเรียนศึกษารูป 20.13 เพ่ือระบุตำ�แหน่งและโครงสร้างของต่อมหมวกไต ซ่ึง ประกอบดว้ ยต่อมหมวกไตส่วนนอกและต่อมหมวกไตสว่ นใน จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับกลูโคคอร์ทิคอยด์ซ่ึงเป็นกลุ่มฮอร์โมนที่ สร้างจากต่อมหมวกไตส่วนนอกมีหน้าที่หลักในการควบคุมเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ตัวอย่าง ของฮอร์โมนกลุ่มนคี้ ือ คอรท์ ิซอล ท�ำ หนา้ ที่เพ่ิมระดับน�้ำ ตาลในเลอื ด รวมทั้งสรปุ ถึงการมีกลูโคคอรท์ คิ อยดม์ ากเกินไป ท�ำ ใหเ้ กดิ กลุ่มอาการคูชงิ ผปู้ ่วยจะมี ความผิดปกติเกี่ยวกับเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต โปรตีนและลิพิด โดยครูอาจใช้รูป 20.14 ประกอบการอธิบายลกั ษณะของผู้ท่ีมกี ลมุ่ อาการคชู ิง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

118 บทที่ 20 | ระบบตอ่ มไร้ทอ่ ชีววิทยา เลม่ 5 ความรู้เพิ่มเติมส�ำ หรับครู ระดบั คอรท์ ซิ อลจะเพมิ่ สงู ขน้ึ เมอ่ื อยใู่ นภาวะทมี่ คี วามกดดนั หรอื ตอ้ งแขง่ ขนั เชน่ การแขง่ กฬี า การเล่นเกม การแข่งขันทางวิชาการ และการแย่งชิงทรัพยากรท่ีมีจ�ำ กัด จากการศึกษาระดับ คอร์ทิซอลในน้ำ�ลายของนักเต้นรำ� พบว่าในขณะแข่งขันจริงนักเต้นรำ�มีระดับคอร์ทิซอลสูง เนอ่ื งจากมีความกดดนั แต่ในขณะฝึกซอ้ มซ่งึ ไม่มีการให้คะแนนพบวา่ มรี ะดับคอร์ทซิ อลตำ�่ ส่วนเอพิเนฟรินและนอร์เอพิเนฟรินเป็นฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมหมวกไตส่วนในและ ออกฤทธ์เิ หมอื นกนั โดยกระตุน้ ใหเ้ พม่ิ การสลายไกลโคเจนมผี ลทำ�ใหน้ �้ำ ตาลในเลือดเพมิ่ มากข้ึน ครูให้นักเรียนเชื่อมโยงความรู้กับระบบประสาทเก่ียวกับการหล่ังฮอร์โมนจากต่อม หมวกไตสว่ นในจะอย่ภู ายใตก้ ารควบคมุ ของระบบประสาทอตั โนวัติ ในกรณที ่ีมีภาวะคับขัน เชน่ คน ขนของหนไี ฟไหมส้ ามารถแบกหรือยกส่ิงของทม่ี นี ้�ำ หนกั มากได้ทง้ั ทใ่ี นภาวะปกตไิ ม่สามารถท�ำ ได้ จากน้นั ครใู ห้นักเรียนตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรียน ซ่ึงมีแนวค�ำ ตอบ ดังนี้ การทำ�งานของเอพิเนฟรินกับกลูโคคอร์ทิคอยด์มีผลต่อระดับนำ้�ตาลในเลือดเหมือนหรือ ต่างกันอย่างไร เหมือนกนั คือ เพม่ิ ระดบั น�ำ้ ตาลในเลอื ด แตกต่างกัน คือ การหลั่งเอพิเนฟรินเกิดได้รวดเร็ว เน่ืองจากควบคุมโดยระบบประสาท อัตโนวัติทำ�ให้เกิดการตอบสนองได้เร็ว ส่วนการหล่ังของกลูโคคอร์ทิคอยด์เกิดได้ช้ากว่า เนอ่ื งจากถกู กระตนุ้ โดย ACTH จากต่อมใตส้ มองส่วนหนา้ ดังรปู สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 5 บทท่ี 20 | ระบบต่อมไรท้ อ่ 119 เซลลป์ ระสาท ส่งิ เรา้ ไขสนั หลัง ไฮโพทาลามัส เซลล์ประสาท ACTH หลอดเลอื ด ต่อมหมวกไต ไต ตอ่ มหมวกไตส่วนนอก ต่อมหมวกไตสว่ นในหล่ังเอพเิ นฟริน นอร์เอพเิ นฟริน หลง่ั กลูโคคอรท์ คิ อยด์ 2.3 กล่มุ ฮอร์โมนจากตับอ่อน ครูให้นักเรียนศึกษารูป 20.15 เพ่ือศึกษาตำ�แหน่งของต่อมไร้ท่อบริเวณตับอ่อน คือ ไอสเ์ ลตออฟลงั เกอรฮ์ นั ส์ ซง่ึ ประกอบดว้ ยเซลลบ์ ตี าและเซลลแ์ อลฟา รวมทง้ั การคน้ พบอนิ ซลู นิ ทชี่ ว่ ย ลดระดับน�้ำ ตาลในเลือด ครูใช้รูป 20.16 เพ่ือให้นักเรียนศึกษากราฟแสดงระดับนำ้�ตาลในเลือดของ คนปกติ และผปู้ ว่ ยทเ่ี ปน็ โรคเบาหวาน จากนนั้ อภปิ รายรว่ มกนั แลว้ ตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซงึ่ มแี นวค�ำ ตอบ เปน็ ดงั น้ี จากกราฟสามารถอธิบายเพ่ือเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำ�ตาลในเลือดของผู้ป่วย ที่เปน็ โรคเบาหวานกบั คนปกติได้อยา่ งไร ใน 30 นาทแี รกระดบั น�ำ้ ตาลในเลอื ดของคนปกตแิ ละผปู้ ว่ ยทเ่ี ปน็ โรคเบาหวานจะเพมิ่ สงู ขน้ึ หลงั จาก 30 นาทีคนปกติระดับนำ้�ตาลในเลอื ดจะคอ่ ย ๆ ลดลง และเขา้ ส่เู กณฑ์ปกตใิ นนาที ที่ 120 โดยประมาณ ส่วนในผู้ป่วยท่ีเป็นโรคเบาหวานระดับนำ้�ตาลในเลือดยังคงสูงขึ้นอีก จนถงึ นาทีท่ี 60 แล้วค่อย ๆ ลดลง แต่ยงั สูงกว่าเกณฑ์ของคนปกติมาก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

120 บทที่ 20 | ระบบตอ่ มไรท้ อ่ ชวี วิทยา เล่ม 5 ครใู หน้ กั เรยี นวเิ คราะหแ์ ละอภปิ รายรว่ มกนั เกย่ี วกบั หนา้ ทข่ี องอนิ ซลู นิ และ กลคู ากอน เพ่ือสรุปให้ได้ว่า อินซูลินและกลูคากอนทำ�หน้าท่ีตรงข้ามกัน คือ กลูคากอนจะไปกระตุ้นการสลาย ไกลโคเจนเปน็ กลโู คสท�ำ ใหร้ ะดบั น�้ำ ตาลในเลอื ดเพมิ่ ขน้ึ ในขณะทอ่ี นิ ซลู นิ ท�ำ หนา้ ทลี่ ดระดบั น�้ำ ตาลใน เลือดใหเ้ ปน็ ปกติ จากนั้นครูให้นกั เรยี นตอบคำ�ถามในหนังสอื เรียน ซงึ่ มแี นวค�ำ ตอบ ดังน้ี คนปกติร่างกายจะหลง่ั อินซลู นิ ออกมามากเมอื่ ใด เพราะเหตใุ ด คนปกตริ า่ งกายจะหล่งั อินซูลินออกมามากเมอ่ื ระดับนำ้�ตาลในเลือดสงู หรือหลงั รับประทาน อาหารทมี่ คี ารโ์ บไฮเดรต แลว้ มกี ารดดู ซมึ น�้ำ ตาลเขา้ สหู่ ลอดเลอื ด เพราะระดบั น�ำ้ ตาลในเลอื ด ท่ีสูงนี้จะไปกระตุ้นเซลล์บีตาของไอส์เลตออฟลังเกอร์ฮันส์ให้หลั่งอินซูลินออกมา และมีผล ให้นำ้�ตาลในเลือดลดลงส่รู ะดบั ปกติ ปจั จยั ที่กระตุ้นใหเ้ ซลลใ์ นไอสเ์ ลตออฟลงั เกอรฮ์ ันสห์ ล่งั กลคู ากอนคืออะไร ระดบั น�ำ้ ตาลในเลือดต�ำ่ ปจั จัยใดทค่ี วบคมุ ความสมั พนั ธ์ของการหลงั่ อนิ ซูลนิ และกลคู ากอน ระดับน�ำ้ ตาลในเลือด เพราะเหตุใดเม่ือออกกำ�ลังกายร่างกายต้องใช้พลังงานมาก แต่ก็ยังสามารถรักษาดุลยภาพ ของระดับนำ�้ ตาลในเลือดให้เข้าสรู่ ะดับปกตไิ ด้ เม่ือออกกำ�ลังกายหรือเล่นกีฬา ร่างกายต้องใช้พลังงานมาก ระดับนำ้�ตาลในเลือดลดลงซ่ึง กระตนุ้ ตบั ออ่ นใหห้ ลงั่ กลคู ากอนเพอ่ื สลายไกลโคเจนทเ่ี กบ็ ไวใ้ นตบั และกลา้ มเนอื้ เปน็ กลโู คส แลว้ สง่ เขา้ ระบบหมุนเวยี นเลือด ทำ�ให้สามารถรักษาดุลยภาพของระดับน�้ำ ตาลในเลือดได้ ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและสรปุ เกยี่ วกบั ระดบั น�้ำ ตาลในเลอื ดเปน็ ปจั จยั ใน การยบั ยง้ั และกระตุ้นการหลั่งอินซูลินและกลูคากอน ดังรูป 20.17 ในหนังสือเรียน จากนั้นครูให้นักเรียนตอบ ค�ำ ถามในหนังสอื เรียน ซึ่งมแี นวคำ�ตอบ ดังนี้ ฮอรโ์ มนทสี่ รา้ งจากตอ่ มหมวกไตและไอสเ์ ลตออฟลงั เกอรฮ์ นั สท์ �ำ หนา้ ทเ่ี หมอื นหรอื แตกตา่ ง กนั อย่างไร เหมือนกัน คือ ต่อมหมวกไตสร้างคอร์ทิซอล เอพิเนฟริน และนอร์เอพิเนฟรินซ่ึงทำ�หน้าท่ี สลายไกลโคเจนเปน็ กลโู คสท�ำ ใหร้ ะดบั น�ำ้ ตาลในเลอื ดเพม่ิ ขน้ึ สว่ นไอสเ์ ลตออฟลงั เกอรฮ์ นั ส์ สรา้ งกลูคากอนทำ�หนา้ ท่สี ลายไกลโคเจนท�ำ ให้ระดบั นำ�้ ตาลในเลอื ดเพ่ิมข้ึนเชน่ กัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 5 บทที่ 20 | ระบบต่อมไรท้ อ่ 121 ต่างกัน คือ ไอส์เลตออฟลังเกอร์ฮันส์สร้างอินซูลินทำ�หน้าท่ีลดระดับน้ำ�ตาลในเลือด โดย กระตุ้นให้เซลล์ตับและเซลล์กล้ามเน้ือนำ�กลูโคสเข้าไปในเซลล์มากข้ึน และเปลี่ยนกลูโคส ให้เป็นไกลโคเจนเพือ่ เก็บสะสมไว้ 3. ฮอร์โมนทคี่ วบคมุ การสืบพนั ธุ์และการเจริญเติบโต ครแู ละนกั เรยี นอภิปรายรว่ มกนั เพือ่ สรุปวา่ การสืบพนั ธ์แุ ละการเจริญเติบโตถกู ควบคุมโดย ฮอรโ์ มนหลายชนดิ คอื กลมุ่ ฮอรโ์ มนจากอวยั วะสบื พนั ธุ์ กลมุ่ ฮอรโ์ มนจากตอ่ มหมวกไตสว่ นนอก กลมุ่ ฮอรโ์ มนจากตอ่ มใตส้ มองสว่ นหน้า และกล่มุ ฮอรโ์ มนจากตอ่ มไทรอยด์ 3.1 กลุม่ ฮอรโ์ มนจากอวัยวะสบื พันธุ์ ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ อณั ฑะและรงั ไขน่ อกจากสรา้ งเซลลส์ บื พนั ธแุ์ ลว้ ยงั ท�ำ หนา้ ทเี่ ปน็ ตอ่ มไรท้ อ่ สามารถสรา้ งฮอรโ์ มนประเภทสเตอรอยดไ์ ดห้ ลายชนดิ โดยรงั ไขส่ รา้ งฮอรโ์ มนเพศหญงิ คอื อีสโทรเจนและโพรเจสเทอโรน ส่วนอัณฑะสร้างฮอร์โมนเพศชาย คือ แอนโดรเจน ซึ่งประกอบด้วย ฮอรโ์ มนหลายชนดิ ทส่ี �ำ คญั คอื เทสโทสเทอโรน จากนนั้ ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 20.18 เพอ่ื ระบตุ �ำ แหนง่ ของเซลลอ์ นิ เตอรส์ ตเิ ชยี ลหรอื เซลลเ์ ลยด์ กิ ซง่ึ ท�ำ หนา้ ทสี่ รา้ งฮอรโ์ มนเพศชาย และรปู 20.19 เพอื่ ศกึ ษา ลกั ษณะของฟอลลิเคิลและคอร์ปสั ลเู ทียมในรงั ไข่ 3.2 กล่มุ ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตสว่ นนอก ครอู ธบิ ายเพมิ่ เตมิ วา่ ฮอรโ์ มนเพศนอกจากสรา้ งจากอวยั วะสบื พนั ธแ์ุ ลว้ ยงั มี การสรา้ ง จากตอ่ มหมวกไตสว่ นนอก คอื แอนโดรเจน ซงึ่ มเี พยี งเลก็ นอ้ ยเทา่ นนั้ เมอ่ื เทยี บกบั ฮอรโ์ มนเพศทสี่ รา้ ง จากอวัยวะสืบพันธุ์ แต่มีความสำ�คัญในการเจริญของอวัยวะสืบพันธุ์ของเพศชายในช่วงวัยเด็ก และ เป็นฮอร์โมนท่ีทำ�ให้มีการเจริญของขนท่ีบริเวณต่าง ๆ ในเพศหญิงช่วงวัยรุ่น ในเพศหญิงหากมี การสร้างแอนโดรเจนจากตอ่ มนีม้ ากเกนิ ไป จะท�ำ ให้มขี นที่มากเกินไปบริเวณหนา้ รกั แร้ หรือขา การสร้างฮอร์โมนเพศจากต่อมหมวกไตส่วนนอกจะถูกควบคุมโดย ACTH จาก ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ซึ่งต่างจากฮอร์โมนเพศท่ีสร้างจากรังไข่และอัณฑะท่ีถูกควบคุมโดย Gn จาก ต่อมใต้สมองสว่ นหน้า 3.3 กลุ่มฮอร์โมนจากตอ่ มใตส้ มองส่วนหน้า ครูอธิบายเกีย่ วกับโกนาโดโทรฟินวา่ ประกอบดว้ ย FSH และ LH ซึง่ ในเพศชายและ เพศหญงิ ท�ำ หนา้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั จากนนั้ ครใู หน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบ ดงั น้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

122 บทท่ี 20 | ระบบต่อมไร้ท่อ ชีววิทยา เลม่ 5 กลไกการท�ำ งานของ LH จากต่อมใต้สมองสว่ นหน้าในเพศชายและเพศหญงิ มีความเหมือน หรอื แตกตา่ งกันอย่างไร แตกตา่ งกัน โดยในเพศชาย LH ทำ�หน้าท่กี ระตนุ้ เซลล์อินเตอรส์ ติเชียลใหส้ รา้ งแอนโดรเจน แตใ่ นเพศหญงิ LH ทำ�หนา้ ทีก่ ระตนุ้ ให้เกิดการตกไข่ ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูล พร้อมทั้งศึกษารูป 20.20 และรูป 20.21 ในหนังสือเรียน เกยี่ วกบั โกรทฮอรโ์ มน แลว้ อภปิ รายรว่ มกนั เกยี่ วกบั ผลของโกรทฮอรโ์ มนทมี่ ตี อ่ รา่ งกายในกรณที มี่ มี าก หรือนอ้ ยเกนิ ไป ท�ำ ให้เกิดความผดิ ปกติตอ่ ร่างกายซง่ึ มผี ลแตกตา่ งกนั ในวัยเดก็ และผใู้ หญ่ 3.4 กลมุ่ ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยใช้วีดิทัศน์เก่ียวกับเมทามอร์โฟซิสของกบ จากน้ันใช้คำ�ถาม ชวนคดิ เกยี่ วกบั ไทรอกซนิ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั เมทามอรโ์ ฟซสิ ในกบใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั ตอบโดยมแี นวค�ำ ตอบ ดงั นี้ ชวนคดิ ในสัตว์สะเทินนำ้�สะเทินบกมีไทรอกซินสร้างจากต่อมไทรอยด์ซ่ึงมีหน้าท่ีเกี่ยวข้องกับ การเจริญเติบโต โดยกระตุ้นเมทามอร์โฟซิส มีผู้ศึกษาผลของไทรอกซินกับการเกิด เมทามอรโ์ ฟซิสของกบ ดงั รูป เกิดเมทามอร์โฟซสิ ระดบั ไทรอกซนิ ปกติ ได้รบั ไทรอกซินมาก เกิดเมทามอร์โฟซิสเรว็ ในระยะแรก ลูกอ๊อด ตัดต่อมไทรอยด์ ไม่เกิดเมทามอรโ์ ฟซิส ผลของไทรอกซนิ ต่อเมทามอร์โฟซสิ ของกบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 5 บทที่ 20 | ระบบตอ่ มไร้ทอ่ 123 ถ้าลูกอ๊อดได้รับไทรอกซินมากในระยะแรก การเจริญเติบโตจะแตกต่างจากลูกอ๊อดท่ีมี ไทรอกซินปกตอิ ย่างไร ฮอรโ์ มนทมี่ ากเกนิ ไปจะไปเรง่ ใหเ้ กดิ เมทามอรโ์ ฟซสิ เรว็ ขน้ึ ท�ำ ใหข้ นาดของกบเลก็ กวา่ ปกติ ถา้ ลูกออ๊ ดขาดไทรอกซินจะมีผลตอ่ การเจริญเตบิ โตอย่างไร ลกู ออ๊ ดไม่เกดิ เมทามอร์โฟซิสและไม่สามารถเจริญเป็นกบตัวเตม็ วยั ได้ ครูอธิบายเพ่มิ เตมิ วา่ ส�ำ หรับในมนุษย์การขาดไทรอกซนิ ในวยั เดก็ จะส่งผลทำ�ใหพ้ ฒั นาการ ทางรา่ งกายและสมองดอ้ ยลง การเจรญิ เตบิ โตชา้ กวา่ ปกตแิ ละปญั ญาออ่ น ไทรอกซนิ จงึ มหี นา้ ทคี วบคมุ การเจรญิ เตบิ โตของรา่ งกายและสมอง นอกเหนอื จากควบคุมอตั ราเมแทบอลิซึม 4. ฮอรโ์ มนท่ีควบคมุ การรกั ษาดุลยภาพของน�้ำ และแรธ่ าตุ ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับการรักษาดุลยภาพของนำ้�และแร่ธาตุ โดยใช้คำ�ถาม ดงั น้ี การรักษาดุลยภาพของนำ�้ และแร่ธาตมุ ฮี อรโ์ มนจากต่อมไร้ท่อใดเกยี่ วข้องบา้ ง การรกั ษาดลุ ยภาพของน�ำ้ และแรธ่ าตใุ นรา่ งกายถกู ควบคมุ โดยฮอรโ์ มนหลายชนดิ จาก ตอ่ มใต้สมองสว่ นหลัง ต่อมหมวกไตส่วนนอก ตอ่ มไทรอยด์และตอ่ มพาราไทรอยด์ 4.1 ฮอรโ์ มนจากต่อมใตส้ มองสว่ นหลัง ครูทบทวนว่าต่อมใต้สมองส่วนหลังไม่ได้สร้างฮอร์โมน แต่รับฮอร์โมนมาจาก ไฮโพทาลามัส และอธิบายเพ่ิมเติมว่า ฮอร์โมนท่ีหล่ังจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง คือ ADH หรือ วาโซเพรสซินทำ�หน้าที่ควบคุมดุลยภาพของน้ำ� จากนั้นครูให้นักเรียนตอบคำ�ถามในหนังสือเรียน ซึง่ มแี นวคำ�ตอบ ดงั น้ี ถา้ รา่ งกายขาด ADH จะมีผลตอ่ การรกั ษาดลุ ยภาพของนำ�้ อย่างไร ร่างกายไม่สามารถดูดกลับนำ้�บริเวณท่อขดส่วนปลายของหน่วยไตและท่อรวมได้ ทำ�ให้มี ปสั สาวะมากและเจือจาง จนอาจท�ำ ให้เปน็ โรคเบาจืด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

124 บทท่ี 20 | ระบบตอ่ มไร้ท่อ ชวี วทิ ยา เลม่ 5 4.2 ฮอรโ์ มนจากตอ่ มหมวกไตสว่ นนอก ครูอธิบายเกี่ยวกับมิเนราโลคอร์ทิคอยด์ซึ่งสร้างจากต่อมหมวกไตส่วนนอก มีหน้าท่ี หลกั ในการควบคมุ ดลุ ยภาพของน�้ำ และแรธ่ าตใุ นรา่ งกาย ฮอรโ์ มนทสี่ �ำ คญั ในกลมุ่ น้ี คอื แอลโดสเทอโรน จากนนั้ ครใู ห้นกั เรยี นตอบค�ำ ถามในหนังสือเรียน ซึง่ มีแนวคำ�ตอบ ดังนี้ การสร้างฮอร์โมนของต่อมหมวกไตส่วนนอกถูกควบคุมโดยฮอร์โมนชนิดใดและฮอร์โมนนี้ สรา้ งมาจากแหล่งใด ควบคุมโดย ACTH ซ่ึงสรา้ งจากตอ่ มใต้สมองสว่ นหนา้ ครูนำ�เขา้ สู่เรือ่ งการควบคมุ ดลุ ยภาพของแคลเซียม โดยใช้ค�ำ ถาม ดังน้ี การควบคุมดลุ ยภาพของแคลเซยี มเก่ยี วข้องกับฮอร์โมนชนิดใดบ้าง จากน้นั ครใู ห้นักเรียนสืบค้นขอ้ มลู เก่ียวกบั การควบคุมดลุ ยภาพของแคลเซยี ม แลว้ ให้ นักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายและสรุป ดงั นี้ การควบคุมดุลยภาพของแคลเซียมเก่ียวข้องกับฮอร์โมนหลายชนิด คือ ฮอร์โมนจาก ตอ่ มไทรอยด์ และฮอร์โมนจากตอ่ มพาราไทรอยด์ 4.3 ฮอรโ์ มนจากตอ่ มไทรอยดแ์ ละต่อมพาราไทรอยด์ ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับตำ�แหน่งของต่อมพาราไทรอยด์ โดยครูอาจใช้รูป 20.22 ในหนงั สือเรยี นซึง่ แสดงต�ำ แหน่งของตอ่ มพาราไทรอยดท์ อี่ ยทู่ างด้านหลงั ของต่อมไทรอยด์ ครูให้นกั เรยี นศึกษารูป 20.23 ในหนงั สือเรียน จากน้ันตัง้ ค�ำ ถามวา่ ถ้าระดับแคลเซียมในเลือดตำ่�หรือสูงกว่าปกติร่างกายจะรักษาดุลยภาพของแคลเซียม อย่างไร ถ้าร่างกายมีระดับแคลเซียมในเลือดต่ำ� ร่างกายจะรักษาดุลยภาพของแคลเซียมโดย ต่อมพาราไทรอยด์จะหล่ังพาราทอร์โมนทำ�ให้กระตุ้นการสลายแคลเซียมจากกระดูก มีการเพ่ิมการดูดกลับแคลเซียมในไต และเพิ่มการดูดซึมแคลเซียมในลำ�ไส้เล็ก ส่งผล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 5 บทที่ 20 | ระบบตอ่ มไร้ท่อ 125 ใหร้ ะดบั แคลเซยี มในเลอื ดปกติ ในกรณรี ะดบั แคลเซยี มในเลอื ดสงู แคลซโิ ทนนิ ท�ำ หนา้ ท่ี กระตุ้นการสะสมแคลเซียมท่ีกระดูก ลดการดูดกลับแคลเซียมท่ีไตและลดอัตรา การดูดซมึ แคลเซยี มทีล่ ำ�ไสเ้ ลก็ ส่งผลใหร้ ะดับแคลเซยี มในเลอื ดปกติ จากน้นั ครใู ห้นกั เรียนอภิปรายร่วมกนั เพื่อสรปุ วา่ การควบคมุ ดลุ ยภาพของแคลเซียม เกดิ จากการท�ำ งานรว่ มกนั ของแคลซโิ ทนนิ จากตอ่ มไทรอยดแ์ ละพาราทอรโ์ มนจากตอ่ มพาราไทรอยด์ ในกรณีระดับแคลเซียมในเลือดสูงแคลซิโทนินทำ�หน้าท่ีกระตุ้นการสะสมแคลเซียมที่กระดูก ลดการ ดูดกลับแคลเซียมที่ไตและลดอัตราการดูดซึมแคลเซียมที่ลำ�ไส้เล็ก ระดับแคลเซียมในเลือดต่ำ� พาราทอร์โมนหรือพาราไทรอยด์ฮอร์โมนทำ�หน้าท่ีควบคุมระดับแคลเซียมในเลือดให้ปกติ และ พาราทอร์โมนจะทำ�งานไดม้ ปี ระสทิ ธิภาพดยี ง่ิ ขนึ้ เม่ือทำ�งานร่วมกับวติ ามิน D ครูใหค้ วามรู้เตมิ่ เตมิ ว่า การท่ไี ด้รบั แคลเซยี มน้อยกว่าปกตเิ ปน็ เวลานาน อาจสง่ ผลให้ ระดับแคลเซียมในเลือดลดลง ร่างกายจะรักษาสมดุลแคลเซียมในเลือดโดยมีการหล่ังพาราทอร์โมน เพิ่มขึ้น และมีการสลายแคลเซียมจากกระดูกมากขึ้น ซึ่งส่งผลทำ�ให้กระดูกบาง เปราะ หักง่าย และ อาจเปน็ โรคกระดกู พรนุ ได้ 5. ฮอร์โมนท่ที �ำ หน้าที่อ่ืน ๆ ครูอธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกับฮอร์โมนอ่ืน ๆ ที่สร้างจากต่อมไร้ท่อแต่ทำ�หน้าท่ีนอกเหนือจากท่ี กล่าวมาแล้ว ซึ่งมอี ยู่หลายชนดิ เชน่ เมลาโทนนิ ออกซิโทซนิ โพรแลกทิน เอนดอร์ฟนิ ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในทางการแพทย์ได้มีการผลิตฮอร์โมนสังเคราะห์ออก มาหลายชนิด เช่น ออกซิโทซินและนำ�มาใช้เพื่อกระตุ้นการบีบตัวของมดลูกในระหว่างการคลอด รวมทั้งใช้รักษาอาการตกเลือดหลังคลอด และกระตุ้นการทำ�งานของมดลูกในภาวะแท้งคุกคาม โดยการใชฮ้ อร์โมนน้ีตอ้ งอยู่ภายใต้คำ�แนะนำ�ของแพทยเ์ ท่านนั้ ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับฮอร์โมนที่ไม่ได้สร้างจากต่อมไร้ท่อ แต่สร้างจากเน้ือเย่ือ ต่าง ๆ อีกหลายชนิด เช่น hCG ไทโมซิน แกสทริน ซีครีทิน คอลีซิสโทไคนิน อีรีโทรโพอิทิน แล้วให้ นกั เรียนอภปิ รายและสรุปรว่ มกันเพื่อใหเ้ ห็นความสำ�คัญของฮอร์โมนทีไ่ ม่ไดส้ ร้างจากต่อมไรท้ ่อ จากน้ันครูให้นักเรียนทำ�กิจกรรม 20.1 เพื่อศึกษางานวิจัยเก่ียวกับต่อมไร้ท่อของ นักวิทยาศาสตร์ ดังน้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

126 บทท่ี 20 | ระบบต่อมไรท้ ่อ ชวี วทิ ยา เลม่ 5 กิจกรรม 20.1 งานวิจัยของนักวทิ ยาศาสตรท์ เ่ี กี่ยวกบั ฮอรโ์ มน จดุ ประสงค์ สบื คน้ ขอ้ มลู อธบิ ายและสรปุ ความส�ำ คญั ของงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วกบั ฮอรโ์ มนจากตอ่ มไรท้ อ่ และ เนอื้ เย่ือตา่ ง ๆ เวลาท่ใี ช้ (โดยประมาณ) 1 ชวั่ โมง วัสดุและอปุ กรณ์ - วิธดี �ำ เนนิ กิจกรรม 1. สบื คน้ ขอ้ มลู จาก ขา่ ว บทความ และงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การใชป้ ระโยชนจ์ ากองคค์ วามรู้ ที่เกี่ยวข้องกับฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและเน้ือเยื่อต่าง ๆ ในด้านต่าง ๆ เช่น การแพทย์ การเลี้ยงสตั ว์ 2. สรุปความส�ำ คญั และประโยชน์ของฮอรโ์ มน 3. นำ�เสนอข้อมลู ในรปู แบบต่าง ๆ เช่น นทิ รรศการ รายงาน แผน่ พบั และอภิปรายร่วมกัน ตวั อยา่ งผลการทำ�กจิ กรรม ศาสตราจารย์ ดร.ปยิ ะรัตน์ โกวทิ ตรพงศ์ ศนู ยว์ ิจยั ประสาทวทิ ยาศาสตร์ สถาบนั ชวี วิทยา ศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ศึกษาวิจัยเก่ียวกับเมลาโทนินที่สร้างและหลั่งจากต่อม ไพเนียล ผสู้ งู อายจุ ะสรา้ งและหลง่ั เมลาโทนนิ ไดเ้ พยี งครง่ึ หนึง่ ของคนวยั หนมุ่ สาว ซง่ึ การศกึ ษา ในสัตว์ทดลองพบว่าการหลั่งเมลาโทนินลดลงเชื่อมโยงกับกลไกการชราภาพและเชื่อว่า เมลาโทนนิ มสี มบตั ชิ ะลอความชราภาพโดยผ่านกระบวนการกำ�จดั สารอนมุ ูลอิสระ จากการทดลองในหนูพบว่าเมลาโทนินสามารถยับย้ังการตายของเซลล์ประสาทโดพามีน ผ่านกลไกการกระตุ้นโปรตีนต่าง ๆ ภายในเซลล์ เนื่องจากเมลาโทนินมีสมบัติในการกำ�จัดสาร อนุมูลอสิ ระและปอ้ งกนั การตายของเซลล์ประสาททส่ี รา้ ง โดพามีนอันเนอ่ื งมาจากสารเสพติด แอมเฟตามีน (amphetamine) และเมลาโทนินมีสมบัติคล้ายกับยาบางชนิดที่ใช้ในการรักษา โรคพารก์ ินสนั ซง่ึ แสดงว่า เมลาโทนินสามารถป้องกันและยับยั้งการเส่อื มของสมองได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บทที่ 20 | ระบบตอ่ มไรท้ อ่ 127 ปัจจุบันยังได้ศึกษาสมองในส่วนท่ีทำ�หน้าท่ีเกี่ยวกับความจำ�บริเวณ ฮิปโปแคมปัส (hippocampus) วา่ เมลาโทนนิ สามารถกระตนุ้ การสรา้ งเซลลป์ ระสาทบรเิ วณนไ้ี ดม้ ากนอ้ ยเพยี ง ใดเพ่อื ช่วยผูป้ ว่ ยท่เี ปน็ โรคอลั ไซเมอร์ และศึกษาสมองสว่ นกลางซ่ึงเกี่ยวข้องกับโรคพาร์กนิ สนั วา่ เมลาโทนินสามารถกระตุน้ การแบง่ เซลลป์ ระสาททส่ี รา้ งโดพามีน ไดห้ รือไม่ ผลจากการวจิ ยั นจ้ี ะเปน็ แนวทางในการปอ้ งกนั และรกั ษาโรคอลั ไซเมอร์ โรคพารก์ นิ สนั และ โรคสมองเสอื่ มจากการตดิ สารเสพตดิ แอมเฟตามนี ดว้ ยสมบตั ขิ องเมลาโทนนิ ทชี่ ว่ ยในการฟน้ื ฟู สมองได้ ท่มี า: สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (2561). ผลงานวิจัยเด่น (พิมพ์คร้ังที่ 1). กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ซโี น พบั ลชิ ชิ่ง แอนด์ แพคเกจจิง้ จำ�กดั . แนวการวดั และประเมินผล ด้านความรู้ - หนา้ ทข่ี องฮอรโ์ มนจากตอ่ มไรท้ อ่ และเนอ้ื เยอื่ ความส�ำ คญั ของฮอรโ์ มนทผ่ี ลติ จาก ตอ่ มไรท้ อ่ และสรุปสมบัติเฉพาะของฮอร์โมน จากการทำ�กิจกรรม การตอบคำ�ถามในหนังสือเรียน การทำ�แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทและแบบทดสอบ ดา้ นทักษะ - การสงั เกต และความรว่ มมือ การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผู้น�ำ จากการท�ำ กิจกรรมกลุม่ - การจำ�แนกประเภท การลงความเห็นจากข้อมูล การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ ปัญหา การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป จากการตอบคำ�ถาม การอภิปรายร่วมกัน และการน�ำ เสนอขอ้ มลู - การสอื่ สารสารสนเทศและการรเู้ ท่าทันส่อื จากการสืบค้นขอ้ มลู ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์ - ความอยากรู้อยากเห็น และการใช้วิจารณญาณ ความใจกว้าง ความมุ่งมั่นอดทน และ ความซอื่ สตั ย์ จากการอภปิ รายร่วมกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

128 บทท่ี 20 | ระบบต่อมไรท้ อ่ ชวี วทิ ยา เล่ม 5 20.4 การรักษาสมดุลของฮอร์โมน จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ยกตวั อยา่ งและอธบิ ายการท�ำ งานรว่ มกนั ของฮอรโ์ มนหลายชนดิ ในการรกั ษาดลุ ยภาพ ของร่างกาย 2. อธบิ ายและเขียนแผนผงั การจดั กลุ่มฮอรโ์ มนชนิดตา่ ง ๆ ตามการท�ำ งานของฮอร์โมน แนวการจัดการเรยี นรู้ ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยใช้วีดิทัศน์เกี่ยวกับการควบคุมการหล่ังฮอร์โมนแบบป้อนกลับยับย้ัง หรืออาจใชค้ �ำ ถาม ดงั น้ี ในชว่ งทไี่ มไ่ ดร้ บั ประทานอาหาร ระดบั น�ำ้ ตาลในเลอื ดควรลดลง แตจ่ ากการตรวจสอบ พบว่าระดับน้ำ�ตาลในเลือดยังคงอยู่ในระดับปกติ ร่างกายมีกลไกอย่างไรในการรักษา ดลุ ยภาพของน้ำ�ตาลในเลอื ด ครูให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมการหลั่งฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อจากรูป 20.24 ใน หนังสือเรียนแล้วอภิปรายร่วมกัน เพ่ือสรุปให้ได้ว่า การควบคุมการหล่ังฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อ อาจ ควบคุมโดยปริมาณของฮอร์โมน ระดับสารเคมีอื่น ๆ ในเลือด หรือควบคุมโดยระบบประสาท ซึ่ง เกย่ี วข้องกบั การเปลย่ี นแปลงของสง่ิ แวดล้อมทรี่ ่างกายรบั รผู้ า่ นระบบประสาท ครูใช้รูป 20.25 รูป 20.26 และรูป 20.27 ในหนังสือเรียน เพ่ืออธิบาย ipst.me/10798 เพ่ิมเติมว่าการควบคุมการหล่ังฮอร์โมนท่ีกล่าวมาแล้วส่วนใหญ่ควบคุมโดยวิธีการ ควบคมุ แบบปอ้ นกลบั ซงึ่ มี 2 แบบ คอื แบบปอ้ นกลบั ยบั ยงั้ และแบบปอ้ นกลบั กระตนุ้ เช่น การควบคุมการหล่ังพาราทอร์โมนแบบป้อนกลับยับย้ัง การควบคุมการหล่ัง ไทรอกซิน แบบป้อนกลับยับย้ัง และการควบคุมการหล่ังออกซิโทซินแบบป้อนกลับ กระต้นุ จากนั้นครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน โดยใช้คำ�ถามตรวจสอบความเข้าใจใน หนงั สือเรียน ดงั น้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 5 บทที่ 20 | ระบบตอ่ มไรท้ ่อ 129 ตรวจสอบความเขา้ ใจ จงเขยี นแผนภาพการควบคมุ การหลง่ั ไทรอกซนิ แบบปอ้ นกลบั ยบั ยงั้ ในกรณที ร่ี า่ งกายขาด ไอโอดนี จนเป็นโรคคอพอก ไฮโพทาลามสั หล่งั TRH กระตนุ้ ตอ่ มใตส้ มองสว่ นหน้า หล่งั ไมม่ ไี ทรอกซินไปยับย้งั TSH ไมม่ ไี ทรอกซนิ ไปยับยัง้ กระตนุ้ ตอ่ มไทรอยด์โตเป็นโรคคอพอก ต่อมไทรอยด์ขาดไอโอดีน ไม่สร้าง ไทรอกซนิ ในกรณีที่ร่างกายขาดไอโอดีนจะทำ�ให้ต่อมไทรอยด์ไม่สามารถสร้างไทรอกซินได้ ส่งผลให้ ไม่มีไทรอกซินไปยับยง้ั การหลัง่ TRH จากไฮโพทาลามสั หรือ TSH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ท�ำ ใหต้ อ่ มใตส้ มองสว่ นหนา้ หลงั่ TSH มากระตนุ้ ตอ่ มไทรอยดต์ ลอดเวลาสง่ ผลใหต้ อ่ มไทรอยด์ ขยายขนาดผิดปกติ จนทำ�ใหเ้ ป็นโรคคอพอก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

130 บทที่ 20 | ระบบต่อมไรท้ อ่ ชีววิทยา เล่ม 5 ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มกนั สรปุ การจดั กลมุ่ ฮอรโ์ มนตามการท�ำ งานของฮอรโ์ มนจากตอ่ มไรท้ อ่ และ เนื้อเย่อื ที่สร้างฮอรโ์ มน โดยใช้คำ�ถามตรวจสอบความเข้าใจในหนังสอื เรยี น ดังนี้ ตรวจสอบความเข้าใจ จงเขียนแผนผังสรุปการจัดกลุ่มฮอร์โมนตามการทำ�งานของฮอร์โมนจาก ต่อมไร้ท่อและ เนือ้ เยื่อท่สี รา้ งฮอร์โมน ตัวอย่างแผนผังสรุปการจัดกลุ่มฮอร์โมนตามการทำ�งานของฮอร์โมนจาก ต่อมไร้ท่อและ เนื้อเยือ่ ท่ีสร้างฮอร์โมน ดังน้ี ฮอรโ์ มนและการท�ำ งานของฮอร์โมน หน้าท่ี ฮอรโ์ มนที่ควบคุมการสรา้ งและหลง่ั ฮอร์โมนชนิดอ่นื ไดแ้ กฮ่ อร์โมนจาก ไฮโพทาลามสั ไดแ้ ก่ GnRH TRH CRH PIH GHRH GHIH ต่อมใต้สมองสว่ นหน้า ได้แก่ FSH LH ACTH TSH โพรแลกทิน และเอนดอรฟ์ ิน ควบคมุ และเกีย่ วขอ้ งกบั เมแทบอลซิ ึม ได้แก่ฮอร์โมนจาก ตอ่ มไทรอยด์ ไดแ้ ก่ ไทรอกซนิ ตอ่ มหมวกไตสว่ นนอก ไดแ้ ก่ กลโู คคอร์ทิคอยด์ เช่น คอรท์ ิซอล ต่อมหมวกไตสว่ นใน ไดแ้ ก่ เอพเิ นฟริน นอร์เอพิเนฟริน ตบั อ่อน ได้แก่ อนิ ซูลนิ กลูคากอน ควบคมุ การสบื พนั ธ์แุ ละการเจรญิ เติบโต ได้แกฮ่ อรโ์ มนจาก รังไข่ ไดแ้ ก่ อสี โทรเจน โพรเจสเทอโรน อณั ฑะ ไดแ้ ก่ เทสโทสเทอโรน ต่อมหมวกไตสว่ นนอก ได้แก่ แอนโดรเจน ตอ่ ใตส้ มองสว่ นหน้า ไดแ้ ก่ FSH LH GH ต่อมไทรอยด์ ได้แก่ ไทรอกซนิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 5 บทท่ี 20 | ระบบตอ่ มไรท้ ่อ 131 ควบคุมการรักษาดุลยภาพของน�ำ้ และแรธ่ าตุ ได้แกฮ่ อร์โมนจาก ต่อมใตส้ มองสว่ นหลงั ได้แก่ ADH ต่อมหมวกไตส่วนนอก ไดแ้ ก่ มิเนราโลคอร์ติคอยด์ เช่น แอลโดสเทอโรน ตอ่ มไทรอยด์ ไดแ้ ก่ แคลซโิ ทนนิ ต่อมพาราไทรอยด์ ได้แก่ พาราทอร์โมน ฮอร์โมนที่ท�ำ หน้าทอี่ นื่  ๆ ไดแ้ กฮ่ อร์โมนจาก ตอ่ มไพเนียล เช่น เมลาโทนนิ ตอ่ มใตส้ มองส่วนหน้า เช่น โพรแลกทิน เอนดอรฟ์ ิน ต่อมใต้สมองส่วนหลัง เชน่ ออกซิโทซิน รก เช่น hCG ไทมสั เชน่ ไทโมซนิ กระเพาะอาหาร เช่น แกสทรนิ ล�ำ ไสเ้ ลก็ เชน่ ซีครที นิ คอลีซิสโทไคนิน ไต เช่น อีรีโทรโพอทิ นิ ครอู าจแบง่ กลมุ่ ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เพอ่ื สรปุ หนา้ ทขี่ องฮอรโ์ มนจากตอ่ มไรท้ อ่ และเนอื้ เยอื่ ท่ีสร้างฮอร์โมนให้สัมพันธ์กันในหวั ขอ้ ตา่ ง ๆ เชน่ ชอื่ ตอ่ มไร้ท่อและเนอ้ื เยอ่ื ท่สี ร้างฮอร์โมน ฮอรโ์ มนท่ี หลั่ง อวัยวะเปา้ หมาย หนา้ ท่ีของฮอรโ์ มน และความผิดปกติ ดังตัวอย่างในตารางดังน้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช่อื ตอ่ มไร้ท่อและเน้อื เยอ่ื ฮอรโ์ มน อวยั วะเป้าหมาย หนา้ ทข่ี องฮอรโ์ มน ความผดิ ปกตหิ รอื โรคท่เี กิดจากการ 132 บทที่ 20 | ระบบต่อมไรท้ อ่ ทส่ี ร้างฮอร์โมน ทหี่ ลัง่ ขาดฮอร์โมนหรอื มีมากเกินไป ไฮโพทาลามัส GnRH ต่อมใตส้ มองสว่ นหนา้ ควบคุมการสรา้ งและหลง่ั Gn ถา้ ขาดจะทำ�ใหร้ ังไข่และอณั ฑะ TRH จากตอ่ มใตส้ มองส่วนหน้า สร้างฮอรโ์ มนเพศไดน้ อ้ ย CRH GHRH ต่อมใตส้ มองส่วนหนา้ กระตุน้ การสร้างและหลั่ง TSH ถา้ มมี ากเกินไปจะทำ�ให้ต่อม GHIH จากต่อมใตส้ มองสว่ นหน้า ใตส้ มองส่วนหน้าหล่งั TSH มา PIH กระตุ้นต่อมไทรอยด์ตลอดเวลา สง่ ผลใหต้ ่อมไทรอยดข์ ยาย ขนาดผิดปกติเกิดโรคคอพอก เป็นพิษ ตอ่ มใตส้ มองส่วนหนา้ กระตุ้นการสร้างและหลัง่ ACTH ถา้ ขาดจะท�ำ ใหต้ ่อมหมวกไต จากตอ่ มใตส้ มองสว่ นหนา้ ส่วนนอกหล่ังฮอรโ์ มนไดน้ ้อย ต่อมใตส้ มองสว่ นหนา้ ควบคุมการสร้างและหลั่ง GH ถ้ามีมากเกนิ ไปจะท�ำ ให้มี GH จากตอ่ มใตส้ มองส่วนหน้า มาก ส่งผลให้ร่างกายสูงผิดปกติ ตอ่ มใต้สมองสว่ นหน้า ยบั ย้งั การสร้างและหล่งั GH ถ้ามีมากเกนิ ไปจะท�ำ ใหม้ ี GH ชวี วทิ ยา เล่ม 5 จากต่อมใตส้ มองส่วนหนา้ นอ้ ย ส่งผลให้ร่างกายมลี กั ษณะ เตี้ยแคระ ตอ่ มใต้สมองส่วนหน้า ยบั ยัง้ การสรา้ งและหลัง่ โพรแลก ถ้าขาดจะท�ำ ให้ต่อมน�้ำ นมสรา้ ง ทนิ จากตอ่ มใต้สมองสว่ นหน้า น้�ำ นมไดน้ อ้ ย

ชอ่ื ตอ่ มไรท้ ่อและเนื้อเยือ่ ฮอร์โมน อวัยวะเปา้ หมาย หน้าท่ีของฮอรโ์ มน ความผิดปกติหรอื โรคที่เกดิ จากการ ท่ีสร้างฮอร์โมน ทหี่ ลงั่ ขาดฮอร์โมนหรือมีมากเกนิ ไป ต่อมใต้สมองส่วนหน้า FSH อัณฑะ กระตุ้นการสร้างสเปริ ์ม ถา้ ขาดจะไม่กระตนุ้ การสร้าง LH สเปิร์ม TSH ชวี วทิ ยา เล่ม 5 ACTH รงั ไข่ กระตนุ้ การเจรญิ ของ ถา้ ขาดจะไม่กระตุ้นการเจรญิ ฟอลลิเคลิ ในรังไข่ ของฟอลลิเคิลในรังไข่ อณั ฑะ กระตุน้ เซลล์อินเตอร์สติเชียลให้ ถา้ ขาดจะไมม่ ีการสร้างเทสโทส สร้างเทสโทสเทอโรน เทอโรนท�ำ ใหเ้ พศชายไม่มคี วาม สามารถในการสบื พันธุ์ และไม่มี ลักษณะของการแตกเน้ือหนุ่ม รงั ไข่ กระตนุ้ การตกไข่ ถา้ ขาดจะไม่มีการตกไข่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต่อมไทรอยด์ กระตนุ้ การหลัง่ ไทรอกซนิ ถา้ ขาดจะไมม่ ีการสรา้ งและหล่ัง ไทรอกซนิ ถ้ามีมากเกนิ ไปจะทำ�ให้ บทท่ี 20 | ระบบต่อมไรท้ ่อ ต่อมไทรอยดโ์ ต จนท�ำ ใหเ้ ป็น โรคคอพอก ต่อมหมวกไตส่วนนอก กระตนุ้ การหลงั่ กลโู คคอรท์ คิ อยด์ ถ้าขาดจะไม่มกี ารหล่ัง และมเิ นราโลคอร์ทิคอยด์ กลูโคคอรท์ คิ อยดแ์ ละ มเิ นราโลคอรท์ คิ อยด์ 133

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชอื่ ต่อมไรท้ อ่ และเนอ้ื เยอื่ ฮอรโ์ มน อวยั วะเป้าหมาย หนา้ ทขี่ องฮอรโ์ มน ความผิดปกติหรอื โรคท่ีเกิดจากการ 134 บทที่ 20 | ระบบต่อมไรท้ อ่ ทส่ี รา้ งฮอร์โมน ท่ีหลง่ั ขาดฮอรโ์ มนหรอื มมี ากเกินไป ต่อมใต้สมองสว่ นหนา้ GH เซลล์ตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย กระตนุ้ การเจริญเตบิ โต - ถา้ มมี ากเกนิ ไปในวัยเด็กจะ ท�ำ ใหร้ ่างกายสูงผดิ ปกติหรอื สภาพรา่ งยกั ษ์ - ถา้ ขาดในวัยเดก็ จะท�ำ ใหม้ ี ลักษณะเตยี้ แคระหรือ สภาพแคระ - ถา้ มมี ากเกินไปหลังจากโต เตม็ วยั แล้วจะท�ำ ใหม้ ลี กั ษณะ เป็นอะโครเมกาลี โพรแลกทิน ต่อมน้�ำ นม กระตนุ้ การสร้างน้�ำ นม ถา้ ขาดจะทำ�ให้ไม่มีการสรา้ ง นำ�้ นม ตอ่ มใตส้ มองส่วนหลงั ADH ท่อขดส่วนปลายของ ควบคุมการดูดกลับน�้ำ ของ ถา้ ขาดจะท�ำ ให้เกดิ อาการ ทอ่ หนว่ ยไตและท่อรวม ปัสสาวะมากและ (สรา้ งที่ หน่วยไตและท่อรวม เจอื จาง เรยี กวา่ โรคเบาจืด ชวี วทิ ยา เล่ม 5 ไฮโพทาลามสั ) ออกซโิ ทซิน มดลูก กระตุน้ การหดตัวของกล้ามเน้ือ ถา้ ขาดจะทำ�ใหม้ ดลูกไมบ่ บี ตัว (สรา้ งท่ี ผนงั มดลูกขณะคลอด ไฮโพทาลามสั ) ต่อมน�้ำ นม กระตนุ้ กลา้ มเน้อื รอบ ๆ ตอ่ ม ถ้าขาดจะท�ำ ใหไ้ มม่ ีการขบั น�ำ้ นม นำ้�นมหดตัวเพ่ือขบั น�ำ้ นม

ช่อื ต่อมไรท้ อ่ และเนือ้ เยือ่ ฮอร์โมน อวยั วะเป้าหมาย หน้าทข่ี องฮอร์โมน ความผิดปกตหิ รือโรคทเ่ี กิดจากการ ที่สรา้ งฮอร์โมน ทหี่ ลงั่ ขาดฮอรโ์ มนหรือมีมากเกินไป ต่อมไทรอยด์ ไทรอกซนิ เซลล์ต่าง ๆ ของร่างกาย ควบคุมอัตราเมแทบอลิซึม - ถ้าขาดไทรอกซนิ ในวัยเดก็ จะ ต่อมพาราไทรอยด์ ท�ำ ใหม้ ีกล่มุ อาการเครทินิซมึ ใน วยั ผ้ใู หญ่จะทำ�ใหม้ ีกล่มุ ชวี วทิ ยา เล่ม 5 อาการมิกซีดีมา - ถ้ารา่ งกายไม่สร้างไทรอกซนิ จะ ทำ�ใหเ้ ปน็ โรคคอพอก - ถ้ารา่ งกายสร้างไทรอกซินมาก เกนิ ไปจะทำ�ใหเ้ ปน็ โรคคอพอก เปน็ พิษ แคลซโิ ทนิน กระดกู ไต ลำ�ไสเ้ ล็ก ควบคุมดุลยภาพของแคลเซยี ม - ถา้ ขาดจะทำ�ให้ระดบั แคลเซียม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับพาราทอรโ์ มน ในเลือดสงู พาราทอรโ์ มน กระดกู ไต ล�ำ ไส้เลก็ ควบคุมดลุ ยภาพของแคลเซยี ม - ถ้าขาดจะทำ�ใหร้ ะดับแคลเซียม บทท่ี 20 | ระบบต่อมไรท้ ่อ รว่ มกับแคลซิโทนิน ในเลือดต่�ำ ท�ำ ใหก้ ล้ามเนอื้ เกิด อาการเกร็งและชักกระตุก - ถา้ มีมากเกนิ ไปท�ำ ใหแ้ คลเซยี ม ในเลือดสงู กระดูกบาง ฟันผุ และหักง่าย 135

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชือ่ ตอ่ มไรท้ อ่ และเนอ้ื เย่ือ ฮอร์โมน อวัยวะเปา้ หมาย หนา้ ทข่ี องฮอร์โมน ความผิดปกติหรือโรคทเี่ กิดจากการ 136 บทที่ 20 | ระบบต่อมไรท้ อ่ ทสี่ ร้างฮอรโ์ มน ท่หี ล่งั ขาดฮอรโ์ มนหรือมีมากเกินไป ตอ่ มหมวกไตสว่ นนอก กลโู คคอร์ทิ เซลลต์ า่ ง ๆ ของร่างกาย ควบคมุ สมดลุ ของระดับน�้ำ ตาล ถา้ มีกลโู คคอร์ทิคอยดม์ ากเกินไป คอยด์ เช่น คอร์ทิซอล ในเลอื ด โดยเพ่มิ ระดับนำ้�ตาลใน จะท�ำ ให้เกิดกลุม่ อาการคชู งิ มี เลือดจากการทำ�งานร่วมกบั ความผิดปกตเิ กี่ยวกบั กลคู ากอน เมแทบอลซิ ึมของโปรตนี คารโ์ บไฮเดรต ลพิ ิด มเิ นราโล ไต ควบคุมการดดู กลับนำ�้ และ ถา้ ขาดมเิ นราโลคอร์ทิคอยดจ์ ะ คอร์ทคิ อยด์ เช่น แอลโด โซเดยี มเขา้ สหู่ ลอดเลอื ด และ ท�ำ ให้รา่ งกายสญู เสียน้ำ�และ สเทอโรน ควบคมุ การขับโพแทสเซียมออก โซเดยี มไปพร้อมปสั สาวะส่งผล จากท่อหนว่ ยไต ใหป้ รมิ าตรของเลอื ดลดลง อาจ ทำ�ใหเ้ สียชวี ิตได้จากการมี ความดนั เลือดต�่ำ ตอ่ มหมวกไตส่วนใน เอพิเนฟริน หัวใจและหลอดเลอื ด - เพิม่ ระดบั น�้ำ ตาลในเลือด ถา้ มเี อพเิ นฟรินมากเกินไปจะ และนอร์เอ - กระตนุ้ ใหห้ ัวใจเต้นเรว็ ข้นึ ทำ�ให้มีความดันเลือดสูงข้ัน พเิ นฟริน - เพม่ิ ความดนั เลอื ด รนุ แรง อาจทำ�ใหเ้ สียชวี ติ ได้ ชวี วทิ ยา เล่ม 5 - กระต้นุ การบีบตวั ของ หลอดเลอื ดบางบริเวณ

ช่อื ตอ่ มไรท้ ่อและเน้ือเยือ่ ฮอรโ์ มน อวยั วะเป้าหมาย หน้าทข่ี องฮอร์โมน ความผดิ ปกตหิ รอื โรคทเ่ี กิดจากการ ท่สี รา้ งฮอรโ์ มน ทหี่ ลั่ง ขาดฮอรโ์ มนหรอื มมี ากเกินไป ตับอ่อน อินซลู นิ เซลล์ตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ควบคมุ สมดุลของระดบั น�ำ้ ตาล ถา้ ขาดอินซูลนิ จะท�ำ ใหร้ ะดับ ชวี วทิ ยา เล่ม 5 เซลล์บีตา ในเลือด โดยลดระดับน้ำ�ตาลใน น้�ำ ตาลในเลอื ดสูงกวา่ ปกติท�ำ ให้ กลคู ากอน เลอื ด ด้วยการใหต้ ับและ เปน็ โรคเบาหวาน ตับอ่อน กล้ามเน้ือน�ำ น�้ำ ตาลไปสะสมใน เซลลแ์ อลฟา เทสโทส รปู ของไกลโคเจน เทอโรน อณั ฑะ เซลล์ตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ควบคุมสมดุลของระดบั นำ้�ตาล ถ้าขาดกลูคากอนจะท�ำ ใหร้ ะดับ ในเลือด โดยเพิม่ ระดบั น้ำ�ตาลใน น้ำ�ตาลในเลอื ดลดลง ไม่มี เลือดจากการสลายไกลโคเจนใน การสลายไกลโคเจนในตับและ ตบั และกลา้ มเนอื้ กลา้ มเนือ้ เซลลต์ า่ ง ๆ ของรา่ งกาย - ท�ำ ใหเ้ พศชายมีความสามารถ ถ้าขาดจะทำ�ใหเ้ พศชายไมม่ ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น อวยั วะสบื พันธ์ุ ในการสืบพันธ์ุ กระตุ้นการ ความสามารถในการสบื พันธ์ุ สมอง กรดู ูก สร้างสเปริ ์ม และแสดงลักษณะ และไมม่ ีลกั ษณะของการแตก บทท่ี 20 | ระบบต่อมไรท้ ่อ และกล้ามเนอื้ เพศชาย เนอื้ หนุ่ม - เจริญเติบโต เชน่ กระตนุ้ การเจริญของกล้ามเนอ้ื การสังเคราะหโ์ ปรตีน 137

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช่อื ตอ่ มไร้ท่อและเน้อื เย่อื ฮอรโ์ มน อวัยวะเป้าหมาย หน้าทีข่ องฮอร์โมน ความผดิ ปกตหิ รอื โรคท่ีเกดิ จากการ 138 บทที่ 20 | ระบบต่อมไรท้ อ่ ทสี่ ร้างฮอร์โมน ทห่ี ล่ัง ขาดฮอร์โมนหรือมมี ากเกนิ ไป รังไข่ โพรเจส มดลกู - กระตุ้นผนงั มดลูกช้ันในใหห้ นา - ถ้าขาดจะทำ�ให้เอ็มบรโิ อไม่ ต่อมไพเนยี ล เทอโรน ต่อมน�ำ้ นม ขึน้ สามารถฝังตวั ที่ผนังมดลูกได้ - กระตุ้นต่อมน้ำ�นมให้เจริญ เนอื่ งจากไม่มกี ารกระตนุ้ ให้ ผนงั มดลกู หนาขน้ึ - ถ้าขาดจะไม่มกี ารกระตนุ้ การเจริญของตอ่ มน้ำ�นม อสี โทรเจน เซลลต์ ่าง ๆ ของรา่ งกาย - ท�ำ ใหเ้ พศหญิงมีความสามารถ - ถ้าขาดจะทำ�ใหเ้ พศหญิงไม่มี เช่น อวยั วะสบื พนั ธุ์ ในการสืบพนั ธุ์ และแสดง ความสามารถในการสบื พนั ธุ์ สมอง กระดูก ลกั ษณะเพศหญิง และไมม่ ลี กั ษณะของเพศหญิง และกล้ามเนอ้ื - เจรญิ เตบิ โต เช่น กระตุน้ - ถา้ ขาดจะท�ำ ให้กระดูกเปราะ การเจริญของกลา้ มเนอื้ เรียบ บาง แตกหักงา่ ย และอาจเปน็ และกระดูก โรคกระดูกพรุน - ลดการดงึ แคลเซยี มออกจาก กระดกู ชวี วทิ ยา เล่ม 5 เมลาโทนนิ ไฮโพทาลามสั - ช่วยควบคมุ การเจรญิ เตบิ โต - ถ า้ มมี ากเกนิ ไปจะสง่ ผลใหเ้ จรญิ ของอวยั วะสบื พนั ธก์ุ ่อนเข้าสู่ เขา้ สวู่ ยั หนมุ่ สาวชา้ กวา่ ปกติ วัยหนุ่มสาวของมนุษย์ - ถา้ ขาดจะท�ำ ให้รา่ งกายไม่ - ทำ�ให้รา่ งกายรบั รูว้ า่ เป็นเวลา สามารถรบั รู้เวลากลางวนั กลางวันและกลางคนื กลางคนื ได้ - ถา้ ขาดจะทำ�ให้นอนหลับยาก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook