โครงการเรยี นรดู้ า้ นเพศวิถศี กึ ษา วนั ที…่ .28..กมุ ภาพนั ธ์….2563 ณ…..กศน.ตาบลแสมสาร….ตาบลแสมสาร….อาเภอสตั หบี ….จังหวดั ชลบรุ ี
คานา เพศวิถีแทบจะเป็นคาศัพท์ใหม่ในประชาชาชนเจนเอ๊กซ์ เน่ืองจากประเทศไทยเราไม่ค่อยมีสอนหรือการ พดู คยุ ถงึ เรือ่ งเพศในครอบครวั ในการใช้ชวี ิตประจาวันกันมากนัก เพราะเขินอายท่ีจะพูดคุยเร่ืองแบบนี้ในท่ีสาธารณะ หรอื หยิบยกประเดน็ เร่ืองเพศข้ึนมาคุย เนอ่ื งจากเนื้อหาคอ่ นข้างจะขัดกับวัฒนธรรมประเพณแี ต่เดมิ เพศ ประเทศเรามีค่านิยมเร่ืองการรักงวนสงวนตัว จึงทาให้ครอบครัวมีการพูดคุยเกี่ยวกับเร่ืองเพศน้อยมาก และทาใหส้ ังคมไทยเกดิ ปัญหามากมาย ตามมาจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น โรคที่มากับการมีเพศสัมพันธ์ หรือท้อง กอ่ นวัยอันควร กศน.อาเภอสัตหบี เห็นความสาคญั ในการส่งเสริมให้ประชาชนและเยาวชนมคี วามรู้และทักษะเกี่ยวกับเพศวิถี ศึกษา ดังนัน้ จึงจัดโครงการเรยี นรู้ดา้ นเพศวิถีศกึ ษา นางสาวทัตพชิ า นนลือชา มนี าคม 2563
สารบญั หนา้ บทท่ี 1 บทนา ....................................................................................................................................................1 ความเปน็ มา .................................................................................................................................1 วตั ถุประสงค์.................................................................................................................................1 เปาู หมาย......................................................................................................................................1 ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั ......................................................................................................................2 ดัชนวี ดั ผลสาเร็จของโครงการ ......................................................................................................3 2 เอกสารการศึกษาและรายงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ...........................................................................................4 นโยบายและจุดเนน้ การดาเนนิ งาน กศน.ปงี บประมาณ พ.ศ.2561 ...........................................4 นโยบายและจดุ เน้นการดาเนนิ งาน กศน.ตาบลสัตหีบประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ..............7 แนวทาง/กลยทุ ธ์การดาเนินงาน .................................................................................................11 จดุ เน้นการดาเนนิ งาน..................................................................................................................14 ภารกจิ ตอ่ เนอื่ ง............................................................................................................................17 เอกสารท่เี ก่ยี วข้อง.......................................................................................................................18 3 วธิ ดี าเนนิ งาน........................................................................................................................................34 ประชมุ บุคลากรกรรมการสถานศกึ ษา.........................................................................................34 จดั ต้ังคณะทางาน ........................................................................................................................34 ประสานงานกบั หน่วยงานและบุคคลที่เก่ยี วข้อง .........................................................................34 ดาเนนิ การตามแผน.....................................................................................................................34 วัดผล/ประเมินผล/สรปุ ผลและรายงาน.....................................................................................................35 4 ผลการดาเนนิ งานและการวิเคราะห์ข้อมูล ..........................................................................................35 ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลสว่ นตวั ผู้แบบสอบถามของผเู้ ข้ารับการอบรมในโครงการเรยี นรดู้ า้ นเพศวถิ ี………….. 36 ตอนท่ี 2 ข้อมลู เกยี่ วกับความคิดเหน็ ท่ีมตี ่อโครงการเรยี นรู้ดา้ นเพศวิถี……………………………………….37 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ................................................................................................39 สรปุ ผลการดาเนนิ งาน.................................................................................................................40 อภปิ รายผล..................................................................................................................................40 ปัญหาและอุปสรรค ..................................................................................................................... 40 ข้อเสนอแนะ................................................................................................................................40 บรรณานุกรม………………………………………………………………………………………………………………...41 ภาคผนวก……………………………………………………………………………………………………………………..42
สารบญั ตาราง หนา้ ตารางท่ี 36 36 1 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามเพศ 36 2 แสดงค่ารอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามอายุ 32 3 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามอาชพี 4 ผลการประเมินโครงการเรียนรู้ดา้ นเพศวิถศี กึ ษา
บทท่ี 1 บทนา โครงการเรยี นรดู้ า้ นเพศวิถศี ึกษา หลกั การและเหตผุ ล ในปจั จบุ ันมีปัญหาสงั คมท่ีอยใู่ นภาวะวกิ ฤติ มากมายและสง่ ผลกระทบถึงเดก็ และเยาวชน ทง้ั ในดา้ นปัญหา การเรยี นรู้และพฤติกรรมทีไ่ มพ่ งึ ประสงค์ต่าง ๆ ทที่ ุกภาคสว่ นกาลงั ร่วมมือกันแกไ้ ขอยา่ งเร่งด่วน เพอ่ื ให้เด็กและ เยาวชนมพี ฤตกิ รรมทีพ่ งึ ประสงค์ สามารถเรยี นรแู้ ละดารงชวี ิตอยู่ในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุขและปลอดภยั โดยเดก็ และเยาวชนจาเปน็ ต้องได้รบั การเสรมิ สร้างภูมิคมุ้ กันทางสังคมและทกั ษะชวี ติ เพ่อื เป็นวคั ซนี ปอู งกนั ปญั หาการพัฒนา คุณภาพชีวิตเดก็ และเยาวชนการเสริมสร้างภมู ิค้มุ กนั ทางสงั คมและทักษะชวี ติ ซึง่ จาเป็นต้องไดร้ บั การปลกู ฝังท้งั จาก ครอบครวั ชมุ ชน โรงเรยี น ในการส่งั สอนให้นักเรียนคิดและแก้ไขปญั หาทเ่ี ผชิญหน้าอยู่ในทกุ ชว่ งวยั หากเดก็ และ เยาวชน ไดร้ ับการปลกู ฝังต้งั แต่เด็ก เช่อื วา่ จะสามารถออกไปเผชิญชีวิต เปน็ อนาคตของชาติ และสามารถนาเอา ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ การแกไ้ ขปญั หาไปช่วยเหลอื ตวั เองและสงั คมได้เปน็ อย่างดี ดังกล่าวดว้ ยเหตผุ ลดังกลา่ ว กศน.ตาบลแสมสาร ตระหนกั ถึงสภาพปญั หาสังคมทอี่ าจจะสง่ ผลกระทบสถาบนั ครอบครัวในพืน้ ทรี่ ับผดิ ชอบ จงึ ได้คิดหาแนวทางในการเฝาู ระวงั ปูองกัน และแก้ไขปัญหารว่ มกนั ใน 5กลุม่ เปูาหมาย ได้แก่ เด็กและเยาวชน สตรี ผู้สงู อายุ ผพู้ ิการและผู้ด้อยโอกาส พบวา่ กลุ่มคนเหล่านี้เปน็ พลังสาคญั ยิ่งต่อการพฒั นา ควรจะไดร้ ับการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ทั้งทางดา้ นรา่ งกายและจิตใจ รวมถึงการเพม่ิ ทักษะการเรียนรู้ทางสงั คม ซ่ึงเปน็ การสรา้ งภมู คิ ุ้มกันทางสงั คมให้สมาชิกในชมุ ชนทุกกลมุ่ /ทุกช่วงวยั แนวทางหน่งึ ให้สามารถรับมือกบั ปัญหาตา่ งๆ ได้ กศน.ตาบล แสมสาร จึงได้จัดทาโครงการอบรมการเรียนรดู้ ้านเพศวิถศี กึ ษา ขนึ้ วัตถปุ ระสงค์ 1.เพอ่ื ใหผ้ ู้รบั การอบรมมีความร้ดู า้ นเพศวิถีและทกั ษะชีวิต 2.เพอ่ื ให้ผรู้ ับการอบรมเรยี นรดู้ า้ นเพศวถิ ีและสามารถนาความรู้ที่ได้ไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจาวนั เป้าหมาย เชงิ ปริมาณ ประชาชนตาบลแสมสาร จานวน 20 คน เชงิ คณุ ภาพ ผู้เข้ารว่ มโครงการสามารถนาความรู้และประสบการณท์ ไี่ ดร้ ับมาพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของผเู้ ขา้ รว่ ม โครงการ วิธกี ารดาเนนิ การ กจิ กรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เปาู หมาย เปูาหมาย พื้นที่ดาเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ
1.จัดทาโครงการเพ่ือ 1.เพ่อื ใหผ้ รู้ ับการอบรมมี ประชาชน จานวน กศน.ตาบล 28 2,300.-บาท ขออนุมตั ิ ความรดู้ ้านเพศวิถีและ ตาบลแสมสาร 20 คน แสมสาร กมุ ภาพนั ธ์ 2.ประชมุ ชแ้ี จง ทักษะชวี ติ เจ้าหนา้ ที่รบั ผดิ ชอบ 2.เพอ่ื ใหผ้ ู้รับการอบรม 2563 3.ประสานงาน เรยี นรดู้ ้านเพศวิถแี ละ เครือขา่ ยท่ีเก่ยี วข้อง สามารถนาความรู้ทไ่ี ดไ้ ป 4.ดาเนินการจดั ปรบั ใช้ในชีวิตประจาวัน กจิ กรรม อบรมให้ความรู้ 5.สรุปผลและ รายงานผล เงนิ งบประมาณท้ังโครงการ 2,300.- บาท ผู้รบั ผิดชอบโครงการ ดาวมณี หัวหนา้ กศน. ตาบลแสมสาร นางสาวประวีณา นางสาวทัตพชิ า นนลอื ชา ครู ศรช. ตาบลแสมสาร เครือข่าย - ประชาชนตาบลแสมสาร - กศน.อาเภอสัตหบี โครงการทเ่ี กย่ี วข้อง - โครงการเรยี นรดู้ ้านเพศวิถศี ึกษา ผลลัพธ์ (Out come) ผูเ้ ข้ารว่ มอบรมมีความรู้ด้านเพศวถิ แี ละทักษะชีวติ ผู้เขา้ รว่ มสามารถนาความร้ดู ้านเพศวถิ ีไปปรับใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อตนเอง และชมุ ชนได้ ดัชนีชีว้ ดั ความสาเร็จของโครงการ ตวั ชว้ี ัดผลผลติ (Outputs) 1) มผี ู้เข้าร่วมโครงการ ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของกลุม่ เปูาหมาย 2) ผู้เข้ารว่ มโครงการมคี วามพงึ พอใจในระดับดขี ้ึนไปไม่น้อยกวา่ ร้อยละ80
ตวั ชี้วัดผลลพั ธ์(Outcomes) - ประชาชนตาบลแสมสาร มคี วามพึงพอใจระดบั มากขนึ้ ไป ตอ่ การดาเนินงานโครงการ ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 -ประชาชนตาบลแสมสาร สามารถนาความรแู้ ละประสบการณ์จากการทไ่ี ด้รบั มาปรับใชใ้ นการใช้ ชีวติ ประจาวัน
บทท่ี 2 เอกสารการศกึ ษาและรายงานที่เกีย่ วขอ้ ง ในการจดั ทารายงานคร้งั นี้ ได้ทาการศึกษาค้นคว้าเนอ้ื หาจากเอกสารการศกึ ษาและรายงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง ดังต่อไปน้ี 1. นโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงาน สานกั งาน กศน.ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2. แนวทาง/กลยุทธ์การดาเนนิ งาน กศน.อาเภอสัตหีบประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 2.1 วสิ ยั ทศั น์ 2.2 พันธกจิ 2.3 เปูาประสงค์ 2.4 ตวั ชีว้ ัดความสาเรจ็ /ยุทธศาสตร/์ โครงการ 3. เอกสารท่เี กย่ี วขอ้ ง นโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 วิสัยทศั น์ คนไทยได้รับโอกาสการศกึ ษาและการเรียนรู้ตลอดชวี ติ อยา่ งมคี ุณภาพ สามารถดารงชีวิตท่ีเหมาะสม กับช่วงวยั สอดคลอ้ งกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทกั ษะท่จี าเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 พันธกิจ 1. จัดและสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ท่ีมคี ุณภาพ เพือ่ ยกระดับการศกึ ษา พฒั นา ทักษะการเรียนรูข้ องประชาชนทกุ กล่มุ เปูาหมายใหเ้ หมาะสมทุกชว่ งวยั พร้อมรบั การเปลย่ี นแปลงบริบททางสังคม และสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรูต้ ลอดชีวิต 2 สง่ เสรมิ สนบั สนุน และประสานภาคเี ครอื ข่าย ในการมสี ว่ นร่วมจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย และการเรียนรตู้ ลอดชีวิต รวมท้งั การดาเนนิ กิจกรรมของศนู ยก์ ารเรียนและแหลง่ การเรียนร้อู ื่นในรูปแบบ ต่าง ๆ 3. สง่ เสรมิ และพฒั นาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยดี ิจิทลั มาใช้ให้เกดิ ประสิทธภิ าพในการ จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยให้กบั ประชาชนอย่างท่วั ถึง 4. พัฒนาหลกั สตู ร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมนิ ผล ในทกุ รปู แบบให้สอดคล้องกับบริบทในปจั จุบนั 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจดั การให้มปี ระสิทธภิ าพ เพื่อมุ่งจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ ทมี่ ีคุณภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล เปา้ ประสงค์ 1. ประชาชนผูด้ ้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา รวมท้ังประชาชนทว่ั ไปได้รับโอกาส ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน การศึกษาตอ่ เนือ่ ง และการศึกษา ตามอธั ยาศัย ท่มี คี ุณภาพอย่างเทา่ เทยี มและทั่วถงึ เปน็ ไปตามสภาพ ปญั หา และความตอ้ งการของแตล่ ะ
กลุ่มเป้าหมาย 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศกึ ษา สรา้ งเสรมิ และปลกู ฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความเป็นพลเมือง อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวติ และเสรมิ สร้างความเขม้ แข็งใหช้ มุ ชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความมน่ั คงและยั่งยืน ทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และส่ิงแวดลอ้ ม 3. ประชาชนได้รบั โอกาสในการเรยี นรู้ และมีเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สามารถคิด วเิ คราะห์ และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจาวนั รวมทงั้ แกป้ ญั หาและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ 4. ประชาชนได้รบั การสรา้ งและส่งเสรมิ ใหม้ นี สิ ัยรักการอา่ นเพ่ือการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง 5. ชมุ ชนและภาคเี ครือขา่ ยทกุ ภาคส่วน รว่ มจดั ส่งเสริม และสนับสนนุ การดาเนินงานการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทัง้ การขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชมุ ชน 6. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศกึ ษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการยกระดับคณุ ภาพ ในการจดั การเรยี นรแู้ ละเพิ่มโอกาสการเรยี นรใู้ ห้กบั ประชาชน 7. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาพฒั นาสอื่ และการจัดกระบวนการเรยี นรู้ เพื่อแกป้ ัญหาและพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ทต่ี อบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบรบิ ทด้านเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง วฒั นธรรม ประวัติศาสตรแ์ ละสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ ตามความตอ้ งการของประชาชนและชมุ ชนในรปู แบบที่หลากหลาย 8. หน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบริหารจัดการท่เี ป็นไปตามหลักธรรมาภบิ าล 9. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศกึ ษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพมิ่ สมรรถนะในการปฏิบัติงานการศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ตัวชว้ี ัด ตัวชว้ี ัดเชิงปริมาณ 1. จานวนผเู้ รยี นการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาช้ันพน้ื ฐานทไี่ ดร้ ับการสนบั สนุนค่าใช้จา่ ยตาม สทิ ธทิ ีก่ าหนดไว้ 2. จานวนของคนไทยกลุ่มเปาู หมายต่าง ๆ ท่ีเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนร/ู้ เขา้ รบั บรกิ ารกิจกรรม การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง และการศึกษาตามอัธยาศัยที่สอดคลอ้ งกับสภาพ ปัญหา และความต้องการ 3. รอ้ ยละของกาลังแรงงานท่ีสาเรจ็ การศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้นข้นึ ไป 4. จานวนภาคีเครอื ขา่ ยท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด/พฒั นา/ส่งเสรมิ การศกึ ษา (ภาคีเครือข่าย : สถาน ประกอบการ องค์กร หน่วยงานที่มารว่ มจัด/พฒั นา/ส่งเสริมการศึกษา) 5. จานวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพนื้ ทีส่ งู และชาวไทยมอแกน ในพืน้ ท่ี 5 จังหวัด 11 อาเภอ ไดร้ ับบรกิ ารการศึกษาตลอดชวี ติ จากศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนสังกดั สานกั งาน กศน. 6. จานวนผู้รับบรกิ ารในพื้นท่เี ปูาหมายได้รับการส่งเสริมดา้ นการรู้หนงั สอื และการพฒั นาทกั ษะชวี ติ 7. จานวนนกั เรยี นนกั ศกึ ษาทไ่ี ด้รับบริการตวิ เขม้ เต็มความรู้ 8. จานวนประชาชนทไ่ี ดร้ บั การฝกึ อาชพี ระยะสั้น สามารถสรา้ งอาชพี เพ่ือสร้างรายได้ 9. จานวน ครู กศน. ตาบล จากพนื้ ท่ี กศน.ภาค ได้รับการพฒั นาศกั ยภาพด้านการจดั การเรียน การสอนภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สาร
10. จานวนประชาชนทีไ่ ดร้ ับการฝึกอบรมภาษาต่างประเทศเพ่อื การสอ่ื สารด้านอาชีพ 11. จานวนผสู้ ูงอายภุ าวะพง่ึ พิงในระบบ Long Term Care มีผ้ดู แู ลท่มี คี ุณภาพและมาตรฐาน 12. จานวนประชาชนทผี่ ่านการอบรมจากศูนย์ดจิ ิทลั ชุมชน 13. จานวนศนู ย์การเรียนชุมชน กศน. บนพนื้ ทสี่ งู ในพ้ืนที่ 5 จังหวัด ท่สี ่งเสรมิ การพัฒนาทักษะ การฟัง พดู ภาษาไทยเพือ่ การสอื่ สาร รว่ มกนั ในสถานศกึ ษาสังกัด สพฐ. ตชด. และกศน. 14. จานวนบคุ ลากร กศน. ตาบลท่ีสามารถจัดทาคลังความร้ไู ด้ 15. จานวนบทความเพือ่ การเรยี นรู้ตลอดชีวิตในระดับตาบลในหวั ขอ้ ต่าง ๆ 16. จานวนหลกั สตู รและส่อื ออนไลนท์ ่ีใหบ้ ริการกับประชาชน ทัง้ การศกึ ษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตวั ชว้ี ัดเชงิ คณุ ภาพ 1. ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุกรายวชิ าทกุ ระดับ 2. ร้อยละของผเู้ รยี นทีไ่ ดร้ บั การสนับสนุนการจดั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐานเทยี บกับคา่ เปูาหมาย 3. รอ้ ยละของประชาชนกลมุ่ เปาู หมายทีล่ งทะเบยี นเรียนในทกุ หลกั สูตร/กจิ กรรมการศกึ ษาต่อเน่อื งเทียบกับ เปูาหมาย 4. ร้อยละของผผู้ า่ นการฝึกอบรม/พฒั นาทกั ษะอาชพี ระยะสน้ั สามารถนาความรไู้ ปใชใ้ นการประกอบอาชีพ หรอื พฒั นางานได้ 5. ร้อยละของผู้เรียนในเขตพื้นทีจ่ ังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ หรือทักษะดา้ นอาชีพ สามารถมีงานทาหรือนาไปประกอบอาชพี ได้ 6. รอ้ ยละของผจู้ บหลกั สูตร/กจิ กรรมที่สามารถนาความรู้ความเข้าใจไปใช้ไดต้ ามจดุ ม่งุ หมายของหลกั สตู ร กิจกรรม การศึกษาตอ่ เนอื่ ง 7. รอ้ ยละของประชาชนที่ไดร้ ับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจต่อการบรกิ าร/เข้าร่วมกจิ กรรมการเรยี นรูก้ ารศกึ ษา ตามอธั ยาศัย 8. ร้อยละของประชาชนกลมุ่ เปูาหมายที่ไดร้ ับบริการ/ข้าร่วมกจิ กรรมท่ีมีความร้คู วามเข้าใจ/เจตคติ ทกั ษะ ตามจุดมงุ่ หมายของกิจกรรมท่กี าหนด ของการศึกษาตามอธั ยาศยั 9. ร้อยละของนกั เรยี น/นกั ศึกษาทีม่ ผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวชิ าท่ไี ดร้ บั บรกิ ารติวเข้มเต็มความรู้ เพมิ่ สงู ข้นึ 10. ร้อยละของผู้สงู อายุทเ่ี ปน็ กลุม่ เปาู หมาย มโี อกาสมาเข้าร่วมกิจกรรมการศกึ ษาตลอดชวี ิต นโยบายเร่งดว่ นเพ่ือรว่ มขับเคล่อื นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ 1.ยุทธศาสตรด์ ้านความมันคง 1.1 พฒั นาและเสริมสรา้ งความจงรักภกั ดตี ่อสถาบันหลักของชาติ โดยปลกู ฝังและสรา้ งความตระหนกั รู้ถงึ ความสาคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงคเ์ สรมิ สรา้ งความรักและความภาคภมู ิใจในความเป็นคนไทยและชาตไิ ทย นอ้ มนาและเผยแพรศ่ าสตรพ์ ระราชา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงรวมถึงแนวทางพระราชดารติ ่าง ๆ
1.2 เสรมิ สร้างความรคู้ วามเข้าใจที่ถูกตอ้ ง และการมีสว่ นร่วมอยา่ งถกู ต้องกับการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ ในบริบทของไทย มคี วามเปน็ พลเมอื งดี ยอมรบั และเคารพความ หลากหลายทางความคดิ และอุดมการณ์ 1.3 สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการศึกษาเพือ่ ปูองกันและแกไ้ ขปญั หาภยั คกุ คามในรูปแบบใหม่ ทง้ั ยาเสพติด การค้ามนุษย์ ภยั จากไซเบอร์ ภัยพบิ ตั จิ ากธรรมชาติ โรคอุบตั ิใหม่ ฯลฯ 1.4 ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา การพฒั นาทกั ษะ การสร้างอาชพี และการใช้ชวี ิตในสงั คมพหุวฒั นธรรม ในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และพ้ืนท่ี ชายแดนอื่น ๆ 1.5 สรา้ งความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพือ่ นบา้ นยอมรบั และ เคารพในประเพณี วัฒนธรรมของกล่มุ ชาตพิ นั ธ์ุ และชาวตา่ งชาตทิ ่ีมีความหลากหลาย ในลกั ษณะพหุสังคมท่อี ยู่ ร่วมกัน 2.ยุทธศาสตร์ด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน 2.1 เร่งปรบั หลกั สูตรการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพ่ือยกระดับทักษะดา้ นอาชพี ของประชาชน ให้เป็นอาชพี ทรี่ องรบั อตุ สาหกรรมเปาู หมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบรู ณา การความรว่ มมือในการพัฒนาและเสริมทักษะใหมด่ ้านอาชพี (Upskill & Reskill) รวมถึงมุง่ เนน้ สร้างโอกาสในการ สรา้ งงาน สร้างรายได้ และตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงานทั้งภาคอุตสาหกรรมและการบรกิ าร โดยเฉพาะในพื้นทเ่ี ขตระเบียงเศรษฐกจิ และเขคพัฒนาพเิ ศษตามภูมภิ าคต่าง ๆ ของประเทศสาหรับพนื้ ท่ปี กติให้ พัฒนาอาชีพท่ีเน้นการต่อยอดศักยภาพและตามบรบิ ทของพน้ื ที่ 2.2 จดั การศึกษาเพ่อื พฒั นาพนื้ ท่ภี าคตะวันออก ยกระดับการศึกษาให้กับประชาชนให้จบการศกึ ษา อยา่ งน้อยการศึกษาภาคบงั คับ สามารถนาคณุ วุฒิท่ีได้รบั ไปตอ่ ยอดในการประกอบอาชีพ รวมทง้ั พฒั นาทกั ษะในการ ประกอบอาชีพตามความต้องการของประชาชน สรา้ งอาชีพ สร้างรายได้ ตอบสนองต่อ บรบิ ทของสังคมและชุมชน รวมท้งั รองรบั การพัฒนาเขตพ้ืนทรี่ ะเบยี บเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) 2.3 พัฒนาและส่งเสรมิ ประชาชนเพอ่ื ตอ่ ยอดการผลติ และจาหนา่ ยสินค้และผลิตภัณฑ์ออนไลน์ 1) เรง่ จดั ต้ังศูนยใ์ หค้ าปรึกษาและพฒั นาผลติ ภัณฑ์ Brand กศน. เพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพของสนิ คแ้ ละ ผลิตภัณฑ์ การบริหารจัดการท่ีครบวงจร (การผลิต การตลาด การส่งออก และสร้างชอ่ งทางจาหน่าย) รวมท้ังสง่ เสริม การใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยดี ิจิทลั ในการเผยแพร่และจาหนา่ ยผลิตภัณฑ์ 2) พัฒนาและคดั เลอื กสดุ ยอดสินคา้ และลติ ภัณฑ์ กศน. ในแต่ละจงั หวดั พร้อมทง้ั ประสานความรว่ มมอื กับ สถานีบริการน้ามนั ในการเป็นซ่องทางการจาหนา่ ยสุดยอดสินค้าและผลติ ภัณฑ์ กศน.ให้กวา้ งขวางยิ่งขน้ึ 3.ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 3.1 พัฒนาครูและบุคลากรทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับการจัดกิจกรรมและการเรยี นรู้ เป็นผู้เช่อื มโยงความรู้กับ ผเู้ รียนและผรู้ ับบรกิ าร มีความเปน็ \"ครูมอื อาชพี \" มีจิตบริการ มีความรอบรแู้ ละทันต่อการเปล่ยี นแปลงของสงั คมและ เปน็ \"ผู้อานวยการการเรยี นร\"ู้ ทีส่ ามารถบริหารจัดการความรู้ กิจกรรม และการเรียนรู้ทดี่ ี 1) เพม่ิ อตั ราข้าราชการครูใหก้ บั กศน. อาเภอทุกแห่ง โดยเร่งดาเนนิ การเรอ่ื งการหาอัตราตาแหน่ง
การสรรหา บรรจุ และแตง่ ตัง้ ขา้ ราชการครู 2) พฒั นาข้าราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลักสตู รที่เชอ่ื มโยงกับวิทยฐานะ 3) พัฒนาครู กศน.ตาบลให้สามารถปฏบิ ัติงานได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยเนน้ เร่อื งการพัฒนาทกั ษะ การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 4) พัฒนาศึกษานเิ ทศก์ ใหส้ ามารถปฏิบตั ิการนเิ ทศไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 5) พฒั นาบคุ ลากร กศน.ทกุ ระดบั ทกุ ประเภทใหม้ ีทักษะความรูเ้ ร่อื งการใช้ประโยชน์จากดจิ ทิ ัลและ ภาษาตา่ งประเทศท่ีจาเปน็ 3.2 พัฒนาแหล่งเรยี นรใู้ ห้มบี รรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอ้อื ต่อการเรยี นรู้ มีความพรอ้ มในการให้บริการ กจิ กรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เปน็ แหล่งสารสนเทศสาธารณะท่ีงยต่อการเข้าถึง มบี รรยากาศท่ีเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ เป็นคาเพ่พ้นื ท่ีการเรียนรูส้ าหรับคนทกุ ช่วงวัย มีสิ่งอานวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมีชีวติ ทดี่ งึ ดูดความ สนใจ และมคี วามปลอดภยั สาหรบั ผู้ใช้บริการ 1) เร่งยกระดบั กศน.ตาบลนาร่อง 928 แหง่ (อาเภอละ 1 แห่ง) ใหเ้ ปน็ กศน.ตาบล 5 ดี พรีเมีย่ ม ทปี่ ระกอบดว้ ย ครดู ี สถานท่ดี ี (ตามบริบทของพืน้ ที่) กิจกรรมดี เครอื ข่ายดี และมนี วตั กรรมการเรียนรทู้ ด่ี ีมีประโยชน์ 2) จัดใหม้ ีศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ กศน. เพือ่ ยกระดับการเรียนรู้ ใน 6 ภูมิภาค เป็นพื้นทก่ี ารเรียนรู้ (Co - Learning Space) ทีท่ นั สมัยสาหรับทุกคน มีความพร้อมในการใหบ้ ริการต่าง ๆ อาทิ พ้ืนที่สาหรบั การทางาน/ การเรียนรู้ พืน้ ที่สาหรบั กิจกรรมต่าง ๆ มีห้องประชมุ ขนาดเลก็ รวมท้ังทางานรว่ มกับหอ้ งสมุดประชาชนในการ ใหบ้ ริการในรปู แบบห้องสมดุ ดจิ ิทัล บรกิ ารอินเทอร์เน็ต สื่อมัลตมิ ีเดยี เพื่อรองรับการเรยี นรู้แบบ Active Learning 3) พัฒนาหอ้ งสมุดประชชน \"เฉลมิ ราชกมุ ารี\" ให้เป็น Digital Library โดยใหม้ บี รกิ ารหนงั สอื ในรปู แบบ e - Book บริการคอมพวิ เตอร์ และอินเทอร์เนต็ ความเร็วสงู รวมทงั้ Free Wifi เพอื่ การสืบค้นขอ้ มลู 3.3 ส่งเสริมการจดั การเรยี นรู้ทท่ี ันสมยั และมปี ระสิทธภิ าพ เอ้อื ต่อการเรียนรสู้ าหรับทุกคน สามารถ เรียนได้ทุกท่ีทุกเวลา มีกิจกรรมท่หี ลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความตอ้ งการของชมุ ชน เพ่อื พฒั นาศกั ยภาพ การเรยี นรขู้ องประชาชน รวมท้งั ใชป้ ระโยชน์จากประชาชนในชมุ ชนในการรว่ มจดั กจิ กรรมการเรียนร้เู พอ่ื เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ของคนในชมุ ชนไปสู้การจดั การความรขู้ องชุมชนอย่างย่ังยืน 1) ส่งเสรมิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ทีป่ ลกู ฝังคณุ ธรรม สร้างวินัย จติ สาธารณะ ความรับผิดชอบ ต่อส่วนรวม และการมจี ิตอาสา ผ่านกจิ กรรมรูปแบบตา่ ง ๆ อาทิ กิจกรรมลกู เสือ กศน. กิจกรรมจติ อาสา ตลอดจน สนบั สนุนใหม้ กี ารจดั กิจกรรมเพอ่ื ปลูกฝงั คณุ ธรรม จริยธรรมให้กับบคุ ลากรในองคก์ ร 2) จดั ให้มหี ลกั สูตรลูกเสือมัคคเุ ทศก์ โดยให้สานกั งาน กศน.จงั หวดั ทุกแห่ปกทม. จัดตั้งกองลกู เสอื ทล่ี กู เสอื มีความพรอ้ มดา้ นทกั ษะภาษาต่างประเทศ เป็นลูกเสอื มคั คุเทศก์จงั หวัดละ 1 กอง เพอ่ื ส่งเสรมิ ลูกเสือจติ อาสาพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วในแต่ละจงั หวดั 3.4 เสรมิ สรา้ งความร่วมมอื กบั ภาคีเครือขา่ ย ประสาน สง่ เสรมิ ความรว่ มมือภาคีเครอื ข่าย ทง้ั ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสรมิ และสนับสนนุ การมีสว่ นรว่ มของชุมชน เพื่อสรา้ งความเข้าใจ และให้เกิดความรว่ มมือในการสง่ เสริม สนับสนุน และจดั การศกึ ษาและการเรียนร้ใู หก้ บั ประชาชนอย่างมีคุณภาพ
1) เร่งจัดทาทาเนียบภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นในแต่ละตาบล เพื่อใช้ประโยชน์จากภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ในการสร้างการ เรียนรจู้ ากองคค์ วามรใู้ นตัวบุคคลใหเ้ กิดการถ่ายทอดภมู ิปญั ญา สรา้ งคณุ ค่าทางวัฒนธรรมอย่างยงั่ ยนื 2) ส่งเสริมภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ สูก่ ารจดั การเรยี นรู้ชุมชน 3) ประสานความร่วมมอื กับภาคีเครือขา่ ยเพอ่ื การขยายและพัฒนาการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้เขา้ ถงึ กลมุ่ เปูาหมายทุกกลุ่มอยา่ งกวา้ งขวางและมคี ณุ ภาพ อาทิ กลมุ่ ผสู้ ูงอายุ กลุม่ อสม. 3.5 พฒั นานวตั กรรมทางการศกึ ษาเพอ่ื ประโยชน์ตอ่ การจัดการศกึ ษาและกลุม่ เปูาหมาย 1) พฒั นาการจดั การศึกษาออนไลน์ กศน. ทั้งในรปู แบบของการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน การพัฒนาทักษะชีวติ และ ทักษะอาชีพ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมท้งั การพัฒนาชอ่ งทางการคา้ ออนไลน์ 2) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยใี นการปฏบิ ตั ิงาน การบรหิ ารจดั การ และการจัดการเรยี นรู้ 3) สง่ เสริมให้มีการใช้การวิจัยอย่างง่ายเพ่ือสร้างนวัตกรรมใหม่ 3.6 พัฒนาศกั ยภาพคนด้านทกั ษะและความเข้าใจในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัล (Digital Literacy) 1) พฒั นาความรูแ้ ละทักษะเทคโนโลยดี ิจทิ ัลของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพอ่ื พฒั นา รูปแบบการจัดการเรียนการสอน 2) ส่งเสรมิ การจดั การเรียนรดู้ ้านเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพือ่ ใหป้ ระชาชนมที กั ษะความเข้าใจและ ใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัลท่สี ามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวนั รวมทง้ั สร้างรายได้ใหก้ ับตนเองได้ 3.7 พัฒนาทกั ษะภาษาตา่ งประเทศเพ่อื การสอ่ื สารของประชาชนในรปู แบบต่าง ๆอยา่ งเปน็ รปู ธรรม โดยเน้นทกั ษะภาษาเพอื่ อาชีพ ท้ังในภาคธรุ กจิ การบริการ และการทอ่ งเท่ยี ว รวมทัง้ พฒั นาสื่อการเรยี นการสอนเพ่ือ สง่ เสรมิ การใชภ้ าษาเพ่ือการสอื่ สารและการพฒั นาอาชพี 3.8 เตรยี มความพรอ้ มการเข้าส่สู ังคมผู้สงู อายทุ เ่ี หมาะสมและมีคุณภาพ 1) ส่งเสริมการจดั กิจกรรมใหก้ บั ประชาชนเพ่อื สร้างความตระหนักถึงการเตรียมพร้อมเขา้ สสู่ ังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มคี วามเข้าใจในพัฒนาการของชว่ งวยั รวมท้ังเรยี นรูแ้ ละมีส่วนร่วมในการดูแลรับผดิ ชอบผู้สงู อายใุ น ครอบครวั และชุมชน 2) พฒั นาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรสู้ าหรับประชาชนในการเตรยี มความพร้อมเข้าส่วู ัยสูงอายุท่ี เหมาะสมและมคี ุณภาพ 3) จัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาคุณภาพชวี ิตสาหรับผู้สูงอายภุ ายใตแ้ นวคดิ \"Active Aging\"การศกึ ษาเพื่อพัฒนา คณุ ภาพชีวติ และพัฒนาทักษะชีวติ ให้สามารถดแู ลตนเองทั้งสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตและรูจ้ ักใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยี 4) สร้างความตระหนกั ถงึ คุณค่าและศกั ด์ิศรขี องผู้สูงอายุ เปดิ โอกาสใหม้ กี ารเผยแพรภ่ ูมปิ ัญญา ของผ้สู งู อายุ และให้มีสว่ นร่วมในกจิ กรรมด้านตา่ ง ๆ ในชุมชน เช่น ดา้ นอาชีพ กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) จัดการศกึ ษาอาชีพเพือ่ รองรับสงั คมผู้สูงอายุ โดยบรู ณาการความร่วมมือกบั หน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้อง ในทกุ ระดับ 3.9 การสง่ เสรมิ วิทยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษา 1) จดั กจิ กรรมวทิ ยาศาสตรเ์ ชิงรุก และเน้นให้ความรู้วทิ ยาศาสตร์อยา่ งง่ายกบั ประชาชนในชมุ ชน ท้งั วิทยาศาสตรใ์ นวถิ ีชีวิต และวทิ ยาศาสตร์ในชีวิตประจาวนั
2) พฒั นาส่อื นทิ รรศการเละรปู แบบการจดั กิจกรรมทางวิทยาศาสตรใ์ หม้ ีความทนั สมยั 3.10 สง่ เสรมิ การรภู้ าษาไทยให้กับประชาชนในรปู แบบต่าง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพื้นท่สี งู ใหส้ ามารถฟงั พูด อา่ น และเขยี นภาษาไทย เพือ่ ประโยชในการใชช้ วี ิตประจาวนั ได้ 4.ยทุ ธศาสตร์ตน้ การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 จัดต้ังศูนยก์ ารเรยี นรสู้ าหรบั ทุกชว่ งวยั ทเี่ ปน็ ศนู ย์การเรยี นรตู้ ลอดชีวิตท่ีสามารถใหบ้ รกิ ารประชาชนได้ ทุกคน ทกุ ชว่ งวยั ที่มกี ิจกรรมทหี่ ลากหลาย ตอบสนองความตอ้ งการในการเรยี นรใู้ นแต่ละวยั และเป็นศูนย์บรกิ าร ความรู้ ศูนย์การจัดกจิ กรรมที่ครอบคลมุ ทกุ ช่วงวัย เพือ่ ใหม้ พี ัฒนาการเรียนร้ทู เ่ี หมาะสมและมีความสุขกับการเรยี นรู้ ตามความสนใจ 1) เรง่ ประสานกบั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน เพ่ือจดั ทาฐานข้อมลู โรงเรยี นท่ีถูกยุบรวม หรอื คาดว่านา่ จะถูกยบุ รวม 2) ให้สานกั งาน กศน.จังหวัดทุกแห่งท่ีอยู่ในจงั หวดั ท่ีมีโรงเรยี นที่ถกู ยุบรวม ประสานขอใชพ้ น้ื ทเี่ พื่อจดั ต้ังศนู ย์ การเรยี นรู้สาหรับทกุ ช่วงวัย กศน. 4.2 ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้สาหรับกลุม่ เปูาหมายผพู้ กิ าร 1) จัดการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ิตและทกั ษะอาชพี และการศึกษาตามอธั ยาศัย โดย เนน้ รูปแบบการศกึ ษาออนไลน์ 2) ให้สานกั งาน กศน.จงั หวัดทุกแหง่ /กทม. ทาความร่วมมือกบั ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัด ในการใช้สถานท่ี วัสดอุ ุปกรณ์ และครุภัณฑ์ด้านการศึกษา เพ่อื สนับสนนุ การจัดการศึกษาและการเรยี นรู้สาหรบั กล่มุ เปูาหมายผพู้ กิ าร 4.3 ยกระดบั การศึกษาใหก้ บั กล่มุ เปูาหมายทหารกองประจาการ รวมทง้ั กล่มุ เปูาหมายพเิ ศษอน่ื ๆ อาทิ ผูต้ ้องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคนั ประชากรวยั เรยี นท่ีอยูน่ อกระบบการศกึ ษา ให้จบการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน สามารถนาความรทู้ ่ีไดร้ บั ไปพัฒนาตนเองได้อยา่ ง ตอ่ เนื่อง 4.4 พัฒนาหลกั สตู รการจดั การศึกษาอาชีพระะส้ัน ใหม้ คี วามหลากหลาย ทันสมยั เหมาะสมกับบรบิ ท ของพ้ืนท่ี และตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้รับบรกิ าร 5.ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตทีเ่ ป็นมติ รต่อส่ิงแวดล้อม 5.1 สง่ เสรมิ ให้มกี ารใหค้ วามรู้กับประชาชนในการรบั มือและปรับตวั เพื่อลดความเสียหายจากภยั ธรรมชาติ และผลกระทบท่ีเกย่ี วข้องกับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 5.2 สร้างความตระหนักถงึ ความสาคญั ของการสร้างสงั คมสีเขยี ว ส่งเสริมความรูใ้ หก้ ับประชาชนเก่ียวกับการ คดั แยกตงั้ แตต่ น้ ทาง การกาจัดขยะ และการนากลับมาใชช้ ้า เพอ่ื ลดปริมาณและตน้ ทนุ ในการจดั การขยะ ของเมอื ง และสามารถนาขยะกลบั มาใช้ประโยชน์ไดโ้ ดยง่าย รวมท้งั การจัดการมลพิษในชมุ ชน 5.3 สง่ เสริมใหห้ นว่ ยงานและสถานศกึ ษาใช้พลังงานทีเ่ ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดล้อม รวมทั้งลดการใช้ทรัพยากรที่ สง่ ผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม เช่น รณรงคเ์ ร่ืองการลดการใช้ถุงพลาสตกิ การประหยดั ไฟฟาู เปน็ ต้น 6. ยทุ ธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบหารบริหารจดั การภาครัฐ 6.1 พฒั นาและปรบั ระบบวิธีการปฏิบตั ิราชการให้ทนั สมยั มคี วามโปรง่ ใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤติมชิ อบ บริหารจัดการบนข้อมูลและหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ มุ่งผลสมั ฤทธมิ์ คี วามโปร่งใส
6.2 นานวตั กรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทางานที่เป็นดจิ ิทลั มาใชใ้ นการบริหารและพฒั นางานสามารถ เชือ่ มโยงกบั ระบบฐานขอ้ มลู กลางของกระทรวงศกึ ษาธิการ พรอ้ มทงั้ พฒั นาโปรแกรมออนไลน์ท่สี ามารถเชอื่ มโยง ข้อมลู ต่าง ๆ ทีท่ าให้การบริหารจัดการเป็นไปอยา่ งต่อเนอ่ื งกันตงั้ แต่ต้นจนจบกระบวนการและใหป้ ระชาชน กล่มุ เปูาหมายสามารถเขา้ ถงึ บริการไดอ้ ยา่ งทนั ที ทุกทีแ่ ละทุกเวลา 6.3 สง่ เสรมิ การพฒั นาบุคลากรทุกระดับอย่างตอ่ เนอื่ ง ใหม้ คี วามรแู้ ละทักษะตามมาตรฐานตาแหนง่ ให้ตรงกบั สายงาน ความชานาญ และความตอ้ งการของบุคลากร แนวทาง/กลยทุ ธก์ ารดาเนินงาน ของ กศน.อาเภอสตั หีบ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ปรชั ญา คดิ เป็น ทาเป็น เนน้ คุณธรรม วสิ ยั ทัศน์ “ภายในปี 2565 ผู้เรยี น/ผรู้ ับบริการ ของศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหีบ มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ใช้แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา สื่อเทคโนโลยี ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดย เครือข่ายมีสว่ นรว่ ม” อัตลกั ษณ์ “เทา่ ทนั เทคโนโลยี” ความหมาย การใชเ้ ทคโนโลยี ในการเรยี นรแู้ ละการดารงชีวิตได้อยา่ งถกู ต้อง เอกลกั ษณ์ “องค์กร ออนไลน์” หมายถงึ สถานศกึ ษาใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการบรหิ ารงานภายในองค์กร พันธกจิ 1. ออกแบบการจัดกระบวนการเรยี นรูใ้ หส้ อดคล้องกบั หลกั สตู ร 2. จดั ระบบสารสนเทศเพ่อื การเรยี นรู้และการบริหารการศกึ ษา 3. พฒั นาบุคลากรดา้ นการออกแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้/สือ่ /การประเมนิ ผล 4. ส่งเสริมและสนับสนนุ การมีสว่ นรว่ มของภาคีเครือข่ายและชุมชนในการจัดกิจกรรมการศกึ ษา เป้าประสงค์ 1. ใชส้ ือ่ เทคโนโลยีในการจัดการเรยี นรู้ 2. จัดการเรียนรรู้ ่วมกบั เครอื ขา่ ย กลยุทธ์ วัตถปุ ระสงค์ กลยุทธ์
กลยุทธ์ วัตถุประสงค์ 1. พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น 1. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนมคี ุณธรรม จริยธรรมค่านยิ มอันพงึ ประสงค์ 2. เพอ่ื ให้ผู้เรียนมที ักษะและความสามารถในการแสวงหาความรู้ 3. เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนมีทักษะและความสามารถในการคดิ สร้างสรรค์ 4. เพื่อใหผ้ ู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการศกึ ษาตามนโยบายสถานศกึ ษา 5. เพื่อให้ผเู้ รยี นการศกึ ษาต่อเนอื่ งนาความรูไ้ ปใชไ้ ด้ 6. เพื่อใหผ้ เู้ รยี นการศกึ ษาเศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถนาความรไู้ ปใช้ได้ 7. เพื่อให้ผเู้ รยี นการศึกษาดิจิทัลชมุ ชนสามารถนาความรู้ไปใชไ้ ด้ 8. เพอ่ื ให้ผรู้ บั บริการการศกึ ษาตามอัธยาศัยนาความรู้ไปใช้ได้ 9. เพื่อให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงข้อมูลจากระบบสารสนเทศและสามารถนา ความรู้ไปใช้พฒั นาตนเองได้ 2. พัฒนาบุคลาการ 1. เพ่อื ให้บคุ ลากรมคี วามร้แู ละทกั ษะดา้ นการออกแบบการจดั กระบวนการเรียนการสอน 2. เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรมีความรแู้ ละทักษะดา้ นการออกแบบสอ่ื การเรยี นการสอน 3. เพื่อให้บุคลากรมีความรู้และทักษะดา้ นวิธกี ารประเมินผลทมี่ ีคณุ ภาพ 3.บรหิ ารการจัดการสถานศึกษา 1. เพื่อจดั ระบบสารสนเทศเพอ่ื การเรยี นรู้และการบรหิ ารสถานศึกษา 4.ภาคีเครือข่ายร่วมจัดกิจกรรม 1. เพอ่ื ให้เครอื ข่ายมีสว่ นร่วมสง่ เสริมสนับสนนุ และรว่ มจดั การจัดกจิ กรรมการศกึ ษา ผลการวิเคราะห์ SWOT (Swot Analysis) ของ กศน.อาเภอสตั หบี S = จดุ แข็ง 1. ดา้ นอาคารสถานท่ตี ั้งอยใู่ นเขตชุมชนเมือง สะดวกในการติดต่อ 2. ดา้ นบุคลากรมีจานวนเพียงพอต่อการปฏบิ ตั งิ าน 3. มีระบบการจดั เก็บและสืบค้นข้อมูลทีท่ นั สมัยสามารถสืบคน้ ขอ้ มูลทางเวปไซด์ได้ W = จุดอ่อน 1. สอื่ วัสดุ อปุ กรณ์ ไม่เพยี งพอตอ่ การดาเนินงานและการบริการ 2. ระบบสารสนเทศ เทคโนโลยี อนิ เตอรเ์ น็ต wifi ไม่เพยี งพอตอ่ การดาเนนิ งานและการบริการประชาชนและ นกั ศกึ ษา 3. สถานทค่ี บั แคบ ไม่เหมาะสมกบั การจดั กจิ กรรมขนาดใหญ่ O = โอกาส 1. ไดร้ ับความรว่ มมอื กบภาคีเครือขา่ ยเปน็ อยา่ งดี 2. ได้รับการยอมรบั จากชมุ ชนและหน่วยงานอนื่ ๆ 3. มแี หลง่ เรียนรูแ้ ละภูมิปัญญาท้องถิน่ ที่โดดเดน่ จากเศรษฐกจิ พอเพียง 4. มกี รอบแนวทางการดาเนินงานท่ีชัดเจน
T = อปุ สรรค 1. สถานที่ 2. นักศกึ ษาไมส่ ามารถเขา้ ร่วมกจิ กรรมได้บอ่ ยครัง้ 3. ผู้เรียนไมค่ ่อยพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 4. การจดั สรรงบประมาณจากหนว่ ยงานล่าช้า นโยบายและจุดเนน้ ของ กศน.อาเภอสตั หีบ ตัวชีว้ ดั 1. จานวนผู้เรียนการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐานท่ไี ดร้ บั การสนับสนุนค่าใชจ้ ่ายตามสิทธิภาพท่ีกาหนด ไว้ 2. จานวนของคนไทยกลุ่มเปาู หมายต่างๆ (กลมุ่ เปูาหมายทวั่ ไป กลุ่มเปาู หมายพเิ ศษ และกล่มุ คนไทยท่ัวไป เป็นตน้ ) ท่ีเข้าร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้/ได้รบั บรกิ ารกจิ กรรมการศึกษาตอ่ เน่อื ง และการศึกษาตามอัธยาศยั ทส่ี อดคล้องกับสภาพ ปัญหา และความตอ้ งการ 3. ร้อยละผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษานอกระบบสามารถนาความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมายของ หลักสตู ร/กิจกรรมทก่ี าหนด 4. จานวนแหลง่ เรียนรใู้ นระดบั ตาบลท่มี คี วามพร้อมในการใหบ้ ริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั 5. จานวนประชาชนกลุ่มเปาู หมายท่ีเขา้ รับการฝึกอาชพี เหน็ ชอ่ งทางในการประกอบอาชีพ 6. รอ้ ยละของผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมที่สามารถอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละคิดเลขเปน็ ตามจดุ มุ่งหมายของกจิ กรรม 7. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเปูาหมายท่ีได้รับบริการเข้าร่วมกิจกรรมแหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัยมีความรู้ความเข้าใจ เจตคติ ทกั ษะตามจุดมุ่งหมายของกจิ กรรมทกี่ าหนด 8. จานวนผูด้ แู ลประชาชนท่ีผ่านการอบรมตามหลกั สตู รทีก่ าหนด 9. จานวนองคก์ รภาคสว่ นตา่ ง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ทรี่ ่วมเป็นภาคีเครือขา่ ยในการดาเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 10. จานวนนักเรยี น นกั ศกึ ษา และประชาชนทวั่ ไปท่เี ข้าถงึ บริการการเรยี นรู้ทางด้านวทิ ยาศาสตร์ในรูปแบบ 11. จานวน/ประเภทของส่ือ และเทคโนโลยีทางการศึกษาที่มีการจัดทา/พัฒนาและนาไปใช้เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ ของผู้เรียน/ผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 12. จานวนนักเรยี น นกั ศกึ ษา และประชาชนทั่วไปท่ีเข้าถึงบริการความรู้นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยผ่าน ชอ่ งทางส่ือเทคโนโลยีทางการศกึ ษา และเทคโนโลยกี ารสื่อสาร 13. รอ้ ยละของนกั ศกึ ษาทมี่ ผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนทไ่ี ดร้ ับบริการติวเขม้ เต็มความรู้เพมิ่ สงู ขนึ้ 14. จานวนบคุ ลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รบั การพฒั นาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 15. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาในสงั กัดท่มี ีระบบประกันคุณภาพภายในและมีการจัดทารายงานการประเมินตนเอง
16. ร้อยละของหนว่ ยงาน และสถานศึกษา กศน. ที่มีการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการจัดทา ฐานขอ้ มลู ชมุ ชนและการบรหิ ารจัดการ เพือ่ สนับสนนุ การดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ขององคก์ าร 17. ร้อยละของหน่วยงาน และสถานศึกษา กศน. ท่ีสามารถดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามบทบาทภารกิจท่ี รับผิดชอบได้สาเร็จตามเปูาหมายที่กาหนดไว้อย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า/ตามแผนท่ี กาหนดไว้ จดุ เนน้ การดาเนนิ งาน กศน. ตามยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธกิ าร 6 ยุทธศาสตร์ 1. พฒั นาหลกั สตู ร กระบวนการเรียนการสอน และการวัดผลประเมนิ ผล จุดเน้นการดาเนนิ งาน 1.1 จดั กระบวนการเรียนรูท้ ต่ี อบสนองกบั การเปล่ยี นแปลงและความตอ้ งการของประชาชนชุมชนและสังคม ในรูปแบบที่หลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ ตัดสินใจภายใต้ฐานข้อมูลท่ีถูกต้อง เช่น ความรู้เร่ืองการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข/การเลือกต้ัง แนวทางและทิศทางการพัฒนา ประเทศด้านต่าง ๆ ของรัฐบาล โดยประสานความร่วมมือกับกระทรวงต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ร่วมจัดทาเนื้อหาและส่ือ ประกอบการจดั กระบวนการเรียนรู้ รวมทงั้ ใหม้ กี ารจดั ทาแผนการเรียนรู้รายชุมชน เพ่ือพัฒนาสู่ชุมชน/เมืองแห่งการ เรยี นรู้ 1.2 ส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education) โดยบูรณาการความรู้ ด้าน คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพอ่ื พัฒนาทักษะชีวิต สู่การประกอบอาชีพ ประยุกต์ใช้ในการทางาน และเป็นแนวทางของการสรา้ งแรงงานทมี่ ีศกั ยภาพไดใ้ นอนาคต 1.3 จัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มอัตราการรู้หนังสือให้คนไทยให้สามารถอ่านออกเขียนได้ โดยใช้หลักสูตรการรู้ หนงั สอื ของคนไทยของสานกั งาน กศน.และสอ่ื ทีเ่ หมาะสมกบั สภาพและพ้ืนท่ขี องกลมุ่ เปาู หมาย 2. การผลติ พฒั นา ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา จุดเนน้ การดาเนินงาน 2.1 จัดทาแผนพัฒนาอัตรากาลังล่วงหน้าระยะ 10 ปี เพื่อใช้เป็นข้อมูลสาหรับการขอกรอบอัตรากาลัง เพ่ิมเตมิ ให้เพยี งพอต่อขอบขา่ ยการดาเนินงานของ กศน. 2.2 เร่งพัฒนาศักยภาพครู กศน. ทุกประเภท เพ่ือให้สามารถเป็นท้ังผู้สอนและผู้ออกแบบการเรียนรู้ รายบคุ คล และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และจัดทาแผนพัฒนาครู กศน.ทกุ ประเภท และทุกระดับ ชว่ งระยะ 10 ปี เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะครู กศน. ใหไ้ ดเ้ กณฑ์มาตรฐานที่กาหนด 2.3 สารวจข้อมูล และทบทวนหลักเกณฑ์การจ้างลูกจ้างแบบจ้างเหมาบริการ และพนักงานราชการให้ตรง ตามความตอ้ งการของพ้ืนท่ี 3. ผลติ และพัฒนากาลังคน รวมทงั้ งานวจิ ัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ จุดเนน้ การดาเนนิ งาน 3.1 ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มพนักงานรักษาความปลอดภัย ให้จบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ โดยเนน้ การเรียนรูปแบบโปรแกรมเรียนรูร้ ายบุคคล
3.2 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้สอดคล้องและรองรับกับความต้องการของการ พัฒนาตามบริบทของแตล่ ะพ้ืนที่ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ โดยมุ่งเน้นผลิตกาลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการ ของพ้ืนที่ พร้อมท้ังสร้างทักษะทางวิชาชีพ โดยเน้นด้านการบริหารและการประกอบการ เพื่อให้ประชาชนในพ้ืนท่ี ได้รบั การพัฒนาศกั ยภาพในแนวทางทดี่ ีขน้ึ 4. ขยายโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาและการเรียนรอู้ ย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวิต จุดเนน้ การดาเนินงาน 4.1 เร่งบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก โดยประสานข้อมูลโรงเรียนขนาดเล็กจากสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน (สพฐ.) และประสานหน่วยงานในพ้ืนท่ีเพ่ือสารวจความต้องการในกาจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก เพอ่ื ทาเปน็ กศน. ตาบลหรือแหลง่ การเรยี นรู้ของชมุ ชนภายในตาบลแสมสาร 4.2 จดั และสง่ เสรมิ ความรว่ มมอื หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเปูาหมาย เดก็ ออกกลางคนั /เดก็ ตกหลน่ และกลมุ่ คนพิการในตาบลแสมสาร 4.3 เร่งสารวจข้อมูลการรู้หนังสือของคนไทย โดยให้ความสาคัญกับกลุ่มเปูาหมายนักศึกษา กศน.ในตาบล แสมสาร 4.4 พัฒนา กศน.ตาบล/แขวง ให้เป็นฐานการขบั เคลือ่ นการจดั การศกึ ษา โดยเนน้ การประสานเชอ่ื มโยง ระหวา่ งชุมชนและภาคเี ครอื ข่าย ในการจัดการศกึ ษารูปแบบ กศน.ตาบล 4 ศนู ย์ ไดแ้ ก่ (1) ศูนยเ์ รียนรหู้ ลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจาตาบล (2) ศนู ย์สง่ เสรมิ พฒั นาประชาธิปไตยตาบล (3) ศูนยด์ จิ ทิ ลั ชุมชน และ (4) ศูนยก์ ารศกึ ษาตลอดชวี ติ ชมุ ชน เพื่อสนองตอบตอ่ ความตอ้ งการของประชาชนอย่างมี ประสิทธภิ าพ รวมทง้ั สร้างและกระจายโอกาสในการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ในชุมชน 4.5 จัดการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพชวี ิตประชาชนทุกชว่ งวัย“กศน.เพื่อประชาชน”เช่น จัดการเรียนวิชาชีพ ระยะสั้น (โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน) ให้กับประชาชนท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน บริบทของ พ้ืนท่ี จดั การศกึ ษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชวี ิตให้กบั กล่มุ ประชาชนและการพฒั นาทักษะชวี ติ ในการเตรียมความพร้อม รับมือกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และการเข้าสู่สังคมเศรษฐกิจท่ีขับเคล่ือน ด้วยนวัตกรรม (Thailand 4.0) 4.6 มุง่ เนน้ การส่งเสริมให้เกิดชุมชนรักการอ่านภายในตาบลสัตหีบ “นั่งท่ีไหน อ่านท่ีนั่น” ในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ อาสาสมคั รสง่ เสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสือชุมชน ตู้หนังสือเคล่ือนที่ในตลาด และหนังสือพิมพ์ ฝาผนัง เป็นต้น 5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพ่ือการศกึ ษา จดุ เนน้ การดาเนนิ งาน 5.1 พัฒนา กศน. ตาบลแสมสาร ให้มีความพร้อมเก่ียวกับโครงสร้างพื้นฐานด้าน ICT และเทคโนโลยีเพ่ือ การศึกษาอ่ืนที่เหมาะสมกับพื้นท่ี เพื่อให้ กศน.ตาบลแสมสาร เข้าถึงการใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตมีความพร้อมใน การให้บริการการศึกษาและการเรียนรู้ท่ีเป็นไปตามความต้องการของประชาชนและชุมชน และสร้างโอกาสในการ เรียนรูไ้ ดอ้ ยา่ งท่วั ถงึ 5.2 พัฒนาระบบช่องทางแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ (Portal Web) และส่งเสริมให้ประชาชนนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาประยกุ ตใ์ ช้ในการเรยี นรู้/กจิ กรรมต่าง ๆ เพ่อื เพ่ิมโอกาสการเรยี นรู้ และการพัฒนาอาชีพ
เช่น การแสวงหาความรู้เพ่ือการดารงชีวิต การพัฒนาต่อยอดอาชีพเพื่อสร้างรายได้ โดยผ่านกลไกของศูนย์ดิจิทัล ชุมชน เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ความสามารถ เจตคติท่ีดีต่อการประกอบอาชีพและทักษะท่ีพัฒนาขึ้นไปใช้ ประโยชน์ในการประกอบอาชพี ทีส่ รา้ งรายได้ไดจ้ รงิ และการพฒั นาส่เู ศรษฐกิจเชิงสรา้ งสรรคต์ อ่ ไป 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการสง่ เสรมิ ใหท้ กุ ภาคส่วนมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา จุดเนน้ การดาเนินงาน 6.1 สารวจ วิเคราะห์ และปรบั ปรงุ ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน โดย ดาเนินการให้ผ้เู รยี นได้รับการสนับสนนุ คา่ จัดซื้อตาราเรยี น ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น และคา่ เล่าเรียนอยา่ ง ทัว่ ถึง และเหมาะสมกบั สภาพการจัดการศึกษา เพ่อื เพิ่มโอกาสในการรบั การศึกษาที่มีคุณภาพโดยไมเ่ สยี คา่ ใช้จา่ ย 6.2 สรา้ งความรู้ ความตระหนัก และปลกู จติ สานึกตามหลกั ธรรมาภิบาล ตลอดจนความรูเ้ รือ่ งกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบงั คับ และอื่นๆทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการปฏบิ ัตงิ านใหก้ ับบคุ ลากรทุกระดับทกุ ประเภทโดยส่งเสรมิ การจัด กจิ กรรม การจัดทานวตั กรรมเกีย่ วกับองค์ความรดู้ ้านคุณธรรมจรยิ ธรรม การปูองกนั การทจุ รติ และราชการใสสะอาด ของหน่วยงานและสถานศกึ ษา เพื่อให้ กศน.ตาบลแสมสาร เปน็ องค์กรแห่งศกั ดศิ์ รแี ละสุจรติ ธรรมทป่ี ระชาชนมคี วาม เชือ่ มั่น ศรัทธาและมคี วามไวว้ างใจในการปฏิบัตงิ าน ภารกจิ ตอ่ เนอ่ื ง 1. ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยดาเนินการให้ ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซ้ือตาราเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าเล่าเรียนอย่างทั่วถึงและ เพยี งพอเพ่ือเพ่ิมโอกาสในการรบั การศึกษาทีม่ ีคุณภาพโดยไม่เสยี คา่ ใช้จ่าย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้กับกลุ่มเปูาหมายผู้ด้อย พลาดและขาด โอกาสทางการศกึ ษา ทัง้ ระบบการใหบ้ ริการ ระบบการเรยี นการสอน ระบบการวัดและประเมินผลการเรียน ผ่านการ เรียนแบบเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง การพบกลุ่ม การเรยี นแบบชั้นเรียน และการจัดการศึกษาทางไกล 3) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ท่ีมี ความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กาหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ กลุ่มเปาู หมายได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 4) ส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รียนตอ้ งเรยี นรูแ้ ละปฏบิ ัตกิ จิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ เพอ่ื ดาเนินกิจกรรมเสรมิ สร้าง ความสามัคคี บาเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเน่ือง และส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เช่น กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม จิตอาสา การจัดตั้งชมรม/ ชุมนุม และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนากิจกรรมการบาเพ็ญประโยชน์อ่ืน ๆนอกหลักสูตร มาใช้เพ่ิมช่ัวโมงกิจกรรมให้ ผเู้ รยี นจบตามหลกั สูตรได้ 5) จดั ตงั้ ศนู ยแ์ นะแนวและประสานการศึกษาพิเศษอาเภอ/เขต ให้ครบทุกอาเภอทัว่ ประเทศ 1.2 การศึกษาตอ่ เนื่อง
1) จัดการศึกษาอาชีพเพอ่ื การมีงานทาอยา่ งยงั่ ยนื โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อ การมีงานทาประเภทช่างพ้ืนฐาน/ช่างชนบท และอาชีพท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียนและศักยภาพของแต่ละ พน้ื ท่ี 2) จดั การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเปูาหมาย โดยจัดกิจกรรมการศึกษาในรูปแบบ ต่างๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม การส่งเสริมความสามารถพิเศษต่างๆ ท่ีมุ่งเน้นให้ทุก กลุ่มเปูาหมายมีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มี คณุ ธรรมจริยธรรม รวมทง้ั สามารถใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและชมุ ชน 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ บูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การเรียนทางไกล การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัด กิจกรรมจติ อาสา การสรา้ งชุมชนนักปฏบิ ัติ และรูปแบบอืน่ ๆ ท่ีเหมาะสมกับกล่มุ เปูาหมายและบริบทของชุมชนแต่ละ พ้นื ที่ โดยเน้นการดาเนนิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง การสรา้ งจิตสานกึ ความเป็นประชาธิปไตย ความเป็น พลเมืองดี การบาเพ็ญประโยชน์ การอนุรักษพ์ ลังงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 4) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เพ่ือสร้างจิตสานึกและวินัยในชุมชน เช่น การส่งเสริมคุณธรรมและ จรยิ ธรรมในชมุ ชน การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการขยะมลู ฝอยของชุมชน ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญา ของ เศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจาตาบลแสมสาร 1.3 การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 1) ส่งเสริมให้มีการขยายและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในระดับตาบล เพื่อการถ่ายทอดองค์ความรู้ และจดั กิจกรรมเพื่อเผยแพร่องคค์ วามรู้ในชมุ ชนได้อย่างท่วั ถงึ 2) จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพ่ือปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน และพัฒนาความสามารถในการอ่าน และศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเปูาหมายให้ได้ระดับอ่านคล่อง อ่านเข้าใจความเขียนคล่อง และอ่าน เชิงคิดวเิ คราะหพ์ นื้ ฐาน และให้ประชาชนสามารถรบั รู้ขอ้ มูลข่าวสารท่ีถูกตอ้ งและทันเหตุการณ์ เพื่อสามารถนาความรู้ ที่ไดร้ บั ไปใชป้ ระโยชน์ในการปฏิบัตจิ ริง 3) ส่งเสริมให้มีการสร้างบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านให้เกิดข้ึนในสังคมไทย โดย สนบั สนนุ การพฒั นาแหลง่ การเรียนร้ใู หเ้ กิดข้ึนอยา่ งกว้างขวางและทวั่ ถึง เช่น พฒั นาห้องสมดุ ประชาชนทกุ แห่งให้เป็น แหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการ อ่าน จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่พร้อมอุปกรณเ์ พื่อส่งเสรมิ การอา่ นและการเรียนรทู้ ่ีหลากหลายออกให้บริการประชาชน ในพนื้ ทต่ี า่ ง ๆ อย่างท่วั ถงึ สมา่ เสมอ รวมทัง้ เสรมิ สร้างความพร้อมในด้านส่ืออุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการ จัดกิจกรรมเพอื่ สง่ เสรมิ การอา่ นอย่างหลากหลาย 4) จัดทามุมวิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งการเรียนรู้เชิงวิชาการประจาตาบล โดย พัฒนาและจัดทานิทรรศการ และจัดกิจกรรมท่ีเน้นการเสริมสร้างทักษะ กระบวนการเรียนรู้ และเจตคติทาง วทิ ยาศาสตร์ เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษา ประชาชนนาความรู้และทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ ไปใช้พัฒนาทกั ษะการคิด วิเคราะห์บน ฐานข้อมูลที่ถูกต้อง และสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเช่ือมโยงกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาชุมชน ให้ผู้รับบริการสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการ ดาเนินชีวติ การพัฒนาอาชีพ การรกั ษาส่งิ แวดลอ้ ม และการปูองกันภัยพบิ ัติจากธรรมชาตใิ นพืน้ ที่
2. ดา้ นหลกั สตู ร สอื่ รปู แบบการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งานบริการทางวิชาการและการประกันคุณภาพ การศกึ ษา 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่หี ลากหลาย ทนั สมัย รวมท้ังหลักสูตรท้องถิ่นที่สอดคล้องกับสภาพบริบทของ พนื้ ที่ และความตอ้ งการของกลุ่มเปูาหมายและชุมชน เชน่ การจัดโปรแกรมการเรียนรู้รายบุคคล และแผนการเรียนรู้ รายชุมชน 2.2 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัยด้วยระบบห้องเรียนและการควบคุมการสอบ ออนไลน์ 2.3 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ให้มี คุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของกลมุ่ เปูาหมายได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 2.4 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่นๆ ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน กลุ่มเปาู หมายทั่วไปและกลุ่มเปูาหมายพิเศษ 2.5 พัฒนาระบบการวัดผลและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตรในระดับ การศึกษาข้นั พ้นื ฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Exam) มา ใชอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และเผยแพร่ รปู แบบการจดั สง่ เสริม และสนับสนุนการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อให้มีการนาไปสู่การ ปฏบิ ัตอิ ยา่ งกวา้ งขวางและมีการพฒั นาใหเ้ หมาะสมกบั บริบทอย่างต่อเนือ่ ง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบการประกันคุณภาพ และ สามารถดาเนินการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาได้อย่างต่อเน่ืองโดยใช้การประเมินภายในด้วยตนเอง และ จัดใหม้ ีระบบสถานศกึ ษาพี่เล้ียงเขา้ ไปสนับสนนุ อยา่ งใกลช้ ิด สาหรับสถานศึกษาที่ยังไม่ได้เข้ารับการประเมินคุณภาพ ภายนอก ใหพ้ ัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาใหไ้ ด้คณุ ภาพตามมาตรฐานทีก่ าหนด 3. ดา้ นเทคโนโลยีเพือ่ การศกึ ษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาให้เชื่อมโยงและตอบสนองต่อการจัด กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษาสาหรับ กลุ่มเปาู หมายตา่ งๆ ให้มีทางเลอื กในการเรียนรู้ทหี่ ลากหลายและมีคณุ ภาพ สามารถพัฒนาตนเองใหร้ ู้เท่าทันสือ่ และ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทารายการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานวี ิทยุศึกษา สถานวี ิทยุโทรทศั น์เพอื่ การศึกษากระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทางอินเทอรเ์ นต็ 3.2 พัฒนาชอ่ งทางการเผยแพรก่ ารจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารแบบออนไลน์ เพ่อื ส่งเสรมิ ให้ครู กศน.นาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมาใช้ในการ สร้างกระบวนการเรียนรูด้ ้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษา และสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและการ ออกอากาศให้กลุ่มเปูาหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยขยาย
เครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพ้ืนท่ีท่ัวประเทศและเพิ่มช่องทางให้สามารถรับชม รายการโทรทศั น์ได้ทงั้ ระบบ Ku - Band , C - Band และทางอนิ เทอร์เนต็ พร้อมท่ีจะรองรบั การพัฒนาเป็นสถานีวิทยุ โทรทศั น์เพือ่ การศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการให้บริการส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาให้ได้หลายช่องทางท้ังทางอินเทอร์เน็ต และ รูปแบบอื่น ๆ เช่น Application บนโทรศัพท์เคล่ือนท่ี และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เป็นต้น เพื่อให้ กลุ่มเปูาหมายสามารถเลอื กใชบ้ ริการเพอื่ เขา้ ถงึ โอกาสทางการศกึ ษาและการเรียนรไู้ ด้ตามความตอ้ งการ 3.5สารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และนาผลมาใช้ในการ พฒั นางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชนได้อย่าง แทจ้ ริง 5. ดา้ นบคุ ลากร ระบบการบริหารจดั การ และการมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วน 5.1 การพัฒนาบุคลากร 1) พฒั นาบคุ ลากรทกุ ระดับ ทกุ ประเภทให้มสี มรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเน่ือง ทั้งก่อนและระหว่างการ ดารงตาแหน่งเพอ่ื ใหม้ เี จตคตทิ ดี่ ีในการปฏิบัตงิ าน สามารถปฏบิ ตั ิงานและบริหารจดั การการดาเนินงานของหน่วยงาน และสถานศึกษาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ รวมทั้งสง่ เสรมิ ให้บุคลากรในสังกัดพัฒนาตนเองเพ่ือเล่ือนตาแหน่งหรือเลื่อน วิทยฐานะโดยเนน้ การประเมินวทิ ยฐานะเชงิ ประจกั ษ์ 2) พัฒนาหวั หน้า กศน. ตาบล ใหม้ ีสมรรถนะสูงขึ้นในการบริหารจัดการ กศน. ตาบลแสมสาร และ การปฏิบัตงิ านตามบทบาทภารกจิ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเนน้ การเป็นนักจัดการความรแู้ ละผู้อานวยความสะดวกใน การเรียนร้เู พ่อื ใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพอย่างแทจ้ รงิ 3) พฒั นาครู กศน. และผทู้ ่เี ก่ียวข้องให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพโดยส่งเสริม ให้มคี วามร้คู วามสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และการวิจัย เบ้อื งต้น 4) สง่ เสริมและพฒั นาศกั ยภาพคณะกรรมการ กศน. ตาบลแสมสาร เพ่ือให้มีส่วนร่วมในการบริหาร การดาเนนิ งานตามบทบาทภารกิจของ กศน. ตาบลแสมสาร อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากรที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีความรู้ ความสามารถและความเป็นมอื อาชีพในการจัดบริการส่งเสรมิ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ิตของประชาชนตาบลแสมสาร 6)พฒั นาอาสาสมัคร กศน.แสมสาร ให้สามารถทาหนา้ ท่ีเปน็ ผจู้ ัด ส่งเสรมิ และสนับสนุนการจัด 7)การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 8) เสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคลากร รวมท้ังภาคีเครือข่ายท้ังในตาบลและตาบลใกล้เคียงใน ทุกระดับเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางานร่วมกัน โดยจัดให้มีกิจกรรมการพัฒนาสมรรถนะ และเสริมสร้าง ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ ลากร และภาคเี ครอื ขา่ ยในรปู แบบทีห่ ลากหลายอยา่ งตอ่ เนื่อง 5.2 การพฒั นาโครงสรา้ งและอตั รากาลัง 1) จัดทาแผนการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและดาเนินการปรับปรุงสถานท่ี และวัสดุอุปกรณ์ให้มี ความพร้อมในการจดั การศึกษา
2) แสวงหาภาคีเครือข่ายในท้องถ่ินเพื่อการมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรม การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งระดมทรัพยากรเพ่ือนามาใช้ในการปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานให้มีความพร้อม สาหรบั ดาเนินกจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นร้ขู องประชาชน 3) บริหารอัตรากาลงั ทมี่ ีอยู่ทัง้ ในส่วนทีเ่ ปน็ ข้าราชการ พนักงานราชการ และลกู จา้ งใหเ้ กิด ประสทิ ธิภาพสงู สุดในการปฏบิ ัตงิ าน 5.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ 1) เรง่ ผลักดนั ใหม้ กี ารประกาศใช้กฎหมายวา่ ดว้ ยการศึกษาตลอดชีวิต 2) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุมและเร่งรัด การเบกิ จา่ ยงบประมาณใหเ้ ป็นตามเปาู หมายท่ีกาหนดไว้ 3) พัฒนาระบบฐานข้อมลู ให้มีความครบถว้ น ถูกต้อง ทนั สมยั และเชอื่ มโยงกนั ท่ัวประเทศอย่างเป็น ระบบเพอ่ื ให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใช้เป็นเคร่ืองมือสาคัญในการบริหารการวางแผน การ ปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล และการนาผลมาพัฒนาการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องตามวงจรคุณภาพ เดมม่ิง (PDCA) รวมท้งั จัดบริการการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 4) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน.ตาบลแสมสาร ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเชื่อมโยงกันทั่วประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพ่ือประโยชน์ในการจัด การศกึ ษาให้กบั ผ้เู รยี นและการบริหารจัดการอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 5) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัยเพื่อ สามารถนามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและชุมชน พร้อมทั้งพฒั นาขดี ความสามารถเชงิ การแข่งขนั ของหน่วยงานและสถานศกึ ษา 6) สรา้ งความรว่ มมอื ของทุกภาคสว่ นทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนาและส่งเสริมการ จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการเรียนรู้ตลอดชวี ิต 5.4 การกากบั นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล 1) สรา้ งกลไกการกากบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยให้เชื่อมโยงกบั หน่วยงาน สถานศกึ ษา และภาคีเครอื ข่ายท้ังระบบ 2)ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เก่ียวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ติดตามและ รายงานผลการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแต่ละเร่ืองได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และส่ืออื่น ๆ ท่ีเหมาะสม เพื่อการกากับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 4) พัฒนากลไกการตดิ ตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการประจาปี ของ กศน.ตาบล เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคารับรองการปฏิบัติราชการประจาปีของสานักงาน กศน. ให้ ดาเนนิ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วิธกี าร และระยะเวลาท่กี าหนด
5) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กรตั้งแต่ สว่ นกลาง ภมู ภิ าค กลุ่มจงั หวัด จงั หวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพ่ือความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และการ พัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ทิศทางการพัฒนาและโอกาสของ กศน.ตาบลแสมสาร 1. การพฒั นาชุมชนตาบลแสมสารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ชุมชนตาบลแสมสาร ประชากรในพนื้ ที่ส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพที่หลากหลาย เช่น ทาประมง ค้าขาย รับจ้าง ทวั่ ไป พนักงานบริษัทเอกชนเน่ืองจากอย่ใู กล้เขตใกล้โรงแรม และ อาชพี เกษตรกรเนื่องจากเป็นพ้ืนท่ีราบลุ่มภูเขา ดิน มีความอุดมสมบูรณ์ ทิศทางการพัฒนาชุมชนที่เหมาะสมและมีความยั่งยืนคือการใช้แนวคิด ทิศทางการพัฒนา ประเทศสู่ความย่งั ยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงโดยใชท้ รพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีมีอยู่ในชุมชน อย่างเหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ และวิถีการดาเนินชีวิตในประจาวันของคนในชุมชนเป็น 6 ทุน ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทนุ สังคม ทนุ กายภาพ ทุนทางการเงนิ ทนุ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม และทนุ วฒั นธรรมมาใชป้ ระโยชน์อย่าง บรู ณาการและเกอื้ กลู กัน โดยเฉพาะการสรา้ งฐานทางปัญญา เพ่ือเป็นภูมิคุ้มกันให้กับคนในสังคม ภาคเกษตร รวมทั้ง การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมอย่างยั่งยืน ควบคู่ไปกับการเสริมสร้างระบบ ธรรมาภิบาลและความ สมานฉันท์ในชมุ ชน เพ่อื ให้ประชาชนในพ้นื ท่ีตาบลแสมสารและชุมชนใกลเ้ คยี งอยูร่ ่วมกนั ในสงั คมอยา่ งมีความสุขและ เปน็ ธรรม 2. การสง่ เสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวิตของชมุ ชนตาบลแสมสาร กศน.ตาบลแสมสาร มุ่งเน้นให้ประชาชนในพ้ืนที่ได้เรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาและการเรยี นรู้ อย่างเปน็ ระบบโดยใช้ ทรัพยากรท่ีมีอยู่ในชุมชนมาช่วยในการจัดการศึกษาเพ่ิมโอกาสทาง การศึกษาและการเรียนรู้จากการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนเพ่ือให้ประชาชนทุกกลุ่มเปูาหมายได้เรียนรู้ ตลอดชวี ติ ดา้ นการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัยอย่างมีคุณภาพมีเปูาหมายเพื่อให้ประชาชนในพ้ืนที่เป็นคนเก่ง คนดี มีความสุข มีความรู้ ความชานาญด้านทักษะการประกอบอาชีพมีคุณธรรมจริยธรรมใฝุเรียนรู้ และแสวงหา ความรู้ อยา่ งต่อเน่อื งตลอดชีวติ ดารงชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มีความสุข มีสุขภาพทั้งกาย และใจทส่ี มบูรณส์ ามารถประกอบอาชีพและอยรู่ ว่ มกับผู้อืน่ ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ 3. การจัดการศึกษาเพ่ือส่งเสรมิ ศลิ ปะและวัฒนธรรมในท้องถนิ่ ธรรม กศน.ตาบลแสมสาร มุ่งเน้นให้ประชาชนในพ้ืนท่ีศึกษาเรียนรู้ด้านทานุบารุงศาสนาศิลปะและวัฒนธรรมใน ท้องถน่ิ ดงั น้ี 3.1 จดั ใหม้ กี ารศกึ ษาและการเรยี นรู้ ทางเลอื กตามความสนใจของผเู้ รียนและกล่มุ เปูาหมาย 3.2 สนับสนุนการศึกษาให้สอดคล้องกับความจาเป็นของผู้เรียนโดยนาแนวทางการใช้คูปองการศึกษาเพ่ือ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยมาปรบั ใชก้ ับการจดั การศึกษาของ กศน.ตาบลแสมสาร 3.3 ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตาบลแสมสาร กานัน ผู้ใหญ่บ้านและประชาชน ท่วั ไปจัดการการเรยี นรทู้ ีม่ ีคุณภาพและทว่ั ถงึ 3.4 จัดการศึกษาให้กับทุกกลุ่มเปูาหมายโดยส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดชีวิตโดยเน้นความร่วมมือระหว่าง ผู้เกี่ยวข้อง 3.5 พัฒนาตนเองใหม้ คี ุณภาพและมีจิตวญิ ญาณของความเป็นครู
3.6 สนับสนนุ การมสี ว่ นร่วมกบั องค์กรทางศาสนาในชุมชน เพ่ือการปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม การสร้างสันติ สุขคา่ นยิ มไทย 12 ประการและจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ความปรองดองสมานฉันท์ในชุมชนอยา่ งย่ังยืน 3.7 สนับสนุนภาคีเครือข่าย ประชาชนในพ้ืนท่ีให้มีการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรม ภาษาไทย และภาษาถ่ิน ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพ่ือ การเรียนรู้ การสร้างจิตสานึกความเป็นไทยและการเพ่ิมมูลค่าทาง เศรษฐกจิ ให้แก่คนในชมุ ชน 3.8 สนับสนุนการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบ้านและวัฒนธรรมสากลตลอดจน ส่งเสรมิ และอนรุ กั ษภ์ าษาท้องถิน่ ในชมุ ชน 3.9 ปลกู ฝงั ค่านิยมและจติ สานกึ ดีใหเ้ ยาวชนและประชาชนพืน้ ที่ ได้มีโอกาสแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ ตัวช้ีวดั ความสาเรจ็ ตามยุทธศาสตร์ และจุดเนน้ กศน.ตาบลแสมสาร 1. จานวนกลุ่มเปูาหมายในตาบลแสมสารมี ผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษาที่ได้รับบริการ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานโดยไม่เสียคา่ ใช้จา่ ยมีจานวนเพ่มิ 2. จานวนประชากรกลุ่มเปูาหมายในตาบลแสมสารท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการกิจกรรม การศกึ ษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีสอดคลอ้ งกับสภาพ ปญั หา และความตอ้ งการไดโ้ ดยท่ัวถงึ 3. ร้อยละของผู้เรียนและผู้รับบริการในตาบลแสมสารที่มีผลสัมฤทธิ์ตามจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ของแต่ละ หลักสตู ร/กจิ กรรมเพมิ่ ขนึ้ 4. ร้อยละของผู้ไม่รู้หนังสือในตาบลแสมสารท่ีผ่านการประเมินการรู้หนังสือตามหลักสูตรส่งเสริมการรู้ หนังสือเพ่ิมขึน้ 5. รอ้ ยละของชุมชนในตาบลแสมสารท่ีมีการจัดการความรู้และกระบวนการเรียนรู้อันเป็นผลเนื่องจากการ เขา้ รว่ มกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพ่มิ ขน้ึ 6. รอ้ ยละของชุมชนในตาบลสตั หบี ที่ใช้แหลง่ การเรียนรูช้ ุมชนในการจดั กระบวนการเรยี นรูใ้ นชมุ ชนเพ่มิ ขนึ้ 7. จานวนประชาชนกลุ่มเปูาหมายในตาบลแสมสารท่ีได้รับการศึกษาอบรมในหลักสูตรภาษาอังกฤษ และ ภาษากลมุ่ ประเทศอาเซียนมจี านวนเพมิ่ มากขน้ึ 8. รอ้ ยละของผรู้ ับการฝึกอบรมในหลกั สูตรภาษาองั กฤษ ภาษาจีน ภาษากลุ่มประเทศอาเซียน และอาเซียน ศึกษาทผ่ี า่ นเกณฑก์ ารประเมินตามหลักสูตรมจี านวนเพ่มิ มากขนึ้ 9. จานวนกิจกรรม/หลักสูตรท่ีใช้กระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์/เทคโนโลยีที่เหมาะสมเป็น กระบวนการ/สาระในการเรยี นรูใ้ น กศน.ตาบลแสมสารมีกิจกรรมที่หลากหลายมากย่ิงข้นึ 10. จานวนองค์กรภาคสว่ นตา่ งๆ ในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของ กศน.ตาบลแสมสารท่ีร่วมเป็นภาคีเครือข่ายใน การดาเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยมจี านวนเพ่ิมข้ึน 11. จานวน/ประเภทของส่อื และเทคโนโลยที างการศึกษาที่มีการจัดทา/พัฒนาและนาไปใช้เพ่ือส่งเสริมการ เรียนรู้ของผู้เรียน/ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน.ตาบลแสมสารมีจานวน เพ่ิมขึน้ หลากหลาย 12. จานวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไปในเขตพนื้ ทีร่ ับผิดชอบของ กศน.ตาบลแสมสาร ที่เข้าถงึ บริการความรู้นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยผ่านช่องทางสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี การส่อื สารมีจานวนเพ่มิ ขน้ึ
ปจั จัยหลักแหลง่ ความสาเรจ็ กศน.ตาบลแสมสาร 1. กศน.ตาบลแสมสาร ยึดหลกั วชิ า หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง หลักปรัชญาคดิ เปน็ หลกั ธรรมมาภิบาล และผลสมั ฤทธิใ์ นการบรหิ ารจัดการ ท้งั ดา้ นวิชาการงบประมาณ การบริหารงานบคุ คล และการ บริหารทัว่ ไปทั้งภายในกศน.ตาบลแสมสาร และการทางานรว่ มกันกบั ภาคีเครอื ขา่ ย 2. กศน.ตาบลแสมสาร ใช้ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ในการดาเนินงาน ท้ังที่ยึดพ้ืนที่ ยึดสภาวะแวดล้อม ยึดกลุ่ม เปูาหมายาและความต้องการยึดประเด็นปัญหาของกลุ่มเปูาหมายหรือประเด็นการพัฒนา ยึดความสาเร็จ และยึด นโยบายเปน็ ฐาน 3. กศน.ตาบลแสมสาร การเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ท้ังเครือข่ายเชิงพ้ืนท่ีเครือข่าย เชิงภารกิจและการสรา้ งความเข้มแขง็ รว่ มมือและความยั่งยืนในการเป็นภาคีเครือขา่ ย 4. กศน.ตาบลแสมสาร เปน็ ฐานและสถานปี ลายทาง ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ใหก้ ับประชาชน ในพ้นื ท่ี โดยได้รับการพัฒนาใหม้ ีศกั ยภาพและพรอ้ มในการปฏบิ ัตงิ านตลอดเวลา 5. กศน.ตาบลแสมสาร ใช้สถานศึกษาเป็นกลไกขับเคลื่อนการบริหารนโยบายในระดับพื้นที่ โดยมี คณะกรรมการสถานศึกษาคณะกรรมการ กศน.ตาบลเป็นผู้เสนอแนะ กากับติดตาม นิเทศการดาเนินงานเพ่ือให้ สามารถจัดการศกึ ษาในระดับพื้นฐานไดอ้ ยา่ งคลอ่ งตวั และมีประสิทธิภาพ 6. กศน.ตาบลแสมสาร มีข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มเปูาหมายทุกกลุ่มตามจุดเน้น มาใช้ในการวางแผนการจัด การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และ ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรใู้ นชมุ ชนไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 7. กศน.ตาบลแสมสาร มีระบบการนิเทศกากับติดตามและรายงานผล การปฏิบัติงานและการใช้จ่าย งบประมาณท่ีสามารถตรวจสอบความกา้ วหนา้ ในการดาเนินงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 8. กศน.ตาบลแสมสาร มกี ลไก/ระบบทส่ี ามารถเช่ือมโยงการทางานระหวา่ งส่วนราชการและหน่วยงานต่างๆ ท่ีได้รับมอบหมายจากสถานศึกษาเชน่ ระบบ ฐานขอ้ มลู ทเ่ี กี่ยวขอ้ งและการจัดกจิ กรรมเพื่อตอบสนองนโยบายเร่งด่วน หรือ นโยบายเฉพาะทไี่ ด้รับมอบหมายจากสถานศึกษาได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 9. กศน.ตาบลแสมสาร มีหน่วยงาน/สถานศกึ ษารับผดิ ชอบตัวชี้วัดความสาเร็จ ตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นท่ี ตรงตามภารกิจอย่างชัดเจนท่ีกากับติดตามและรายงานผลตัวชี้วัดท้ังส่วนกลางระดับจังหวัด และระดับสถานศึกษา อย่างเป็นระบบ จุดเนน้ ของ กศน.ตาบลแสมสาร และภาคเี ครือข่าย 2.1 ผู้บริหารสถานศกึ ษา ครู บคุ ลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการ กศน.ตาบล และครู กศน.ตาบล ทุกคน ได้รับการพัฒนาให้มี ศักยภาพและความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจตาม บทบาทหน้าท่ีอย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 มีการประสานเชื่อมโยงการทางานตามโครงสร้างภายใน กศน.ตาบลกับภาคีเครือข่ายท้ังในระดับ นโยบายและระดับปฏิบตั ิอย่างเป็นระบบโดยมีเอกภาพในเชงิ นโยบาย และเน้นผลสัมฤทธ์ิเป็นเปูาหมายความสาเร็จใน การทางาน
2.3 กศน.ตาบลมแี ผนจุลภาค (Micro Planning) เป็นเคร่ืองมือในการจัดกิจกรรมหรือออกแบบกิจกรรมการ เรียนรู้ ทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยให้กับประชาชนกลุ่มเปูาหมายในพ้ืนที่ โดยมีข้อมูล พ้นื ฐานทีส่ าคญั ไดแ้ ก่ สภาพทางกายภาพของชุมชน ปัญหา/ความต้องการของประชาทางการศึกษา กลุ่มเปูาหมาย แต่ละกล่มุ แต่ละประเภท แหลง่ วทิ ยากรชมุ ชน (ทนุ มนุษย์ ทนุ สงั คมกายภาพ และทุกการเงิน) ซง่ึ มีการปรบั ปรุงข้อมูล ดังกลา่ วใหเ้ ป็นปจั จุบนั ทุกรอปงี บประมาณ จุดเนน้ ดา้ นผลสมั ฤทธ์ิ กศน.ตาบลแสมสาร 3.1 ประชากรกลุ่มเปูาหมาย อาเภอสัตหีบ ที่สาเร็จหลักสูตรหรือร่วมกิจกรรมการศึก ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัย มีผลสมั ฤทธ์ิท่มี คี ณุ ภาพ ตรง ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรหรือกิจกรรมการศึกษา / การ เรียนรทู้ ก่ี าหนดไว้ และสามารถนาความรู้ และประสบการณก์ ารเรยี นรโู้ ยชน์ได้จรงิ ท่ีได้รับไปใช้ 3.2 นกั ศึกษา/ผเู้ รียนที่สาเร็จหลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีคุณธรรม จริยธรรม ยดึ คา่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ ในการดาเนินชีวิตและมีความใฝุรู้ ใฝุเรียนอยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดชีวติ
เอกสารท่เี กีย่ วขอ้ ง เพศวิถี หรือ รสนิยมทางเพศ (อังกฤษ: sexual orientation) มีความหมายถึงรูปแบบพน้ื ฐานของอารมณ์ ความใคร่ และ/หรือ ความสนใจทางเพศตอ่ ชาย หญงิ หรือท้ังสองเพศ หรอื ไมใ่ ช่เพศไหน หรอื เพศที่ 3 จากข้อมูลของ สมาคมจติ วทิ ยาอเมริกัน รสนยิ มทางเพศ คอื ความมีอยู่[1] และอาจหมายถงึ ความรสู้ ึกของบคุ คล เร่อื ง ลักษณะ เฉพาะตวั และอัตลกั ษณ์ทางสงั คม ทด่ี จู ากดา้ นความสนใจ การปลดปลอ่ ยพฤตกิ รรม และการเป็นสมาชิกของสงั คมท่ี พวกเขาใช้ชีวติ อยู่ รสนยิ มทางเพศ เป็นส่งิ ท่ีจาแนกอตั ลกั ษณท์ างเพศของคนท่ีรับรู้เรือ่ งเพศของตนและเช่นเดยี วกบั คนอนื่ ท่อี าจ แยกแยกเรอ่ื งเพศเหลา่ น้ี[1] ส่วนใหญ่แลว้ รสนิยมทางเพศจะมีการแบ่งแยกออกเป็น 3 ประเภทคอื รักต่างเพศ รักร่วม เพศและรักสองเพศ และไม่ฝักใจทางเพศ (asexuality) ก็เรมิ่ เป็นทีร่ ้จู กั ในฐานะรสนยิ มทางเพศที่ 4 แนวความคิดในการแยกแยะความต้องการความเพศหรอื จาแนกคนในด้านรสนิยมทางเพศน้ี เป็นแนวความคิด แผลง ๆ ของชาวตะวันตกที่คดิ ขนึ้ ในยคุ สมยั ใหมน่ ี้ เมือ่ มีคาถามเกดิ ขึ้นเกีย่ วกับหลกั ฐานแนวความคิดในสังคมของชาว พื้นเมอื ง ท่ไี ม่ใช่ชาวตะวันตก เช่นเดียวกับยุคกอ่ นตะวนั ตกสมัยใหม่ หลักฐานเกี่ยวกับการแบ่งแยก รกั ต่างเพศและรกั เพศเดยี วกับ ในเรอื่ งปรากฏการณ์ทางชวี ภาพมากกวา่ การระบุเจาะจงโครงสร้างสังคมของแตล่ ะท้องทีแ่ ละเวลา กม็ ัก มขี อ้ สงสยั เกดิ ขึน้ ในยคุ อุตสาหกรรมตะวันตก อัตลกั ษณท์ างเพศ อัตลกั ษณท์ างเพศ (อังกฤษ: sexual identity) หมายคอื ความคิดของบุคคลในแง่ของคนที่ ชอบหรือมเี สนห่ ท์ างเพศ บางคร้ังอัตลกั ษณ์ทางเพศ อาจสอ่ ถึง รสนิยมทางเพศ เมอ่ื ผคู้ นระบุหรอื ไมร่ ะบุตวั ด้วย รสนยิ มทางเพศหรือเลือกท่ีจะไมร่ ะบดุ ้วยรสนิยมทางเพศ[2] อัตลักษณ์ทางเพศและพฤตกิ รรมทางเพศมคี วามคล้ายกัน แตก่ ม็ ีความโดดเดน่ ด้วยอัตลักษณท์ ่ีอ้างถงึ ความคิดของแต่ละบคุ คลเกย่ี วกบั พฤติกรรมของตัวเอง พฤตกิ รรมทีอ่ า้ งถึง การกระทาทางเพศของแต่ละบคุ คลและรสนยิ มทางเพศหมายถึงความรสู้ กึ รักใคร่และดงึ ดูดทางเพศตอ่ บคุ คล เพศตรง ข้าม เพศเดยี วกนั ทง้ั สองเพศ มากกวา่ หนง่ึ เพศหรือไมร่ กั ใครเลย อัตลกั ษณ์ทางเพศ ครอบคลุมถึงสิง่ บง่ ช้ที ุกอย่างท้ังทางดา้ นกายภาพภายนอกซงึ่ สามารถสงั เกตเห็นได้โดยง่าย และทางดา้ นจติ ใจท่ีเป็นนามธรรม เชน่ หน้าอก อวัยวะเพศ น้าเสยี ง ความสงู ความแข็งแรง ควาอ่อนไหว ความ อ่อนหวาน ความกา้ วร้าว ซ่ึงแต่ละเพศจะมอี ัตลกั ษณท์ ี่แตกต่างกนั ไปเปน็ ลกั ษณะเฉพาะทเี่ กดิ ข้ึนตาธรรมชาตหิ รอื พันธุกรรม ดังนน้ั บคุ คลทีม่ จี ติ ใจโนม้ เอียงไปในทางตรงกันข้ามกบั อัตลกั ษณท์ างเพศของตนเอง จึงปรารถนาท่จี ะ เปลีย่ นอัตลักษณ์ทางเพศของตนเองไปตามความโนม้ เอียงทางเพศของจิตใจ ซึ่งในยุคปัจจุบนั อตั ลักษณ์ทางเพศทีเ่ ห็น เพียงภายนอกอาจมใิ ช่ส่ิงบ่งชเ้ี พศอย่างแท้จริง เนื่องมสี ภาวะเปน็ เพียงเพศสภาพ ซึ่งอาจมใิ ชเ่ พศวถิ ี แต่ในโลกยคุ ใหม่ คนส่วนหนึ่งก็ให้การยอมรบั ในเรื่องดงั กลา่ วมากขนึ้ ตามลาดบั ดงั นั้นการเลือกปฏิบตั ิอนั เนื่องมาจากมอี ตั ลักษณท์ าง เพศที่แตกต่างกันจึงมคิ วรไดร้ ับการยอมรบั วา่ เป็นสงิ่ ที่ควรกระทาได้อกี ต่อไป เพราะเป็นการ อยตุ ิธรรมต่อบุคคลน้นั ๆทีไ่ ดร้ ับการเลอื กปฏิบัตทิ ไ่ี ม่เทา่ เทียมกนั ดังเช่นในประเทศท่นี บั ถอื ศาสนาอิสลามในหลายๆ ประเทศ นิยามและเอกลกั ษณ์ อัตลกั ษณ์ทางเพศไดร้ บั การอธิบายว่าเปน็ ส่วนประกอบของอตั ลักษณข์ องแตล่ ะบคุ คลท่ี สะท้อนถงึ แนวคิดทางเพศของตนเอง การบูรณาการองคป์ ระกอบเอกลักษณ์ (จรรยาบรรณ ศาสนา เช้อื ชาติ อาชพี ) เป็นอตั ลักษณโ์ ดยรวมมคี วามสาคัญต่อกระบวนการสรา้ งแบบจาลองหลายมิติของอตั ลกั ษณ์
อัตลักษณ์ทางเพศสามารถเปล่ียนไปตลอดชีวิตของแต่ละบคุ คลและอาจสอดคลอ้ งกับเพศทางชวี ภาพ พฤตกิ รรมทางเพศหรอื ความสมั พนั ธ์ทางเพศที่เกดิ ขนึ้ จรงิ [4][5][6] ตัวอย่างเชน่ เกย์ เลสเบีย้ น และไบเซ็กชวลอาจไม่ เปดิ เผยตวั ตนในประเทศโฮโมโฟเบยี กีดกนั รกั ร่วมเพศหรอื ในพืน้ ที่ที่มปี ระวตั เิ รอ่ื งสิทธิของกล่มุ บุคคลท่มี ีความ หลากหลายทางเพศไมด่ ี ในการศึกษา 1990 โดยองค์กรทางสังคมทางเพศ มีผูห้ ญงิ เพยี ง 16% และผู้ชาย 36% ท่ี ยอมรบั ว่ารักใครชอบพอเพศเดียวกันมีอตั ลกั ษณ์แบบรกั รว่ มเพศหรือรกั สองเพศ รสนิยมทางเพศจะมีการแบ่งแยกออกเปน็ 3 ประเภทคือ 1.รกั ตา่ งเพศ (องั กฤษ: Heterosexuality) หมายถงึ ความรักท้ังในทางโรแมนติกและทางเพศ ระหว่างสอง บคุ คลทีเ่ ป็นเพศตรงขา้ ม รักตา่ งเพศถือเป็นรสนยิ มทางเพศอยา่ งหน่ึง ซึ่งตรงกนั ขา้ มกบั รักเพศเดียวกัน โดยจะมคี วาม รกั ในทงั้ ทางโรแมนติกและทางเพศ กับบคุ คลในเพศตรงข้าม หรอื มคี วามรักเฉพาะในทางโรแมนตกิ เพยี งอย่างเดยี ว โดยไมม่ ีความสนใจในเรอื่ งเพศเลยกไ็ ด้ 2.รักร่วมเพศ (องั กฤษ: homosexuality)[1] หมายถึงพฤตกิ รรมทางเพศหรอื ความสนใจของคนในเพศเดยี วกัน หรือรสนิยมทางเพศ ในเรอื่ งรสนยิ มทางเพศหมายถึง \"มเี พศสมั พันธ์หรอื ความรักในทางโรแมนตกิ พเิ ศษกบั บคุ คลใน เพศเดยี วกนั \" และยังหมายถงึ \"ความรู้สกึ สว่ นตวั และการแสดงออกทางสังคมโดยยดึ จากความชอบ พฤติกรรมทพี่ วก เขาแสดงออก และการเปน็ สมาชกิ ในกลุ่มสงั คมเดียวกันของพวกเขา\" รักร่วมเพศ, ไบเซก็ ชวล และรกั ต่างเพศ ถอื เปน็ กลุ่มคนหลัก 3 ประเภทของรสนิยมทางเพศ สัดส่วนของประชากรทเ่ี ปน็ กลมุ่ คนรกั เพศเดียวกนั ค่อนข้างยากทจี่ ะ ประเมิน[4] แตส่ ่วนใหญ่จากการที่ศึกษาในปจั จุบันอตั ราอยู่ที่ 2–7แตอ่ ยา่ งไรก็ตามจากการสารวจในกลุ่มคนชาว นอร์เวย์ พบว่ามกี ลุ่มคนรกั เพศเดียวกนั 12% สาเหตุของการเกิดพฤติกรรมรักเพศเดียวกันยังเป็นทถี่ กเถยี งกันอยู่ ซึ่งจากการศกึ ษาพ่ีนอ้ งฝาแฝดท่ีเปน็ เกยท์ ้ัง คู่ โดย Dean Halmer นกั พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล แหง่ สถาบนั สุขภาพแหง่ ชาติ รัฐแมรแี ลนด์ สหรฐั อเมริกา พบว่า อาจจะเกิดจากพนั ธกุ รรมทโี่ ครโมโซม ตาแหนง่ Xq28 อย่างไรก็ตาม นกั วิทยาศาสตรเ์ องก็ยงั ถกเถยี งเกี่ยวกับยีนตวั นี้ อยู่เชน่ กัน ซ่ึงงานวิจยั ใหมน่ ั้นพบวา่ ผลท่อี อกมาขัดแย้งกบั ผลการศึกษาเดิม และไมส่ ามารถสรปุ ไดอ้ ย่างชัดเจน ปัจจบุ ันไดม้ ีคาศัพท์ใหม่ ๆ เกิดขึน้ เพ่ือเป็นการสร้างพืน้ ที่ใหแ้ ก่เพศวถิ ีต่าง ๆ เช่น \"ความหลากหลายทางเพศ\" หรอื \"กล่มุ บุคคลท่มี ีความหลากหลายทางเพศ\"[18] เน่ืองจากมีความหมายที่ครอบคลุมและตรงตัวกว่าคาวา่ “รกั รว่ ม เพศ” ทอ่ี าจถกู ตคี วามว่าบคุ คลประเภทนใ้ี ห้ความสาคัญต่อการมีเพศสมั พนั ธ์ อยา่ งไรก็ตาม คาวา่ ความหลากหลาย ทางเพศนัน้ อาจหมายความรวมถงึ ผทู้ ม่ี ีรสนยิ มรักสองเพศด้วย 3.รักรว่ มสองเพศ ไบเซ็กชวล (อังกฤษ: Bisexual) หรือเรยี กสนั้ ๆ ว่า ไบ (Bi) เปน็ รสนยิ มทางเพศ ท่ชี อบคน ทงั้ 2 เพศ ทง้ั ชายและหญิง คนทมี่ ีรสนิยมแบบไบเซก็ ชวลอาจมีประสบการณท์ างเพศ ภาวะอารมณ์ ความรกั กับท้งั เพศตัวเองและเพศตรงขา้ ม และยงั มคี วามหมายถึงความรสู้ ึกส่วนตัวและอตั ลักษณ์ทางสังคม โดยยึดจากความสนใจ ทางเพศ การแสดงออกทางพฤตกิ รรม และการเป็นสมาชกิ ในกลุ่มสงั คม และยังถอื เปน็ 1 ใน 4 ของการจาแนกเพศ ร่วมไปกบั รกั ต่างเพศ รักเพศเดยี วกัน และไม่ฝักใจทางเพศ
จากการสารวจของอลั เฟรด คินเซยเ์ ก่ยี วกับเพศของมนุษย์ ในกลางครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 กลา่ ววา่ มีมนุษย์ หลายคนที่ไมไ่ ด้เป็นบุคคลรกั เพศตรงขา้ ม และรักเพศเดยี วกัน แต่อยู่ระหว่างนั้น มีการวดั ความสนใจทางเพศและ พฤตกิ รรม ความกวา้ ง 0-7 โดย 0 (รกั เพศตรงขา้ ม) ถงึ 6 (รกั เพศเดียวกัน) จากการศึกษาพบวา่ มีจานวนมากท่ีอยู่ ระหวา่ ง 1 ถงึ 5 (ระหวา่ งรกั เพศตรงข้ามและรักเพศเดียวกนั ) แตว่ ธิ นี กี้ ไ็ ด้รับการวจิ ารณว์ ่า เลขการวดั ยังคงกวา้ งทีจ่ ะ อธบิ ายเพศของมนุษย์ ไบเซ็กชวล ได้รบั การสังเกตในสงั คมมนษุ ยห์ ลายสังคม รวมไปถึงอาณาจกั รสัตวด์ ว้ ย จากประวัติการบันทกึ เก่ียวกับไบเซ็กชวล นา่ จะเกิดขึ้นในเวลาเดียวกบั รกั ร่วมเพศ และรักเพศเดียวกัน ในคริสต์ ไม่ฝักใจทางเพศ (องั กฤษ: Asexuality หรอื nonsexuality)หรอื เอเซ็กชวล คอื การขาดความสนใจทางเพศ ไม่ให้ความสนใจต่อกิจกรรมทางเพศ อาจถือได้ว่าหยอ่ นรสนยิ มทางเพศ หรือเป็นหนึง่ ในส่ีของเพศ ไดแ้ ก่ รักต่างเพศ รกั ร่วมเพศ และรักรว่ มสองเพศ[7][8][9] จากการศึกษาในปี ค.ศ. 2004 พบผไู้ มฝ่ กั ใจทางเพศ 1% การไม่ฝกั ใจทางเพศเป็นการขาดกจิ กรรมทางเพศและการอยเู่ ป็นโสด (celibacy) ซ่งึ เป็นพฤติกรรมและแรง กระต้นุ ทว่ั ไปท่ีเกิดจากปจั จยั อย่างเชน่ ความสนใจสว่ นบุคคล หรอื ความเช่ือทางศาสนา รสนิยมทางเพศน้ันแตกตา่ ง จากพฤติกรรมทางเพศ ทเี่ ชื่อวา่ เปน็ สิ่งถาวร ผู้ไม่ฝกั ใจทางเพศบางคนหมน้ั หมาย ทงั้ ๆ ที่ตนขาดความตอ้ งการทาง เพศและสนใจทางเพศ ดว้ ยเหตุผลหลากหลายประการ อย่างเช่น ตอ้ งการความรกั กับครู่ ว่ มชวี ติ หรอื ต้องการมบี ตุ ร การยอมรบั ในเรอื่ งไม่ฝักใจทางเพศนัน้ และการศึกษาวิจัยด้านน้ยี งั ค่อนขา้ งใหม่ มีการศกึ ษาทง้ั มมุ มองด้าน สังคมและจติ วทิ ยา ที่เพ่งิ เริ่มพัฒนา ขณะทนี่ ักวิจัยยืนยันวา่ การไม่ฝักใจทางเพศน้ันเป็นรสนิยมทางเพศ แต่กม็ นี กั วจิ ยั ที่ไมเ่ หน็ ด้วยเชน่ กนั มีการรายงานว่า รสนิยมทางเพศ เกิดข้นึ ส่วนใหญ่จากทางด้านชีววิทยาและจติ วิทยา รวมถงึ เพศวทิ ยา 1.ดา้ นชวี วิทยา ชวี วทิ ยา (อังกฤษ: Biology) เป็นแขนงหนงึ่ ของวิทยาศาสตรธ์ รรมชาติ (natural science) ที่ ศกึ ษาเก่ยี วกบั ชีวิต และสง่ิ มชี ีวิต ซึ่งรวมถึง โครงสรา้ ง การทางาน การเจริญเตบิ โต ถิน่ กาเนิด วิวัฒนาการ การ กระจายพันธุ์ และอนุกรมวิธาน โดยเปน็ การศกึ ษาในทกุ ๆ แงม่ มุ ของสิง่ มชี ีวิต โดยคาว่า ชีววทิ ยา (Biology) มาจาก ภาษากรกี คือคาวา่ \"bios\" แปลวา่ สงิ่ มีชวี ิต และ \"logos\" แปลวา่ วชิ า หรือการศกึ ษาอย่างมีเหตุผล 2.ด้านจิตวิทยา จิตวทิ ยา (องั กฤษ: psychology) คอื ศาสตรท์ ่วี ่าด้วยการศกึ ษาเกย่ี วกบั จิตใจ (กระบวนการ ของจติ ), กระบวนความคดิ , และพฤติกรรม ของมนษุ ยด์ ว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหาท่นี ักจติ วิทยาศกึ ษา เช่น การรบั รู้ (กระบวนการรับขอ้ มลู ของมนุษย)์ , อารมณ์, บุคลกิ ภาพ, พฤตกิ รรม, และรปู แบบความสมั พันธ์ระหว่าง บุคคล จิตวิทยายังมคี วามหมายรวมไปถงึ การประยุกต์ใชค้ วามรู้กบั กิจกรรมในดา้ นตา่ ง ๆ ของมนษุ ยท์ เ่ี กิดขึ้นใน ชวี ติ ประจาวนั (เช่นกจิ กรรมทเ่ี กดิ ขึ้นในครอบครัว, ระบบการศกึ ษา, การจ้างงานเปน็ ต้น) และยงั รวมถึงการใชค้ วามรู้ ทางจิตวิทยาสาหรับการรักษาปัญหาสขุ ภาพจิต นักจติ วิทยามคี วามพยายามท่ีจะศึกษาทาความเข้าใจถึงหน้าท่ีหรือ
จุดประสงคต์ า่ ง ๆ ของพฤติกรรมทีเ่ กดิ ขึ้นจากตวั บุคคลและพฤตกิ รรมท่เี กิดข้ึนในสังคม ขณะเดียวกันกท็ าการศึกษา ขนั้ ตอนของระบบประสาทซ่งึ มผี ลตอ่ การควบคมุ และแสดงออกของพฤตกิ รรม 3.ดา้ นเพศวทิ ยา เพศศาสตร์ หรือ เพศวทิ ยา เป็นสหสาขาวชิ าประกอบด้วยจิตวทิ ยา แพทยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และเพศศกึ ษา เพศศาสตร์จะมีเนือ้ หาเชงิ สงั คมและจติ วทิ ยามาก ตวั อยา่ งเชน่ การให้คาปรกึ ษาทางดา้ น เพศ ปัญหาเสอื่ มสมรรถภาพทางเพศ ปัญหาผู้หญงิ ทถ่ี ูกขม่ ขืน ผ้หู ญงิ ทถ่ี ูกทารณุ กรรมทางเพศ โดยผู้ท่ีเรยี นสาขานี้ ต้องผา่ นการคัดเลอื ก วชิ าชวี วทิ ยา, สถิติ, คุณธรรมและจรยิ ธรรม, การให้การปรึกษาเชงิ จติ วทิ ยา และทศั นคติ ทางดา้ นเพศศาสตร์ ในประเทศไทยมีการสอนสาขาวชิ าน้ีในระดบั ปรญิ ญาโท ทีจ่ ุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั โรคติดตอ่ ทางเพศสมั พันธ์ -โรคติดเช้อื เอชพีวี โรคติดเชอ้ื เอชพีวี (HPV) ไม่ไดเ้ กดิ แค่เฉพาะกับผหู้ ญิง แต่เป็นโรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ที่เกิดกับท้งั ชาย และหญิง ถงึ แม้จะมเี พศสัมพนั ธ์แค่กบั แฟนคนเดยี วก็มีโอกาสติดเช้อื เอชพวี ีได้ ถา้ แฟนของคุณไมไ่ ด้มเี พศสมั พนั ธก์ บั คณุ คนเดยี ว แต่มว่ั เซ็กซ์ เปล่ยี นคู่นอนไปเรือ่ ย ไมใ่ ส่ถงุ ยางอนามัย ไมป่ อู งกนั หรือมเี ชอ้ื เอชพวี ีอยู่แลว้ เช้ือเอชพวี ี ทา ใหเ้ กิดโรคหูดต่างๆ เช่น หูดท่ีมอื หดู ที่เท้า หูดหงอนไก่ และทาให้มคี วามเสี่ยงตอ่ การเกิดมะเรง็ ปากมดลูก เชือ้ เอชพีวี สามารถติดตอ่ กนั ทางการร่วมเพศ ทางปาก คอหอย และทวารหนกั ได้ ปัจจุบันยงั ไมม่ ยี าทใี่ ชร้ กั ษากาติดเชอื้ เอชพวี ใี ห้ หายขาด ต้องรกั ษาสขุ ภาพของรา่ งกายให้แขง็ แรง เพ่อื ใหม้ ีภูมิต้านทานตอ่ ตวั เชอ้ื -โรคซฟิ ิลิส โรคซิฟิลิส (syphilis) เป็นช่อื โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์ทีเ่ ราไดย้ ินกนั บอ่ ย โรคซิฟิลสิ ตดิ ต่อกนั ไดจ้ ากการ มเี พศสัมพันธ์ ทางชอ่ งคลอด ทวารหนัก ทอ่ ปสั สาวะ ชอ่ งปาก หรือผา่ นการสัมผสั สารคัดหลง่ั ที่เกดิ จากโรคซิฟิลิส
อาการของโรคซฟิ ลิ ิสมี 3 ระยะ - ระยะแรก คือ มีแผลทข่ี อบรมิ แขง็ - ระยะที่สอง มผี ่นื ข้นึ ทว่ั ตวั อาจมีอาการอ่นื รว่ มด้วย เชน่ ตอ่ มนา้ เหลอื งโต หรือมีอาการคลา้ ยไขห้ วัด เชน่ มี ไขส้ งู ปวดศีรษะ เจบ็ คอ - ระยะที่สาม เปน็ ระยะท่เี ชอ้ื โรคเข้าทาลายอวยั วะภายในที่สาคญั ซง่ึ อาทาใหร้ ูส้ ึกชา เป็นอัมพาต สมองเส่ือม และรุนแรงถึงเสียชีวติ ได้ โรคซิฟลิ สิ ถา้ ตรวจพบในช่วงแรก ๆ ก็มโี อกาสรกั ษาหายไดง้ ่าย แต่ถ้าปล่อยทง้ิ ไว้จนถึงระยะสดุ ทา้ ย อาจจะ สายเกินไป -โรคเอดส์ โรคเอดส์ (AIDS : Acquired Immune Deficiency Syndrome) เป็นโรคติดตอ่ ทางเพศสมั พันธ์ทท่ี ุกคนต้อง เคยได้ยนิ เป็นเหมอื นพี่ใหญท่ ี่ใคร ๆ กห็ วาดกลวั โดยเฉพาะในกล่มุ คนที่มเี พศสมั พันธเ์ ปลยี่ นคไู่ ปเร่ือย แลว้ ไม่ปูองกัน ดว้ ย โรคเอดส์ เกิดจากเช้อื ไวรสั เอชไอวี (Human Immunodeficiency Virus : HIV) ซ่งึ เขา้ ไปทาลายเซลล์เม็ดเลือด ขาว ทาใหร้ า่ งกายมีภมู ิคมุ้ กนั ตา่ ลง ซึ่งเชื้อเอชไอวอี าจจะแฝงตวั อยู่ในร่างกายนานหลายปี โรคเอดส์คือระยะร้ายแรง ของการตดิ เชื้อไวรัสเอชไอวี ซึ่งทาใหเ้ สียชีวิตได้ เมือ่ ได้รบั เชอ้ื เอชไอวี ในชว่ งแรกอาจจะมอี าการคล้ายอาการปุวยทัว่ ๆ ไป เชน่ เป็นหวดั คัดจมูก มีไข้ ปวดเมอ่ื ยกลา้ มเน้อื อ่อนเพลยี เหมือนเป็นไข้หวดั ใหญ่ หากตรวจพบทันกจ็ ะสามารถ รักษาไดท้ ันทว่ งทีด้วยยาตา้ นไวรสั ซงึ่ ถึงแม้จะไม่หายขาด แต่หากดูแลร่างกายให้แข็งแรงก็สามารถใชช้ ีวิตไดป้ กตไิ ปอกี นาน
-เรมิ เรมิ (Herpes) คือ โรคที่เกิดจากเช้อื ไวรัสเฮอร์พีส์ ซิมเพล็กซ์ ซง่ึ มี 2 สายพันธ์คุ อื HSV-1 และ HSV-2 เรมิ ตดิ ตอ่ กนั ได้จากการสมั ผัสเชอื้ ผ่านบาดแผล การใชข้ องใช้ร่วมกัน หรือทางเพศสมั พนั ธก์ บั คนทต่ี ิดเช้ือเริม เชอื้ ไวรสั เรมิ ทาให้เกิดอาการเรมิ ทปี่ าก และเริมทอ่ี วยั วะเพศ ซึ่งเรมิ ทอ่ี วยั วะเพศส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อ HSV-2 สาหรบั เริมทอ่ี วัยวะเพศมักแสดงอาการให้เหน็ คือ มอี าการคันหรือเจบ็ ทีอ่ วยั วะเพศ และเริม่ มแี ผลบริเวณอวัยวะเพศ และทวารหนักท้งั ผหู้ ญงิ ผูช้ าย แผลจะมีลกั ษณะบวมแดงและเปน็ ตุ่มใส รู้สึกเจ็บแสบเวลาปัสสาวะ ตุ่มแผลอาจจะแตก มีเลอื ดออก บางคร้ังอาจจมอี าการปวดศีรษะ เป็นไข้ ปวดเม่ือยกล้ามเนอื้ ด้วย เมอื่ ตดิ เชอื้ เรมิ หากไม่รกั ษาอยา่ งถูกต้องหากตดิ เชื้ออาจลกุ ลามไปทอ่ี ่ืน เชน่ ไปท่ตี าทาใหต้ าบอด หรอื ทาให้ สมองอกั เสบได้ -โรคหนองใน โรคหนองใน เปน็ โรคติดตอ่ ทางเพศสมั พันธท์ ่ีพบมากโรคหน่ึง โดยโรคหนองในนนั้ สามารถติดต่อกันผ่านการมี เพศสัมพันธ์ไมว่ ่าจะเป็น ทางปาก ทางช่องคลอด หรือทางทวารหนัก โรคหนองในนัน้ แบ่งได้เป็นทั้งโรคหนองในแท้ และ หนองในเทยี ม
หนองในแท้ เกดิ จากเชอื้ Neisseria gonorrhea อาการท่พี บในผู้ชายคอื มอี าการแสบขัดทอ่ ปัสสาวะเวลา ถา่ ยปัสสาวะ และมหี นองไหลออกมาจากทอ่ ปัสสาวะ ส่วนผหู้ ญิงอาจจะมีตกขาวเป็นหนองสีเหลือง แสบขัดเวลา ปสั สาวะ อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจนทาให้ผ้ชู ายเปน็ หมัน หรือผูห้ ญิงปกี มดลกู อักเสบได้ หนองในเทียม เกิดจากเช้อื ได้หลายตัว แตเ่ ชื้อทเี่ ป็นสาเหตบุ อ่ ยทีส่ ุดคือ Chlamydia trachomatis อาการที่ แสดงออกคือปสั สาวะแสบขดั มีหนองไหลซมึ ออกจากอวัยวะเพศ โดยหนองจะมลี ักษณะเป็นมกู ใสหรือมูกข่นุ ๆ ไม่ เป็นหนองขน้ แบบหนองในแท้ และปรมิ าณหนองจะน้อยกว่าหนองในแท้ โรคหนองในท้ังหนองในแท้ และหนองในเทียม สามารถรักษาได้ด้วยการกินยา แต่ระหว่างรกั ษาควรงดการมี เพศสัมพนั ธ์จนกว่าจะรักษาโรคหาย และอย่าลืมเตอื นคู่นอนของตัวเองให้ไปรกั ษาด้วย อาการที่สงั เกตไดข้ องโรคตดิ ต่อทางเพศสัมพนั ธ์ บางโรคอาจจะไมแ่ สดงอาการ แตบ่ างโรคกแ็ สดงอาการเบอ้ื งต้นชดั เจน สงั เกตได้จาก ● มีอาการเจบ็ ระหว่างมีเพศสมั พันธ์ หรอื ปัสสาวะ ● เจ็บ บวม มีรอยแดง บริเวณอวยั วะเพศ อัณฑะ ชอ่ งคลอด ทวารหนัก กน้ หรอื ในปาก ● มอี าการหล่ังผดิ ปกติ หรอื มีเลอื ดออกจากอวยั วะเพศ ● มีอาการเจบ็ บวมทอี่ ณั ฑะ ● มอี าการคันบริเวณรอบชอ่ งคลอด วิธีปอ้ งกนั ● ดแู ลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง มีภูมิต้านทานทด่ี ี ● ใส่ถุงยางอนามัยทกุ ครง้ั เม่ือมีเพศสัมพันธ์ ● ไมม่ ว่ั เซ็กซ์ ไม่เปลย่ี นคู่นอนบอ่ ย ๆ ● ตรวจร่างกายก่อนแต่งงานเพื่อหาโรคติดต่อทางเพศสัมพนั ธ์ ● ตรวจหาโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์เปน็ ประจา โดยเฉพาะคนที่อยู่ในกลุม่ เส่ยี ง เช่น เปลี่ยนค่นู อนบ่อย หรือมี เพศสัมพันธ์ไม่ใชถ่ งุ ยางอนามัย
● ไปหาหมอเมอ่ื มีความผิดปกติโดยเฉพาะทอี่ วัยวะเพศ อยา่ กลัว อย่าอาย เพราะถ้าตรวจพบเรว็ ก็มโี อกาสรักษาหาย ได้ จะเห็นไดว้ ่า โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธ์ ท้งั นา่ กลวั น่ารงั เกียจ และรกั ษาได้ยากมากทเี ดยี วใช่ไหมละ่ ? ดังนั้นสง่ิ สาคญั ท่สี ดุ คอื คุณต้องเรยี นรทู้ ี่จะปูองกนั ตวั เองจากโรคเหลา่ นนี้ นั่ เอง
บทท่ี 3 วิธีการดาเนนิ งาน ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหีบ ได้เห็นความถึงสาคัญของการส่งเสริมให้ ประชาชนและเยาวชนมีความรู้มีความรู้ด้านเพศวิถีและทักษะชีวิต และสามารถนาความรู้ท่ีได้ไปปรับใช้ใน ชีวิตประจาวัน จึงไดใ้ ห้ กศน.ตาบลแสมสาร จดั ทาโครงการเรียนรูด้ า้ นเพศวถิ ีศกึ ษา มขี ้ันตอนดงั น้ี 1.ประชมุ บคุ ลากรกรรมการ กศน.ตาบลแสมสาร 2.จดั ตง้ั คณะทางาน 3.ประสานงานกบั ผเู้ รียน/วทิ ยากรผู้สอน 4.ดาเนนิ งานตามแผน 5.วัดผล/ประเมินผล/สรปุ ผลและรายงาน 1. ประชมุ บุคลากรกรรมการ กศน.ตาบลแสมสาร กศน.อาเภอสัตหีบ ได้วางแผนประชุมบุคลากรคณะกรรมการ กศน.ตาบลแสมสาร เพ่ือหาแนวทางในการ ดาเนนิ งานและกาหนดวตั ถปุ ระสงคร์ ่วมกนั 2. จดั ต้ังคณะทางาน จดั ทาคาสง่ั แต่งตง้ั คณะทางานโครงการ เพ่ือมอบหมอบหมายหนา้ ทใ่ี นการทางานให้ชัดเจน เช่น 2.1 คณะกรรมการท่ีปรึกษา/อานวยการ มีหน้าท่ีอานวยความสะดวก และให้คาปรึกษาแก้ไขปัญหาท่ี เกดิ ขน้ึ 2.2 คณะกรรมการฝาุ ยประชาสัมพันธ์ มีหนา้ ท่ปี ระชาสัมพนั ธร์ ับสมคั รผเู้ ข้าร่วมโครงการ 2.3 คณะกรรมการฝุายรับลงทะเบียนและประเมินผลหน้าที่จัดทาหลักฐานการลงทะเบียนผู้เข้าร่วม โครงการ และรวบรวมการประเมินผล และรายงานผลการดาเนนิ การ 3. ประสานงานกับผู้เรยี น/วทิ ยากรผสู้ อน ประสานงานกับผู้เรียนและวิทยากร เช่น ประสานเรื่องสถานท่ีใช้ทาการเรียนการสอน ประสานงานกับ วิทยากรผสู้ อน เรือ่ งเนื้อหา หลักสตู รการเรียนการสอน รูปแบบการเรยี นการสอน วนั เวลา สถานที่ 4. ดาเนนิ การตามแผนงานโครงการ โครงการเรียนรู้ด้านเพศวิถีศึกษา ณ กศน.ตาบลแสมสาร ตาบลแสมสาร อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ใน วนั ท่ี 28 กุมภาพันธ์ 2563 ตงั้ แต่เวลา 08.30-16.30 น. 5. สรปุ ผลและรายงาน จากการดาเนนิ งานโครงการเรียนรดู้ า้ นเพศวถิ ศี กึ ษา ณ กศน.ตาบลแสมสาร ตาบลแสมสาร อาเภอสหั ีบ จังหวัดชลบรุ ี ในวันท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ต้ังแตเ่ วลา 08.30-16.30 น. มผี ้เู ข้ารว่ มอบรมจานวน 21 คน โดยมี นางเฉลิมชนม์ เพยี รสมบตั ิ เป็นวทิ ยากรในการใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั เพศวิถ๊ศึกษา
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสตั หีบ จะได้นาแนวทางไปใช้ข้อมูลพิจารณาหลักสูตร เน้ือหาตลอดจนเทคนิควิธีการจัดการกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ เพ่ือให้ตอบสนองความต้องการของผู้เข้าอบรมได้รับ ประโยชน์นาไปใช้ได้จริงตามศักยภาพของแต่ละคน ให้มีความเข้าใจและมีคุณภาพต่อไป ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหีบ ได้ดาเนนิ การตามข้ันตอนและได้รวบรวมข้อมูล โดยใช้สภาพการ ใช้สื่อการสอนของครูในสถานศึกษาเป็นแบบมาตรวัดประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้ (บุญชม ศรสี ะอาด และบญุ ส่ง นลิ แกว้ ,2545) 5 หมายถงึ มกี ารดาเนินงานในระดบั มากทส่ี ดุ 4 หมายถึง มกี ารดาเนนิ งานในระดับมาก 3 หมายถึง มกี ารดาเนินงานในระดับปานกลาง 2 หมายถงึ มกี ารดาเนินงานในระดบั น้อย 1 หมายถึง มีการดาเนนิ งานในระดบั น้อยทีส่ ดุ โดยมีเกณฑก์ ารแปลความหมายคา่ เฉลย่ี (บญุ ชม ศรสี ะอาด,2556) ดังน้ี 4.50 – 5.00 หมายถึง มคี วามคิดเห็น/การดาเนินงานอยู่ในระดบั มากทีส่ ุด 3.50 – 4.49 หมายถงึ มีความคิดเหน็ /การดาเนินงานอย่ใู นระดบั มาก 2.50 – 3.49 หมายถงึ มีความคิดเห็น/การดาเนนิ งานอยู่ในระดับปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายถงึ มคี วามคิดเหน็ /การดาเนนิ งานอยใู่ นระดับน้อย 1.00 – 1.49 หมายถึง มคี วามคิดเหน็ /การดาเนนิ งานอยูใ่ นระดับนอ้ ยทส่ี ุด ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการจะต้องกรอกขอ้ มลู ตามแบบสอบถาม เพื่อนาไปใช้ในการประเมินผลของการจัดกิจกรรม ดังกล่าว และจะไดน้ าไปเป็นขอ้ มูล ปรบั ปรงุ และพัฒนา ตลอดจนใช้ในการจดั ทาแผนการดาเนินการในปตี ่อไป
บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ งานและการวิเคราะหข์ อ้ มูล ในการจดั โครงการเรยี นรดู้ ้านเพศวถิ ีศกึ ษา ณ กศน.ตาบลแสมสาร ตาบลแสมสาร อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ในวนั ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 น้นั ไดส้ รปุ ผลจากแบบสอบถามและนาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลจาก ผเู้ ข้ารว่ มอบรมโครงการ จานวน 21 ชดุ ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลส่วนตวั ผูต้ อบแบบถามของผู้เขา้ รว่ มโครงการเรียนร้ดู ้านเพศวถิ ศี ึกษา ณ กศน.ตาบลแสมสาร ตาบลแสมสาร อาเภอสัตหีบ จงั หวัดชลบุรี ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทีต่ อบแบบสอบถามไดน้ ามา จาแนกตามเพศ อายุ และอาชีพ ผู้จดั ทาไดน้ าเสนอจาแนกตามขอ้ มูลดงั กลา่ ว ดังปรากฏตามตารางท่ี 1 ดังตอ่ ไปน้ี ตารางที่ 1 แสดงค่ารอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามเพศ เพศ ชาย หญงิ ความคดิ เหน็ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมโครงการเรียนรู้ด้านเพศวถิ ศี กึ ษา 7 33.33 14 66.67 จากตารางที่ 1 แสดงว่า ผตู้ อบแบบสอบถามของผู้เข้ารว่ มโครงการเรียนรู้ดา้ นเพศวถิ ศี กึ ษาเปน็ ชาย 7 คน ร้อยละ 33.33 เป็นหญงิ 14 รอ้ ยละ 66.67 ตารางที่ 2 แสดงคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามอายุ อายุ 0-14 ปี 15 - 39 ปี 40-59 ปี 60 ปี ขน้ึ ไป ความคิดเหน็ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการเรียนรู้ 1 4.76 13 61.90 3 14.29 4 19.05 ดา้ นเพศวถิ ีศึกษา จากตารางที่ 2 แสดงวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามของผู้เข้ารว่ มผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมโครงการเรียนรูด้ ้านเพศวิถีศกึ ษา ในช่วงอายุ 15-39 ปี มีจานวนสูงสุด 13 คน คดิ เปน็ 61.91 เปอรเ์ ซ็นต์ ในชว่ งอายุ 60 ปขี นึ้ ไป มีจานวน 4 คน คิด เปน็ 19.05 เปอร์เซ็นต์ ในช่วงอายุ 40-59 ปี ไป มีจานวน 3 คน คดิ เปน็ 14.29 เปอร์เซ็นต์ และในช่วงอายุ 0-14 ปี มจี านวนตา่ สดุ 1 คน คิดเป็น 4.76 เปอรเ์ ซ็นต์ ตารางท่ี 3 แสดงค่าร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามอาชีพ ประเภท รบั จา้ ง ค้าขาย รับราชการ เกษตรกรรม อื่นๆ ความคดิ เหน็ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมโครงการ 3 14.29 7 33.33 - - 1 4.76 10 49.60 เรียนรูด้ า้ นเพศวถิ ศี ึกษา จากตารางท่ี 3 แสดงวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมโครงการเรียนรู้ด้านเพศวิถศี กึ ษา มีอาชพี อ่นื ๆ มากท่สี ุด จานวน 10 คน คิดเป็น 49.60 เปอร์เซน็ ต์ รองลงมาอาชีพค้าขาย จานวน 7 คน คดิ เปน็ 33.33 เปอรเ์ ซ็นต์ อาชีพรับจา้ ง จานวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 14.29 เปอรเ์ ซน็ ต์ และ เกษตรกรรม จานวนละ 1 คน คิดเป็น 4.76 เปอรเ์ ซน็ ต์ ตามลาดับ
ตอนที่ 2 ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ความคิดเหน็ ของผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการเรยี นรู้ดา้ นเพศวิถีศกึ ษา ความคิดเห็นของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม จานวน 21 คน จากแบบสอบถามท้ังหมดทมี่ ตี ่อโครงการเรยี นรดู้ า้ นเพศวิถศี กึ ษา ณ กศน.ตาบลแสมสาร ตาบลแสมสาร อาเภอสตั หีบ จังหวัดชลบรุ ี ดังปรากฏในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ผลการประเมนิ โครงการเรียนรดู้ ้านเพศวิถีศึกษา N = 21 รายการทปี่ ระเมนิ µ σ อนั ดับท่ี ระดบั ผลการ ด้านความพงึ พอใจด้านเนอ้ื หา ประเมิน 1. เนือ้ หาตรงตามความต้องการ 2. เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ 4.75 0.36 1 มากทส่ี ดุ 3. เนื้อหาปัจจุบนั ทันสมัย 4.7 0.64 2 มากท่สี ุด 4. เน้อื หามปี ระโยชน์ต่อการนาไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 4.65 0.65 3 มากที่สุด 4.5 0.87 5 มาก ด้านความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรม/การอบรม 5. การเตรียมความพร้อมกอ่ นอบรม 4.51 0.67 5 มากที่สุด 6. การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ 4.42 0.80 6 มาก 7. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 4.7 0.64 2 มากทสี่ ุด 8. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุม่ เปาู หมาย 4.62 0.57 3 มากที่สุด 9. วธิ ีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 4.5 0.74 5 มาก ดา้ นความพงึ พอใจตอ่ วิทยากร 4.32 0.73 8 มาก 10. วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองทถ่ี า่ ยทอด 4.21 0.83 9 มาก 11. วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้ส่ือเหมาะสม 4.55 0.66 4 มากที่สดุ 12. วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม 3.78 0.87 10 มาก ด้านความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก 13. สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก 4.37 0.86 7 มาก 14. การส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศเพอื่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้ 15. การบรกิ าร การชว่ ยเหลือและการแกป้ ญั หา 4.6 0.66 4 มากที่สุด คา่ เฉลยี่ 4.00 0.14 มาก จากตารางแสดงให้เห็นว่า ผูเ้ ข้ารว่ ม โครงการเรียนร้ดู ้านเพศวถิ ศี กึ ษา ดังนี้ จากตาราง 4 พบว่า โดยเฉลี่ยแล้วผู้เข้ารับการอบรมโครงการเรียนรู้ด้านเพศวิถีศึกษา ในภาพรวมอยู่ใน ระดับ มาก( µ = 4.00) เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่า เนื้อหาตรงตามความต้องการ (µ = 4.75) เป็นอันดับท่ี 1 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ ,การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา (µ = 4.70) เป็นอันดับท่ี 2 , เน้ือหาปัจจุบัน ทนั สมัย,การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเปูาหมาย,(µ = 4.62) เป็นอนั ดบั ที่ 3 , วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและ ซักถาม,การบริการ การช่วยเหลือและการแกป้ ญั หา (µ = 4.55) เปน็ อันดับที่ 4 , เนอ้ื หามปี ระโยชน์ต่อการนาไปใช้ใน
การพัฒนาคุณภาพชีวิต,การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม,วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์,(µ = 4.50) เป็นอันดับที่ 5 , การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ (µ = 4.42) เป็นอันดับท่ี 6 , การสื่อสาร การ สรา้ งบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ (µ = 4.37) เปน็ อนั ดับที่ 7 , วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองท่ีถ่ายทอด (µ = 4.32) เป็นอันดับท่ี 8 , วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้ส่ือเหมาะสม (µ = 4.21) เป็นอันดับที่ 9 และ สถานที่ วัสดุ อุปกรณแ์ ละสิง่ อานวยความสะดวก (µ = 3.79) เป็นอนั ดับท่ี 10
บทที่ 5 สรุป ผลการดาเนนิ การ การจัดทาโครงการเรยี นรูด้ ้านเพศวถิ ีศกึ ษา โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่อื ใหผ้ ู้เข้าร่วมอบรมมีความรดู้ า้ นเพศวถิ ีและ ทกั ษะชีวิต และผู้เขา้ ร่วมสามารถนาความรู้ด้านเพศวิถีไปปรับใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง และชุมชนได้ ซึ่งโครงการได้จัดขึน้ ใน ในวันที่ 28 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ กศน.ตาบลแสมสาร ตาบลแสมสาร อาเภอสัตหีบ จงั หวชั ลบุรี ตลอดระยะเวลาท่รี บั การอบรมโดยมีการซกั ถามพูดคยุ โตต้ อบกับวิทยากรอย่างสนใจ ในด้านตา่ ง ๆ คือ ด้านความพึงพอใจดา้ นเนอื้ หา - เน้ือหาตรงตามความต้องการ - เนอ้ื หาเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ - เนือ้ หาปจั จบุ ันทนั สมัย - เน้อื หามีประโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ดา้ นความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กจิ กรรม/การอบรม - การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นอบรม - การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ - การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา - การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เปูาหมาย - วิธกี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ ดา้ นความพงึ พอใจตอ่ วทิ ยากร - วิทยากรมีความร้คู วามสามารถในเรอ่ื งที่ถ่ายทอด - วิทยากรมเี ทคนิคการถ่ายทอดใช้สือ่ เหมาะสม - วิทยากรเปิดโอกาสใหม้ สี ่วนร่วมและซกั ถาม ด้านความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก - สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก - การสอื่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพอ่ื ใหเ้ กิดการเรียนรู้ - การบริการ การช่วยเหลอื และการแก้ปญั หา สรปุ ผลการดาเนินงาน โครงการเรยี นรดู้ า้ นเพศวถิ ีศึกษา ของศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ของ อาเภอสตั หีบมีผเู้ ข้าอบรม ทง้ั หมด 21 คน ได้รบั ความรู้ตรงตามวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการคือ 1. . ผูเ้ ข้าร่วมอบรมมีความรู้ดา้ นเพศวิถแี ละทกั ษะชีวติ 2. ผู้เข้ารว่ มสามารถนาความรดู้ ้านเพศวถิ ีไปปรับใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ต่อตนเอง และชุมชนได้ มีความพึงพอใจ อยู่ในระดบั มาก (µ =4.00)
อภปิ รายผล จากการจดั กจิ กรรมโครงการเรยี นรู้ด้านเพศวิถศี ึกษา ผเู้ ข้ารว่ มโครงการเรยี นรู้ด้านเพศวถิ ศี ึกษา ความพงึ พอใจน้ัน อยู่ในระดับมาก ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั เพศวถิ มี ากย่งิ ข้ึนมากขนึ้ จากการเข้าร่วมโครงการ สามารถนา ความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ต่อให้กับบุตรหลานและได้รู้ถึงความหลากหลายทางเพศ โรคจากเพศสัมพันธ์และวิธีการ ปูองกันอย่างถูกวิธี ซง่ึ ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจและเปิดรบั เรื่องเพศมากย่ิงขึ้น กล้าที่จะแนะนา และเข้าใจวิธีการปูอง การ การติดเช้ือจากการมีเพศสัมพุนธ์อย่างถูกต้อง และพร้อมท่ีจะสอนแนะนาบุตรหลาน ผู้ใกล้ชิดด และมีมุมมอง เรอื่ งเพศทต่ี า่ งจากเดิม ปัญหาและอปุ สรรคที่เกิดขนึ้ ระหว่างการดาเนนิ งาน - ขอ้ เสนอแนะ -
บรรณานกุ รม Health Center. 2017. “อาการโรคเอดส์”. https://www.youtube.com/watch?v=ALs4dAwg1rU. (2 มนี าคม 2563) GedGoodLife. 2019. ““มวั่ เซก็ ซ์ ตดิ กาม” เส่ียงเป็น โรคติดตอ่ ทางเพศสัมพันธ์ อะไรบา้ ง?”. http://wow.in.th/P34T. (2 มนี าคม 2563) จากวิกพิ เี ดีย สารานุกรมเสรี. 2018. “รสนิยมทางเพศ”. http://wow.in.th/OEK6. (2 มีนาคม 2563) จากวิกิพเี ดยี สารานกุ รมเสรี. 2019. “อัตลกั ษณ์ทางเพศ”. http://wow.in.th/eya7. (2 มนี าคม 2563) จากวิกิพีเดยี สารานกุ รมเสรี. 2014. “รักตา่ งเพศ”. http://wow.in.th/aY7N. (2 มีนาคม 2563) จากวกิ พิ ีเดีย สารานุกรมเสรี. 2019. “รกั ร่วมเพศ”. http://wow.in.th/4HbA. (2 มีนาคม 2563) จากวกิ พิ ีเดยี สารานกุ รมเสรี. 2019. “ไมฝ่ ักใจทางเพศ”. http://wow.in.th/HkmT. (2 มีนาคม 2563)
ภาพกิจกรรม โครงการเรยี นรูด้ ้านเพศวถิ ศี ึกษา วันท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ กศน.ตาบลแสมสาร ตาบลแสมสาร อาเภอสัตหบี จังหวัดชลบรุ ี ........................................ผู้รายงาน ( นางสาวทัตพิชา นนลอื ชา ) ตาแหนง่ ครู ศรช ตาบลแสมสาร
ที่ปรกึ ษา เล้ยี งสพุ งศ์ คณะผจู้ ัดทา นางสุรสั วดี ผอู้ านวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและ คณะทางาน การศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสตั หบี 1. นางสาวประวีณา ดาวมณี 2. นางสาวทัตพิชา นนลือชา หัวหนา้ กศน.ตาบลแสมสาร คณู ศรช.ตาบลแสมสาร เจา้ หนา้ ที่จัดพิมพ/์ ผู้เขยี น นางสาวทัตพชิ า นนลือชา คณู ศรช.ตาบลแสมสาร
บทสรุปผบู้ รหิ าร โครงการเรียนรู้ด้านเพศวถิ ีศกึ ษา จดั ขน้ึ ในคร้งั น้มี ีวัตถุประสงค์ ผู้เข้าร่วมอบรมมคี วามรดู้ า้ นเพศวิถี และทักษะชวี ติ และผเู้ ขา้ ร่วมสามารถนาความรู้ด้านเพศวิถไี ปปรบั ใช้ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อตนเอง และชมุ ชนได้ โดยมกี ลมุ่ เปูาหมายคอื ประชาชน และเยาวชน ท่ัวไปในพื้นที่ตาบลแสมสาร จานวน 20 คน โดยจะใช้กลุ่มเปูาหมาย ท้ังหมดในการคานวณโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปคอมพิวเตอร์ (โปรแกรมตารางคานวณ) เพ่ือสรุปผลการดาเนินงานใน ครงั้ น้ี วธิ ีการดาเนนิ งาน โดยการสารวจความตอ้ งการของประชาชนและนาผลจากการสารวจมาจัดทากจิ กรรม โครงการเรยี นรู้ดา้ นเพศวิถศี ึกษา ให้กบั ประชาชน และเยาวชนทั่วไปในพน้ื ที่ตาบลแสมสาร จานวน 21 คน ในวันที่ 28 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ กศน.ตาบลแสมสาร ตาบลแสมสาร อาเภอสตั หีบ จงั หวัดชลบรุ ี โดยมี นางเฉลมิ ชนม์ เพียรสมบตั ิ เป็นวทิ ยากร จดั การเรียนการสอนในครงั้ น้ี หลงั จากการจัดกจิ กรรมโครงการแล้วมี การแจกแจงแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ สาหรบั ผู้เขา้ ร่วมโครงการทงั้ หมด จานวน 21 ชุด แล้วนาข้อมลู ทีไ่ ด้มาคานวณ ทางสถิติ หาค่าร้อยละ คา่ เฉลยี่ การแจกแจงความถ่ี และคา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน ในการแปรผล ผลการดาเนนิ งาน จากการนาข้อมูลท่ีได้มาทาการคานวณหาค่าสถิติต่างๆ สรุปว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มี ความพึงพอใจอยู่ใน ระดบั มาก (µ =4.00)
Search
Read the Text Version
- 1 - 47
Pages: