แผนกเภสัชกรรมและอปุ กรณ์ ศนู ย์ศรีพัฒน์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 0
สารบัญ หน้า 4 เร่ือง 6 สรุปการเปลยี่ นแปลงและการเปลย่ี นแปลงท่คี าดว่าจะเกิดข้ึน 6 การทบทวนระบบยา 7 -----Selection and Procurement 7 ----------การจัดซอื้ จดั จ้างตามระบบ e-GP 8 ----------การคัดเลอื กยา 8 ----------การติดตามความเพยี งพอ/พร้อมใชข้ องยาและเวชภณั ฑ์ 10 ----------จานวนเดอื นสารองคลัง 13 -----Storage and Distribution 14 ----------มูลค่ายาหมดอายแุ ละการแลกเปล่ยี นลดหน้ี 14 ----- Prescribing 15 ----------Prescribing Error 16 -----Transcribing 16 ----------Transcribing Error 18 -----Preparing and Dispensing 19 ----------Pre-dispensing Error 20 ----------Dispensing Error 21 ----------Medication Refill Clinic 22 -----Administration 22 ----------Administration Error 27 ----- Monitoring 27 การดาเนนิ งานตาม 5 Pillars 29 -----Service 30 ----------Patient Satisfaction & Complaint 31 ----------Waiting time 32 ----------งานหอ้ งผลิต 32 -----People 33 ----------Turnover rate 33 -----Quality 34 ----------Medical Quality 35 ----------Patient Safety 35 -----Financial 36 ----------Increase Income 37 ----------Decrease Cost 39 -----Growth 42 การดาเนินงานชว่ งวกิ ฤต COVID-19 44 แผนการดาเนินงานในไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2563 ภาพกิจกรรม 1
ตารางท่ี สารบญั ตาราง หน้า 1 4 2 เรอื่ ง 6 3 สรุปการเปลยี่ นแปลงท่ีเกดิ ข้นึ และการเปลี่ยนแปลงทีค่ าดวา่ จะเกดิ ขนึ้ ในปี 2564 8 4 แสดงการประชมุ คณะกรรมการเภสชั กรรมและการบาบดั 8 5 แสดงจานวนการคัดเลอื กยาและเวชภัณฑโ์ ดยคณะกรรมการเภสชั กรรมและการบาบัด 8 6 แสดงจานวนอบุ ตั ิการณย์ าขาดคราว 9 7 แสดงจานวนเดือนสารองคลงั 11 8 แสดงการวิเคราะหส์ าเหตุ และแนวทางการแก้ปญั หาเรื่องยาขาด 20 9 ผลการดาเนินการด้านการจดั เกบ็ และการกระจายยา 20 10 แสดงรายละเอยี ดมลู ค่ายาหมดอายุ และมลู ค่าทสี่ ามารถแลกเปลยี่ น/ลดหน้ีได้ของแต่ละเดือน 22 11 แสดงผลการดาเนนิ งาน Medication Refill Clinic 25 12 แสดงรายงาน Administration Error 27 13 แสดงแนวทางการจัดการยาทม่ี คี วามเสยี่ งสงู และสารละลายอเิ ลก็ โทรไลตค์ วามเขม้ ข้นสูง 28 14 แสดงสถติ กิ ารใหบ้ รกิ ารหน่วยเภสชั กรรมผู้ป่วยนอก 28 15 แสดงสถิตกิ ารใหบ้ รกิ ารหนว่ ยเภสชั กรรมผู้ปว่ ยใน 28 16 แสดงสถติ กิ ารปฏบิ ตั งิ านของเภสัชกรบนหอผปู้ ว่ ย 29 17 แสดงรายงานประเมินความพงึ พอใจของผูร้ บั บรกิ ารจากเภสัชกรบนหอผู้ป่วยเดือนสิงหาคม 2563 29 18 แสดงรายงานประเมินความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ ารจากเภสชั กรบนหอผู้ปว่ ยเดือนกันยายน 2563 30 19 แสดงรายงานประเมินความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ ารแผนกเภสชั กรรมและอปุ กรณ์ 31 20 แสดงสถิติการให้บริการหนว่ ยคลงั เวชภัณฑ์ 32 21 แสดงสถิตกิ ารดาเนินงานห้องผลติ 32 22 แสดงจานวนพนักงานแผนกเภสัชกรรมและอุปกรณ์ 33 23 แสดง Turn Over rate แผนกเภสชั กรรมและอุปกรณ์ 34 24 แสดงผลการดาเนนิ งานส่วน Medical Quality 35 25 แสดงผลการดาเนนิ งานส่วน Patient Safety 36 26 แสดงมลู ค่าสว่ นแถมจากยาและเวชภณั ฑ์ท่ีตอ่ รองได้ 36 27 แสดงมลู ค่าจาหนา่ ยและกาไรจากการผลติ Avastin Pre-filled syringe 37 28 แสดงจานวนการปดิ บลิ ภายใน 30 วนั 38 29 แสดงงานประชุมวิชาการยาเข้าบญั ชใี หม่ 39 30 แสดงงานประชมุ วิชาการโดยหนว่ ยงานภายนอก 40 31 แสดงราคาทนุ เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ความปลอดภยั ที่จัดหาไดเ้ ทยี บกบั ราคาตลาด 42 แสดงคา่ ลว่ งเวลาแผนกเภสัชกรรมและอปุ กรณ์ แผนการดาเนินงานในปงี บประมาณ 2564 2
แผนภมู ิท่ี สารบญั แผนภูมิ หน้า 1 7 2 เรอ่ื ง 9 3 แสดงร้อยละสาเรจ็ การจดั ซอ้ื จัดจา้ งตามระบบ e-GP 12 4 แสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่างจานวนเดอื นสารองคลงั และจานวนยาขาดคลงั 14 5 แสดงมลู ค่ายาหมดอายุ และมลู ค่าทสี่ ามารถแลกเปล่ยี น/ลดหนีไ้ ด้ 16 6 แสดงรายงาน Prescribing Error 18 7 แสดงรายงาน Transcribing Error 19 8 แสดงรายงาน Pre-dispensing Error 20 9 แสดงรายงาน Dispensing Error 30 10 แสดงผลการดาเนนิ งาน Medication Refill Clinic 35 11 แสดงระยะเวลารอยา (Waiting Time) 36 12 แสดงมลู ค่าสว่ นแถมจากยาและเวชภณั ฑ์ที่ต่อรองได้ 37 13 แสดงมลู ค่าจาหน่ายและกาไรจากการผลติ Avastin Pre-filled syringe 40 แสดงร้อยละของบลิ ที่สามารถปดิ ได้ใน 30 วัน แสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งคา่ ลว่ งเวลาแผนกเภสัชกรรมฯและจานวนผ้ปู ่วยรับยา 3
สรุปการเปลี่ยนแปลงทเ่ี กิดขึ้นในปีงบประมาณ 2563 และการเปลยี่ นแปลงท่คี าดวา่ จะเกดิ ข้ึนในปี 2564 ปีงบประมาณ 2562 ปีงบประมาณ 2563 แผนพฒั นาปีงบประมาณ 2564 1. กระบวนการคัดเลอื กและจัดหายา สามารถดาเนินงานจดั ซื้อยาตาม พรบ. ดาเนนิ งานจดั ซ้ือยาตาม พรบ. จดั ซ้อื จัด ดาเนินงานจดั ซื้อยาตาม พรบ. จดั ซื้อจดั จัดซอ้ื จัดจา้ ง พ.ศ. 2560 ได้ 100% จ้าง พ.ศ. 2560 ได้ 100% ครอบคลุม จ้าง พ.ศ. 2560 ครอบคลุมยาและ ครอบคลมุ ยาและเวชภณั ฑ์ทัง้ หมดใน ยาและเวชภณั ฑ์ทั้งหมดในโรงพยาบาล เวชภัณฑส์ ว่ นใหญใ่ นโรงพยาบาล โรงพยาบาล ภายในไตรมาสที่ 2 ของปีงบประมาณ 2564 มกี ารประชุมยารว่ มกับสหสาขาวชิ าชีพ มกี ารประชมุ ร่วมกับสหสาขาวิชาชพี มีการประชมุ รว่ มกับสหสาขาวิชาชีพ อยา่ งสมา่ เสมอ ยาและเวชภณั ฑท์ ีผ่ า่ น อยา่ งสม่าเสมอ ยาและเวชภณั ฑผ์ า่ น อย่างสม่าเสมอ ยาและเวชภณั ฑ์ทใี่ ช้ใน ระบบคลงั เวชภัณฑต์ อ้ งผา่ นการ ระบบคลังเวชภณั ฑผ์ า่ นการเหน็ ชอบ โรงพยาบาลผ่านการเหน็ ชอบจากท่ี เห็นชอบจากท่ปี ระชุม จากท่ีประชุม 100% ประชมุ 100% มบี ัญชยี าศูนย์ศรีพัฒน์ มบี ัญชียาและเวชภณั ฑ์ แต่ยงั เขา้ ถึงได้ มีการจัดทาบญั ชยี าและบญั ชีเวชภณั ฑ์ ยาก ศูนยศ์ รพี ัฒนแ์ บบ online สามารถ เข้าถงึ ได้งา่ ย สะดวกรวดเรว็ มีการ ปรบั ปรงุ เป็นปัจจบุ นั อยูเ่ สมอ มกี าร พจิ ารณาตดั ออกยาหรือเวชภณั ฑท์ ไ่ี ม่มี การเคล่อื นไหว การกาหนด min-max ให้กับรายการยา - มีระบบกาหนด min-max ตามอัตรา พฒั นาระบบการสารองเลนส์แก้วตา ใหค้ รอบคลมุ พฒั นาระบบสั่งจองเลนส์ การใช้งาน เทียมท่มี มี ลู ค่าสงู ให้เกิดความคมุ้ ทุน และยาส่งั เฉพาะราย - ดาเนนิ การตามระบบส่งั จองยาหรอื ถูกตอ้ งตามระเบียบการจดั ซ้อื จดั จา้ ง เลนสแ์ ละปรบั ปรุงระบบใหเ้ หมาะสมกบั และทันเวลาตอ่ ความตอ้ งการของแพทย์ การใชง้ าน รว่ มกบั คลนิ กิ จักษุ (แผนกลยุทธแ์ ผนก เภสัชกรรมฯที่ 1 ปี 2564 Strategic Plan 3) 2. การจดั เกบ็ ยาและการกระจายยา มกี ารนาระบบบรหิ ารจดั การยาผปู้ ่วย จดั ทาระบบตรวจสอบคณุ ภาพยาอย่าง จดั ทาแนวทางการจัดการยาทจ่ี ดั จาก อัตโนมัติแบบครบวงจรเขา้ มาใช้มยี า สมา่ เสมอ ระบบอัตโนมัติ บางส่วนที่ตอ้ งแกะออกจากบรรจภุ ณั ฑ์ เดิมมาเพ่อื เก็บในสถานียา จัดทารายการยาทีม่ สี ารองบนหอผ้ปู ว่ ย ดาเนนิ การตรวจสอบให้สมา่ เสมอและ ทบทวนรายการยาสารองในหนว่ ยงาน และดาเนนิ การตรวจสอบยาทีส่ ารองอยู่ บนหอผ้ปู ว่ ยต่างๆ ผลกั ดันใหห้ อผ้ปู ่วยสามารถตรวจได้ด้วย ใหพ้ รอ้ มใช้แตไ่ มส่ น้ิ เปลือง และปรับให้ ตนเองอย่างเป็นทางการ สามารถตรวจสอบได้ผ่านระบบ สารสนเทศของโรงพยาบาล ผลักดันให้ มกี ารดแู ลยาตามหลกั FEFO เพ่ือลด มลู ค่าสูญเสียของยาสารองหมดอายุ 4
ปงี บประมาณ 2562 ปีงบประมาณ 2563 แผนพฒั นาปงี บประมาณ 2564 พบปญั หายาไมเ่ พยี งต่อระหวา่ งวนั มี พบปญั หายาไมเ่ พียงต่อระหวา่ งวนั มี พัฒนาระบบการเติมยาขน้ึ ห้องจ่ายตาม รายการยาตกหลน่ รายการยาตกหล่น minimum อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพรว่ มกับ แผนกสารสนเทศ (แผนกลยุทธ์แผนก เภสัชกรรมฯ ที่ 4 ปี 2564 Strategic Plan 8) 3. การสัง่ ใชย้ า ไมม่ กี ารเปล่ียนแปลง ปรบั ระบบการสงั่ จา่ ยยาแบบใหม่ กรณีเป็นยาเดมิ คนไข้สามารถสง่ั พมิ พ์ ท้งั หมดรว่ มกบั แผนกสารสนเทศและ รายการยาเดมิ และวิธีการใชย้ าให้ องคก์ รแพทย์ ออกมาพรอ้ มกนั ใน OPD clinical record ได้ 4. การถ่ายทอดคาส่งั ยา มีการกาหนดระเบยี บปฏบิ ตั ใิ นการรับ ระบบการส่ังยาใหมไ่ มต่ ้องมีการ พยาบาลหรือเจา้ หนา้ ทส่ี ามารถเปน็ ผู้ คาส่งั รว่ มกนั ทง้ั โรงพยาบาล ถ่ายทอดคาส่ังเพอื่ ไมใ่ ห้เกิดความ บันทึกยาในระบบใหแ้ พทย์ได้ คลาดเคล่อื นจากการถ่ายทอดคาสง่ั มีการกาหนดระเบียบปฏบิ ัตกิ ารจา่ ยยา 5. การเตรยี มยาและจา่ ยยา ทงั้ หนว่ ยเภสัชกรรมผปู้ ว่ ยนอกและ บริการห้องจา่ ยยานอกตกึ ใหม่ มีการ เภสชั กรเป็นผตู้ รวจสอบรายการยาและ ผ้ปู ่วยใน แยกการปฏบิ ตั ิงานระหวา่ งหน่วยผู้ปว่ ย ส่ังพมิ พใ์ บจัด ดาเนินการจัดยาโดย ในและผ้ปู ว่ ยนอก ผ้ชู ่วยห้องยารว่ มกับการใช้ระบบบรหิ าร จดั การยาผู้ป่วยอตั โนมตั ิแบบครบวงจร ปรบั ระบบยาผปู้ ว่ ยในรว่ มกับฝา่ ยการ และมเี ภสัชกรตรวจสอบความถกู ตอ้ ง พยาบาล กอ่ นจ่ายยา 2 ตาแหน่ง 6. การบรหิ ารยา มีการกาหนดนโยบายการบรหิ ารยาเปน็ กาหนดระเบยี บปฏิบตั ิการบรหิ ารยา พยาบาลเป็นผบู้ รหิ ารยาตามคาส่งั แพทย์ตามมาตรฐานวชิ าชีพ แนวทางร่วมกนั ปรับการบริหารยาใหเ้ ปน็ รปู แบบ เดียวกันท้งั โรงพยาบาลตามมาตรฐาน 7. การตดิ ตามการใช้ยา พัฒนาระบบบันทึกอาการไม่พงึ ประสงค์ ปรบั ปรุงวธิ ีการเกบ็ รวบรวมรายงาน เพม่ิ การรายงานอาการไมพ่ ึงประสงค์ การตดิ ตามอาการไม่พึงประสงค์จากยา จากการใช้ยา อาการไม่พึงประสงค์ เขา้ บญั ชใี หม่ รวบรวมรายงานสง่ ศนู ย์ เฝา้ ระวงั ความปลอดภยั ด้านผลติ ภณั ฑ์ สุขภาพ 5
การทบทวนระบบยา ระบบยาศนู ยศ์ รีพฒั นฯ์ มคี ณะผ้ดู ูแลรบั ผดิ ชอบหลกั คือ คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบาบัด ซึ่งประกอบไปด้วย ผู้อานวยการศูนย์ศรีพัฒน์ฯเป็นประธาน หัวหน้าแผนกเภสัชกรรมและอุปกรณ์เป็นเลขานุการและคณะกรรมการอ่ืนที่ ประกอบด้วยสหสาขาวิชาชีพที่เกยี่ วข้อง โดยแบง่ ขัน้ ตอนของระบบยาเปน็ ดังน้ี 1. กระบวนการคดั เลือกและจดั หายา (Selection and Procurement) 2. การจดั เกบ็ ยาและการกระจายยา (Storage and Distribution) 3. การสง่ั ใชย้ า (Prescribing) 4. การถ่ายทอดคาส่งั ยา (Transcribing) 5. การเตรียมยาและการจา่ ยยา (Preparing and Dispensing) 6. การบรหิ ารยา (Administration) 7. การติดตามการใชย้ า (Monitoring) ระบบยาศนู ย์ศรีพฒั นฯ์ มีคณะผดู้ ูแลรับผิดชอบหลกั คือ คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบาบดั มกี ารจัดการ ประชุม ดังน้ี ตารางท่ี 2 แสดงการประชมุ คณะกรรมการเภสชั กรรมและการบาบดั คร้งั ที่ 12345 6 7 8 9 10 วนั ที่ 25/11/62 27/1/63 24/2/63 16/3/63 27/4/63 25/5/63 29/6/63 20/7/63 24/8/63 28/9/63 9 / 21 17 / 23 15 / 20 12 / 21 13 / 20 14 / 20 15 / 20 จานวนผู้เข้ารว่ มประชมุ 15/20 16/20 17/23 (จานวนมา/จานวนเชิญ) 42.86 73.91 75 57.14 65 70 75 ร้อยละของผ้เู ข้ารว่ ม 75 76.19 73.91 ประชุม กระบวนการคดั เลือกและจดั หายา (Selection and Procurement) กระบวนการคดั เลือกและจัดหายามีหนว่ ยคลังยาและเวชภัณฑ์เป็นผรู้ ับผดิ ชอบหลัก โดยดาเนินการ ตามพระราชบญั ญัตจิ ดั ซื้อจัดจ้างปี พ.ศ. 2560 โดยมีปงี บประมาณ 2563 น้ีไดม้ ีการจัดซื้อให้เป็นไปตาม พระราชบัญญตั ิดังกล่าวสาเร็จ 100% ท้งั ในสว่ นของยาและเวชภัณฑ์ 6
้รอยละแผนภูมทิ ี่ 1 แสดงร้อยละสาเร็จการจดั ซ้อื จัดจ้างตามระบบ e-GP ร้อยละสาเรจ็ การจัดซอื้ จดั จา้ งตามระบบ e-GP 120 100 80 60 40 20 0 ม.ค.-63 ก.พ.-63 มี.ค.-63 เม.ย.-63 พ.ค.-63 มิ.ย.-63 ก.ค.-63 ส.ค.-63 ก.ย.-63 เวชภัณฑ์ 84.55 93.96 97.17 100 100 100 100 100 100 ยา 10.55 20.83 49.78 66.44 75.36 86.62 95.65 97.25 100 รวม 47.55 57.39 73.22 83.22 87.68 93.31 97.82 98.63 100 การพิจารณายาเข้าบัญชยี า เกณฑ์การคัดเลือกพิจารณาจากข้อมูลยาที่มีเอกสารอ้างอิง ซึ่งประกอบด้วย ข้อบ่งชี้ที่มีประสิทธิผล ข้อมูลความปลอดภัย ราคา รวมถึงโอกาสที่จะเกิดความคลาดเคล่ือน (เช่น ยาท่ีมีช่ือพ้อง มองคล้าย : LASA) และเปรียบเทียบกบั ยาในกล่มุ เดียวกนั หรือยาท่มี ีข้อบ่งใช้เดยี วกนั ท่ีมอี ยู่ในโรงพยาบาล (ถ้าม)ี การพจิ ารณาตดั ยาออกจากบัญชยี า เป็นยาที่ไม่มีการสั่งใช้หรือมีอัตราการใช้น้อยติดต่อกันมากกว่า 6 เดือนและไม่มีข้อบ่งใช้ท่ีจาเป็น ต่อการรกั ษาผู้ปว่ ยของศนู ย์ศรีพัฒน์ฯ หรือมียาอื่นในบัญชียาที่สามารถทดแทนได้ ท้ังนี้ต้องไม่เป็น ยาในบัญชียาชว่ ยชีวิต (Emergency drug list) มรี ายงานความเส่ยี งหรอื ความไม่ปลอดภัยในการใชห้ รอื มีรายงานอาการไม่พึงประสงค์ทสี่ าคัญ มกี ารถอนทะเบยี นยกเลกิ การผลิตหรอื ยกเลิกการจาหน่าย มคี วามซา้ ซ้อนของยาในกลมุ่ เดียวกนั โดยไม่มีความจาเปน็ เกนิ ราคากลางไมส่ ามารถจัดซือ้ ได้ 7
จากกระบวนการดังกลา่ วในปีงบประมาณ 2563 มีรายการยาเสนอเขา้ พิจารณาจานวน 62 รายการ ผ่านการพิจารณาเข้าใหม่ท้ังสิ้น 46 รายการ และมรี ายการเวชภณั ฑเ์ สนอเข้าพจิ ารณาจานวน 38 รายการ ผ่านการพจิ ารณาเข้าใหมท่ ง้ั สิ้น 36 รายการ ตารางท่ี 3 แสดงจานวนการคัดเลือกยาและเวชภณั ฑ์โดยคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบาบัด ครั้งท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 วนั ท่ี 25/11/62 27/1/63 24/2/63 16/3/63 27/4/63 25/5/63 29/6/63 20/7/63 24/8/63 28/9/63 รายการยาเสนอเขา้ 9 4 4 10 2 3 13 4 13 - 7 3 4 7 1 2 8 4 10 - ยาผ่านการพิจารณา 3 3 9 0 2 2 7 4 8 - รายการเวชภัณฑ์ เสนอเข้า 2 3 9 0 2 2 7 4 7 - เวชภณั ฑผ์ ่านการ พจิ ารณา การตดิ ตามความเพยี งพอ/พร้อมใช้ของยา กรณีที่ยาขาดคลัง (Out of stock) บริษัทผู้ผลิตยกเลิกการผลิต / จาหน่าย / มีปัญหาทางการผลิต- จาหน่าย / ยาถกู แขวนทะเบียนตารับ (Suspended) ฯลฯ ซึ่งส่งผลให้ไม่มียาใช้ฝ่ายที่รับผิดชอบในการจัดซื้อ- จดั หายาดังกลา่ วและเภสชั กรศนู ย์บริการขอ้ มูลขา่ วสารด้านยาตอ้ งสือ่ สารให้แพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์ (ท่เี ก่ียวข้อง) ไดร้ ับทราบผา่ นทางระบบ intranet ของโรงพยาบาลรวมถึงเสนอ/จัดหายาจากแหล่งอื่นทดแทน หรือเสนอยาท่ีสามารถใช้ทดแทนได้ (Therapeutic substitution) นาเสนอต่อแพทย์ผู้เกี่ยวข้องและ/หรือ คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบาบัด เพื่อพิจารณาอนุมัติโดยหน่วยงานคลังและจัดซื้อดาเนินการจัดซื้อ จัดหามาทดแทนเจา้ หน้าทค่ี ลงั ยาจะดาเนนิ การกาหนดปริมาณการสัง่ ซือ้ จากอัตราการใชย้ าและส่งให้เจ้าหน้าที่ จดั ซ้ือยาดาเนินการสง่ั ซอ้ื โดยตรวจสอบความเหมาะสมจากเภสัชกรให้เพยี งพอตอ่ การสัง่ จา่ ยยา ในปีงบประมาณ 2563 ทีผ่านมาแผนกคลังยาและเวชภัณฑ์ ศูนย์ศรีพัฒน์ฯ มีรายการยาขาด รวม ท้ังสนิ้ 149 รายการ ตารางท่ี 4 แสดงจานวนอบุ ตั กิ ารณ์ยาขาดคราว เดอื น ต.ค.62 พ.ย.62 ธ.ค.62 ม.ค.63 ก.พ.63 ม.ี ค.63 เม.ย.63 พ.ค.63 มิ.ย.63 ก.ค.63 ส.ค.63 ก.ย.63 อาคารศรพี ัฒน์ 19 16 12 16 7 9 3 7 15 14 17 6 ศนู ย์ GI 0 0 020 2 0 1 1 0 0 2 รวม 19 16 12 18 7 11 3 8 16 14 17 8 ตารางที่ 5 แสดงจานวนเดอื นสารองคลงั (goal 1.5) เดอื น ต.ค.62 พ.ย.62 ธ.ค.62 ม.ค.63 ก.พ.63 ม.ี ค.63 เม.ย.63 พ.ค.63 ม.ิ ย.63 ก.ค.63 ส.ค.63 ก.ย.63 จานวนเดอื นสารองคลงั 1.4 1.51 1.54 1.42 1.83 1.67 2.71* 2.07 1.7 1.83 1.62 2.4 *เดือนเมษายนเรม่ิ สตอ็ กยาและเวชภณั ฑส์ าหรบั รองรบั การระบาดของ COVID-19 8
แผนภูมิที่ 2 แสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งจานวนเดือนสารองคลังและจานวนยาขาดคลัง 20 18 2.71 3 19 16 17 2.4 2.5 18 16 16 14 2.07 14 2 1.7 1.5 12 12 1.83 11.67 1.83 จานวนยาขาด 8 1.62 10 1.4 1.51 1.54 1.42 จานวนเดอื น สารองคงคลัง 8 8 7 1 6 4 3 0.5 2 00 จากกราฟสามารถเห็นไดว้ า่ จานวนรายการยาขาดนน้ั มีแนวโนม้ ทจี่ ะต่าลงเมื่อจานวนเดือนสารองคลัง เพมิ่ ข้ึน สามารถวเิ คราะหส์ าเหตุ และแนวทางการแกป้ ัญหาเร่ืองยาขาด ไดด้ ังน้ี ตารางที่ 6 แสดงการวิเคราะหส์ าเหตุ และแนวทางการแก้ปัญหาเร่ืองยาขาด ปญั หาท่ีพบ วิเคราะห์สาเหตุ แนวทางการแก้ไขปญั หา เปน็ การสั่งใชจ้ านวนมากกะทันหัน ทา - ออกใบคา้ งจา่ ยใหก้ บั ผปู้ ว่ ยและทาการส่ังซ้ือยา ยาทไ่ี ม่มอี ตั ราการใช้ ใหไ้ มส่ ามารถประมาณการใช้ยาได้ - สอบถามแพทยเ์ พ่ือยนื ยันว่าจะสงั่ ใช้ต่อเน่ือง อย่างต่อเนือ่ งแต่ออก หรอื ไม่ เพ่อื เตรียมยาไวเ้ พม่ิ เติม ปริมาณมากในคราว - ขาดการ First-In-First-Out แบบ เดยี ว สมบรู ณ์ - สรา้ งมาตรการท่จี ะทาใหผ้ ู้รับผิดชอบยา - การตรวจสอบอายุของยาในแตล่ ะ ตระหนกั ถึงความรบั ผิดชอบ ปรับให้เป็นตัวชีว้ ดั ยาหมดอายุก่อนวันนดั ครงั้ ไม่ครบร้อยละ 100 ส่วนบคุ คล ของคนไข้ - กระบวนการจดั การยาใกล้หมดอายุ - กาหนดนโยบายใหส้ อดคล้องตามมาตรฐาน JCI ไม่มแี บบแผนท่ชี ัดเจน (ยาท่ีมีอายนุ ้อยกว่า 6 เดอื น ควรมีการกาหนด พนื้ ทีแ่ ยกเก็บชัดเจนท่ีคลงั และเวชภัณฑ์ และไม่มี การนากลบั ข้ึนมาที่ OPD อีก) - กรณที น่ี ัดของคนไขน้ าน สอบถามความสมัคร ใจในการรบั ยา เช่น เป็นใบค้างจ่ายหรอื ชาระเงนิ ไว้ล่วงหนา้ แลว้ สง่ ทางไปรษณีย์ 9
ปัญหาท่ีพบ วิเคราะหส์ าเหตุ แนวทางการแกไ้ ขปญั หา ไม่ไดส้ ่ังยาหรอื ไม่ สามารถสั่งซื้อได้ - มีความไม่สอดคล้องกันระหวา่ งความ กาหนดแผนการจัดซ้ือจดั จา้ งให้ชดั เจนมากข้นึ ยาส่ังเฉพาะรายไมไ่ ด้ ตอ้ งการดา้ นการลดมลู ค่าคงคลังและ สองคล้องกับสถานการณ์จริง และดาเนนิ การตาม ส่ังจอง ยายกเลิกผลิตไม่มยี า อตั ราการใช้ยาจริง พรบ. จดั ซือ้ จดั จ้าง อยา่ งต่อเนอ่ื ง เดยี วกันทดแทน - การดาเนินการตาม พรบ. จัดซือ้ จัด ปญั หาขาดแคลน เนือ่ งจากโรคระบาด จ้าง ใชร้ ะยะเวลานาน ลา่ ช้าเนือ่ งจาก จากไมเ่ คยปฏบิ ัติมาก่อน - การอนมุ ัติส่ังซื้อยาลา่ ช้า หลาย ขั้นตอน แพทยแ์ ละพยาบาลไม่ทราบรายการยา ดาเนินการจัดทาระบบส่ังจองยาและแจ้งรายการ ทต่ี อ้ งมกี ารสง่ั จองลว่ งหน้า ยาเฉพาะราย บริษทั ยกเลิกผลิตยาหรอื นาเข้ายา - กรณที ราบลว่ งหน้าจะแจ้งผ่านทางระบบ สารสนเทศของโรงพยาบาล - กรณีกะทันหัน ปรึกษาแพทย์เพื่อเปลย่ี นยา ให้แก่ผู้ปว่ ย ชว่ งสถานการณ์Covid-19 ทาใหเ้ กิด เจรจาตอ่ รองบริษทั เพ่ือขอให้ทยอยจดั ส่งสนิ ค้า การขาดแคลนวัตถดุ ิบท้ังยาและ จากัดการจ่ายบางรายการเพ่ือกระจ่ายยาให้ เวชภณั ฑ์ สง่ ผลให้เกดิ ปญั หายาขาด ผปู้ ว่ ยได้รับอย่างทั่วถึง โดยการใชร้ ะบบ MRC ใน การทยอย Refill ยา การจดั เก็บยาและการกระจายยา (Storage and Distribution) 1. สถานท่ีท่ีมีการเก็บสารองยาต้องเหมาะสมกับยาแต่ละชนิด โดยมีการควบคุมดูแลสภาวะให้เหมาะสมได้ มาตรฐานโดยมีการตรวจสอบสถานทจี่ ัดเกบ็ ยาและวนั หมดอายขุ องยาอย่างน้อยปีละ 2 ครง้ั 2. การจดั วางยาควรจัดวางไวบ้ นชัน้ ไมว่ างกับพืน้ โดยตรง 3. ภายในพ้ืนที่ของคลังยาและห้องจ่ายยาจะจัดเก็บยาแยกเป็นสัดส่วนตามชนิดรูปแบบยาเตรียมได้แก่ ยา เมด็ ยานา้ และ ยาฉดี เปน็ ต้น โดยเรยี งตามตัวอกั ษร หรอื การออกฤทธ์เิ พอ่ื ใหง้ า่ ยต่อการหายา 4. การจัดเกบ็ ยาทีเ่ บิกมาจากคลงั เวชภณั ฑ์มีการเรยี งลาดับการจัดเกบ็ แบบ First In - First Out 5. ต้หู รือลน้ิ ชกั ท่จี ดั เกบ็ ยา ควรมีการตดิ ชือ่ ยาไวท้ ห่ี นา้ ตู้หรือหน้าลิ้นชกั ใหช้ ดั เจน 6. ยาทมี่ ีภาชนะบรรจุคล้ายกัน หรือ มีหลายความแรง ไม่ควรจัดวางไว้ในสถานที่ท่ีใกล้กันเพื่อป้องกันความ เส่ียงของการหยิบยาผิด หรือการคืนยาผิดช่อง และมีการติดสติ๊กเกอร์ “ระวังหยิบผิด” เพ่ือให้เป็นจุด สังเกตแก่ผจู้ ัดยา 7. ยาที่มีการแบ่งบรรจุล่วงหน้า (pre-pack) หรือยาท่ีมีการเปลี่ยนแปลงภาชนะบรรจุเดิมของบริษัท จะมี อายุการใชง้ านส้ันลงเหลือเพียง 1 ปี หรือสนั้ กว่าตามท่รี ะบบุ นบรรจุภณั ฑ์ 8. ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 2 และวัตถุออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาทประเภทท่ี 2 และยาที่มีความเส่ียงสูง ต้องแยกเก็บจากยาทั่วไป โดยอาศัยระบบบริหารจัดการยาความเส่ียงสูงแบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือจัดให้มี กญุ แจลอ็ ค 2 ชัน้ สาหรับการจดั เกบ็ ทห่ี นว่ ยงาน 9. ยาเคมีบาบัดที่เป็นพิษต่อเซลล์จัดเก็บที่คลังยา ห้องจ่ายยาชั้น 1 และห้องเตรียมยาเคมีบาบัดเท่าน้ัน ไม่ อนุญาตให้มีสารองบนหอผู้ป่วยยกเว้นกรณีทเี่ ปน็ ยาทีส่ ง่ ผสมแลว้ ใช้กบั ผูป้ ว่ ยเฉพาะราย 10
10. ยาสารองบนหอผู้ป่วยให้เปน็ ไปตามความต้องการใชง้ าน 11. ตู้เยน็ ทเี่ ก็บยาควรมีอณุ หภมู ิอยใู่ นชว่ ง 2-8 องศาเซลเซยี ส 12. การตรวจสอบอุณหภูมิตู้เย็นต้องใช้เทอร์โมมิเตอร์มาตรฐานสาหรับบันทึกอุณหภูมิ ท่ีสูงสุดและต่าสุดใน รอบวันได้การตรวจสอบอุณหภูมิตู้เย็นในหอผู้ป่วย ต้องมีการบันทึกอุณหภูมิอย่างน้อยวันละ 1-3 คร้ัง โดยใช้แบบฟอร์มบันทึกอุณหภูมิที่กาหนดให้ หากอุณหภูมิไม่อยู่ในช่วง 2-8 องศาเซลเซียส ให้ปรับปุ่ม ควบคุมอุณหภูมิตู้เย็น แล้วทาการติดตามอุณหภูมิตู้เย็นอย่างใกล้ชิดอีกครั้ง หากไม่สามารถปรับให้ อุณหภูมิอยู่ในช่วงท่ีกาหนดได้ภายใน 24 ชั่วโมง ควรรีบตรวจสอบหาสาเหตุและเปล่ียนที่เก็บยาให้ เหมาะสมทันที 13. การจัดเก็บยาที่ต้องระมัดระวังสูงให้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยแยกเก็บจากยาอ่ืน มีป้ายบ่งช้ีชัดเจนเป็น รูปแบบเดียวกนั ทง้ั โรงพยาบาล ตวั ชวี้ ัด - ไมม่ ยี าที่มอี ายนุ ้อยกว่า 6 เดอื นสารองอยู่บนหอ้ งจา่ ยยาและบนหอผ้ปู ่วย - รายการยาทจี่ ดั เกบ็ บนหอผู้ปว่ ยตรงกับรายการยาสารองหอผ้ปู ว่ ยทีม่ ีรอ้ ยละ 100 ตารางที่ 7 ผลการดาเนินการด้านการจัดเกบ็ และการกระจายยา ตวั ช้ีวัด ผลการดาเนนิ การ ไม่มยี าท่ีมีอายุน้อยกว่า 6 เดือนสารองอยู่บนห้องจ่าย ที่จุดตรวจสอบก่อนการจ่ายยายังพบว่ามียาที่มีอายุ ยา น้อยกว่า 6 เดือน แต่จาเป็นต้องจ่ายกับผู้ป่วย เนื่องจากไม่มีรุ่นการผลติ อื่นในโรงพยาบาล ไมม่ ียาทมี่ อี ายุนอ้ ยกว่า 6 เดอื นสารองอย่บู นหอผปู้ ่วย จากการตรวจสอบยาที่จัดเก็บบนหอผู้ป่วยพบว่ามียา ท่ีมีอายุน้อยกว่า 6 เดือน ซึ่งจะแจ้งให้ทางหน่วยงาน ทาการแลกเปล่ียนกับทางแผนกเภสัชกรรมโดยแนว ทางการแลกเปล่ียนให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติการ แลกเปลยี่ นยา floor stock (SOP-RX-011-R-00) รายการยาท่ีจัดเก็บบนหอผู้ป่วยตรงกับรายการยา จากการตรวจสอบพบว่าบนหอผู้ป่วยมีการจดั เกบ็ สารองหอผปู้ ่วยท่มี รี อ้ ยละ 100 ยาท่เี กนิ กวา่ ที่มีในรายการยาสารองหอผู้ป่วย เภสัชกร ท่ีเป็นผู้ตรวจสอบได้นาลงมาไว้ที่ห้องจ่ายยาเพ่ือรอ ดาเนินการ แต่ไม่สามารถหาดาเนินการใดๆ ต่อได้ เนื่องจากต้องรอนิติกรตีความในด้านกฎหมายกรณีท่ี จะนายามาใช้ต่อ ในปีงบประมาณ 2563 นี้ ทางแผนกเภสัชกรรมและอุปกรณ์ได้มีการดาเนินการตรวจสอบสถานท่ีเก็บ ยา ปัญหาท่ีพบในส่วนของแผนกเภสัชกรรมคือยังมียาที่มีอายุน้อยกว่า 6 เดือน แต่จาเป็นต้องจ่ายกับผู้ป่วย เนื่องจากไมม่ รี ุ่นการผลติ อืน่ ในโรงพยาบาล หรือพบยาทีห่ มดอายุอยู่บนชั้นจัดเก็บยา แสดงถึงการตรวจสอบวัน หมดอายุที่ไม่ท่ัวถึง และขาดการแจ้งเตือนกรณีท่ีมียาใกล้หมดอายุ ถึงแม้ว่าจะมีการนายาที่ใกล้หมดอายุแล้ว นาลงไปแลกเปลี่ยนท่ีคลัง แต่ยังพบการนากลับมาใช้ เน่ืองจากยังไม่มียารุ่นการผลิตใหม่เข้ามาหรือมีความ จาเป็นต้องใชเ้ รง่ ดว่ น ทาให้มีความเส่ียงต่อการเกดิ ขอ้ ผิดพลาด 11
จากปัญหาท่ีเกิดขึ้นจึงควรมีการกาหนดแนวทางการจัดการเกี่ยวกับยาใกล้หมดอายุให้ชัดเจนมากข้ึน และประกาศให้ทราบโดยท่ัวกันรวมถึงสร้างความตระหนักให้แก่เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบยา ตรวจสอบวัน หมดอายอุ ย่างสมา่ เสมอก่อนจดั วางยาขึน้ ชั้นและจดั เรียงแบบ First-expired First-out การจัดเก็บยาสารองบนหอผู้ป่วย แต่เดิมรายการยาที่มีสารองอยู่บนหอผู้ป่วยให้เป็นไปตามความ ตอ้ งการของหอผปู้ ว่ ยแต่ละแหง่ และไม่มีการตรวจสอบสถานท่เี กบ็ ยาจากทางแผนกเภสัชกรรมและอุปกรณ์ ใน ปีงบประมาณ 2563 จึงมีการจัดทารายการยาสารองหอผู้ป่วยอย่างเป็นทางการ รวมถึงเร่ิมมีการตรวจสอบ สถานท่ีเก็บยา แต่ยังพบว่ายังคงมียาสารองหอผู้ป่วยท่ีหมดอายุอยู่ จึงวางแผนให้มีการทบทวนรายการยา สารองหอผู้ป่วยใหเ้ ปน็ ไปเท่าท่จี าเปน็ เพือ่ ลดการสญู เสีย สาหรับยาหรือเวชภัณฑ์ท่ีหมดอายุหรือเสื่อมสภาพ จะทาการส่งคืนมายังคลังเวชภัณฑ์เพ่ือติดต่อ แลกเปล่ียนกบั บรษิ ัทผ้ผู ลิต ซึง่ โดยทั่วไปจะสามารถแลกเปล่ียนได้หากทาการแจ้งความประสงค์จะแลกเปล่ียน หรือทาการลดหนี้ก่อนสินค้าจะหมดอายุอย่างน้อย 6 เดือน แต่ก็มีบางกรณีที่ไม่สามารถทาการแลกเปลี่ยนลด หน้ีได้ เช่น สินค้านั้นเคยทาการแลกเปลี่ยนมาแล้วคร้ังหนึ่ง (หมดอายุ ทาการแลกเปล่ียนแล้วหมดอายุอีก) หรอื เป็นสินค้าทร่ี ับมาจากแหล่งกระจายยาทไี่ ม่สามารถแลกเปล่ียนลดหนี้ได้ ในปีงบประมาณ 2563 แผนกเภสัชกรรมฯ ตรวจพบยาใกล้หมดอาย/ุ ยาหมดอายุ มีมูลคา่ รวมทั้งหมด 3,108,038.41 บาท รวมมูลคา่ ยาแลกเปล่ียน/ลดหน้ไี ด้ 2,744,547.03 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 79.85 แผนภมู ิที่ 3 แสดงมูลคา่ ยาหมดอายุ และมูลคา่ ที่สามารถแลกเปล่ยี น/ลดหน้ีได้ 600,000.00 มลู ค่าหมดอายแุ ลกไมไ่ ด้ 500,000.00 รวมแลกเปลีย่ น/ลดหน้ไี ด้ 400,000.00 300,000.00 200,000.00 100,000.00 0.00 ธ.ค.-62 ม.ค.-63 ก.พ.-63 มี.ค.-63 เม.ย.-63 พ.ค.-63 มิ.ย.-63 ก.ค.-63 ส.ค.-63 ก.ย.-63 12
ตารางที่ 8 แสดงรายละเอียดมูลค่ายาหมดอายุ และมลู ค่าที่สามารถแลกเปลยี่ น/ลดหน เดอื น ต.ค.-19 พ.ย.-19 ธ.ค.-19 ม.ค.-20 ก.พ.-20 มี.ค.-20 มลู คา่ ยา 275,623.48 159,604.91 240,741.42 285,854.98 533,430.55 355,501.69 หมดอายุทงั้ หมด มลู ค่ายา 200,789.19 7,836.91 208,117.40 248,711.58 386,724.36 43,511.57 แลกเปลย่ี น มูลคา่ ยาสง่ ลด 23,459.96 75,405.15 13,708.57 9,452.60 113,494.00 298,196.40 หนี้ รวมมลู คา่ ยา แลกเปลยี่ น/ลด 224,249.15 83,241.96 221,825.97 258,164.18 500,218.36 341,707.97 หน้ไี ด้ มูลค่ายา หมดอายแุ ลก 51,374.33 76,362.95 18,915.45 27,690.80 33,212.19 13,793.72 ไมไ่ ด้ รอ้ ยละที่ สามารถ 81.36 52.16* 92.14 90.31 93.77 96.12 แลกเปลีย่ นลด หนี้ได้ *ยาเคมีบาบดั Anzatax 300 mg มูลค่าสูงหมดอายุ ไมส่ ามารถแลกเปลี่ยนไดเ้ นื่องจากเป็น lot ที่ม
น้ไี ดข้ องแตล่ ะเดือน เม.ย.-20 พ.ค.-20 มิ.ย.-20 ก.ค.-20 ส.ค.-20 ก.ย.-20 รวม 85,291.90 66,972.75 464,903.02 233,375.25 219,363.37 187,375.09 3,108,038.41 67,861.61 39,737.02 406,733.80 187,486.80 156,993.27 139,517.83 2,094,021.34 7,041.63 345.68 25,377.52 32,277.23 50,907.05 860.00 650,525.79 74,903.24 40,082.70 432,111.32 219,764.03 207,900.32 140,377.83 2,744,547.03 10,388.66 26,890.05 32,791.70 13,611.22 11,463.05 46,997.26 363,491.38 87.82 59.85 92.95 94.17 94.77 74.92 79.85 มาจากการแลกเปลีย่ น (เคยหมดอายุ แลกเปลยี่ นมา แล้วหมดอายุอีก) 13
การสัง่ ใชย้ า (Prescribing) 1. แพทยส์ ง่ั ยาโดยบนั ทึกคาสง่ั ลงใน OPD clinical record หรอื Doctor order sheet ยกเว้นกรณฉี ุกเฉินหรืออยู่ ระหวา่ งทาหัตถการ แพทย์สามารถส่งั ยาทางวาจา และบันทกึ คาสง่ั ภายหลงั 2. องค์ประกอบของคาสั่งใช้ยา ประกอบด้วย ชื่อยา ความแรง วิธีการบริหารยา ความถ่ีในการบริหารยา และ จานวน 3. การส่ังยา prn แพทย์ต้องระบุความถ่ีในการให้ยา และเงื่อนไขการบริหารยาอย่างชัดเจน เช่น Paracetamol 500 mg 1 tablet q 6 hr prn for pain score > 3 หรือ Paracetamol 500 mg 1 tab oral q 6 hr prn for fever > 37.8 °C เป็นต้น ไม่อนุญาตให้เขยี นความถี่ของการบริหารยาเปน็ ชว่ งเวลา 4. ในกรณแี พทย์เขยี นคาส่ังการรักษาไม่สมบูรณ์ พยาบาลหรือเภสัชกรจะต้องติดต่อแพทย์ผู้ส่ังใช้ยา เพื่อสอบถาม ใหเ้ กิดความชัดเจนทนั ที กรณียาท่ีมีลักษณะช่ือพ้องมองคล้าย ให้แพทย์เขียนคาส่ังใช้ยาให้ชัดเจน โดยการระบุ ชื่อยา และขนาดยากากบั ทกุ ครัง้ เขียนด้วยลายมอื อ่านงา่ ย แตไ่ มจ่ าเปน็ ต้องเขียนเปน็ Tall man letter 5. อนญุ าตใหแ้ พทย์ส่ังยาลงในระบบสารสนเทศโรงพยาบาล 6. มีการบนั ทกึ คาสงั่ ยาของผู้ปว่ ยลงใน OPD clinical record หรือ Doctor order sheet ทกุ ครงั้ 7. มีข้อมูลรายการยาที่ผู้ป่วยใช้อยู่ในปัจจุบัน (ได้แก่ ยา ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร วิตามิน หรือสมุนไพร) อยู่ในเวช ระเบียนหรือในระบบสารสนเทศโรงพยาบาล ซึ่งหน่วยงานหรือวิชาชพี ต่างๆ สามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลได้ 8. ข้อมูลรายการยาใน OPD clinical record หรือ Doctor order sheet และในระบบสารสนเทศโรงพยาบาล ตอ้ งตรงกนั ทุกครง้ั แผนภูมทิ ี่ 4 แสดงรายงาน Prescribing Error รายงาน Prescribing error ไตรมาสท่ี 1-4 ปีงบประมาณ 2563 90 80 70 จานวน (ค ้รัง) 60 50 40 30 20 10 0 ผดิ ผดิ ไมร่ ะบุ Drug ผิดคน ผิดชนิด รปู แบ ความ รายละเ intera แรง ผิด ผิด ลืมสง่ั / อียด ผิดข้อ สัง่ ยาท่ี ยา ction อื่นๆ บ จานวน วธิ ใี ช้ คียย์ า บ่งใช้ แพ้ ซา้ ซ้อน ไตรมาสท่ี 1 1 5 0 6 21 33 13 42 0 2 4 0 5 ไตรมาสที่ 2 1 9 2 14 30 26 18 40 0 3 3 0 4 ไตรมาสที่ 3 0 16 1 13 39 46 17 33 0 0 1 0 7 ไตรมาสที่ 4 1 31 3 17 54 81 39 52 0 3 4 0 7 14
สรุปผลการตดิ ตามการสง่ั ใช้ยาประจาปีงบประมาณ 2563 ผลการประเมินประสทิ ธภิ าพการสั่งใชย้ าประจาปีงบประมาณ 2563 พบว่าความคลาดเคล่ือนในการส่ังใช้ ยาที่พบมากคอื การคียย์ าผิดวิธีใช้ ผิดจานวน หรือไม่ระบุวิธีใช้ยา ซึ่งมีจานวนคร้ังการเกิดสูงข้ึนในไตรมาสสุดท้าย เนือ่ งจากการปรับวิธกี ารเก็บขอ้ มลู ของทางแผนกเภสัชกรรม ทาให้มีการรายงานเข้าระบบมากข้ึน ซ่ึงข้อมูลในส่วน นี้ได้ทาการประสานองคก์ รแพทย์ และรว่ มกับฝา่ ยสารสนเทศเพือ่ หาแนวทางแก้ไข การถา่ ยทอดคาสง่ั ยา (Transcribing) กระบวนการ 1. อนุญาตให้พยาบาลหรือพนักงานส่งเสริมการจัดการทางการแพทย์ประจาหอผู้ปว่ ยและหน่วยงานสามารถบันทึก คาส่ังการใช้ยาและ/หรือ เวชภัณฑ์ลงในระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลได้แต่ต้องมีการตรวจสอบให้ตรงกัน ระหวา่ งเวชระเบยี นและในระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลทง้ั ในดา้ นของรายการยา วิธใี ชย้ า และจานวนยา 2. ตอ้ งมกี ารบนั ทกึ รปู ภาพของเวชระเบยี นทีแ่ พทย์เขยี นลงในระบบสารสนเทศของโรงพยาบาล 3. กรณที ี่พยาบาลหรือพนักงานส่งเสริมการจัดการทางการแพทย์ประจาหอผู้ป่วยและหน่วยงานบันทึกรายการยา ไม่ตรงกับรายการท่ีแพทย์สั่งท่ีปรากฏในเวชระเบียนผู้ป่วย เภสัชกรจะเป็นผู้ติดต่อสอบถามไปยังผู้บันทึกหรือ แพทยเ์ พื่อยนื ยันความถูกต้องและดาเนินการแก้ไข 4. การรับคาส่ังจากแพทย์ทางวาจาหรือช่องทางการส่ือสารอ่ืน พยาบาลต้องเป็นผู้รับคาส่ัง บันทึกลงใน OPD clinical record หรือ Doctor Order sheet ด้วยลายมือที่อ่านง่าย ชัดเจน พร้อมท้ังลงลายมือช่ือผู้รับคาส่ัง แพทยผ์ ู้ส่งั และเวลา และแพทย์ผ้สู ่ังตอ้ งมายนื ยันคาสง่ั ดงั กล่าวด้วยตนเองภายใน 24 ชว่ั โมง 5. ไม่อนุญาตให้พนกั งานชว่ ยการพยาบาลเป็นผู้บันทึกยาลงใน OPD clinical record หรือ Doctor order sheet หรือระบบสารสนเทศของโรงพยาบาล 15
แผนภูมทิ ี่ 5 แสดงรายงาน Transcribing Error รายงาน Transcribing error ไตรมาสท่ี 1-4 ปีงบประมาณ 2563 100 90 80 จานวน (ค ้รัง) 70 60 50 40 30 20 10 0 ผดิ ความ ผดิ คน ผดิ ชนดิ ผิด แรง ผิด ผิดวธิ ีใช้ ลืมคยี ์ คยี ซ์ า้ ผดิ ไม่ อ่นื ๆ รูปแบบ จานวน สถานะ สแกน 8 ไตรมาสท่ี 1 4 38 1 14 29 67 5 1 2 3 8 7 ไตรมาสที่ 2 1 23 1 9 21 42 5 2 0 4 10 ไตรมาสท่ี 3 6 45 3 22 47 57 11 1 6 3 ไตรมาสที่ 4 8 49 8 60 51 94 15 8 4 13 สรปุ ผลการติดตามการคดั ลอกคาสง่ั ใช้ยาประจาปีงบประมาณ 2563 ผลการประเมินประสทิ ธิภาพการคัดลอกคาส่ังใชย้ าประจาปงี บประมาณ 2563 พบว่าความคลาดเคลื่อน ในการคดั ลอกคาสั่งใชย้ าท่ีพบมากคือ ผดิ วิธีใช้ ซ่งึ ไดท้ าการแกไ้ ขเบอ้ื งตน้ โดยการจัดให้มเี ภสชั กรเข้าไปสอนการคยี ์ ยา การอ่านคาส่ังใชย้ าให้กับพนกั งานท่ที าหน้าทค่ี ียย์ าในหน่วยงานต่างๆ และมแี ผนการพฒั นาระบบการสง่ั ใช้ยา ร่วมกบั แผนกสารสนเทศเพื่อลดความคลาดเคลื่อน การเตรยี มยาและการจ่ายยา (Preparing and Dispensing) ผู้ปว่ ยนอก 1. เภสัชกรผูป้ ว่ ยนอกตาแหนง่ ตรวจสอบความถูกต้องของรายการยาในระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลเทียบกับ รายการยาที่แพทย์สงั่ และบนั ทึกในเวชระเบียน รวมถึง - ชอ่ื -นามสกุล และวนั -เดือน-ปเี กดิ (Date Of Birth) - อายุ, นา้ หนัก, เพศ - คาวินิจฉัยโรค (Diagnosis), โรคประจาตัว (ถา้ มี) - ผลตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทเี่ กีย่ วขอ้ ง - ประวัติการแพย้ า (Drug allergy) 16
- ภาวะของผู้ป่วย เชน่ ตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร ข้อมูลยาทผี่ ูป้ ว่ ยใชอ้ ยซู่ ่ึงเปน็ ปัจจบุ ัน - ตรวจสอบการส่ังใช้ยาซ้าซ้อนเพื่อการรักษาเดียวกัน โดยไม่มีความจาเป็น ในการรักษา (Therapeutic duplication) - ตรวจสอบเรื่องประวัติการแพ้ยา หรืออาการไมพ่ ึงประสงคท์ ่ีสาคญั เพื่อให้มั่นใจว่าผู้ป่วย จะไม่ได้รับยาที่ แพซ้ า้ หรือสามารถใชย้ าน้ันได้ - ตรวจสอบเร่ืองปฏิกิริยาระหว่างยากับยา ยากับอาหาร (Drug-Drug interaction, Food-Drug interaction) - ตรวจสอบขอ้ ห้ามใชข้ องยา (Contraindication) หากถูกต้องเภสัชกรจะกด “ยืนยันรายการยา”และพิมพ์ใบจัดยาเพ่ือให้เจ้าหน้าที่ห้องยานาใบจัดยา ดงั กลา่ วเข้าสู่ระบบระบบบรหิ ารจัดการยาผู้ป่วยอัตโนมัติแบบครบวงจรด้วยการสแกนที่บาร์โค้ดเลขที่โรงพยาบาล ของผู้ปว่ ย หากไม่ถูกต้อง เภสัชกรจะเป็นผู้ติดต่อสอบถามไปยังผู้บันทึกหรือแพทย์เพ่ือยืนยันความถูกต้องและแก้ไข กอ่ นกด “ยืนยนั รายการยา” และดาเนินการตอ่ 2. เจ้าหน้าท่ีประจาห้องยามีหน้าท่ีจัดยาอ่ืนๆ ในชั้นยาก่ึงอัตโนมัติ จับคู่รายการยา (Matching) และนามาวาง ใหเ้ ภสัชกรตาแหน่งตรวจสอบรายการยาทจี่ ัด 3. เภสัชกรผู้ป่วยนอกตาแหน่งตรวจสอบรายการยาที่จัด มีหน้าท่ีตรวจสอบยา สต๊ิกเกอร์ยาและใบจัดยาว่า ถูกต้องตรงกนั หรอื ไม่ เมอื่ ถูกต้องครบถว้ นแลว้ ใหล้ งลายมอื ชื่อในช่อง “Check by” 4. เจา้ หน้าทจ่ี ะนาใบเสรจ็ ของผปู้ ว่ ยมาจบั คกู่ บั ตะกร้ายาเพ่ือนาไปวางตามลาดบั การวางใบเสรจ็ บนโต๊ะรอจ่าย 5. เภสัชกรตาแหนง่ จ่ายยามีหนา้ ทต่ี รวจสอบความถกู ตอ้ งของรายการยากอ่ นการจ่ายยา ดังน้ี ข้อมูลที่ใชป้ ระกอบการทบทวนความถกู ต้องเหมาะสมก่อนการจ่ายยาเช่นเดียวกับการตรวจสอบในขอ้ 1. ผปู้ ว่ ยใน 1. เภสัชกรผู้ป่วยในตาแหน่งตรวจสอบความถูกต้องของรายการยาในระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลเทียบกับ รายการยาท่ีแพทย์ส่ังทีบ่ นั ทึกในเวชระเบียน - ช่อื -นามสกุล และวนั -เดือน-ปเี กิด (Date Of Birth) - อายุ, นา้ หนัก, เพศ - คาวนิ ิจฉัยโรค (Diagnosis), โรคประจาตวั (ถ้ามี) - ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการทเ่ี ก่ียวขอ้ ง - ประวตั กิ ารแพ้ยา (Drug allergy) - ภาวะของผปู้ ่วย เช่น ตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร ข้อมูลยาทีผ่ ปู้ ่วยใช้อยซู่ ่งึ เป็นปัจจุบัน - ตรวจสอบการสั่งใช้ยาซ้าซ้อนเพ่ือการรักษาเดียวกัน โดยไม่มีความจาเป็น ในการรักษา (Therapeutic duplication) - ตรวจสอบเร่ืองประวตั กิ ารแพย้ า หรืออาการไมพ่ ึงประสงคท์ ี่สาคญั เพื่อให้ม่ันใจว่าผู้ป่วย จะไม่ได้รับยาท่ี แพ้ซา้ หรอื สามารถใชย้ าน้นั ได้ 17
- ตรวจสอบเร่ืองปฏิกิริยาระหว่างยากับยา ยากับอาหาร (Drug-Drug interaction, Food-Drug interaction) - ตรวจสอบขอ้ หา้ มใชข้ องยา (Contraindication) หากถูกต้องเภสัชกรจะกด “ยืนยันรายการยา”และพิมพ์ใบจัดยาเพื่อให้เจ้าหน้าที่ห้องยานาใบจัดยา ดังกล่าวเข้าสู่ระบบบริหารจัดการยาผู้ป่วยอัตโนมัติแบบครบวงจรด้วยการสแกนท่ีบาร์โค้ดเลขท่ีโรงพยาบาล ของ ผปู้ ่วย หากไม่ถูกต้อง เภสัชกรจะเป็นผู้ติดต่อสอบถามไปยังผู้บันทึกหรือแพทย์เพื่อยืนยันความถูกต้องก่อนกด “ยืนยันรายการยา” และดาเนินการตอ่ 2. เจ้าหน้าที่ประจาห้องยามีหน้าที่จัดยาอ่ืนๆ ในชั้นยาก่ึงอัตโนมัติและ ATDPS จับคู่รายการยา (Matching) และ นามาวางใหเ้ ภสัชกรตาแหนง่ ตรวจสอบรายการยาท่ีจัดและจ่ายยา เม่ือถูกต้องครบถ้วนเภสัชกรจะลงช่ือในช่อง “Dispensed by” 3. เจ้าหน้าท่ีห้องยาจะเป็นผู้นาตะกร้ายาที่เภสัชกรลงลายมือชื่อในช่องจ่ายยาแล้วนาไปวางรอบนช้ันแยกตามหอ ผู้ปว่ ย ยกเว้นยาหรือเวชภณั ฑ์บางรายการที่ตอ้ งมารับในห้องยาจะมีการระบุไว้ในใบจดั ยาวา่ ให้มารบั ในห้องยา แผนภมู ทิ ่ี 6 แสดงรายงาน Pre-dispensing Error รายงาน Pre-dispensing error ประจาไตรมาสที่ 1-4 ปงี บประมาณ 2563 300 250 200 จานวน (ค ้ัรง) 150 100 50 0 ผิดชนดิ ผดิ รปู แบบ ผดิ ความ ผดิ จานวน ลมื จดั จดั ซ้า อน่ื ๆ แรง ผิดคน 44 0 29 101 13 3 7 30 0 128 22 0 1 ไตรมาสท่ี 1 0 43 1 23 126 33 2 3 ไตรมาสที่ 2 3 96 1 268 71 1 15 ไตรมาสที่ 3 0 29 ไตรมาสที่ 4 7 65 18
สรปุ ผลการติดตามการจัดเตรียมยาประจาปีงบประมาณ 2563 จากการประเมินกระบวนการภายใน พบว่าความคลาดเคล่อื นในการจัดเตรียมยาก่อนจ่ายท่ีเกิดข้ึนบ่อยคือ การจัดยาผดิ จานวน ซึ่งมักเกดิ ขึน้ กบั ยาทมี่ จี านวนเมด็ ยาต่อแผงไม่เท่ากับสิบเม็ด ซึ่งได้ทาการแก้ไขโดยการจัดให้มี การวางเครอ่ื งคิดเลขและตารางการคานวณจานวนแผงยาติดไว้ท่ีชั้นวางยา สาหรับตัวเลขท่ีสูงขึ้นในไตรมาสท่ี 4 นั้นเกิดจากการปรับระบบการรายงานความคลาดเคลื่อนภายใน แผนก และการสื่อสารเพื่อให้ตระหนักความสาคัญต่อการรายงานความคลาดเคลื่อน ทาให้มีการรายงานเข้าระบบ มากขน้ึ แผนภมู ิที่ 7 แสดงรายงาน Dispensing Error รายงาน Dispensing error ประจาไตรมาสที่ 1-4 ปีงบประมาณ 2563 จานวน (ค ้รัง) 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ยา ผิดคน ผิด ผดิ ผดิ ผดิ ผิด จา่ ยยา จา่ ยยา เสอื่ มส จา่ ยยา อ่นื ๆ ชนดิ รปู แบ ความ จานวน วธิ ีใช้ ซา้ ไมค่ รบ ภาพ/ ที่แพ้ แรง หมดอ บ ายุ ไตรมาสที่ 1 1 4 3 1 0 2 0 0 1 0 1 ไตรมาสที่ 2 0 7 3 0 1 0 0 0 0 0 0 ไตรมาสท่ี 3 0 8 0 0 1 0 0 0 0 0 0 ไตรมาสท่ี 4 2 7 1 1 1 0 0 1 0 0 1 สรุปผลการตดิ ตามการจ่ายยาประจาปงี บประมาณ 2563 จากการประเมินกระบวนการภายใน พบวา่ ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยาทีเ่ กดิ ข้นึ บ่อยคือ การจา่ ยยา ผดิ ชนิด ซึง่ มักเปน็ ยาชื่อพ้องมองคลา้ ย (LASA) ซึง่ ทางแผนกมแี ผนการพฒั นาระบบยา LASA ให้รดั กุมขึ้นใน ปีงบประมาณ 2564 19
การดาเนินงาน Medication Refill Clinic (โครงการจดั สง่ ยาทางไปรษณีย์) ทางแผนกเภสชั กรรมร่วมกับแผนกบริการผปู้ ว่ ยนอก มีการเปิดบริการใหม่คือโครงการจดั ส่งยาทาง ไปรษณยี ์ในช่วงท่มี ีการระบาดของไวรัส COVID-19 โดยได้ทาการจดั ส่งยาสาหรบั ผปู้ ว่ ยโรคเรือ้ รงั ที่มอี าการคงท่ี โดยเริม่ ดาเนนิ การในเดือนมีนาคม 2563 ตารางที่ 9 แสดงผลการดาเนินงาน Medication Refill Clinic เดือน จานวนผรู้ บั บริการ รายได้คา่ ยา รายไดค้ ่ายาเฉล่ยี ตอ่ บิล มีนาคม 2563 523 2,228,544 4,261.1 เมษายน 2563 1,499 5,745,236 3,832.7 พฤษภาคม 2563 715 2,885,517 4,035.7 มถิ นุ ายน 2563 367 1,320,679 3,598.6 กรกฎาคม 2563 242 1,031,434 4,262.1 สงิ หาคม 2563 185 720,104 3,892.5 กันยายน 2563 171 687295 4019.3 รวม 3,702 14,618,809 เฉล่ยี รวม 3,948 แผนภูมิท่ี 8 แสดงผลการดาเนนิ งาน Medication Refill Clinic 7,000,000 1600 6,000,000 1400 5,000,000 1200 4,000,000 1000 3,000,000 800 รายไดค้ า่ ยา 2,000,000 600 จานวนผรู้ ับบริการ 1,000,000 400 200 0 0 20
การบริหารยา (Administration) 1. แพทย์เขียนคาสั่งในเวชระเบียน และพยาบาล/เภสัชกรจะเป็นผู้เตรียมยา และจัดยา ตามคาสั่งแพทย์ ให้กับ ผู้ป่วยเฉพาะราย กรณีท่ีเป็นยาทาให้สงบเพื่อทาหัตถการ แพทย์ หรือวิสัญญีแพทย์ จะเป็นผู้ควบคุมดูแลและ บริหารยาให้กบั ผู้ป่วย 2. ผู้ที่จ่ายยา และบรหิ ารยาใหก้ ับผปู้ ว่ ยต้องตรวจสอบความถูกตอ้ งเหมาะสมของยากับคาสงั่ แพทย์ในประเด็นดงั น้ี 2.1 ช่อื ยา ความแรง รปู แบบยา 2.2 ขนาดยา จานวนยา 2.3 การผสม, เจือจาง (Mixing, Dilution) อัตราส่วน สารน้าท่ีใช้(ถ้ามี) โดยการเลือกตัวทาละลาย/เจือ จาง/สารน้า ท่ีใชใ้ ห้เป็นมาตรฐานความคงตวั ของยาดงั กลา่ ว รว่ มกับภาวะผู้ป่วย โดยใช้ข้อมูลจากฉลากยา เอกสารกากับยาจากบรษิ ัท ผู้ผลติ หรือฐานข้อมูลสารสนเทศดา้ นยา 2.4 เวลา, อัตราเร็ว, ความถใี่ นการใหย้ า 2.5 วิถที างในการบรหิ ารยา 3. ก่อนการจา่ ยยาและบริหารยาให้กบั ผู้ปว่ ย 3.1 มีการบ่งชี้ตัวผู้ปว่ ยเพ่ือใหม้ ัน่ ใจและถูกต้องโดยใช้ ชอื่ –สกุล และ วันเดือนปีเกิด ตามนโยบายการระบุ ตัวผูป้ ่วย 3.2 พยาบาลตรวจสอบยา ท่ไี ด้รบั กบั คาส่ังการรักษาของแพทย์ก่อนการบริหารยา โดยพิจารณาจากข้อ 2 4. เมื่อมีการบริหารยาให้กับผู้ป่วย ให้บันทึกในเวชระเบียนผู้ป่วยทุกคร้ังที่บริหารยา โดยระบุชื่อยา ความแรง วธิ กี ารใชย้ า ความถี่ ชอ่ื ผู้ใช้ยา และเวลา วนั ทใ่ี หย้ า 5. เมอื่ ผปู้ ่วยมารบั การรกั ษาต้องมีสรุปรายการยาไว้ในเวชระเบยี นผปู้ ว่ ย ซึ่งประกอบดว้ ย - ยาที่ผูป้ ว่ ยใชใ้ นปัจจบุ นั รวมจากยาที่ซ้อื จากรา้ นขายยา - ขนาด - ความถี่ - วิธบี รหิ ารยา - การใชส้ มนุ ไพรและยาเสริมอืน่ ๆ การติดตามประสทิ ธภิ าพของการบริหารยาประจาปีงบประมาณ 2563 ให้เปน็ ตามทแ่ี ผนกพัฒนาคุณภาพกาหนด 21
ตารางท่ี 10 แสดงรายงาน Administration Error 9 รายงาน Administation Error ประจาไตรมาสท่ี 1-3 ปงี บประมาณ 2563 8 7 6 5 4 จานวน (ค ้ัรง) 3 2 1 0 ใหไ้ มค่ รบ ผิดคน ผิดชนดิ ผิดขนาด/ ผิดเวลา ผดิ วิถีทาง ผดิ เทคนคิ ไม่บันทกึ ตามคาส่งั อน่ื ๆ ความแรง แพทย์ 0 ไตรมาส 1 4 1 2 1 1 0 6 8 0 0 ไตรมาส 2 0 0 1 0 0 1 2 1 1 ไตรมาส 3 1 1 4 1 0 0 4 0 ไตรมาส 4 1 7 2 0 0 0 0 3 การติดตามการใชย้ า (Monitoring) 1. ผู้ป่วยทที่ ราบประวตั แิ พย้ าหรอื อาการไมพ่ งึ ประสงค์สามารถแจง้ ประวัติไดท้ ีจ่ ดุ ซักประวัติของพยาบาล พยาบาล จะเป็นผู้แจ้งเภสัชกรผ่านทางโทรศัพท์เพื่อบันทึกประวัติของผู้ป่วยลงในระบบแจ้งเตือนของโรงพยาบาล เพื่อ ป้องกนั การสงั่ ยาที่ผูป้ ว่ ยมปี ระวตั แิ พ้ยา 2. กรณีผู้ป่วยได้รับยาในโรงพยาบาลแล้วสงสัยแพ้ยา แพทย์จะเป็นผู้ประเมินเบ้ืองต้นและเภสัชกรจะไปประเมิน อาการ หากแพ้เภสัชกรจะเป็นผู้ออกบัตรแพ้ยาให้แก่คนไข้ พร้อมทั้งบันทึกลงในระบบสารสนเทศของ โรงพยาบาล 3. กรณีผู้ป่วยเกิดอาการไม่พึงประสงค์ระหว่างการบริหารยาหรือหลังการบริหารยา พยาบาลจะเป็นผู้รายงานแก่ แพทย์เพ่ือทาการรักษาเบื้องต้น แล้วจึงการรายงานลงมาที่แผนกเภสัชกรรมและอุปกรณ์ให้ทาการบันทึกใน ระบบสารสนเทศของโรงพยาบาล และออกบัตรแพ้ยา 4. ขัน้ ตอนก่อนการจ่ายยาจะสอบถามประวัตแิ พย้ าก่อนทุกครัง้ หากพบวา่ ยังไมม่ ปี ระวตั ใิ นระบบสารสนเทศ เภสัชกรจะเปน็ ผูล้ งบนั ทึกในระบบเอง ในกระบวนการท้ังหมดนย้ี งั ขาดการติดตามอาการไม่พึงประสงค์ในกรณีที่ผู้ป่วยได้ยากลับไปรับประทานที่ บ้านในคร้งั ก่อนที่จาเปน็ ตอ้ งบันทึกใน OPD clinical record 22
ปีงบประมาณ 2564 การดาเนินการพัฒนาระบบยังคงมีอย่างมีต่อเน่ือง และทางแผนกเภสัชกรรมและ อุปกรณ์จะมีการดาเนินการจัดทารายงานอาการไม่พึงประสงค์ไปยังศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์ สขุ ภาพ สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ โดยตั้งแต่เดอื น มกราคม ถึง กันยายน 2563 มกี ารประเมินอาการไม่พงึ ประสงค์จากการใชย้ าโดยเภสัชกร จานวน 26 เคส จดั เป็นอาการแพย้ า 13 เคส, เฝา้ ระวงั 11 เคส เปน็ ผลข้างเคยี งจากการบรหิ ารยา 1 เคส และ ไมไ่ ด้เกดิ จากยา 1 เคส และมีอบุ ตั ิการณแ์ พย้ าซา้ เปน็ 0 (Goal = 0) 23
การจดั การยาทต่ี ้องระมัดระวงั สงู (High-Alert Drugs) รายการยาท่ีตอ้ งระมัดระวังสงู (High-Alert Drugs) ศูนย์ศรพี ฒั น์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหมม่ รี ายการยาทต่ี อ้ งระมดั ระวังสูง (รวมสารละลายที่ มีความเข้มข้นสงู ) ทั้งส้นิ 226 รายการ แบง่ ตามประเภทของยา ดังน้ี - ยาทม่ี โี อกาสเกิดความผดิ พลาดสูง และ/หรือ ทาให้เกิดเหตุการณ์พึงสังวร ยาท่ีมีความเสี่ยงที่จะนาไปใช้ ในทางที่ผิด หรอื ทาให้เกิดอาการไมพ่ ึงประสงค์ท่ีรุนแรงได้ จานวน 10 รายการ - ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 2 จานวน 15 รายการ - วัตถุออกฤทธิต์ อ่ จติ และประสาทประเภทท่ี 2 จานวน 18 รายการ - ยาเคมบี าบัดทเ่ี ปน็ พษิ ต่อเซลล์ (Cytotoxic drug) จานวน 68 รายการ - ยารกั ษาอาการทางจติ เวชกลมุ่ เก่า (Typical antipsychotic drugs) จานวน 10 รายการ - ยาตา้ นการแข็งตัวของเลือด (Anticoagulants) จานวน 21 รายการ - ยาท่ีมดี ัชนีการรักษาแคบ (Narrow therapeutic index) จานวน 5 รายการ - ยาช่ือพอ้ งมองคลา้ ย (Look-alike/sound-alike: LASA) จานวน 73 รายการ (39 ค)ู่ - สารละลายเกลือแร่ความเข้มขน้ สงู (Concentrated electrolytes) จานวน 6 รายการ แนวทางการจัดการแสดงดงั ตารางในหน้าถดั ไป 24
ตารางที่ 11 แสดงแนวทางการจดั การยาทมี่ คี วามเสย่ี งสงู และสารละลายอิเล็กโทรไลตค์ วามเขม้ ข้นสงู หัวข้อ ยาท่มี ีความเสีย่ งสูง ยาเสพติดและวตั ถุ สารละลาย ยาเคมีบาบัดทเ่ี ป็น ยา ท่วั ไป* ออกฤทธิ์‡ อิเลก็ โทรไลตค์ วาม พษิ ต่อเซลล์ รับประทาน มีคาวา่ “HAD” ตอ่ ท้ายชอ่ื ยาบนฉลากยา เขม้ ข้นสูง ยาฉีด ัสญ ัลกษ ์ณ ติดสติ๊กเกอร์สีส้มทีแ่ อมพูลหรือไวแอลยา กรณยี าทจี่ ่ายเป็นกล่องจะ ตดิ สตก๊ิ เกอรส์ สี ม้ ฉลากชว่ ย ตดิ ทกี่ ล่อง “ยาเคมีบาบัดระวัง การเกบ็ รกั ษา การสัง่ ใชย้ า ตกแตก” การเตรียมยา ฉลากช่วยคาแนะนา ฉลากช่วยคาแนะนา การบรหิ ารยา ข้อควรระวังและการ - ข้ อ ค ว ร ร ะ วั ง แ ล ะ - การจ่ายยา เฝา้ ระวัง (monitor) ก า ร เ ฝ้ า ร ะ วั ง (monitor) แยกเก็บจากยาอ่ืน แยกเก็บจากยาอื่น แยกเก็บจากยาอ่ืน เก็บท่ีคลังยาและ ติดป้ายแจ้งว่าเป็นที่ มีกุญแจล็อคและ ติดป้ายแจ้งว่าเป็นท่ี ห้ อ ง ผ ส ม ย า เ ค มี เก็บยา High Alert จากดั การเขา้ ถึง เก็บยา High Alert บาบัดเทา่ นัน้ Drugs+ Drug ส่งั โดยแพทย์เท่านั้นและบันทึกคาสงั่ การรกั ษาด้วยตวั หนังสอื ท่ีอา่ นง่ายชดั เจน ยาที่เตรียมไว้เพ่ือการบริหารให้แก่ผู้ป่วย ข้อมูลบนฉลากยาท่ีติดไว้ เตรียมโดยเภสัชกร บนภาชนะต้องประกอบด้วยชื่อ-นามสกุลของผู้ป่วย ช่ือยา ความ ท่ผี ่านการอบรม แรง/ความเขม้ ขน้ วัน-เวลาทเ่ี ตรียม วัน-เวลาทีค่ วรใช้ก่อน และชื่อผู้ หลักสูตรการเตรียม เตรยี ม ยาเคมีบาบดั และ เตรียมในหอ้ งเฉพาะ เทา่ นัน้ ตรวจสอบก่อนการบริหารยาโดยพยาบาล 2 คน ต้องมีการตรวจสอบโดยเภสัชกร 2 คน ก่อนจา่ ยยา * ยาท่ีมีความเสี่ยงสูงท่ัวไปในที่นี้ได้แก่ ยารักษาอาการทางจิตเวชกลุ่มเก่า ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ยาที่มี ดัชนีการรักษาแคบ และยาชือ่ พ้องมองคลา้ ย ‡ ยาเสพตดิ และวตั ถุออกฤทธิ์ในท่ีนี้ หมายความถึงยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 2 และวัตถุออกฤทธ์ิต่อจิตและ ประสาทประเภทท่ี 2 + ยกเวน้ ยาชื่อพ้องมองคล้าย สามารถเก็บรวมกบั ยาอื่นได้ โดยในปงี บประมาณ 2563 น้ไี ด้มกี ารปรบั ปรงุ บญั ชยี าทตี่ อ้ งระมัดระวงั สงู 2 ครง้ั เน่ืองจากมียาเข้าบญั ชเี พิ่ม ผลการดาเนินการ อุบตั ิการณก์ ารเกิดความคลาดเคล่อื นทางยาจากยาท่ตี อ้ งระมัดระวงั สงู (เท่ากับ 0) 25
Medication error กลมุ่ ยา HAD ประจาปงี บประมาณ 2563 20 18 16 จานวน (ค ้ัรง) 14 12 10 8 6 4 2 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 0 ไตรมาส 1 Prescribing Transcribing Pre-dispensing Dispensing Administration จากการเริ่มเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จนถึงเดือนกันยายน 2563 พบ อุบัติการณ์ความคลาดเคล่ือนทางยาจากยาที่ต้องระมัดระวังสูงระดับแบบ Near-miss ท้ังส้ิน 73 คร้ัง, No-harm events 4 เหตุการณ์ และอุบัติการณ์ระดับ E 1 เหตุการณ์ ซ่ึงยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ต้ังไว้ พบว่าอุบัติการณ์ท่ีพบมากที่สุด ได้แก่ ข้ันตอนการคัดลอกคาส่ังใช้ยา (Transcribing errors) ซ่ึงทางแผนก เภสัชกรรมได้ดาเนินประชุมหาแนวทางแก้ไขร่วมกับฝ่ายการพยาบาล ได้ทาการจัดอบรมทบทวนเก่ียวกับ ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติในการคัดลอกคาส่ังอยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม ทั้งในแง่ของยาทั่วไปและยาท่ีต้องระมัดระวัง สูง รวมไปถึงการปรับปรุงข้ันตอนการปฏิบัติภายในหน่วยงานเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพและความเหมาะสมต่อ การปฏิบตั ิงานจรงิ มากยง่ิ ขึ้น 26
ผลการดาเนินงานตาม 5 Pillars SERVICE หน่วยเภสชั กรรมผปู้ ่วยนอก การเปล่ียนแปลงในปงี บประมาณ 2563 มีการเปิดบริการเพิ่ม ได้แก่ โครงการจดั สง่ ยาทางไปรษณยี ์ และ Frontier Clinic มีการปรบั อัตรากาลงั และแนวทางการใหบ้ ริการอยา่ งถูกต้องและรวดเร็ว แผนการพฒั นา เตรยี มพร้อมสาหรับการดาเนินการในตึกคลินกิ ผู้ป่วยนอก 7 ชนั้ รวมทั้งปรบั ใหเ้ ขา้ กับโปรแกรม EMR ท่ีมแี ผนจะดาเนนิ งานในปีงบประมาณหน้า มกี ารปรับอัตรากาลงั และตาแหนง่ งานให้เหมาะสมกบั จานวนผปู้ ว่ ยที่มากขึ้นในวนั เสารแ์ ละอาทติ ย์ ตารางที่ 12 แสดงสถิติการให้บริการหน่วยเภสัชกรรมผู้ป่วยนอก รายการ จานวน หนว่ ยนบั จานวนใบสง่ั ยาผปู้ ว่ ยนอกเฉลี่ยต่อวนั 611.86 ใบยา จานวนรายการยาและเวชภัณฑ์เฉลย่ี ตอ่ วนั 1682.98 รายการ จานวนรายการยาและเวชภัณฑ์เฉลยี่ ต่อใบสัง่ ยา 2.75 รายการ / ใบยา หน่วยเภสัชกรรมผ้ปู ่วยใน การเปล่ียนแปลงในปงี บประมาณ 2563 ในเดอื นกรกฎาคม 2563 มีการสง่ เภสชั กรจานวน 2 อตั ราขึน้ ปฏิบตั ิงานบนหอผู้ปว่ ยอาคารศรีพฒั น์ และอาคารเฉลิมพระบารมี ในเวลา 8:00 – 16:00 น. วนั จนั ทร์-ศกุ ร์ (เว้นวันหยุดนกั ขัตฤกษ์) มีหน้าทใ่ี นการ ประสานรายการยาเดมิ (Medication Reconciliation) เมื่อผปู้ ่วยเขา้ นอนในโรงพยาบาล ค้นหาปัญหาจาก การใช้ยา ประเมนิ อาการไม่พงึ ประสงค์จากการใชย้ า สอนการใช้ยาเทคนิคพิเศษ ให้คาแนะนาการใชย้ า สาหรับผูป้ ว่ ยเร่ิมยาใหม่ ช่วยจา่ ยยาสาหรบั ผูป้ ว่ ยกลบั บ้าน ซงึ่ ยงั คงมีปญั หาในการปฏิบตั ิงาน คอื ไม่สามารถใช้เวลาในการแนะนาผู้ป่วยได้ทุกราย โดยเฉพาะการ จา่ ยยากลบั บ้าน แผนการพัฒนา มีแผนเพม่ิ อัตรากาลังในการปฏิบตั ิงานบนหอผู้ปว่ ย โดยมเี ป้าหมายคือการส่งมอบยากลับบา้ นโดย เภสัชกรทง้ั หมด ในปีงบประมาณ 2564 จะมีการยา้ ยการใหบ้ ริการห้องยาผู้ป่วยนอกไปยังตึกใหม่ หอ้ งยาช้ัน 1 อาคารศรีพัฒนจ์ ะทาการปรบั เป็นห้องจา่ ยยาผปู้ ว่ ยในอย่างสมบรู ณ์ คาดวา่ จะมีการปรับระบบการจา่ ยยาให้กับ เจา้ หนา้ ท่ีหอผู้ป่วยเพื่อเพ่ิมความสะดวก รวดเร็ว ลดการสูญหายของยาได้ 27
ตารางท่ี 13 แสดงสถติ ิการให้บริการหนว่ ยเภสชั กรรมผู้ป่วยใน รายการ จานวน หน่วยนับ จานวนใบสัง่ ยาผู้ป่วยในเฉล่ียต่อวัน 486.35 ใบยา จานวนรายการยาและเวชภัณฑเ์ ฉลี่ยต่อวัน 2622.12 รายการ จานวนรายการยาและเวชภัณฑ์เฉลยี่ ตอ่ ใบสง่ั ยา 5.39 รายการ / ใบยา ตารางท่ี 14 แสดงสถิติการปฏบิ ัติงานของเภสชั กรบนหอผู้ปว่ ย การปฏบิ ัติ ก.ค.-63 จานวนเคส ก.ย.-63 264 ส.ค.-63 298 Med Reconcile 15 6 จา่ ยยากลับบ้าน 3 326 7 ให้คาปรกึ ษาการใช้ยา Warfarin 4 24 8 แนะนาการใชย้ าเทคนิกพิเศษ 3 7 5 อาการไม่พึงประสงค์จากการใชย้ า - 18 13 ปญั หาจากการใช้ยา 8 16 ตารางท่ี 15 แสดงรายงานประเมินความพงึ พอใจของผู้รบั บริการจากเภสัชกรบนหอผปู้ ว่ ยเดอื นสิงหาคม 2563 จานวน รอ้ ยละ แผนภูมิ ผปู้ ระเมนิ ญาติ/ผูป้ ว่ ย 219 58.3 ญาต/ิ ผปู้ ว่ ย บคุ ลากร 156 41.7 บคุ ลากร รวม 375 100 ความพงึ พอใจ ดีมาก ดมี าก 250 66.7 ดี 125 33.3 ดี ขอ้ เสนอแนะจากผู้ประเมนิ - ขอเภสัชกรประจาแตล่ ะวอร์ดเลยย่ิงดีคะ่ - สอนดี แนะนาเร่ืองพ่นยาได้เขา้ ใจดมี าก - มีเภสัชบนวอรด์ สามารถสอบถามยา ตรวจสอบยาชว่ ยแพทยแ์ ละพยาบาลได้อยา่ งรวดเรว็ แจกHMให้ผปู้ ว่ ย ซง่ึ เป็นบทบาทโดยตรงของเภสัชกร ผปู้ ว่ ยมคี วามพงึ พอใจและได้รับการอธิบายยาอย่างละเอยี ด แต่มเี ภสชั กร น้อยแค่ 2 คน แตต่ ้องไปหลายวอร์ดทาให้ไม่เพียงพอ - อธิบายยาเข้าใจดี มีการทวนซา้ เวลาไมเ่ ข้าใจ รพ.เก่าไม่อธบิ ายละเอียดขนาดนี้ 28
ตารางที่ 16 แสดงรายงานประเมนิ ความพึงพอใจของผ้รู ับบริการจากเภสชั กรบนหอผปู้ ว่ ยเดือนกนั ยายน 2563 ญาต/ิ ผู้ปว่ ย จานวน ร้อยละ แผนภมู ิ บคุ ลากร ผู้ประเมนิ 18 72 ผ้ปู ่วย/ ญาติ 28 บคุ ลากร 7 รวม 25 100 ความพงึ พอใจ ดมี าก 21 84 ดีมาก ดี ดี 4 16 ข้อเสนอแนะจากผู้ประเมนิ - สอนเขา้ ใจดมี าก แนะนาดีมาก - นา่ รักมาก ช่วยมาดูแลเร่ืองแพย้ าเปน็ อยา่ งดี - ใสใ่ จดีมาก ตารางที่ 17 แสดงรายงานประเมนิ ความพึงพอใจของผูร้ บั บริการแผนกเภสัชกรรมและอปุ กรณ์ Patient ต.ค.62 พ.ย.62 ธ.ค.62 ม.ค.63 ก.พ.63 ม.ี ค.63 เม.ย. พ.ค.63 มิ.ย.63 ก.ค.63 ส.ค. ก.ย. Satisfaction 63 63 63 OPD 44.15 55.01 66.01 71.93 60 64 73 73 92.13 88.5 90.01 89.71 IPD 66.05 61.46 64.64 62.81 71.80 72 76 70 ** 66.70 84 จานวนข้อร้องเรยี น* 0 0 1 2 0 0 0 2 2 3 1 0 *ขอ้ รอ้ งเรยี น ธ.ค. 62 - ได้รบั ยา Atopiclair วันหมดอายสุ ั้น : เป็นยาlot สดุ ท้ายใน รพ. เตรยี มตดั ออกจากบญั ชีเนือ่ งจากไม่มีการส่ังนาน กว่า 1 ปี ซง่ึ เภสชั กรได้แจง้ กับแพทย์กอ่ นแล้ว ม.ค. 63 –(1) ผปู้ ่วยตรวจแพทยส์ องท่านท่รี ะบุวนิ ิจฉัยไมต่ รงกันจงึ มาถามเภสชั กร เภสชั กรตอบตามขอ้ บง่ ใชย้ าและแจ้งให้ สอบถามการวินิจฉยั จากแพทย์ ผปู้ ว่ ยไมพ่ อใจ (2) ผู้ปว่ ยตรวจตากอ่ น Admit แพทย์ OPD สั่งยาใหเ้ บกิ พร้อมยากลับบา้ น แต่ ไม่ไดเ้ บิก ผปู้ ว่ ยมาติดตอ่ ซอื้ ยาภายหลังแต่เภสชั กรไม่ทราบเรื่องทาใหผ้ ูป้ ว่ ยรอนาน พ.ค. 63 – (1) ผปู้ ว่ ยแสบตาหลังใช้ยาหยอดตา FML และ Vigamox (2) ผู้ป่วยสทิ ธิการรกั ษา ธปท รบั ยา Regelle ไปแต่ไม่ สามารถเบิกต้นสงั กัดได้ ม.ิ ย. 63 – (1) ผู้ป่วยแจง้ ได้รับยาไม่ครบ ขาดไปสองรายการ รายการละ 1 แผง รับแจง้ หลงั รับยาไปแล้ว 2 สัปดาห์ ทาการเช็ค สต็อกยาพบว่าจานวนยาตรงตามสต็อก (2) แพทยส์ ่ัง refill ยาในใบสัง่ แต่ไมไ่ ด้ออกใบ refill ใหผ้ ้ปู ว่ ย ก.ค.63 – (ภายใน) (1) ได้รับยาเคมีบาบัดช้า (2) จาก clinic skin หอ้ งยาDCยาโดยไมแ่ จ้งแพทย์ (3) จาก clinic skin ยาขาด ไมพ่ อจา่ ยคนไข้ ส.ค.63 – ไดร้ ับยาผิดรปู แบบจาก Dezor Cream เป็น Dezor Shampoo **เดือน มถิ นุ ายน 2563 มกี ารเปลย่ี นวธิ ีการเก็บคะแนนความพึงพอใจ จากเดมิ เก็บโดยส่วนกลางเปน็ การเก็บโดยแผนกเภสัช กรรมเอง 29
แผนภมู ิท่ี 9 แสดงระยะเวลารอยา (Waiting Time) ระยะเวลารอยา (Waiting Time) 40.00 เวลา (นาที) 30.00 20.00 10.00 0.00 ต.ค.-62 พ.ย.-62 ธ.ค.-62 ม.ค.-63 ก.พ.-63 มี.ค.-63 เม.ย.-63 พ.ค.-63 มิ.ย.-63 ก.ค.-63 ส.ค.-63 ก.ย.-63 OPD 3.70 3.75 3.62 3.80 3.16 3.55 8.16 4.87 3.57 2.91 2.91 2.94 EX 5 2.74 2.29 3.09 2.27 3.30 3.58 2.53 3.82 2.35 2.12 3.22 2.70 Home Med 35 32.02 25.37 21.46 23.47 21.09 17.10 21.42 22.31 20.47 19.39 หนว่ ยคลงั เวชภณั ฑ์ การเปลีย่ นแปลงในปีงบประมาณ 2563 เร่ิมการจัดซ้ือยาและเวชภณั ฑ์ตาม พรบ.จดั ซอ้ื จัดจา้ ง พ.ศ. 2560 แล้วเสร็จในไตรมาศสุดทา้ ย มีการ เพิ่มอตั รากาลงั ของเจา้ หนา้ ที่คลงั ยาในวันหยุดเพ่ือดูแลสต๊อกยาท่ีห้องจ่ายยาให้มคี วามพรอ้ มใช้ มีการเพมิ่ การ จัดเก็บยาไปยังคลงั 3 สวนดอกดอรม์ แผนการพฒั นา ดาเนนิ การจัดซื้อยาตาม ตาม พรบ.จดั ซอ้ื จดั จ้าง พ.ศ. 2560 ใหค้ รอบคลุมรายการยาและเวชภณั ฑ์ ท้งั หมดในโรงพยาบาลให้แล้วเสรจ็ ภายในไตรมาศแรก มีระบบปรบั min-max ของยาและเวชภณั ฑ์ต่างๆตาม อัตราการใช้ รวมทั้งการกาหนดจดุ สั่งซือ้ อัตโนมตั เิ พอื่ ให้มียาและเวชภณั ฑพ์ ร้อมใช้ ลดมลู ค่าคงคลงั และลด ขัน้ ตอนการทางานของเจ้าหน้าท่ี ระบบการสั่งจองเลนสแ์ ละยาเฉพาะรายท่สี ะดวกต่อผ้ใู ช้งาน สามารถตดิ ตามทวนสอบได้จากทกุ จดุ บริการ ตารางที่ 18 แสดงสถิติการให้บริการหน่วยคลงั เวชภณั ฑ์ รายการ จานวน หน่วยนับ รายการโอนยาและเวชภัณฑ์ไปยังหน่วยงานต่างๆ 25,275 ใบโอน 85,394 รายการ การออกใบสง่ั ซอ้ื 6,580 ใบสง่ั ซอื้ 12,514 รายการ 30
งานห้องผลิตและการเตรยี มยา การเปล่ยี นแปลงในปงี บประมาณ 2563 มกี ารจดั เวรใหผ้ ู้ช่วยหอ้ งยาและเภสชั กรปฏบิ ัติงานทีห่ อ้ งผลิตยาอย่างสม่าเสมอเพอ่ื ให้มียาพร้อมใช้ ได้มกี ารส่งเภสัชกรไปดงู านผลติ ที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่เพ่ือนามาพัฒนางานและผลติ ตารบั ยาใหม่ เพ่ือใหต้ รงกับความต้องการของผใู้ ช้งานมากขึ้น รวมถึงมีการเพ่มิ กาลังการผลติ ผลิตภัณฑ์แอลกอฮอล์ใชเ้ อง ในช่วงขาดแคลนและลดตน้ ทุน มกี ารปรับปรงุ ฉลากบรรจภุ ณั ฑใ์ หมเ่ พ่ือใหน้ า่ ใช้ยง่ิ ขน้ึ แผนการพฒั นา มีการอบรมและสอนงานเพื่อเพิม่ จานวนเจา้ หนา้ ที่ทส่ี ามารถทางานผลติ ได้ ตารางท่ี 19 แสดงสถติ ิการดาเนินงานหอ้ งผลิต จานวน หน่วย 365 ตารบั รายการ 2666 ตารับ การเตรียมยาเพ่ือผูป้ ่วยเฉพาะราย 15 ครัง้ การเตรียมยาเคมบี าบดั 900 เข็ม การผลติ Avastin Syringe 156 คร้ัง 7,065 ขวด งานหอ้ งผลติ และแบ่งบรรจุ 2,484.39 ลิตร งานผลติ แอลกอฮอล์ 1,667 ขวด 78.15 ลิตร การแบง่ บรรจยุ านา้ 3,096 ตลบั / กระปุก 215.51 กโิ ลกรมั การแบง่ บรรจุยาครมี 133773 แคปซลู 4 ครง้ั การผลติ Sodium Bicarbonate Capsules 197 เขม็ การผลติ Synacthen Syringe 31
PEOPLE ตารางท่ี 20 แสดงจานวนพนักงานแผนกเภสัชกรรมและอุปกรณ์ รายการ จานวน จานวนพนักงานท้ังหมด 28 เภสชั กร 19 พนกั งานประจาห้องยา 2 พยาบาล 1 พนกั งานจดั ซื้อคลังเวชภัณฑ์ 1 พนักงานบริหารพสั ดุ จานวนพนกั งานเขา้ ใหม่ 2 เภสัชกร 0 พนกั งานประจาห้องยา 0 พยาบาล 0 พนักงานจดั ซื้อคลังเวชภัณฑ์ 1 พนักงานบริหารพัสดุ จานวนพนักงานลาออก 2 เภสชั กร 0 พนกั งานประจาห้องยา 0 พยาบาล 0 พนกั งานจัดซื้อคลังเวชภัณฑ์ 1 พนกั งานบริหารพสั ดุ ตารางที่ 21 แสดง Turn Over rate แผนกเภสัชกรรมและอุปกรณ์ เดอื น 10/62 11/62 12/62 1/63 2/63 3/63 4/63 5/63 6/63 7/63 8/63 9/63 เภสัชกร 100 96.43 96.43 92.85 92.85 92.85 92.85 92.85 92.85 92.85 92.85 92.85 พนักงาน ประจา 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 หอ้ งยา อนื่ ๆ 100 100 100 100 100 100 100 100 100 75 75 75 รวม 100 98.03 98.03 96.07 96.07 96.07 96.07 96.07 96.07 94.25 94.25 94.25 32
Quality ตารางท่ี 22 แสดงผลการดาเนนิ งานสว่ น Medical Quality หนว่ ยงาน KPI หน่วยนับ Goal ต.ค.62 พ.ย.62 Pre-dispensing error ครั้ง/1000ใบยา 10 4.45 6.19 Dispensing Error ครั้ง/1000ใบยา 5 0.25 0.26 OPD Pre-dispensing error (Ex5) ครั้ง/1000ใบยา 10 00 Dispensing Error (Ex5) ครั้ง/1000ใบยา 5 0 0 Pre-dispensing error ครง้ั /1000วนั นอน 10 0 5.12 IPD Dispensing Error ครั้ง/1000วนั นอน 5 0.24 1.08 00 ความคลาดเคลอื่ นจากการเตรียมยา ครั้ง 0 เคมีบาบดั
ธ.ค.62 ม.ค.63 ก.พ.63 มี.ค.63 เม.ย.63 พ.ค.63 ม.ิ ย.63 ก.ค.63 ส.ค.63 ก.ย.63 4.3 6.65 8.9 4.71 1.93 4.3 5.65 5.60 6.11 5.00 0 0.17 0.1 0 0.19 0.06 0.05 0.05 0.05 0.21 0 0 0 0 0 7.35 5.41 0 1.44 1.42 0 0 0 0 1.17 0 0 0 0 0 2.36 0 0.29 0 1.73 5.07 9.15 43.72 8.67 14.72 0.52 0.96 0.57 0.7 0.58 0.92 0.8 1.04 0.67 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0.67 0 33
ตารางที่ 23 แสดงผลการดาเนนิ งานสว่ น Patient Safety KPI หน่วยนับ Goal ต.ค.62 พ.ย.62 ธ.ค.62 000 การเกิดแพย้ าซา้ (OPD) ครง้ั 0 000 000 การเกดิ แพย้ าซ้า (Ex5) ครงั้ 0 000 การเกดิ แพย้ าซา้ (IPD) ครัง้ 0 000 อุบตั กิ ารณร์ ะบตุ ัวผูป้ ว่ ยผิดพลาด ครั้ง 0 000 0 (OPD) (ครง้ั ) ครง้ั 0 0 0.09 0 0 IPSG 1 อบุ ัติการณร์ ะบตุ ัวผู้ปว่ ยผิดพลาด ครง้ั 0 000 (Ex5) (คร้ัง) 0 ครง้ั /1000 0 000 อบุ ัตกิ ารณ์ระบตุ ัวผปู้ ว่ ยผิดพลาด ใบยา 0 0 000 (IPD) (คร้ัง) ครง้ั /1000 ใบยา 000 Pre-dispensing error - HAD ครง้ั /1000 0 0.24 0.27 (OPD) ใบยา Dispensing Error - HAD (OPD) ครง้ั /1000 ใบยา Pre-dispensing Error - HAD IPSG 3 (Ex5) ครง้ั /1000 วันนอน Dispensing Error - HAD (Ex5) คร้งั /1000 วันนอน Pre-dispensing error - HAD (IPD) Dispensing Error - HAD (IPD)
2 ม.ค.63 ก.พ.63 ม.ี ค.63 เม.ย.63 พ.ค.63 มิ.ย.63 ก.ค.63 ส.ค.63 ก.ย.63 000000000 000000000 000000000 000000002 000000000 000000000 0.17 0.61 0 0 0.18 0.16 0.10 0.15 0.05 000000000 000000000 000000000 0 0 0 0 0 0 0.35 0 0.67 0 0 0 0 0 0 0 0.33 0 34
FINANCIAL Increase Income ตารางท่ี 24 แสดงมูลคา่ ส่วนแถมจากยาและเวชภณั ฑ์ท่ตี ่อรองได้ เดอื น ต.ค.-62 พ.ย.-62 ธ.ค.-62 ม.ค.-63 ก.พ.-63 575,662 มลู คา่ ส่วนแถม 1,559,224 1,301,022 986,789 861,810 26,469,902 มูลคา่ ซอื้ ทัง้ หมด 32,459,867 29,134,081 29,814,560 34,636,731 2.17 3 รอ้ ยละ 4.80 4.47 3.31 2.49 แผนภูมิท่ี 10 แสดงมลู คา่ สว่ นแถมจากยาและเวชภณั ฑ์ที่ต่อรองได้ แผนภมู ิแทง่ แสดงมลู ค่าซอ้ื เปรยี บเท ส.ค.-63 5,000,000 10,000,000 15,000,000 20,000,000 มิ.ย.-63 เม.ย.-63 ก.พ.-63 ธ.ค.-62 ต.ค.-62 0
ม.ี ค.-63 เม.ย.-63 พ.ค.-63 ม.ิ ย.-63 ก.ค.-63 ส.ค.-63 ก.ย.-63 926,751 676,069 335,895 1,479,519 1,516,629 1,492,518 582,504 36,455,855 22,118,239 15,763,319 21,742,665 27,715,436 25,380,596 20,368,424 2.54 3.06 2.13 6.80 5.47 5.88 2.86 ทยี บกบั มูลคา่ แถมในแตล่ ะเดือน มูลคา่ ส่วนแถม มลู ค่าซอ้ื ทั้งหมด 25,000,000 30,000,000 35,000,000 40,000,000 35
แผนภมู ิท่ี 11 แสดงมลู คา่ จาหน่ายและกาไรจากการผลิต Avastin Pre-filled syringeมูล ่คา (บาท)มลู ค่าจาหน่าย 250,000 ทุน กาไร 200,000 150,000 100,000 50,000 0 Oct-19 Dec-19 Feb-20 Apr-20 Jun-20 Aug-20 ตารางที่ 25 แสดงมูลคา่ จาหนา่ ยและกาไรจากการผลิต Avastin Pre-filled syringe เดอื น มลู ค่าจาหนา่ ย ทนุ กาไร Oct 2019 174,600 65,734.20 108,685.80 Nov 2019 173,600 65,734.20 107,865.80 Dec 2019 138,400 65,734.20 72,665.80 Jan 2020 174,800 131,468.40 43,331.60 Feb 2020 182,700 65,734.20 116,965.80 Mar 2020 179,200 65,734.20 113,465.80 Apr 2020 128,400 65,734.20 62,665.80 May 2020 166,800 131,468.40 35,331.60 June 2020 173,600 65,734.20 107,865.8 July 2020 203,400 65,734.20 137665.8 Aug 2020 217,200 131,468 85,731.6 Sep 2020 187,200 84,358.89 102,841.11 Decrease Cost ตารางที่ 26 แสดงจานวนการปดิ บลิ ภายใน 30 วนั เดือน ต.ค.62 พ.ย.62 ธ.ค.62 ม.ค.63 ก.พ.63 มี.ค.63 เม.ย.63 พ.ค.63 ม.ิ ย.63 ก.ค.63 ส.ค.63 ก.ย.63 จานวนบิลท้ังหมด 600 590 531 566 580 622 439 365 420 513 554 462 จานวนบิลทป่ี ดิ ไม่ได้ 510000000000 ปิดได้ร้อยละ 99.17 99.84 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 36
แผนภูมิที่ 12 แสดงรอ้ ยละของบิลท่ีสามารถปิดได้ใน 30 วนั 100.2 100 99.8 99.6 99.4 99.2 99 98.8 98.6 จากการจดั ซ้ือจัดจา้ ง เกิดการต่อรองราคายาและเวชภณั ฑ์ ทาให้ราคาทนุ สินคา้ ลดลง 42 รายการ คดิ เป็นมลู ค่าโดยประมาณ 1,838,300.92 บาท/ปี (คานวณจากราคาท่ีลดลง*ปรมิ าณการจาหน่ายออกต่อปี จากสถิติปที ี่แลว้ ) GROWTH ในปีงบประมาณมีการประชุมวิชาการยาเขา้ บัญชีใหม่ ท้ังหมด 11 ครั้ง ดังตาราง ตารางท่ี 27 แสดงงานประชุมวชิ าการยาเข้าบัญชีใหม่ วันท่ี ชื่อยา จานวนผู้เข้าร่วม 8 ต.ค. 2562 Xofluza 43 18 ต.ค. 2562 Aerius Syrup 42 5 พ.ย. 2562 Equoral 41 10 ม.ค. 2563 Hibor 44 20 ก.พ. 2563 Forxiga 43 27 ก.พ. 2563 Nestle 44 19 มิ.ย. 2563 Diamicron 44 25 มิ.ย. 2563 Ozempic 44 9 ก.ค. 2563 Anoro Elipta 44 16 ก.ค. 2563 Zoruxa 44 17 ก.ค. 2563 Mytaff – MyhepAll 42 37
มงี านประชมุ วชิ าการที่จัดโดยหน่วยงานภายนอก 7 คร้งั ผู้เข้าร่วมประชมุ รวม 34 คน ตารางท่ี 28 แสดงงานประชุมวิชาการโดยหนว่ ยงานภายนอก วันที่ เร่อื ง จานวนผ้เู ข้ารว่ ม 22 ต.ค. 2562 AHA รพ.มหาราช นครเชยี งใหม่ 4 26 – 27 ต.ค. 2562 โครงการอบรม เรอื่ ง “กรณีศึกษาเกี่ยวกับการจัดซ้อื จัดจ้าง 5 การบริหารพัสดุ และแนวทางการแก้ไขปญั หาการปฏิบัตงิ าน ในระบบจดั ซื้อจัดจ้างภาครัฐ (e-GP) ตามพระราชบัญญตั กิ าร จดั ซือ้ จัดจา้ งลากรบรหิ ารพัสดุภาครฐั 2560” 22 พ.ย. 2562 การใชย้ าปฏชิ วี นะทถี่ ูกต้องและเหมาะสม ครงั้ ท่ี 13 (Right 4 Antibiotics for right practice) 25 – 29 พ.ย. 2562 งานประชมุ เชิงปฏิบตั กิ ารคอร์สพื้นฐาน (Basic Course) 1 สาหรับหลักสูตร ประกาศนยี บัตรการฝกึ อบรมระยะสั้น การ ประเมินและตดิ ตามอาการไม่พงึ ประสงค์จากการใชย้ า (Short Course Training Certification in Adverse Drug Reaction Monitoring) 7 – 8 ธ.ค. 2562 โครงการอบรม เร่อื ง “กรณีศึกษาเกยี่ วกับการจัดซือ้ จัดจา้ ง 5 การบริหารพัสดุ และแนวทางการแก้ไขปัญหาการปฏิบตั ิงาน ในระบบจดั ซ้ือจดั จ้างภาครัฐ (e-GP) ตามพระราชบัญญัตกิ าร จดั ซอื้ จดั จ้างลากรบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ 2560” 25 – 26 ม.ค. 2563 โครงการอบรมสัมมนาเชงิ ปฏิบตั กิ าร “การจดั หาพัสดโุ ดยวิธี 6 ประกวดราคาอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-bidding) วิธคี ดั เลอื ก และวิธี เฉพาะเจาะจง โดยละเอยี ด” 2 เม.ย. 2563 Winning the infection war: practical points for 9 COVID-19 treatment 38
การดาเนนิ งานในวกิ ฤต COVID-19 URI Clinic ทางแผนกเภสชั กรรมฯร่วมกับหน่วยบรกิ ารผู้ปว่ ยนอกได้ทาการตงั้ คลนิ ิกทางเดนิ หายใจทอ่ี าคารเวช ศาสตร์ครอบครัวในเดือนมนี าคม เปิดให้บริการตรวจรักษาผปู้ ว่ ยทมี่ ีไขห้ รืออาการทางทางเดินหายใจแต่มิใชผ่ ู้ ทีเ่ ข้าเกณฑต์ ามนยิ ามผู้สงสัยฯ ( PUI : Patient Under Investigation) อยา่ งครบวงจรรวมถึงมหี ้องจ่ายยา เพื่อให้บริการดว้ ย Frontier Clinic เปน็ การใหบ้ รกิ ารตรวจรักษาผปู้ ่วยที่มไี ข้หรืออาการทางทางเดนิ หายใจแต่มิใช่ผทู้ ่เี ขา้ เกณฑ์ตามนยิ าม ผสู้ งสัยฯ ( PUI : Patient Under Investigation) รวมถงึ ตรวจคัดกรองไวรัส COVID-19 อยา่ งครบวงจร มี ห้องจ่ายยาและให้บรกิ ารโดยเภสัชกร โดยเร่ิมใหบ้ ริการในเดือนเมษายน การจดั หายาและเวชภัณฑ์ ในวิกฤตขาดแคลนเคร่ืองมอื และอปุ กรณค์ วามปลอดภัย (Personal Protective Equipment : PPE) ทางคลังเวชภัณฑ์ได้ทาการจดั หาเพ่อื ไม่ใหเ้ กิดการขาดแคลนและสามารถให้ผปู้ ฏบิ ตั งิ านสามารถปฏบิ ัติงานได้ อย่างปลอดภยั และราบรืน่ ดว้ ยต้นทนุ ท่ดี ีท่สี ุดจาก Supplier ท่วั ประเทศ รวมท้งั ไดส้ ารองยาต่างๆตามแนว ทางการรักษาลา่ สุดเพอื่ เตรียมความพร้อมกรณีที่เกดิ การระบาดรนุ แรง ตารางที่ 29 แสดงราคาทุนเคร่ืองมือและอปุ กรณ์ความปลอดภยั ที่จัดหาได้เทยี บกบั ราคาตลาด รายการ รหสั ราคาทุน ราคาทั่วไป อัตราการใช้ ประหยัดได้ 335,835 1 กาวน์ กระดาษ GOWY00 45 130-45 3,951 1,167,620 167,555 2 Glove Size S GLOY01 81 160-81 14,780 93,825 1,164,000 3 Glove Nitrite Size M 165 320-165 1,081 207,129 3,135,963 4 กาวน์ CPE GOWY01 11 14.98-11 23,574 5 Posequat POSE03 250 650-250 2,910 6 Alcohol Pad ALCY01 0.64 1.25-0.64 339,555 ประมาณมูลค่าที่สามารถประหยัดได้ งานผลติ Alcohol Hand Rub ทางห้องผลติ แผนกเภสัชกรรมฯ ไดเ้ ปิดงานผลติ แอลกอฮอล์ และแอลกอฮอล์เจลเพอ่ื ใชใ้ นช่วงท่มี กี าร ขาดแคลน โดยเร่ิมดาเนินงานตั้งแต่เดือนมนี าคม ไดท้ าการผลติ แอลกอฮอล์สาหรับลา้ งมือรวม 2,484 ลิตร รวมแล้วสามารถประหยดั ต้นทนุ ในการซื้อแอลกอฮอลไ์ ด้ประมาณ 156,752 บาท และสามารถแก้ไขปัญหา การขาดแคลนได้ 39
โครงการจดั สง่ ยาทางไปรษณีย์ Medication Refill Clinic ทางแผนกเภสัชกรรมร่วมกับแผนกบริการผูป้ ่วยนอก มกี ารเปดิ บรกิ ารใหม่คือโครงการจัดสง่ ยาทาง ไปรษณีย์ในช่วงทม่ี ีการระบาดของไวรัส COVID-19 โดยได้ทาการจัดสง่ ยาสาหรับผ้ปู ่วยโรคเร้อื รงั ที่มอี าการ คงที่ โดยเริม่ ดาเนนิ การในเดือนมนี าคม 2563 ได้ให้บริการไปแล้ว 3,702 เคส รวมเป็นรายได้จากการจาหนา่ ย ยา 14,618,809 บาท การปรับอัตรากาลงั ในชว่ งทมี่ กี ารระบาด ส่งผลให้ผรู้ บั บริการในโรงพยาบาลลดลง ทางแผนกจงึ มีการปรบั อตั รากาลังให้ เหมาะสมกบั ภาระงานต้ังแตเ่ ดอื นเมษายน โดยสามารถลดค่าล่วงเวลาได้ดงั นี้ ตารางที่ 30 แสดงคา่ ลว่ งเวลาแผนกเภสชั กรรมและอุปกรณ์ เดอื น หน่วยงาน คลงั เวชภัณฑ์ รวม เภสัชกรรมผปู้ ่วยนอก เภสัชกรรมผปู้ ว่ ยใน 17,220.00 16,174.38 331,925.00 ตลุ าคม 2562 124,411.25 190,293.75 19,440.00 335,689.38 18,228.75 402,718.75 พฤศจิกายน 2562 114,852.50 204,662.50 15,840.00 342,997.75 23,586.25 351,270.00 ธนั วาคม 2562 151,061.25 232,217.50 1,820.00 347,175.00 6,377.50 159,847.50 มกราคม 2563 109,917.75 214,851.25 5,683.75 292,575.00 8,487.50 233,166.25 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 125,871.25 209,558.75 4,500.00 332,988.75 13,812.50 323,268.75 มนี าคม 2563 117,160.00 206,428.75 327,601.25 เมษายน 2563 41,515.00 116,512.50 พฤษภาคม 2563 78,127.50 208,070.00 มิถนุ ายน 2563 76,545.00 150,937.50 กรกฎาคม 2563 128,341.25 196,160.00 สงิ หาคม 2563 119,222.50 199,546.25 กนั ยายน 2563 131,556.25 182,232.50 แผนภมู ทิ ่ี 13 แสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งคา่ ลว่ งเวลาแผนกเภสัชกรรมฯและจานวนผปู้ ่วยรับยา 450,000.00 14,000 400,000.00 350,000.00 12,000 300,000.00 250,000.00 10,000 200,000.00 150,000.00 8,000 100,000.00 6,000 คา่ ล่วงเวลา 50,000.00 4,000 ผปู้ ่วยรับยา 0.00 2,000 ต.ค.-62 0 พ.ย.-62 ธ.ค.-62 40 ม.ค.-63 ก.พ.-63 มี.ค.-63 เม.ย.-63 พ.ค.-63 มิ.ย.-63 ก.ค.-63 ส.ค.-63 ก.ย.-63
หลักสตู รการเรียนร้นู อกเวลา เนอ่ื งจากการลดอัตรากาลังดังกล่าว จึงใหม้ ีการเรียนรู้ด้วยตนเองของพนกั งานในแผนกผา่ นหลักสตู ร Online โดยมพี นกั งานที่เข้าร่วม 51 คน รวมหัวข้อท่ีศึกษาจานวน 89 เรื่อง 41
แผนการดาเนินงานในปงี บประมาณ 2564 ระบบงาน แผนพฒั นา กระบวนการ - ดาเนินการจัดซื้อยาตาม ตาม พรบ.จัดซอื้ จดั จา้ ง พ.ศ. 2560 ใหค้ รอบคลุมรายการยาใน คดั เลอื กและ โรงพยาบาลทง้ั หมด เป้าหมาย 100% จัดหา - ปรับปรุงราคากลางตามประกาศราคากลางฉบับลา่ สุด (ลงวันที่ 2 มถิ นุ ายน 2563) นาส่ง วางแผนการจดั ซื้อจัดจ้างยาและเวชภัณฑข์ องปีงบประมาณ 2564 - ตดิ ตามรายการท่ีไม่มกี ารเคลอ่ื นไหวเพื่อพิจารณาออกจากบัญชเี พื่อลดมลู ค่าคงคลังและ คา่ ใช้จา่ ยอันเน่ืองจากการวาง stock - มีระบบกาหนด min-max ตามอตั ราการใชง้ าน พัฒนาระบบการแจง้ เตอื นสารองยาตาม min และ lead time เพอื่ ลดปัญหายาขาดทจี่ ุดจ่ายยา การจดั เกบ็ ยา - จัดทาระบบตรวจสอบคุณภาพยาอย่างสม่าเสมอ และการกระจาย - สอ่ื สารนโยบายการจดั เกบ็ ยา เพื่อการจดั เก็บยาอยา่ งถกู ต้องเหมาะสมต่อคุณภาพยาและ ยา ลดอบุ ัติการณย์ าหมดอายจุ ากการเกบ็ สต็อกทีห่ น่วยงาน - พฒั นาระบบ replenishสาหรับการสารองยาในหอ้ งยาต่างๆ - มีระบบขนสง่ ยาภายในระหว่างคลัง 1 – คลงั 3 – ห้องจ่ายยาต่างๆ - ร่วมกับฝา่ ยการพยาบาล ทบทวนรายการยาสารองหอผปู้ ่วยและหนว่ ยงานใหเ้ ปน็ ไปตาม ความจาเปน็ ของแตล่ ะหนว่ ยงานเพ่อื ใหพ้ ร้อมใช้แต่ไมส่ นิ้ เปลือง - จัดให้ใช้กล่องล็อคกญุ แจสาหรับขนส่งยาเสพติดตามมาตรฐาน การส่ังใชย้ า -เภสัชกรปฏิบัติงานบนหอผปู้ ว่ ย ช่วยการทา Medication reconciliation เพ่ือประสาน รายการยาเดมิ ของผปู้ ว่ ยทงั้ แรกรับและจาหนา่ ยออก - พฒั นาระบบการสัง่ ใช้ยารว่ มกบั ทีมสารสนเทศเพ่ือลด Prescribing Error การถ่ายทอด - สื่อสารการถา่ ยทอดและรบั คาส่งั ตามนโยบาย คาส่งั ยา การเตรยี มยาและ - เภสัชกรเปน็ ผู้ตรวจสอบรายการยาและสงั่ พิมพ์ใบจัด ดาเนินการจดั ยาโดยพนักงานประจา การจ่ายยา หอ้ งยารว่ มกับการใช้ระบบบริหารจดั การยาผู้ปว่ ยอัตโนมตั ิแบบครบวงจรและมีเภสชั กร ตรวจสอบความถูกตอ้ งก่อนจ่ายยา 2 ตาแหน่ง - ปรับปรุงระบบยา LASA ใหม้ ีประสิทธิภาพเพือ่ ลด Medication Error จากการจัดและจ่าย ยาคลาดเคลือ่ น - ปรบั รปู แบบฉลากยา ฉลากชว่ ยเพอ่ื ให้ข้อมลู แก่ผรู้ ับบรกิ าร การบริหารยา - ปรบั รปู แบบการบริหารยาให้เปน็ ไปในรปู แบบเดยี วกนั ท้งั โรงพยาบาล ตรงตามมาตรฐาน จัดให้มีการสมุ่ ประเมิน - พฒั นาระบบฐานข้อมลู การเตรียมยา ข้อมลู ยาตา่ งๆให้สามารถเข้าถึงได้โดยง่าย การตดิ ตามการ - เรมิ่ ใช้ฉลากชว่ ยการตดิ ตามการใช้ยาท่ีมีความเสี่ยงสงู ใชย้ า - สรา้ งระบบบันทึกอาการไม่พงึ ประสงคจ์ ากการใช้ยาให้สามารถใช้ได้จรงิ สะดวกกับหนา้ งาน - มกี ารจัดทารายงานบันทกึ อาการไม่พงึ ประสงค์ส่งศนู ยเ์ ฝา้ ระวงั ความปลอดภยั ดา้ น ผลิตภณั ฑ์สขุ ภาพ สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา 42
ระบบงาน แผนพฒั นา การจดั การยาที่ ทาฉลากชว่ ยการบริหารยาท่ีต้องระมดั ระวงั สูงใหส้ ะดวกกับหนา้ งาน ต้องระมัดระวังสูง จัดระบบการประเมนิ และติดตามการปฏบิ ตั ิตามนโยบายการจัดการยาทตี่ ้องระมัดระวงั สงู ดูแลการจดั เกบ็ ยาทต่ี ้องระมัดระวังสงู ในหน่วยงานต่างๆใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน จัดให้มกี ารขนส่งยาเสพตดิ ดว้ ยกล่องล็อคกุญแจ 43
ภาพกิจกรรม 20 ตุลาคม 2562 โรงพยาบาลลาปางศกึ ษาดูงานระบบจดั ยาอตั โนมตั ิ 44
ส่งพนักงานที่เกี่ยวข้องเข้าอบรมจดั ซื้อจดั จ้าง ประชุมแผนการรบั มือ COVID-19 รว่ มกบั โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ 45
Search