46 ตัวบง่ ชี้ 2.3 คุณภาพส่อื ตามหลกั สตู รสถานศึกษา ประเภท ปัจจัยปอ้ น กระบวนการ ผลผลิต/ผลลพั ธ์ นา้ หนกั คะแนน 5 คะแนน คาอธิบายตัวบ่งช้ี 2.3 คุณภาพสอ่ื ตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ส่ือตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา หมายถงึ ส่ือส่ิงพิมพ์ สือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ สอ่ื บุคคล ภมู ิปญั ญา และแหล่งเรียนรู้ ซ่งึ ครูสามารถพัฒนาสื่อการเรียนร้ขู ้ึนเอง หรือเลือกใช้สอ่ื ตา่ ง ๆ และข้อมลู สารสนเทศที่เกย่ี วข้องมาใช้ในการจัด กระบวนการเรียนรู้ไดอ้ ย่างเหมาะสม คุณภาพสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา พิจารณาจากสื่อที่มีความสอดคล้องตามหลักสูตรสถานศึกษา วธิ ีการเรียนรู้ และความแตกต่างระหว่างบคุ คล เพ่อื ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นเกิดความเขา้ ใจในเนื้อหาสาระไดง้ ่าย ชัดเจน ทบทวนการเรยี นรู้ไดด้ ้วยตนเอง ส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และบรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้วี ัด ของรายวชิ าต่าง ๆ ในหลักสูตรสถานศกึ ษา ประเดน็ การพิจารณา การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น รายประเดน็ ดงั น้ี 1. สถานศกึ ษามีการดาเนนิ งานที่เปน็ กระบวนการในการจดั หาหรอื จัดทาสอ่ื อย่างไร 2. สถานศึกษามีการทบทวน หรือติดตาม หรอื ประเมินสือ่ ตามหลักสูตรสถานศึกษาอยา่ งไร 3. สถานศึกษามีการทบทวน หรือติดตาม หรือประเมินกระบวนการจัดหาหรือจัดทาสื่อตามหลักสูตร สถานศึกษา เพอื่ นาไปปรบั ปรงุ กระบวนการอย่างไร 4. สถานศึกษามีการดาเนินงานที่สอดคลอ้ งกับ นโยบายและจุดเน้นของสานกั งาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ /ยทุ ธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี อยา่ งไร 5. สถานศึกษามีการจดั หาหรอื จัดทาส่อื ตามหลักสตู รสถานศึกษาอย่างไร ที่เป็นตน้ แบบ
47 เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเดน็ 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน 1. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึ กษาสามารถอธิบ าย สถานศึ กษาสามารถอธิบ าย สถานศกึ ษาไม่มี หรอื ที่เป็นกระบวนการในการจัดหา กระบ วนการ ด าเนิ น งาน ใน กระบ วนการ ด าเนิ น งาน ใน มีการดาเนินงาน แต่ไม่สามารถ หรือจัดทาสื่ออย่างไร การจัดหาหรือจัดทาสื่อได้อย่าง การจัดหาหรือจัดทาสื่อได้อย่าง อธิบายกระบวนการการดาเนนิ งาน เป็นข้ันตอน มีการปฏิบัติอย่าง เปน็ ขนั้ ตอน แต่ขาดความชดั เจน ในการพัฒนาหรอื จัดหาสือ่ ได้ ชดั เจนสง่ ผลต่อความสาเรจ็ ได้ 2. สถานศึกษามีการทบทวน สถานศึกษาสามารถ อธิบาย สถานศึกษาสามารถ อธิบาย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย หรือติดตาม หรือประเมินสื่อ วิธีการท่ีทาให้ทราบว่าส่ือตาม วิธีการที่ทาให้ทราบว่าส่ือตาม วิธีการที่ทาให้ทราบว่าส่ือตาม ต าม ห ลั ก สู ต ร ส ถ าน ศึ ก ษ า หลักสูตรสถานศึกษามีคุณภาพ หลักสูตรสถานศึกษามีคุณภาพ หลักสูตรสถานศึกษามีคุณภาพ อย่างไร ตามคาอธิบายได้อย่างชัดเจน ตามคาอธิบาย แต่ไม่ชัดเจน ตามคาอธิบายได้ มีความเปน็ เหตุเป็นผล เชอ่ื ถือได้ ไม่เป็นเหตเุ ป็นผล 3. สถานศึกษามีการทบทวน สถานศึ กษาสามารถอธิ บ าย สถานศึ กษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาไม่มีวิธีการทบทวน ห รื อติ ด ต าม ห รื อป ร ะ เมิ น วิธีการทบทวน หรอื ติดตาม หรือ วธิ ีการทบทวน หรอื ติดตาม หรือ ห รื อติ ด ต าม ห รื อ ป ระ เมิ น กระบวนการจัดหาหรือจัดทาส่ือ ประเมิน กระบวนการจัดหาหรือ ประเมิน กระบวนการจัดหาหรือ กระบวนการจดั หาหรอื จดั ทาส่ือ ตามหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือ จัดทาสื่อได้อย่างเป็นข้ันตอน จัดทาส่ือ ได้อย่างเป็นข้ันตอน นาไป ปรับป รุงกระบ วนการ ชดั เจน แตไ่ มช่ ัดเจน อยา่ งไร 4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศกึ ษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศึกษาอธบิ ายการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ที่ สอดคล้ องกับ นโยบายและ ท่ี สอดคล้องกั บ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกั บ นโยบายและ การดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับ จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร ได้อยา่ งชัดเจน ได้ แต่ไมช่ ดั เจน ได้ 5. สถานศึกษามีการจัดหาหรือ สถานศึกษามีกระบวนการจัดหา สถานศึกษามีกระบวนการจัดหา สถานศึกษามีกระบวนการจัดหา จั ด ท า สื่ อ ต า ม ห ลั ก สู ต ร ห รือจัด ท าส่ื อต ามห ลั กสู ต ร ห รือจัด ท าส่ื อต ามห ลั กสู ต ร ห รือจัด ท าสื่ อต ามห ลั กสู ต ร ส ถ าน ศึ กษ าอย่ างไร ที่ เป็ น สถานศกึ ษาที่เป็นต้นแบบ สถานศึกษา ท่ีเป็นวิธีปฏิบัติท่ีดี สถานศึกษา แต่ยังไม่เป็ นวิธี ต้นแบบ (Best Practice) หรือนวัตกรรม ปฏบิ ตั ิท่ดี ี (Best Practice) (Innovation) ตารางเทียบคะแนนระดบั คุณภาพ ต้องปรับปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00 ระดบั คุณภาพ ต้องปรบั ปรงุ เร่งด่วน คะแนน 0.00 0.50 1.00
48 แนวทางการดาเนนิ งานของสถานศึกษา 1. สถานศึกษาควรจดั ให้มีกระบวนการจัดหาหรอื จัดทาสื่อให้สอดคล้องกับหลักสตู รสถานศึกษา โดยครู หรือผู้รู้ ผู้เชยี่ วชาญเน้อื หารว่ มกนั พิจารณาคัดเลอื กหรือจัดทาส่อื 2. สถานศึกษาควรมีการทบทวน ติดตาม หรือประเมนิ การใช้สอ่ื และกระบวนการจัดหาหรอื จดั ทาสอ่ื ตาม หลักสูตรสถานศึกษา เพือ่ พัฒนาและปรับปรุงสื่อ และกระบวนการจัดหาหรือจัดทาส่ือตามหลักสูตรสถานศึกษา เชน่ ผรู้ ูห้ รอื ผเู้ ช่ยี วชาญตรวจความถกู ตอ้ งเนอ้ื หาของส่อื เป็นต้น 3. สถานศกึ ษาควรจัดทาข้อมลู สารสนเทศเกย่ี วกับสือ่ ตามหลักสตู รสถานศึกษา 4. สถานศึกษาควรจัดกจิ กรรมท่สี ง่ เสริมสนบั สนุนใหค้ รูจดั ทา พฒั นาสือ่ ตามหลักสตู รสถานศึกษา สาหรับ นาไปใชใ้ นการจดั กระบวนการเรยี นรู้ เช่น ประกวดสื่อดีเดน่ ส่ือสรา้ งสรรค์ การอบรมจัดทาสื่อ ศึกษาดูงานด้านการผลิต สื่อการเรียนรู้ วธิ กี ารเรียนรผู้ า่ นระบบออนไลน์ (E-learning) เปน็ ต้น
49 ตัวบ่งช้ี 2.4 คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรสถานศึกษา ประเภท ปัจจยั ป้อน กระบวนการ ผลผลติ /ผลลพั ธ์ น้าหนักคะแนน 5 คะแนน คาอธิบายตวั บ่งช้ี 2.4 คุณภาพการจัดกระบวนการเรยี นรตู้ ามหลักสูตรสถานศึกษา การจดั กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา หมายถงึ การออกแบบและจัดกระบวนการเรยี นรู้ ในลักษณะรายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ ซ่ึงครูและผู้เรียนร่วมกันวางแผนการเรียนรู้ เลือกวิธีเรียน โดยใช้สื่อ การเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น เอกสาร สื่อเทคโนโลยี แหล่งการเรียนรู้ และภมู ิปัญญา รวมท้ังเลือกวธิ ีการวัดและ ประเมินผล เพ่อื ให้ผ้เู รียนมคี วามรู้ ความสามารถสอดคล้องตามมาตรฐาน ตัวช้วี ัด และเนื้อหารายวิชา อันจะสง่ ผล ต่อการบรรลจุ ุดหมายของหลักสตู รสถานศึกษา คุณภาพการจดั กระบวนการเรียนร้ตู ามหลักสูตรสถานศึกษา พิจารณาจากการจัดกระบวนการเรียนรู้ ทีค่ านงึ ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล เพ่อื ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติ เตม็ ตามศกั ยภาพ มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ และคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ ประเดน็ การพจิ ารณา การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น รายประเด็น ดังน้ี 1. ครูการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานมกี ระบวนการในการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนร้รู ายวชิ าหรอื หนว่ ยการเรยี นรู้ ทีใ่ ห้ความสาคญั กับความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของผเู้ รยี นอย่างไร 2. ครูการศึกษาขัน้ พื้นฐานทราบได้อย่างไรว่า ผเู้ รียนมีความรู้ ความสามารถ บรรลุตามมาตรฐาน ตวั ช้ีวัด ของรายวชิ าหรือหน่วยการเรียนรู้ 3. ครูมีการทบทวน หรือติดตาม หรือประเมินกระบวนการการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้ รายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ เพ่อื นาไปปรบั ปรงุ กระบวนการอยา่ งไร 4. สถานศึกษามีการดาเนินงานทีส่ อดคล้องกับ นโยบายและจุดเนน้ ของสานักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ /ยทุ ธศาสตรแ์ ละเปา้ หมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อยา่ งไร 5. ครกู ารศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานมีการออกแบบและจดั กระบวนการเรียนรู้รายวิชาหรอื หน่วยการเรยี นรู้อยา่ งไร ที่เปน็ ตน้ แบบ
50 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ประเดน็ 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน 1. ครูการศึ กษาขั้ นพื้ นฐาน ครูสามารถอธิบายกระบวนการ ครูสามารถอธิบายกระบวนการ ครูไมม่ ี หรือ มีกระบวนการในการออกแบบ ดาเนินงานการออกแบบและ ดาเนินงานการออกแบบและ มีการดาเนินงาน แต่ไม่สามารถ และจัด กระบ วนการเรีย นรู้ จัดกระบวนการเรียนรู้รายวิชา จัดกระบวนการเรียนรู้รายวิชา อธิบายกระบวนการการออกแบบ รายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ ห รือห น่ วย การเรียน รู้ ที่ ให้ ห รือห น่ วย การเรียน รู้ ท่ี ให้ และจั ดกระ บ วนการเรียน รู้ ทีใ่ ห้ความสาคัญกับความแตกต่าง ความสาคัญกับความแตกต่าง ความสาคัญกับความแตกต่าง รายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ท่ี ระหว่างบคุ คลของผ้เู รียนอยา่ งไร ระหว่างบคุ คลของผเู้ รียน ได้อยา่ ง ระหว่างบุคคลของผู้เรียน ได้ ให้ความสาคญั กับความแตกต่าง เปน็ ขนั้ ตอน ชัดเจน แตไ่ มช่ ัดเจน ระหวา่ งบุคคลของผเู้ รียน 2. ครูการศึกษาขน้ั พื้นฐานทราบได้ ครูอธิบายวิธีการวัดและประเมินผล ครูอธิบายวิธีการวัดและประเมินผล ครูมีวิธีการวัดและประเมินผล อย่ างไรว่ า ผู้ เรี ย นมี ความรู้ ผเู้ รียนทีส่ อดคล้องกับกระบวนการ ผู้ เรี ย น ที่ ไม่ ส อ ด ค ล้ อ งกั บ ผูเ้ รยี น แตไ่ มส่ ามารถอธบิ ายได้ ความสามารถ บรรลุตามมาตรฐาน จัดการเรียนรู้เพ่ือให้บรรลุตาม กระบวนการจัดการเรียนรู้เพอ่ื ให้ ตัวช้ีวัดของรายวิชาหรือหน่วย มาตรฐาน และตัวช้ีวัดของรายวิชา บรรลุตามมาตรฐาน และตัวชี้วัด การเรยี นรู้ หรอื หน่วยการเรยี นรู้ ของรายวชิ าหรือหน่วยการเรียนรู้ 3. ครมู ีการทบทวน หรอื ติดตาม ครูสามารถอธิบายวิธีการทบทวน ครูสามารถอธิบายวิธีการทบทวน ครูไม่ มี วิ ธีการทบ ท วน หรื อ ห รือ ป ร ะ เมิ น กร ะ บ วน การ ห รื อ ติ ด ต าม ห รื อป ร ะ เมิ น ห รื อ ติ ด ต าม ห รื อป ร ะ เมิ น ตดิ ตาม หรือประเมินกระบวนการ การออกแบบและจัดกระบวนการ กระบวนการการออกแบบและ กระบวนการการออกแบบและ ออกแบบและจัดกระบวนการ เรี ย น รู้ ร าย วิ ช า ห รื อ ห น่ ว ย จัดกระบวนการเรียนรู้รายวิชา จัดกระบวนการเรียนรู้รายวิชา เรี ย น รู้ ร าย วิ ช า ห รื อ ห น่ ว ย การเรียนรู้ เพื่อนาไปปรับปรุง หรือหน่วยการเรียนรู้ได้อย่าง หรือหน่วยการเรียนรู้ได้อย่าง การเรยี นรู้ กระบวนการอยา่ งไร เป็นขัน้ ตอนและชัดเจน เปน็ ขัน้ ตอนแต่ไม่ชดั เจน 4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศึกษาอธิบายการดาเนนิ งาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ การดาเนินงานที่สอดคล้องกับ จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร ได้อย่างชดั เจน ได้ แตไ่ มช่ ดั เจน ได้ 5. ครูการศึ กษาขั้ นพ้ื นฐาน ค รู ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น ค รู ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น ค รู ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น มี ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ จั ด มีกระบวนการในการออกแบบ มีกระบวนการในการออกแบบ มีกระบวนการในการออกแบบ กระบวนการเรียนรู้รายวิชาหรือ และจัด กระบ วนการเรีย นรู้ และจัด กระบ วนการเรีย นรู้ และจัด กระบ วนการเรีย นรู้ หน่วยการเรียนรู้อย่างไร ท่ีเป็น รายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ท่ี รายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ท่ี รายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ ต้นแบบ เป็นต้นแบบ เ ป็ น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ท่ี ดี ( Best แต่ยังไม่เป็นวิธีปฏิบัติท่ีดี (Best Practice) ห รื อ น วั ต ก ร ร ม Practice) (Innovation) ตารางเทยี บคะแนนระดบั คณุ ภาพ ต้องปรับปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00 ระดบั คณุ ภาพ ต้องปรบั ปรงุ เร่งดว่ น คะแนน 0.00 0.50 1.00
51 แนวทางการดาเนินงานของสถานศกึ ษา 1. ครูควรวิเคราะหผ์ ู้เรยี นรายกลุ่มหรือรายบุคคล เพ่ือนาไปออกแบบ และจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ อย่างเหมาะสม โดยกาหนดกระบวนการจัดการเรียนรู้ สอ่ื และวธิ ีการวัดและประเมินผลทหี่ ลากหลาย สอดคลอ้ ง กบั จุดมุ่งหมายของหลักสูตร เช่น การออกแบบใบงาน กิจกรรมตา่ ง ๆ ทีเ่ นน้ การวดั และประเมนิ ผลทห่ี ลากหลาย 2. ครจู ดั กระบวนการเรียนรู้ตามแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่กี าหนดไว้ 3. ครูควรบันทึกหลงั จดั กระบวนการเรยี นรู้ เพ่อื ใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการปรบั ปรุง/พฒั นาการจดั กระบวนการเรียนรู้ ทงั้ น้ี อาจนาผลจากการบันทึกไปใชใ้ นการจัดทาวจิ ัยในช้นั เรยี น 4. สถานศึกษาควรนิเทศ ตดิ ตาม หรือประเมนิ ผลการจัดกระบวนการเรยี นรู้ของครูอยา่ งต่อเน่อื ง พรอ้ มทงั้ ให้คาปรึกษา ความคดิ เห็น และข้อเสนอแนะทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การจัดกระบวนการเรียนรู้ เช่น การสังเกตการจัด กระบวนการเรยี นรู้ (สังเกตการสอน) การแสดงความคดิ เห็นของผู้บริหารสถานศึกษาในบนั ทกึ หลังจดั กระบวนการ เรียนรู้ การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ทั้งท่เี ป็นทางการและไม่เปน็ ทางการ เป็นตน้
52 การศึกษาต่อเนื่อง ตวั บ่งชี้ 2.5 คณุ ภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนอื่ ง ประเภท ปจั จัยปอ้ น กระบวนการ ผลผลติ /ผลลพั ธ์ นา้ หนักคะแนน 5 คะแนน คาอธิบายตัวบ่งชี้ 2.5 คณุ ภาพวทิ ยากรการศกึ ษาต่อเนื่อง วิทยากรการศกึ ษาต่อเน่ือง หมายถึง บุคคลท่ไี ด้รับการแตง่ ตั้งจากสถานศึกษาให้เป็นวทิ ยากรการศึกษา ต่อเน่ือง ประกอบด้วย การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน ที่จัดใน รูปแบบกลุม่ สนใจ ชั้นเรียนวิชาชีพ และการฝึกอบรม คณุ ภาพวิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง พิจารณาจากความมงุ่ มั่นในการปฏิบตั ิงานในหน้าที่อยา่ งมีคุณภาพ โดยเป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการและจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาต่อเนื่อง และปฏิบัติงานใน การบริหารจัดการเรยี นรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรู้ ความเช่ียวชาญเฉพาะด้านนั้น ๆ ท่ีจะส่งผลให้ผ้เู รียน มีความรู้ ทักษะ บรรลุตามจดุ มงุ่ หมายของหลกั สูตร ประเดน็ การพจิ ารณา การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น รายประเดน็ ดงั นี้ 1. สถานศึกษามีการดาเนินงานทเ่ี ปน็ กระบวนการในการสง่ เสริม หรอื พฒั นาวทิ ยากรการศึกษาต่อเน่อื งใหม้ ี คุณภาพอย่างไร 2. สถานศกึ ษาทราบได้อยา่ งไรว่า วทิ ยากรการศึกษาต่อเน่อื งมีความร้ตู ามที่ไดร้ ับการส่งเสริมหรือพัฒนา 3. สถานศึกษามีการทบทวน หรือติดตาม หรือประเมินกระบวนการในการส่งเสริมหรือพัฒนาวิทยากร การศึกษาตอ่ เนอ่ื งใหม้ คี ณุ ภาพอยา่ งไร 4. สถานศกึ ษามีการดาเนินงานท่สี อดคลอ้ งกับ นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธกิ าร /ยทุ ธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี อย่างไร 5. สถานศึกษามีการส่งเสริม หรือพัฒนาวิทยากรการศึกษาตอ่ เนอื่ งอยา่ งไร ท่ีเปน็ ต้นแบบ
53 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเด็น 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน 1. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึ กษาสามารถอธิบาย สถานศึ กษาสามารถอธิบาย สถานศกึ ษาไม่มี หรอื ที่เป็นกระบวนการในการส่งเสรมิ กระบวนการในการส่งเสริม หรือ กระบวนการในการส่งเสรมิ หรือ มีการดาเนินงาน แต่ไม่สามารถ หรือพัฒนาวิทยากรการศึกษา พั ฒ น าวิ ท ย าก ร ก าร ศึ ก ษ า พั ฒ น าวิ ท ย าก ร ก าร ศึ ก ษ า อธิบายกระบวนการในการส่งเสริม ตอ่ เนื่องใหม้ ีคุณภาพอย่างไร ต่อเนอื่ งไดอ้ ยา่ งเป็นข้นั ตอน และ ต่อเน่อื งได้ แตไ่ ม่ชัดเจน หรือพัฒนาวิทยากรการศึกษา ชัดเจน ตอ่ เนื่อง 2. สถานศกึ ษาทราบได้อย่างไรว่า สถานศึกษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย วิทยากรการศึกษาต่อเน่ืองมี วิธีการท่ีทาให้ทราบว่าวิทยากร วิธีการท่ีทาให้ทราบว่าวิทยากร วิธีการท่ีทาให้ทราบว่าวิทยากร ความรู้ตามท่ีได้รับการส่งเสริม การศึ กษาต่อเนื่ องมี ค วามรู้ การศึ กษาต่อเนื่ องมี ค วามรู้ การศึ กษาต่อเนื่ องมี ค วามรู้ หรือพฒั นา ตามที่ได้รับการส่งเสริมหรือ ตามที่ได้รับการส่งเสริมหรือ ตามที่ได้รับการส่งเสริมหรือ พัฒนาได้อย่างชัดเจน มีความ พฒั นา แต่ไม่ชัดเจน ไม่เป็นเหตุ พฒั นา เป็นเหตุเปน็ ผล เช่ือถือได้ เปน็ ผล 3. สถานศึกษามีการทบทวน สถานศึ กษาสามารถอธิบาย สถานศึ กษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาไม่มีการทบทวน ห รื อติ ด ต าม ห รือ ป ร ะ เมิ น วิธีการทบทวน หรือติ ดตาม วิธีการทบทวน หรือติ ดตาม ห รื อ ติ ด ต าม ห รื อป ร ะ เมิ น กระบ วนการในการส่งเสริม หรือประเมิน กระบวนการใน หรือประเมินกระบวนการใน กระบ วนการในการส่งเสริม หรือพัฒนาวิทยากรการศึกษา การส่งเสริม หรอื พัฒนาวิทยากร การส่งเสรมิ หรือพัฒนาวิทยากร หรือพัฒนาวิทยากรการศึกษา ตอ่ เนือ่ งให้มคี ุณภาพอย่างไร การศึกษาต่อเน่ืองได้อย่างเป็น การศึกษาต่อเน่ืองได้อย่างเป็น ตอ่ เนื่อง ข้นั ตอน และชัดเจน ขน้ั ตอน แตไ่ ม่ชัดเจน 4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษาอธบิ ายการดาเนินงาน สถานศึกษาอธิบายการดาเนนิ งาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ ท่ี สอดคล้องกับ นโยบายและ การดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับ จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจดุ เน้นของสานกั งาน น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อยา่ งไร ไดอ้ ย่างชัดเจน ได้ แต่ไม่ชัดเจน ได้ 5. สถานศึกษามีการส่งเสริม สถ านศึ กษ ามี กระ บ วน การ สถ านศึ กษ ามี กระ บ วน การ สถ านศึ กษ ามี กระ บ วน การ หรือพัฒนาวิทยากรการศึกษา ส่งเสริม หรือพัฒนาวิทยากร ส่งเสริม หรือพัฒนาวิทยากร ส่งเสริม หรือพัฒนาวิทยากร ต่อเนอื่ งอย่างไร ที่เปน็ ตน้ แบบ การศกึ ษาตอ่ เน่อื งท่ีเป็นตน้ แบบ การศึ กษ าต่ อเน่ื องที่ เป็ นวิ ธี การศึกษาต่อเน่ือง แต่ยังไม่เป็น ปฏิบัติที่ดี (Best Practice) หรือ วิธีปฏิบตั ทิ ่ดี ี (Best Practice) นวัตกรรม (Innovation) ตารางเทยี บคะแนนระดับคณุ ภาพ ตอ้ งปรับปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00 ระดับคณุ ภาพ ตอ้ งปรับปรงุ เร่งดว่ น คะแนน 0.00 0.50 1.00
54 แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา 1. สถานศึกษามีแนวทางหรือหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกวิทยากรท่ีชัดเจน และดาเนินการตามแนวทาง ที่กาหนด 2. สถานศึกษาควรจัดให้มกี ิจกรรมที่ส่งเสรมิ ให้วทิ ยากรมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และมีศักยภาพในการจัดการศกึ ษา ตอ่ เน่ือง เช่น การประชมุ ช้ีแจงทาความเข้าใจบทบาทหน้าทขี่ องวทิ ยากร การออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดทาส่อื การวัดและประเมินผล เป็นตน้ 3. สถานศึกษาควรนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการเรียนรขู้ องวทิ ยากร พร้อมทั้งให้คาปรึกษา ความคิดเห็น และขอ้ เสนอแนะท่ีเป็นประโยชนต์ ่อการจดั กระบวนการเรียนรู้ เช่น การสังเกตการจัดกระบวนการ เรียนรู้ (สังเกตการสอน) การแสดงความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ผู้นิเทศ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ การแลกเปลยี่ นเรียนร้ทู ั้งทีเ่ ป็นทางการและไม่เปน็ ทางการ เปน็ ต้น
55 ตวั บง่ ช้ี 2.6 คณุ ภาพของหลกั สูตรและสื่อการศึกษาตอ่ เน่ือง ประเภท ปัจจยั ป้อน กระบวนการ ผลผลติ /ผลลัพธ์ น้าหนักคะแนน 5 คะแนน คาอธิบายตวั บง่ ช้ี 2.6 คณุ ภาพของหลกั สูตรและสอื่ การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง หมายถึง แผนหรือแนวทางในการจัดการศึกษาต่อเนื่องในด้านการจัด การศึกษาเพ่อื พฒั นาอาชีพ การจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชมุ ชนท่ีจัดในรปู แบบกล่มุ สนใจ ชนั้ เรียนวิชาชีพ และการฝึกอบรม คุณภาพของหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง พิจารณาจากหลักสูตรหรือโปรแกรมการเรียนรู้ในรูปแบบ หลักสูตรระยะสั้นเกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพ และการพัฒนาสังคมและชุมชน ที่สถานศึกษาพัฒนาหรือจัดทาขึ้น อย่างเปน็ ระบบ เพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของผ้เู รยี น ชุมชน มีความยืดหยุ่นด้านเน้ือหาสาระ ระยะเวลาเรยี น และสถานที่ตามความต้องการ ความจาเป็น การเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ตามนโยบายของรัฐ โดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่ือการศึกษาต่อเน่ือง หมายถึง สื่อส่ิงพิมพ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ สื่อบุคคล ภูมิปัญญา และแหล่งเรียนรู้ ซงึ่ วิทยากรนามาใช้ในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ การฝึกปฏบิ ตั ิ การฝึกอบรม คณุ ภาพสื่อการศึกษาตอ่ เน่อื ง พิจารณาจากสื่อท่มี ีเน้ือหาถกู ต้องและทนั สมยั และสอดคล้องกบั หลักสูตร เพอื่ สง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจ และมที ักษะ เปน็ ไปตามวตั ถุประสงคข์ องหลักสูตร ประเดน็ การพจิ ารณา การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น รายประเด็น ดงั นี้ 1. สถานศึกษามีการดาเนินงานทเ่ี ปน็ กระบวนการในการจัดหา/จัดทา/พัฒนาหลักสูตรและสอื่ การศึกษาตอ่ เน่อื ง อย่างไร 2. สถานศึกษามกี ารทบทวน หรือตดิ ตาม หรอื ประเมินหลักสูตรและส่อื การศึกษาตอ่ เนือ่ งอย่างไร 3. สถานศกึ ษามกี ารทบทวน หรอื ติดตาม หรอื ประเมนิ การจดั หา/จดั ทา/พฒั นาหลักสูตรและส่ือการศึกษา ต่อเน่อื ง เพ่อื นาไปปรบั ปรุงกระบวนการอยา่ งไร 4. สถานศกึ ษามีการดาเนินงานทส่ี อดคล้องกับ นโยบายและจุดเนน้ ของสานักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ /ยุทธศาสตรแ์ ละเป้าหมายของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี อยา่ งไร 5. สถานศกึ ษามีการจดั หา/จดั ทา/พฒั นาหลักสตู รและสื่อการศึกษาต่อเน่ืองอย่างไร ที่เปน็ ต้นแบบ
56 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ประเด็น 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน 1. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึ กษาสามารถอธิบ าย สถานศึ กษาสามารถอธิบ าย สถานศึ กษาไม่ มี ห รือมี การ ทเี่ ปน็ กระบวนการในการจัดหา/ กระบวนการดาเนินงานในการ กระบวนการดาเนินงานในการ ดาเนินงาน แตไ่ ม่สามารถอธิบาย จัดทา/พัฒนาหลักสูตรและส่ือ จัดหา/จัดทา/พัฒนาหลักสูตร จัดหา/จัดทา/พัฒนาหลักสูตร กระบวนการการดาเนินงานในการ การศึกษาต่อเนือ่ งอย่างไร และสื่อการศึกษาต่อเนื่องได้ หรือสื่อการศึกษาต่อเน่ืองได้เป็น จัดหา/จัดทา/พัฒนาหลักสูตร อย่างเป็นข้ันตอน มีการปฏิบัติ ขน้ั ตอน และสอ่ื การศกึ ษาตอ่ เนือ่ งได้ อยา่ งชดั เจนสง่ ผลตอ่ ความสาเรจ็ ได้ 2. สถานศึกษามีการทบทวน สถานศึกษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาสามารถ อธิบาย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ห รื อติ ด ต าม ห รื อป ร ะ เมิ น วิธีการที่ทาให้ทราบว่าหลักสูตร วิธีการท่ีทาให้ทราบว่าหลักสูตร วิธีการที่ทาให้ทราบว่าหลักสูตร ห ลั กสูต รแ ล ะส่ื อการศึ กษ า แ ละส่ือการศึกษาต่อเน่ื องมี หรือสื่อการศึกษาต่อเนื่ องมี และสื่อการศึกษาต่ อเนื่องมี ต่อเนอื่ งอยา่ งไร คุณภาพตามคาอธิบายได้อย่าง คุณภาพตามคาอธบิ าย ได้อย่างใด คณุ ภาพ ชัดเจน มีความเป็นเหตุเป็นผล อย่างหนงึ่ เชอ่ื ถอื ได้ 3. สถานศึกษามีการทบทวน สถานศึ กษาสามารถอธิ บ าย สถานศึ กษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาไม่มีวิธีการทบทวน หรือติดตาม หรือประเมินการ วธิ ีการทบทวน หรือติดตาม หรือ วธิ ีการทบทวน หรือติดตาม หรือ ห รื อติ ด ต าม ห รื อป ระ เมิ น จัดหา/จัดทา/พัฒนาหลักสูตร ประเมินกระบวนการจัดหา/ ประเมินกระบวนการจัดหา/ กระบวนการจัดหา/จดั ทา/พัฒนา แ ล ะ ส่ื อ ก าร ศึ ก ษ าต่ อ เน่ื อ ง จัดทา/พัฒ นาหลักสูตร แ ละ จัดท า/พั ฒ นาหลั กสูตร หรือ ห ลั กสู ต รแล ะ ส่ื อการศึ กษ า เพ่ือนาไปปรับปรุงกระบวนการ สื่อการศกึ ษาต่อเน่ืองได้อย่างเป็น สื่อการศึกษาต่อเนื่องได้อย่างใด ต่อเนอ่ื ง อย่างไร ขน้ั ตอน ชดั เจน อยา่ งหนงึ่ 4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษาอธบิ ายการดาเนินงาน สถานศึกษาอธบิ ายการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ท่ี สอดคล้ องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกั บ นโยบายและ ท่ี สอดคล้องกั บ นโยบายและ การดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับ จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจดุ เน้นของสานกั งาน น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร ได้อย่างชัดเจน ได้ แตไ่ ม่ชัดเจน ได้ 5. ส ถานศึ กษ ามี การจั ดหา/ สถานศกึ ษามีกระบวนการจัดหา/ สถานศกึ ษามีกระบวนการจัดหา/ สถานศึกษามีกระบวนการจัดหา/ จัดท า/พั ฒ นาห ลั กสู ต รแ ล ะ จัดท า/พั ฒนาหลักสูตร และ จัดท า/พั ฒนาหลักสูตร และ จัดท า/พั ฒ นาห ลั กสู ต รแ ล ะ สื่อการศึกษาต่อเนื่องอย่างไร ส่ือการศึกษาต่อเนื่อง ท่ีเป็น สื่อการศึ กษาต่ อเนื่ อง แ ต่ มี สือ่ การศึกษาต่อเนื่อง แต่ไม่เป็น ท่ีเปน็ ตน้ แบบ ต้นแบบ กระบวนการได้มาของหลักสูตร วธิ ีปฏิบัติท่ีดี (Best Practice) หรือสื่ออย่างใดอย่างหน่ึง ที่เป็น วิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) หรือนวตั กรรม (Innovation) ตารางเทียบคะแนนระดับคณุ ภาพ ต้องปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดมี าก 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00 ระดบั คณุ ภาพ ตอ้ งปรบั ปรุงเร่งดว่ น คะแนน 0.00 0.50 1.00
57 แนวทางการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา กระบวนการจัดหา/จัดทา/พฒั นาหลกั สตู รการศึกษาต่อเนอื่ ง ดังนี้ 1. สถานศกึ ษาจดั หา/จดั ทา/พฒั นาหลกั สตู รการศึกษาต่อเนอ่ื งตามความต้องการของผูเ้ รยี น 2. ผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศกึ ษา 3. สถานศึกษาจัดให้มีกระบวนการพฒั นาหลักสูตรการศึกษาตอ่ เนื่อง ซ่งึ อาจใชก้ ระบวนการ หรือรปู แบบ ท่หี ลากหลาย เชน่ การอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร การถอดบทเรียน องค์ความรู้ เปน็ ต้น 4. สถานศึกษาควรมีการทบทวน ติดตาม หรือประเมนิ การใชห้ ลักสูตรการศึกษาตอ่ เน่ือง เพอื่ พฒั นาและ ปรับปรงุ หลกั สตู รใหส้ อดคล้องกับความต้องการของผู้เรยี น สถานการณ์ความเปล่ียนแปลงทส่ี าคญั และเป็นไปตาม บรบิ ทของสถานศึกษา เชน่ การสนทนากลมุ่ การประชุม การสงั เกต การสัมภาษณ์ เปน็ ตน้ 5. สถานศึกษาควรจดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศเก่ยี วกบั กระบวนการพฒั นาหลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนือ่ งทเ่ี หมาะสม กับบรบิ ทของสถานศกึ ษา กระบวนการจดั หา/จดั ทา/พัฒนาสอื่ การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ดังนี้ 1. สถานศกึ ษาควรจัดให้มีกระบวนการจัดหา/จดั ทา/พัฒนาส่อื ให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง โดยครูหรือผูร้ ู้ ผเู้ ชี่ยวชาญเนอ้ื หาร่วมกันพจิ ารณาคัดเลือกหรือจดั ทาสอ่ื 2. สถานศกึ ษาควรมีการทบทวน ติดตาม หรือประเมินการใช้สอ่ื และกระบวนการจัดหา/จดั ทา/พัฒนา สอื่ การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง เพอื่ พัฒนาและปรบั ปรุงสอ่ื และกระบวนการจัดหา/จดั ทา/พัฒนาสือ่ การศึกษาตอ่ เนื่อง เช่น ผ้รู ู้หรือผู้เชีย่ วชาญตรวจความถกู ต้องเนื้อหาของสอ่ื เป็นตน้ 3. สถานศึกษาควรนิเทศให้คาแนะนาวทิ ยากรเก่ยี วกบั การใชส้ ่อื ท่ีเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรและวธิ กี ารจัด การศกึ ษาต่อเนอื่ ง 4. สถานศกึ ษาควรจดั ทาข้อมลู สารสนเทศเกย่ี วกับสอื่ การศกึ ษาตอ่ เนื่อง เชน่ ทาเนียบภูมปิ ัญญา แหลง่ เรียนรู้ ในชุมชน ทะเบียนซดี ีเก่ยี วกับอาชพี ต่าง ๆ เป็นตน้
58 ตัวบง่ ชี้ 2.7 คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาต่อเนื่อง ประเภท ปัจจัยป้อน กระบวนการ ผลผลิต/ผลลพั ธ์ นา้ หนกั คะแนน 5 คะแนน คาอธบิ ายตวั บง่ ช้ี 2.7 คณุ ภาพการจดั กระบวนการเรยี นรู้การศกึ ษาตอ่ เน่ือง การจดั กระบวนการเรยี นรู้การศึกษาต่อเนื่อง หมายถึง การจดั การเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาอาชพี พัฒนาสังคม และชมุ ชน ที่สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหา ความต้องการ และความพรอ้ มของผูเ้ รียน โดยสามารถบูรณาการวธิ ีการ จดั การเรยี นร้ไู ด้ตามความเหมาะสม คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง พิจารณาจากการออกแบบและการจัด กระบวนการเรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาอาชพี พฒั นาสังคมและชุมชน ทมี่ งุ่ เน้นการจัดประสบการณ์ให้ผู้เรยี นได้รับความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะทางวิชาชีพ สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต และเป็นไปตาม จดุ ประสงค์ของหลกั สตู ร ประเดน็ การพิจารณา การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น รายประเด็น ดังน้ี 1. วทิ ยากรมกี ระบวนการในการออกแบบและจดั กระบวนการเรียนรูก้ ารศกึ ษาตอ่ เน่อื งอยา่ งไร 2. วทิ ยากรการศึกษาตอ่ เน่ืองทราบไดอ้ ย่างไรว่า ผู้เรียนหรือผเู้ ข้ารบั การอบรมมีความรู้ ความสามารถ บรรลุ ตามวัตถปุ ระสงค์ของการจัดการศกึ ษาต่อเนื่อง 3. วทิ ยากรการศึกษาต่อเนอื่ งมีการทบทวน หรือตดิ ตาม หรือประเมินกระบวนการการออกแบบ และจัด กระบวนการเรียนรู้การศึกษาตอ่ เนือ่ ง เพ่ือนาไปปรับปรุงกระบวนการอยา่ งไร 4. สถานศกึ ษามีการดาเนินงานทส่ี อดคล้องกับ นโยบายและจุดเนน้ ของสานกั งาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธกิ าร /ยทุ ธศาสตรแ์ ละเป้าหมายของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร 5. วิทยากรมีการออกแบบและจัดกระบวนการเรยี นรู้การศึกษาตอ่ เน่อื งอยา่ งไร ท่ีเปน็ ตน้ แบบ
59 เกณฑ์การให้คะแนน ประเดน็ 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน 1. วิทยากรมีกระบวนการใน สถานศึกษาสามารถอธิบายว่า สถานศึกษาสามารถอธิบายว่า สถานศึกษาไมส่ ามารถอธิบายว่า การออกแบบและจัดกระบวนการ วิ ท ย าก ร มี ก ร ะ บ วน ก าร ใน วิ ท ย าก ร มี ก ร ะ บ วน ก าร ใน วิ ท ย าก ร มี ก ร ะ บ วน ก าร ใน เรยี นรู้การศกึ ษาตอ่ เน่อื งอย่างไร การออกแบบและจดั กระบวนการ การออกแบบและจัดกระบวนการ การออกแบบและจัดกระบวนการ เรียนรู้การศึกษาต่อเน่ืองเป็น เรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องได้ เรียนร้กู ารศึกษาต่อเนือ่ ง ขน้ั ตอนได้อย่างชดั เจน แตไ่ ม่ชดั เจน 2. วิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง วิท ยากรการศึกษาต่อเนื่ อง วิท ยากรการศึกษาต่อเน่ื อง วิท ยากรการศึกษาต่อเนื่ อง ทราบได้อย่างไรว่า ผู้เรียนหรือ สามารถอธิบายวิธีการวัดและ สามารถอธิบายวิธีการวัดและ มีวิธีการวัด แล ะป ระเมินผ ล ผู้เข้ ารับ การอบ รมมี ค วามรู้ ประเมินผลผู้เรียนหรือผู้เข้ารับ ประเมินผลผู้เรียนหรือผู้เข้ารับ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม ค ว า ม ส า ม า ร ถ บ ร ร ลุ ต า ม ก าร อ บ ร ม ท่ี ส อ ด ค ล้ อ งกั บ การอบรมได้ แต่ไมส่ อดคลอ้ งกับ แต่ไม่สามารถอธิบายได้ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร จั ด วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร จั ด วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร จั ด การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง การศึกษาตอ่ เนื่อง การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง 3. วิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง สถานศึกษาสามารถอธิบายได้ว่า สถานศึกษาสามารถอธิบายได้ว่า สถานศึกษาไมส่ ามารถอธิบายได้ มกี ารทบทวน หรือติดตาม หรือ วิทยากรการศึกษาต่อเน่ืองมี วิทยากรการศึกษาต่อเน่ืองมี ว่าวิทยากรการศึกษาต่อเน่ืองมี ประเมนิ กระบวนการการออกแบบ วธิ ีการทบทวน หรือติดตาม หรือ วธิ ีการทบทวน หรือติดตาม หรือ วิธีการทบทวน หรือติดตาม หรือ และจั ดกระบ วนการเรีย นรู้ ประเมิน กระบวนการการออกแบบ ประเมิน กระบวนการการออกแบบ ประเมิน กระบวนการการออกแบบ การศึกษาต่อเนื่อง เพ่ือนาไป และจั ดกระบ วนการเรีย นรู้ และจั ดกระบ วนการเรีย นรู้ และจั ดกระบ วนการเรีย นรู้ ปรับปรงุ กระบวนการอยา่ งไร การศึกษาต่อเน่ือง ได้อย่างเป็น การศึกษาต่อเน่ือง ได้อย่างเป็น การศึกษาต่อเนือ่ ง ขน้ั ตอน และชัดเจน ขัน้ ตอน แต่ไม่ชัดเจน 4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศกึ ษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศกึ ษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ท่ี สอดคล้ องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้ องกับ นโยบายและ ท่ี สอดคล้ องกับ นโยบายและ การดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับ จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร ได้อย่างชดั เจน ได้ แตไ่ ม่ชัดเจน ได้ 5. วิทยากรมีการออกแบบและ วิ ท ย าก ร มี ก ร ะ บ วน ก าร ใน วิ ท ย าก ร มี ก ร ะ บ วน ก าร ใน วิ ท ย าก ร มี ก ร ะ บ วน ก าร ใน จดั กระบวนการเรยี นรู้การศกึ ษา ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ จั ด ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ จั ด ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ จั ด ต่อเนือ่ งอยา่ งไร ท่ีเป็นต้นแบบ กระบวนการเรียนรู้การศึกษา กระบวนการเรียนรู้การศึกษา กระบวนการเรียนรู้การศึกษา ต่อเนอื่ ง ท่ีเปน็ ตน้ แบบ ต่อเน่ือง ท่ีเป็นวิธีปฏิ บัติท่ี ดี ต่อเนื่อง แต่ไม่เป็นวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) หรือนวัตกรรม (Best Practice) (Innovation) ตารางเทยี บคะแนนระดบั คุณภาพ ต้องปรับปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00 ระดบั คุณภาพ ต้องปรับปรุงเร่งด่วน คะแนน 0.00 0.50 1.00
60 แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา 1. สถานศกึ ษาควรกากบั ตดิ ตามให้วทิ ยากรจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ 2. สถานศึกษาร่วมกับวิทยากรทบทวนกระบวนการในการออกแบบ และการจัดกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้ง วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ เพื่อนาขอ้ มูลท่ีได้มาพัฒนาปรับปรงุ การจัดการศึกษาต่อเน่อื งให้มปี ระสทิ ธภิ าพ เช่น ประชุมชแ้ี จง สนทนากลุ่ม แลกเปล่ียนเรียนรู้ สรุปผลการดาเนินงานร่วมกนั เปน็ ต้น 3. สถานศึกษาควรส่งเสริม สนบั สนนุ ให้วิทยากรได้ใช้เทคนิคในการจัดกระบวนการเรียนร้ทู ี่หลากหลาย เชน่ สร้างโอกาสและบรรยากาศให้ผูเ้ รยี นได้ฝกึ ปฏบิ ัติ ได้ศึกษาดูงานจากของจริง จากแหลง่ เรยี นรู้ จากสถานประกอบการ หรอื จากแหลง่ การคา้ อยา่ งครบวงจร เป็นตน้ 4. สถานศึกษาควรมกี ารนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั กระบวนการเรยี นรู้ของวทิ ยากร เพอ่ื ให้มีเทคนคิ หรอื วิธีการถ่ายทอด และจัดกระบวนการเรยี นรู้ ไดอ้ ย่างเหมาะสมตามแผนการจดั การเรยี นรู้ 5. สถานศึกษาควรจัดทาข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับกระบวนการในการออกแบบ การจัดกระบวนการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ และการนิเทศติดตาม เช่น รายงานการประชุม แผนการจัดการเรียนรู้ เคร่อื งมือวดั ผลการเรียนรู้ รายงานผลการนิเทศ เปน็ ตน้
61 การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตวั บ่งชี้ 2.8 คุณภาพผ้จู ดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ประเภท ปัจจัยปอ้ น กระบวนการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ นา้ หนกั คะแนน 5 คะแนน คาอธิบายตัวบง่ ชี้ 2.8 คุณภาพผ้จู ดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั ผจู้ ัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั หมายถงึ บุคลากรของสถานศึกษาทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจากสถานศึกษา ให้ทาหน้าทจ่ี ดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย คุณภาพผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย พิจารณาจากบุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถ ทางาน อย่างเปน็ ระบบ มีการออกแบบและจดั กจิ กรรมการเรยี นรไู้ ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ และมกี ารปรบั ปรุงพัฒนาตนเอง อยา่ งต่อเนื่อง เพ่ือให้ผู้รบั บรกิ ารไดร้ ับความรู้และหรือประสบการณ์ ตามวตั ถุประสงค์ของกิจกรรม/โครงการ ประเดน็ การพิจารณา การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น รายประเด็น ดงั น้ี 1. สถานศึกษามีการดาเนนิ งานที่เปน็ กระบวนการในการพฒั นาผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยให้มคี ณุ ภาพ อยา่ งไร 2. สถานศึกษาทราบได้อยา่ งไรว่า ผู้จัดกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัยมีคณุ ภาพ 3. สถานศึกษามีการทบทวน หรือตดิ ตาม หรือประเมินกระบวนการดาเนินงานส่งเสริมหรอื พัฒนาผู้จัด กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย และนาผลไปใชใ้ นการปรับปรุงกระบวนการอยา่ งไร 4. สถานศกึ ษามีการดาเนินงานทีส่ อดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของสานกั งาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ /ยุทธศาสตรแ์ ละเปา้ หมายของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี อยา่ งไร 5. สถานศึกษามีการพฒั นาผจู้ ดั กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัยอย่างไร ท่ีเปน็ ต้นแบบ
62 เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเด็น 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน 1. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึ กษาสามารถอธิบาย สถานศึ กษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ทเี่ ปน็ กระบวนการในการพัฒนา กระบวนการในการพัฒนาผู้จัด กระบวนการในการพัฒนาผู้จัด กระบวนการในการพัฒนาผู้จัด ผู้จัดกิจกรร มการศึกษาตาม กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั ได้ กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั อธั ยาศัยให้มีคุณภาพอยา่ งไร ได้อย่างเปน็ ขัน้ ตอน และชัดเจน แตไ่ มช่ ัดเจน 2. สถานศกึ ษาทราบได้อย่างไรว่า สถานศึกษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม วิธีการท่ี ท าให้ ท ราบ ว่าผู้จั ด วิธีการที่ ท าให้ ท ราบ ว่าผู้จั ด วิธีการที่ ท าให้ ท ราบ ว่าผู้จั ด อธั ยาศยั มคี ุณภาพ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มคี วามรู้ตามที่ได้รับการส่งเสริม มีความรู้ตามที่ได้รับการส่งเสริม ไดร้ ับการส่งเสริมหรือพฒั นา ห รือพั ฒ น าได้ อ ย่ างชั ด เจน ห รื อ พั ฒ น า แ ต่ ไม่ ชั ด เจ น มีความเปน็ เหตเุ ป็นผล เช่ือถือได้ ไมเ่ ปน็ เหตเุ ป็นผล 3. สถานศึกษามีการทบทวน สถานศึ กษาสามารถอธิบาย สถานศึ กษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาไม่มีการทบทวน ห รื อติ ด ต าม ห รือ ป ร ะ เมิ น วิธีการทบทวน หรือติ ดตาม วิธีการทบทวน หรือติ ดตาม ห รื อ ติ ด ต าม ห รื อป ร ะ เมิ น กระบวนการดาเนินงานส่งเสริม หรือประเมินกระบวนการใน หรือประเมินกระบวนการใน กระบวนการในการสง่ เสรมิ หรือ หรือพัฒนาผู้จัดกิจกรรมการศึกษา การส่งเสริม หรือพัฒนาผู้จัด การส่งเสริม หรือพัฒนาผู้จัด พัฒนาผู้จัดกิจกรรมการศึกษา ตามอัธยาศัย และนาผลไปใช้ใน กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ตามอัธยาศัย การปรับปรุงกระบวนการอยา่ งไร ได้อย่างเปน็ ข้ันตอน และชัดเจน ได้ แต่ไม่ชัดเจน 4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษาอธิบายการดาเนนิ งาน สถานศึกษาอธบิ ายการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ ท่ี สอดคล้องกับ นโยบายและ การดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับ จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อยา่ งไร ได้อย่างชัดเจน ได้ แต่ไมช่ ัดเจน ได้ 5. สถานศึกษามีการพัฒนาผู้จัด สถ านศึ กษ ามี กระ บ วน การ สถ านศึ กษ ามี กระ บ วน การ สถ านศึ กษ ามี กระ บ วน การ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย พัฒนาผู้จัดกิจกรรมการศึกษา พัฒนาผู้จัดกิจกรรมการศึกษา พัฒนาผู้จัดกิจกรรมการศึกษา อยา่ งไร ที่เปน็ ตน้ แบบ ตามอธั ยาศยั ที่เปน็ ตน้ แบบ ตามอัธยาศัย ที่เป็นวิธีปฏิบตั ิท่ีดี ตามอธั ยาศัย แต่ไม่เปน็ วิธปี ฏิบัติ (Best Practice) หรือนวัตกรรม ทด่ี ี (Best Practice) (Innovation) ตารางเทียบคะแนนระดบั คุณภาพ ตอ้ งปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00 ระดับคณุ ภาพ ต้องปรบั ปรงุ เร่งด่วน คะแนน 0.00 0.50 1.00
63 แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา 1. สถานศกึ ษาควรมกี ิจกรรมหรอื โครงการการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหแ้ ก่กล่มุ เป้าหมาย เช่น ห้องสมดุ ประชาชน โครงการรักการอ่าน ส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดเคล่ือนท่ี ห้องสมุดชาวตลาด ตะกร้าความรู้สู่ชุมชน บ้านหนงั สอื ชุมชน เป็นต้น 2. สถานศึกษาควรสง่ เสริม สนับสนนุ ให้ผจู้ ดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั ไดร้ ับการพัฒนาตนเองจาก ช่องทางการเรยี นรู้ที่หลากหลาย เช่น หนังสือ สื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์ ศึกษาดูงาน อินเทอร์เนต็ แหล่งเรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญา เป็นต้น และเข้ารบั การพฒั นาจากหนว่ ยงานทั้งภาครฐั และเอกชน 3. สถานศึกษาส่งเสริมให้ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ศึกษาความต้องการเรียนรู้ของ ผู้รับบริการ แล้วนามาออกแบบ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้อง เหมาะสมกับความต้องการของ ผู้รับบริการ 4. สถานศึกษาควรมีการทบทวน ติดตาม หรือประเมินผู้จัดและผลการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เพอ่ื พฒั นาและปรับปรงุ คุณภาพผจู้ ดั และการจัดกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของ ผ้รู ับบริการ เชน่ การสนทนากลมุ่ การประชมุ การสงั เกต การสมั ภาษณ์ การสรุปรายงานผลการปฏิบตั งิ าน เปน็ ต้น 5. สถานศึกษาควรจัดทาข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เช่น รายงาน กระบวนการพฒั นาผู้จัดกิจกรรม กระบวนการออกแบบ และจดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นตน้
64 ตวั บ่งชี้ 2.9 คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประเภท ปจั จยั ปอ้ น กระบวนการ ผลผลิต/ผลลพั ธ์ น้าหนักคะแนน 5 คะแนน คาอธิบายตัวบง่ ช้ี 2.9 คณุ ภาพกระบวนการจดั กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั กระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย หมายถึง ขั้นตอนการดาเนินงานการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับวิถีชีวิตประจาวันของผู้รับบริการ ซึ่งทาให้สามารถเลือกที่จะเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความตอ้ งการ โอกาส ความพร้อม และศักยภาพในการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล คุณภาพกระบวนการจดั กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั พิจารณาจากการออกแบบกจิ กรรม สื่อ นทิ รรศการ และอื่น ๆ ท่ีมุ่งนาเสนอเน้ือหาที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง สังคมและชุมชน สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัจจุบัน เพ่ือให้ผู้รับบริการเกิดความสนใจ ศึกษา เรียนรู้ หรือทดลองปฏิบัติ ทาให้ผู้รับบริการเกิดความรู้และ ประสบการณ์ ประเด็นการพจิ ารณา การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น รายประเดน็ ดงั นี้ 1. ผจู้ ัดกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัยมีกระบวนการในการออกแบบและจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้อย่างไร 2. ผจู้ ัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มีวิธีการประเมินผู้รับบริการว่ามีความรู้ ความสามารถบรรลุตาม วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อยา่ งไร 3. ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยมีการทบทวน หรือติดตาม หรือประเมินกระบวนการออกแบบ และจัดกจิ กรรมการเรียนรู้อย่างไร 4. สถานศกึ ษามีการดาเนินงานท่สี อดคลอ้ งกับ นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ /ยุทธศาสตรแ์ ละเปา้ หมายของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี อยา่ งไร 5. สถานศึกษามีการออกแบบและจดั กระบวนการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัยอยา่ งไร ท่ีเป็นต้นแบบ
65 เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเดน็ 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน 1. ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม อั ธย าศั ย มี ก ร ะ บ วน ก าร ใน อัธยาศัย สามารถอธิบ าย ว่า อัธยาศัย สามารถอธิบ าย ว่า อัธยาศัยไม่สามารถอธิบายว่า การออกแบบและจัดกิจกรรม มีกระบวนการในการออกแบบ มีกระบวนการในการออกแบบ มีกระบวนการในการออกแบบ การเรียนรู้อยา่ งไร และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ และจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ อยา่ งเปน็ ข้ันตอน ชดั เจน แต่ไมช่ ัดเจน 2. ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม อั ธย าศั ย มี วิ ธี ก าร ป ร ะ เมิ น อัธยาศัยสามารถอธิบายวิธีการ อัธยาศัยสามารถอธิบายวิธีการ อัธยาศั ยไม่ สามารถ อธิบ าย ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ว่ า มี ค ว า ม รู้ ประเมินผู้รับบริการว่ามีความรู้ ประเมินผู้รับบริการว่า มีความรู้ วิธีการประเมินผู้รับบริการว่า ค ว า ม ส า ม า ร ถ บ ร ร ลุ ต า ม ค ว า ม ส า ม า ร ถ บ ร ร ลุ ต า ม ค ว า ม ส า ม า ร ถ บ ร ร ลุ ต า ม มีความรู้ ความสามารถบรรลุ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร จั ด วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร จั ด วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร จั ด ตามวัตถุประสงค์ของการจัด การศกึ ษาตามอัธยาศยั อย่างไร การศึกษาตามอัธยาศัย ได้อย่าง การศึกษาตามอัธยาศัยไมช่ ดั เจน การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นขัน้ ตอน ชัดเจน 3. ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม อัธยาศัยมีการท บทวน ห รือ อัธยาศัยสามารถอธิบายวิธีการ อัธยาศัยสามารถอธิบายวิธีการ อัธยาศั ยไม่ สามารถอธิบ าย ติดตาม หรือประเมินกระบวนการ ทบทวน หรือติดตาม หรือประเมิน ทบทวน หรือติดตาม หรือประเมิน วิธีการทบท วน ห รือติดตาม ออกแบบ และจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ กระบวนการออกแบบ และจัด กระบวนการออกแบบ และจัด ห รือ ป ร ะ เมิ น กร ะ บ วน การ อย่างไร กิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างเป็น กิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างเป็น ออกแ บ บ แ ล ะ จัด กิ จกรร ม ขั้นตอน และชดั เจน ขน้ั ตอน แต่ไม่ชดั เจน การเรยี นรู้ได้ 4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศึกษาอธบิ ายการดาเนนิ งาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ท่ี สอดคล้องกับ นโยบายและ ท่ี สอดคล้องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ การดาเนินงานที่สอดคล้องกับ จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจดุ เน้นของสานกั งาน น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร ไดอ้ ย่างชัดเจน ได้ แตไ่ มช่ ัดเจน ได้ 5. สถานศึกษามีการออกแบบ สถ านศึ กษ ามี กระ บ วน การ สถ านศึ กษ ามี กระ บ วน การ สถ านศึ กษ ามี กระ บ วน การ และจัด กระบ วนการเรีย นรู้ ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ จั ด ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ จั ด ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ จั ด การศึกษาตามอัธยาศัยอย่างไร กระบวนการเรียนรู้การศึกษา กระบวนการเรียนรู้การศึกษา กระบวนการเรียนรู้การศึกษา ที่เป็นตน้ แบบ ตามอัธยาศัย ที่เปน็ ต้นแบบ ตามอัธยาศัย ท่ีเป็นวิธปี ฏิบตั ิที่ดี ตามอัธยาศัย แต่ไม่เป็นวธิ ีปฏบิ ัติ (Best Practice) หรือนวัตกรรม ทีด่ ี (Best Practice) (Innovation) ตารางเทียบคะแนนระดับคุณภาพ ต้องปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดมี าก 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00 ระดับคุณภาพ ตอ้ งปรบั ปรงุ เร่งดว่ น คะแนน 0.00 0.50 1.00
66 แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา 1. สถานศกึ ษาควรกากบั ตดิ ตาม ให้ผู้จดั กิจกรรม ออกแบบกจิ กรรม โครงการ ที่มีเน้อื หาท่เี ปน็ ประโยชน์ ต่อการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต สอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จบุ นั 2. สถานศึกษาร่วมกบั ผู้จดั กจิ กรรม ทบทวนการออกแบบ และการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมทั้ง วธิ กี ารประเมนิ ผลการจดั กิจกรรม เพอ่ื นาข้อมลู ท่ีได้มาพัฒนาปรบั ปรุงใหม้ ีประสิทธภิ าพ เช่น ประชมุ ชแ้ี จง สนทนากลมุ่ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ สรปุ ผลการดาเนนิ งานรว่ มกัน เปน็ ต้น 3. สถานศึกษาควรสง่ เสริม สนบั สนุนให้ผจู้ ัดกิจกรรม ไดใ้ ช้เทคนคิ ในการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่หลากหลาย เช่น สรา้ งโอกาสและบรรยากาศให้ผู้รบั บริการไดฝ้ กึ ปฏิบัติ ศึกษาดูงาน จากแหลง่ เรียนรู้ เป็นต้น 4. สถานศกึ ษาควรมีการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ของผจู้ ดั กจิ กรรม เพ่อื ให้ มีเทคนิควิธกี ารจัดและประเมินผลการจดั กิจกรรมการเรยี นร/ู้ ประสบการณ์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 5. สถานศึกษาควรจัดทาขอ้ มูลสารสนเทศเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบการจัดกิจกรรมการศึกษาตาม อธั ยาศัย วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ และการนิเทศติดตาม เช่น รายงานความพึงพอใจท่ีมีต่อการจัดกิจกรรม รายงานผลการดาเนินงานกิจกรรมหรือโครงการ รายงานการประชมุ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เคร่ืองมือ วัดผลการเรียนรู้ รายงานผลการนเิ ทศ เป็นต้น
67 มาตรฐานท่ี 3 ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการการศึกษา คาอธิบายมาตรฐาน ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา พิจารณาจากคุณภาพของผู้บรหิ ารสถานศึกษาทีน่ ้อมนาหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และนาหลกั ธรรมาภิบาลไปใช้ในการบรหิ ารงานของสถานศึกษา 4 ดา้ น คือ ด้านวิชาการ ดา้ นงบประมาณ ด้านการบริหารงานบคุ คล และด้านการบรหิ ารทั่วไป รวมท้งั การพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพ ภายใน การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคีเครือข่าย และการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ สถานศึกษา ที่สง่ ผลใหป้ ัจจยั และกระบวนการตา่ ง ๆ ของสถานศกึ ษาดาเนินการอย่างมปี ระสิทธิภาพ ทาให้ผ้เู รียน และผู้รับบริการ มีคุณภาพตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2560 โดยพิจารณาจากตัวบง่ ช้ี ดังตอ่ ไปน้ี 3.1 การบรหิ ารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภบิ าล 3.2 การส่งเสรมิ สนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคีเครอื ข่าย 3.3 การมีสว่ นร่วมของคณะกรรมการสถานศกึ ษา 3.4 การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
68 มาตรฐานที่ 3 ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการการศึกษา ตัวบ่งชี้ 3.1 การบรหิ ารสถานศึกษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภบิ าล ประเภท ปัจจยั ป้อน กระบวนการ ผลผลติ /ผลลัพธ์ น้าหนกั คะแนน 5 คะแนน คาอธบิ ายตัวบง่ ชี้ 3.1 การบริหารสถานศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและหลกั ธรรมาภบิ าล การบรหิ ารสถานศกึ ษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล พิจารณาจากการท่ี ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และนาหลักธรรมาภบิ าลไปใช้ในการบริหารงาน ของสถานศึกษา 4 ดา้ น คือ ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารทว่ั ไป โดยในแต่ละด้านต้องคานึงถึงหลักภูมิคุ้มกันอย่างรอบรูท้ ่ีต้องมีและใช้กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับต่าง ๆ รองรับ การปฏิบตั ิงาน (นิติธรรม) เปิดโอกาสให้ผ้มู ีส่วนเก่ยี วขอ้ งโดยเฉพาะผูเ้ รียน ผรู้ ับบริการ เข้าถงึ ข้อมูลไดง้ ่าย สะดวก สามารถตรวจสอบไดช้ ัดเจน (ความโปร่งใส) ซ่งึ อาจมาจากกระบวนการท่ีให้ผูเ้ ก่ียวข้องตา่ ง ๆ ไดเ้ ขา้ มามีส่วนร่วม ต้ังแต่การร่วมรบั รู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมปฏิบัติการ และร่วมประเมินผลตามภารกิจงานท่ีเหมาะสม (การมี สว่ นร่วม) โดยในแตล่ ะกจิ กรรมท่ีสถานศกึ ษาจะดาเนินการนั้น ใหค้ านึงถึงการใชท้ รัพยากรทมี่ ีอยอู่ ยา่ งจากัดให้เกิด ความค้มุ ค่าและเกดิ ประโยชน์สูงสุดอย่างมกี ระบวนการเปน็ เหตเุ ป็นผล (ความคุม้ ค่า) สามารถตอบโจทย์ความพอประมาณ ตรงกับความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของสถานศึกษา (ความรับผิดชอบ) ที่จะส่งผลต่อคุณธรรมในการมีส่วนร่วม แก้ปญั หาของชมุ ชนและสงั คม ท้ังนี้ ผู้บรหิ ารต้องนาบคุ ลากรของสถานศกึ ษาปฏิบัตหิ นา้ ที่ทยี่ ดึ มั่นในความถูกต้อง ดีงาม และเป็นตัวอย่างท่ีดีแก่ผู้เรียน สังคม ตลอดจนส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียน ผู้รับบริการ พัฒนาตนเอง ไปพร้อมกนั ในดา้ นความซื่อสัตย์ จริงใจ ขยนั อดทน มีระเบียบ วนิ ัย และประกอบอาชพี ที่สจุ ริต (คณุ ธรรม) ประเดน็ การพจิ ารณา การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น รายประเด็น ดังนี้ 1. ผู้บริหารมีการบริหารงานด้านวิชาการ โดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนาหลัก ธรรมาภบิ าลมาประยุกต์ใชใ้ นการดาเนนิ งานอย่างไร 2. ผู้บริหารมกี ารบรหิ ารงานด้านงบประมาณ โดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนาหลัก ธรรมาภิบาลมาประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนินงานอย่างไร 3. ผบู้ ริหารมีการบรหิ ารงานดา้ นการบรหิ ารงานบคุ คล โดยนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและ นาหลกั ธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ในการดาเนนิ งานอยา่ งไร 4. ผู้บริหารมีการบริหารงานด้านการบริหารทั่วไป โดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ นาหลักธรรมาภบิ าลมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ งานอยา่ งไร 5. สถานศึกษามีการดาเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร /ยทุ ธศาสตร์และเปา้ หมายของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี อยา่ งไร
69 เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเดน็ 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน 1. ผู้บริหารมีการบริหารงาน สถานศึกษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ด้านวิชาการ โดยน้อมนาหลัก ได้ว่าผู้บริหารมีการบริหารงาน ได้ว่าผู้บริหารมีการบริหารงาน ได้ว่าผู้บริหารมีการบริหารงาน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านวิชาการ โดยน้อมนาหลัก ด้านวิชาการ โดยน้อมนาหลัก ด้านวิชาการ โดยน้อมนาหลัก และนาหลักธรรมาภิบาลมา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประยุกต์ใช้ในการดาเนินงาน และนาหลักธรรมาภิบาลมา และนาหลักธรรมาภิบาลมา และนาหลักธรรมาภิบาลมา อยา่ งไร ประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานได้ ประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานได้ ประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนินงาน อยา่ งชัดเจน (ยกตวั อยา่ ง/บุคคล แตไ่ ม่ชดั เจน อ้างอิง/หลกั ฐานอา้ งอิง/รางวัล) 2. ผู้บริหารมีการบริหารงาน สถานศึกษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ด้านงบประมาณ โดยน้อมนา ได้ว่าผู้บริหารมีการบริหารงาน ได้ว่าผู้บริหารมีการบริหารงาน ได้ว่าผู้บริหารมีการบริหารงาน ห ลั กป รัช ญ าข องเศ รษ ฐกิ จ ด้านงบประมาณ โดยน้อมนา ด้านงบประมาณ โดยน้อมนา ด้านงบประมาณ โดยน้อมนา พอเพยี งและนาหลักธรรมาภิบาล ห ลั กป รัช ญ าข องเศ รษ ฐกิ จ ห ลั กป รัช ญ าข องเศ รษ ฐกิ จ ห ลั กป รัช ญ าข องเศ รษ ฐกิ จ มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินงาน พอเพยี งและนาหลักธรรมาภิบาล พอเพยี งและนาหลกั ธรรมาภิบาล พอเพยี งและนาหลักธรรมาภบิ าล อยา่ งไร มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินงาน มาประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนินงานได้ มาประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ งาน ได้อยา่ งชัดเจน (ยกตวั อย่าง/บคุ คล แตไ่ ม่ชดั เจน อ้างองิ /หลกั ฐานอา้ งองิ /รางวลั ) 3. ผู้บริหารมีการบริหารงาน สถานศึกษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ด้านการบริหารงานบุคคล โดย ได้ว่าผู้บริหารมีการบริหารงาน ได้ว่าผู้บริหารมีการบริหารงาน ได้ว่าผู้บริหารมีการบริหารงาน น้ อ ม น า ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง ด้านการบริหารงานบุคคล โดย ด้านการบริหารงานบุคคล โดย ด้านการบริหารงานบุคคล โดย เศรษฐกิจพอเพียงและนาหลัก น้ อ ม น า ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง น้ อ ม น า ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง น้ อ ม น า ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง ธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ใน เศรษฐกิจพอเพียงและนาหลัก เศรษฐกิจพอเพียงและนาหลัก เศรษฐกิจพอเพียงและนาหลัก การดาเนินงานอย่างไร ธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ใน ธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ใน ธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ใน การดาเนินงานได้อย่างชัดเจน การดาเนินงานได้ แตไ่ ม่ชัดเจน การดาเนนิ งาน (ยกตัวอย่าง/บุคคลอ้างอิง/หลักฐาน อ้างอิง/รางวัล) 4. ผู้บริหารมีการบริหารงาน สถานศึกษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ดา้ นการบริหารทัว่ ไป โดยน้อมนา ได้ว่าผู้บริหารมีการบริหารงาน ได้ว่าผู้บริหารมีการบริหารงาน ได้ว่าผู้บริหารมีการบริหารงาน ห ลั กป รัช ญ าข องเศ รษ ฐกิ จ ด้านการบรหิ ารท่ัวไป โดยนอ้ มนา ด้านการบริหารท่ัวไป โดยน้อมนา ด้านการบรหิ ารทั่วไป โดยนอ้ มนา พอเพยี งและนาหลักธรรมาภิบาล ห ลั กป รัช ญ าข องเศ รษ ฐกิ จ ห ลั กป รัช ญ าข องเศ รษ ฐกิ จ ห ลั กป รัช ญ าข องเศ รษ ฐกิ จ มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินงาน พอเพียงและนาหลกั ธรรมาภบิ าล พอเพียงและนาหลักธรรมาภิบาล พอเพยี งและนาหลกั ธรรมาภิบาล อยา่ งไร มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินงาน มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานได้ มาประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนินงาน ได้อยา่ งชัดเจน (ยกตวั อย่าง/บคุ คล แต่ไม่ชดั เจน อ้างองิ /หลักฐานอ้างองิ /รางวัล) 5. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศกึ ษาอธบิ ายการดาเนินงาน สถานศกึ ษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ที่ สอดคล้ องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกั บ นโยบายและ ท่ี สอดคล้องกั บ นโยบายและ การดาเนินงานที่สอดคล้องกับ จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร ไดอ้ ยา่ งชัดเจน ได้ แตไ่ ม่ชดั เจน ได้
70 ตารางเทยี บคะแนนระดบั คุณภาพ ตอ้ งปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00 ระดับคุณภาพ ตอ้ งปรบั ปรุงเร่งด่วน คะแนน 0.00 0.50 1.00 แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา 1. ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาควรศึกษา ทาความเข้าใจ นโยบายและจดุ เน้นของสานักงาน กศน. นโยบาย จุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี เพื่อนามาใช้เป็นข้อมูล ในการขบั เคลอื่ นการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. ผู้บริหารควรน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนาหลักธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ใน การบรหิ ารงานทัง้ 4 ดา้ น คอื ด้านวชิ าการ ดา้ นงบประมาณ ด้านการบริหารงานบคุ คล และด้านการบรหิ ารทว่ั ไป 3. สถานศึกษาควรจัดให้มีข้อมูลสารสนเทศทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหาร งานบคุ คล และด้านการบรหิ ารทว่ั ไป ท่ีมคี วามถกู ตอ้ ง เป็นไปตามระเบยี บท่ีกาหนด และเป็นปจั จุบัน
71 ตวั บง่ ช้ี 3.2 การสง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั การศกึ ษาของภาคีเครือข่าย ประเภท ปัจจยั ปอ้ น กระบวนการ ผลผลติ /ผลลพั ธ์ นา้ หนกั คะแนน 5 คะแนน คาอธิบายตวั บ่งชี้ 3.2 การสง่ เสริม สนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาของภาคเี ครือข่าย การสง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั การศึกษาของภาคีเครอื ขา่ ย พจิ ารณาจากความรว่ มมอื ในการสง่ เสรมิ สนับสนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ระหว่างสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน. กับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และองค์กรอื่น รวมทั้งสถานศึกษาอ่ืน ที่มิได้สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย เพื่อร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายในการทางาน รว่ มกันในการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตใหก้ บั ประชาชน ประเดน็ การพจิ ารณา การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น รายประเดน็ ดังน้ี 1. สถานศึกษามกี ระบวนการในการส่งเสริม สนบั สนนุ การจดั หรอื ร่วมจดั การศกึ ษาของภาคเี ครือขา่ ยอยา่ งไร 2. ภาคเี ครือข่ายจัด หรอื ร่วมจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อยา่ งไร 3. สถานศึกษามกี ารติดตามการจดั หรอื ร่วมจัดการศึกษาของภาคีเครอื ขา่ ยอย่างไรบา้ ง และนาผลการตดิ ตาม ไปใชอ้ ยา่ งไร 4. สถานศึกษามกี ารทบทวน หรือติดตามกระบวนการในการสง่ เสริม สนบั สนนุ การจัด หรือ ร่วมจัดการศกึ ษา ของภาคเี ครอื ขา่ ย เพื่อนาไปปรบั ปรุงกระบวนการอย่างไร 5. สถานศึกษามีกระบวนการในการส่งเสริมสนับสนนุ ให้ภาคีเครือข่ายจัด หรือ ร่วมจดั การศกึ ษาอยา่ งไร ท่ีเป็นตน้ แบบ
72 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเด็น 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน 1. สถานศึกษามีกระบวนการ สถานศึกษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ในการส่งเสริม สนับสนุนการจัด กระบ วนการในการส่งเสริม กระบ วนการในการส่งเสริม กระบ วนการในการส่งเสริม หรือ ร่วมจัดการศึกษาของภาคี สนับสนุนการจัด หรือ ร่วมจัด สนับสนุนการจัด หรือ ร่วมจัด สนับสนุนการจัด หรือ ร่วมจัด เครือข่ายอย่างไร การศึกษาของภาคีเครือข่ายได้ การศึกษาของภาคีเครือข่ายได้ การศึกษาของภาคีเครือขา่ ยได้ อยา่ งชดั เจน แต่ไม่ชดั เจน 2. ภาคีเครือข่ายจัด หรือ ร่วมจัด สถานศึ กษาสามารถอธิบ าย สถานศึ กษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา กระบวนการจัด หรือ ร่วมจัด กระบวนการจัด หรือ ร่วมจัด กระบวนการจัด หรือ ร่วมจัด ตามอธั ยาศยั อย่างไร ก าร ศึ ก ษ าน อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ ก าร ศึ ก ษ าน อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ ก าร ศึ ก ษ าน อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ การศึกษาตามอัธยาศัยของภาคี การศึกษาตามอัธยาศัยของภาคี การศึกษาตามอัธยาศัยของภาคี เครือขา่ ยได้อย่างชดั เจน เครือขา่ ยแต่ไม่ชัดเจน เครอื ข่าย 3. สถานศึกษามีการติดตาม สถานศึ กษาสามารถอธิบ าย สถานศึ กษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย การจัด หรือ ร่วมจัดการศึกษา วิธีการติดตามการจดั หรือ ร่วมจัด วิธีการติดตามการจดั หรือ ร่วมจัด วิธีการติดตามการจัด หรอื ร่วมจัด ของภาคีเครือข่ายอย่างไรบ้าง การศึกษาของภาคีเครือข่าย การศึกษาของภาคีเครือข่าย การศึกษาของภาคีเครือข่าย และนาผล การติด ตามไป ใช้ และอธิบายการนาผลการตดิ ตาม และอธิบายการนาผลการตดิ ตาม และอธิบายการนาผลการติดตาม อยา่ งไร ไปใชไ้ ด้อย่างชัดเจน ไปใช้ได้ แตไ่ ม่ชดั เจน ไปใชไ้ ด้ 4. สถานศึกษามีการทบทวน สถานศึกษามีการทบทวนหรือ สถานศึกษามีการทบทวนหรือ สถานศกึ ษาไม่มกี ารทบทวนหรือ หรือติดตามกระบ วนการใน ติ ด ต า ม ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น ติ ด ต า ม ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น ติ ด ต า ม ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น การส่งเสริม สนับสนุนการจัด การส่งเสริม สนับสนุนการจัด การส่งเสริม สนับสนุนการจัด การส่งเสริม สนับสนุนการจัด ห รือ ร่วมจัด การศึ กษาของ ห รือ ร่วมจัด การศึ กษาของ ห รือ ร่วมจัด การศึ กษาของ ห รือ ร่วมจัด การศึ กษาของ ภาคเี ครือข่าย เพือ่ นาไปปรบั ปรงุ ภาคเี ครือขา่ ย เพอื่ นาไปปรับปรงุ ภาคเี ครือข่าย เพ่อื นาไปปรับปรุง ภาคีเครือข่าย เพือ่ นาไปปรับปรุง กระบวนการอย่างไร กระบวนการได้อย่างชดั เจน กระบวนการได้ แต่ไม่ชัดเจน กระบวนการ 5. สถานศึกษามีกระบวนการ สถ านศึ กษ ามี กระ บ วน การ สถ านศึ กษ ามี กระ บ วน การ สถานศึ กษาไม่ มี กระบวนการ ในการส่งเสริมสนั บ ส นุ นให้ ในการส่งเสริมสนั บ ส นุ นให้ ในการส่งเสริมสนั บ ส นุ นให้ ในการส่ งเส ริมสนั บ สนุ นให้ ภาคีเครือข่ายจัด หรือ ร่วมจัด ภาคีเครือข่ายจัด หรือ ร่วมจัด ภาคีเครือข่ายจัด หรือ ร่วมจัด ภาคีเครือข่ายจัด หรือ ร่วมจัด การศึกษาอย่างไร ที่เป็นต้นแบบ การศกึ ษา ท่ีเปน็ ต้นแบบ การศกึ ษา ทเ่ี ปน็ วิธปี ฏิบัติทด่ี ี การศกึ ษา ท่ีเปน็ วธิ ีปฏบิ ตั ทิ ่ดี ี ตารางเทียบคะแนนระดบั คุณภาพ ตอ้ งปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00 ระดบั คุณภาพ ตอ้ งปรับปรงุ เร่งดว่ น คะแนน 0.00 0.50 1.00
73 แนวทางการดาเนนิ งานของสถานศึกษา 1. สถานศึกษามีเทคนิควิธี กระบวนการ วิธกี ารในการส่งเสริม สนับสนุนใหภ้ าคีเครือขา่ ยจัดหรือร่วมจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เช่น การลงนาม ความร่วมมือ (MOU) การประสานงาน เป็นต้น 2. สถานศกึ ษาควรมกี ารประสานงานภาคีเครือข่าย (บุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครอง สว่ นท้องถน่ิ องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองค์กรอนื่ ) ท่ีมีศกั ยภาพ และ มอี ยใู่ นชมุ ชน ท้องถิน่ เพื่อจัดหรอื ร่วมจัด และสนบั สนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 3. สถานศึกษาควรมีการทบทวน หรือติดตาม วิธกี ารในการส่งเสริม สนับสนนุ ภาคเี ครือข่ายจดั หรอื รว่ มจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย เช่น การประเมนิ การประชมุ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสนทนากลมุ่ เป็นตน้ 4. สถานศึกษาควรจดั ให้มีการมอบรางวลั หรือสง่ เสรมิ ใหภ้ าคีเครอื ข่ายได้รับการยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติในระดับ จงั หวัด ระดับภาค ระดบั ประเทศ เพ่ือเปน็ ขวัญและกาลงั ใจให้แก่ภาคีเครือข่ายจดั หรือรว่ มจดั การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั
74 ตวั บ่งช้ี 3.3 การมีส่วนรว่ มของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ประเภท ปัจจัยปอ้ น กระบวนการ ผลผลติ /ผลลัพธ์ น้าหนกั คะแนน 5 คะแนน คาอธบิ ายตวั บง่ ช้ี 3.3 การมีสว่ นรว่ มของคณะกรรมการสถานศึกษา การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา พิจารณาจากการทาหน้าที่ของผู้ที่ไดร้ ับการแต่งต้ังใหเ้ ป็น คณะกรรมการสถานศึกษา ในการให้คาปรึกษา พิจารณาให้ข้อเสนอแนะในแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา แผนปฏิบัติการ ให้ความเห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการระดมทุนทางสังคมและ ทรัพยากรจากชมุ ชน ใหม้ สี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา ตดิ ตามและเสนอแนะผลการดาเนินงาน ประเดน็ การพจิ ารณา การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น รายประเดน็ ดังน้ี 1. สถานศึกษามีกระบวนการในการสรรหา และกระบวนการในการสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท หนา้ ทท่ี ่รี ะเบยี บกาหนดใหแ้ ก่คณะกรรมการสถานศึกษาได้อยา่ งไร 2. สถานศึกษาทราบได้อย่างไรว่าคณะกรรมการสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ตามที่ ระเบียบกาหนด 3. คณะกรรมการสถานศกึ ษามีส่วนร่วมตามบทบาทหน้าทต่ี ามท่รี ะเบยี บกาหนดหรือไม่ 4. สถานศกึ ษามีการทบทวนกระบวนการในการสรรหา และกระบวนการในการสรา้ งความรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกับบทบาทหน้าท่ตี ามท่ีระเบยี บกาหนดให้แก่คณะกรรมการสถานศกึ ษาอย่างไร 5. สถานศกึ ษามีการดาเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของสานกั งาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธกิ าร /ยุทธศาสตรแ์ ละเป้าหมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี อยา่ งไร
75 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเด็น 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน 1. สถานศึกษามีกระบวนการ สถานศึ กษาสามารถอธิบาย สถานศึ กษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ในการสรรหา และกระบวนการ กระบวนการในการสรรหา และ กระบวนการในการสรรหา และ กระบวนการในการสรรหา และ ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการในการสร้างความรู้ กระบวนการในการสร้างความรู้ กระบวนการในการสร้างความรู้ เก่ียวกับบทบาทหนา้ ทีท่ ่รี ะเบยี บ ความเข้าใจเก่ียวกับ บทบาท ความเข้าใจเกี่ยวกับ บทบาท ความเข้าใจเก่ียวกับ บทบาท กาหนด ให้แก่คณะกรรมการ หน้าที่ท่ีระเบียบกาหนด ให้แก่ หน้าท่ีที่ระเบียบกาหนดให้แก่ หน้าท่ีที่ระเบียบกาหนดให้แก่ สถานศกึ ษาได้อย่างไร คณ ะกรรมการสถ านศึกษ า คณ ะกรรมการสถ านศึกษ า คณ ะกรรมการสถ านศึกษ า ได้อยา่ งชดั เจน ได้ แต่ไม่ชัดเจน ได้ 2. สถานศกึ ษาทราบไดอ้ ย่างไรว่า สถานศึกษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย คณะกรรมการสถานศึกษามี วิ ธี ก า ร ท่ี ท า ใ ห้ ท ร า บ ว่ า วิ ธี ก า ร ท่ี ท า ใ ห้ ท ร า บ ว่ า วิ ธี ก า ร ท่ี ท า ใ ห้ ท ร า บ ว่ า ความรู้ ความเข้าใจในบทบาท คณะกรรมการสถานศึกษามี คณะกรรมการสถานศึกษามี คณะกรรมการสถานศึกษามี หนา้ ที่ตามท่รี ะเบยี บกาหนด ความรู้ ความเข้าใจในบทบาท ความรู้ ความเข้าใจในบทบาท ความรู้ ความเข้าใจในบทบาท หน้าท่ีตามที่ระเบียบกาหนดได้ หน้าที่ตามท่ีระเบียบกาหนด หน้าทีต่ ามที่ระเบียบกาหนด อยา่ งชัดเจน แตไ่ มช่ ดั เจน 3. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษาสามารถอธิบายผล สถานศึกษาสามารถอธิบายผล สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ให้คณะกรรมการสถานศึกษามี ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อ ง ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อ ง ส่วนร่วมตามบ ทบ าทห น้าที่ คณะกรรมการสถานศึกษาตาม คณะกรรมการสถานศึกษาตาม คณะกรรมการสถานศึกษาตาม ตามทร่ี ะเบยี บกาหนดหรอื ไม่ บทบาทหน้าที่ทร่ี ะเบียบกาหนด บทบาทหนา้ ที่ท่รี ะเบียบกาหนด บทบาทหน้าทีท่ ่ีระเบยี บกาหนด ได้ ต้ังแ ต่กึ่ งห นึ่ งของจานวน ได้น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน บทบาทหนา้ ที่ บทบาทหน้าที่ 4. สถานศึกษามีการทบทวน สถานศึกษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย กระบวนการในการสรรหา และ วิธีการทบทวนกระบวนการ วิธีการทบทวนกระบวนการ วิธีการทบทวนกระบวนการ กระบวนการในการสร้างความรู้ ในการสรรหา และวิธกี ารทบทวน ในการสรรหา และวิธกี ารทบทวน ในการสรรหา และวิธกี ารทบทวน ความเข้าใจเกี่ยวกับ บทบาท กระบวนการในการสร้างความรู้ กระบวนการในการสร้างความรู้ กระบวนการในการสร้างความรู้ หน้าที่ตามท่ีระเบียบกาหนด ความเข้าใจเก่ียวกับ บทบาท ความเข้าใจเกี่ยวกับ บทบาท ความเข้าใจเกี่ยวกับ บทบาท ใหแ้ ก่คณะกรรมการสถานศกึ ษา หน้าท่ีตามที่ระเบียบกาหนด หน้าที่ตามที่ระเบียบกาหนด หน้าท่ีตามท่ีระเบียบกาหนด อยา่ งไร ให้แก่คณะกรรมการสถานศึกษา ให้แก่คณะกรรมการสถานศกึ ษา ให้แก่คณะกรรมการสถานศกึ ษา ไดอ้ ยา่ งชดั เจน ได้ แตไ่ ม่ชัดเจน ได้ 5. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศึกษาอธิบายการดาเนนิ งาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย ท่ี สอดคล้องกับ นโยบายและ ท่ี สอดคล้องกับ นโยบายและ ท่ี สอดคล้องกับ นโยบายและ การดาเนินงานที่สอดคล้องกับ จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อยา่ งไร ได้อยา่ งชดั เจน ได้ แต่ไมช่ ดั เจน ได้ ตารางเทียบคะแนนระดบั คณุ ภาพ ต้องปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00 ระดบั คุณภาพ ตอ้ งปรบั ปรงุ เร่งดว่ น คะแนน 0.00 0.50 1.00
76 แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา 1. สถานศึกษาควรมีกระบวนการในการคดั เลอื กหรือใหไ้ ด้มาซึ่งคณะกรรมการสถานศึกษาทม่ี ศี ักยภาพ 2. สถานศกึ ษามีการสรา้ งความเขา้ ใจในบทบาทหนา้ ท่ีให้คณะกรรมการสถานศกึ ษา เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั ิ หนา้ ทีต่ ามบทบาทไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. สถานศึกษาควรมกี ารทบทวนกระบวนการสรรหา และ กระบวนการสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั บทบาท หนา้ ทตี่ ามทร่ี ะเบียบกาหนด ใหแ้ กค่ ณะกรรมการสถานศึกษา เชน่ การประชุม การประเมิน เป็นตน้ เพื่อนาไปใช้ ในการปรบั ปรงุ การดาเนินงานต่อไป
77 ตัวบง่ ช้ี 3.4 การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ประเภท ปจั จัยป้อน กระบวนการ ผลผลติ /ผลลพั ธ์ นา้ หนักคะแนน 5 คะแนน คาอธิบายตวั บง่ ช้ี 3.4 การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พิจารณาจากการกาหนดองคป์ ระกอบในการดาเนินงานท่ีมี ความสัมพันธ์กันเกี่ยวกับการบริหารจัดการ และการจัดการศึกษา/การให้บริการของสถานศึกษา เพ่ือพัฒนา คุณภาพผู้เรียน โดยดาเนินงานใหเ้ ป็นไปตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ กาหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการประกนั คุณภาพภายใน สาหรับสถานศึกษาทจี่ ัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ที่อาศัยอานาจตามความในมาตรา 20 วรรคสาม และมาตรา 25 วรรคหนึง่ แห่งพระราชบญั ญตั สิ ่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย พ.ศ. 2551 ซง่ึ กาหนดใหส้ ถานศึกษาตอ้ งดาเนนิ การ ดังน้ี (1) จดั ใหม้ มี าตรฐานการศกึ ษานอกระบบทกี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารประกาศกาหนดและพัฒนามาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศกึ ษาในสว่ นทีเ่ ปน็ ลักษณะเฉพาะของสถานศึกษา (2) จัดทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี (3) ดาเนินงานตามแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาและแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี (4) จัดให้มกี ารตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา (5) จัดใหม้ กี ารประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา (6) จัดทารายงานการประเมินตนเองประจาปี (7) เสนอรายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสงั กัด และภาคีเครือข่าย และเผยแพร่ตอ่ สาธารณชน (8) นาผลการประเมินคุณภาพภายในมาเปน็ ส่วนหน่ึงของการวางแผนเพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา โดยการมสี ว่ นรว่ มของคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือขา่ ย (9) จดั ระบบบรหิ ารและสารสนเทศ (10) ยดึ หลกั การมสี ่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา บคุ ลากรทกุ คนในสถานศกึ ษา ภาคเี ครอื ข่าย และผูร้ บั บริการ ประเดน็ การพจิ ารณา การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น รายประเดน็ ดังนี้ 1. สถานศกึ ษามีการจดั ระบบการประกนั คุณภาพภายในทสี่ ่งผลตอ่ คณุ ภาพผู้เรียนและผูร้ ับบรกิ ารอย่างไร 2. สถานศึกษามีการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่บุคลากรในการดาเนินงานตามระบบการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษาทกี่ าหนดอยา่ งไร 3. สถานศึกษามีการทบทวนหรือประเมินระบบการประกันคุณภาพภายในทสี่ ่งผลตอ่ คุณภาพผู้เรยี นและ ผรู้ บั บริการอย่างไร 4. สถานศึกษามีการจัดทาแนวทางการดาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในเพ่ือให้บุคลากรของ สถานศึกษาใชเ้ ป็นแนวทางในการดาเนนิ งานอยา่ งไร 5. สถานศึกษาพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาอยา่ งไร ที่เปน็ ตน้ แบบ
78 เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็น 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน 1. สถานศึกษามีการจัดระบบ สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษามีการดาเนินงาน การป ระ กันคุณ ภ าพ ภ ายใน ครอบคลุมตามกฎกระทรวง ครอบคลุมตามกฎกระทรวง ครอบคลุมตามกฎกระทรวง ท่ีส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนและ ศึ ก ษ าธิ ก าร ก าห น ด แ ล ะ มี ศึ ก ษ าธิ ก าร ก าห น ด แ ล ะ มี ศึ ก ษ าธิ ก าร ก าห น ด แ ล ะ มี ผรู้ ับบรกิ ารอยา่ งไร ค ะ แ น น ผ ล การ ป ร ะ เมิ น ใน ค ะ แ น น ผ ล การ ป ร ะ เมิ น ใน ค ะ แ น น ผ ล การ ป ร ะ เมิ น ใน มาตรฐานผู้เรียน/ผู้รับบริการ มาตรฐานผู้เรียน/ผู้รับบริการ มาตรฐานผู้เรียน/ผู้รับบริการ อย่างน้อย 0.5 คะแนน ในทุก อย่างน้อย 0.5 คะแนน ไม่ครบ ตา่ กว่า 0.5 คะแนน ทุกประเด็น ป ร ะ เด็ น ก ารพิ จ าร ณ าข อ ง ทุ ก ป ร ะ เด็ น ก าร พิ จ า ร ณ า การพิ จาร ณ า ข องตั วบ่ งชี้ ที่ ตัวบง่ ชที้ ่ี 1.1-1.7 ของตัวบง่ ชี้ท่ี 1.1-1.7 1.1-1.7 2. สถานศึกษามกี ารสรา้ งความรู้ บุคลากรทุกคนสามารถอธิบาย บุคลากรบางคนสามารถอธิบาย บุ ค ลากรไม่ ส ามารถ อธิบ าย ความเข้าใจให้แก่บุคลากรใน วิธีการสร้างความรู้ ความเข้าใจ วิธีการสร้างความรู้ ความเข้าใจ วิธีการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ก าร ด าเนิ น ง าน ต าม ร ะ บ บ ของสถานศึกษาให้แก่บุคลากร ของสถานศึกษาให้แก่บุคลากร ของสถานศึกษาให้แก่บุคลากร การประกันคุณภาพภายในของ ในการดาเนินงานตามระบบ ในการดาเนินงานตามระบบ ในการดาเนินงานตามระบบ สถานศกึ ษาทก่ี าหนดอย่างไร การประกันคุณภาพภายในของ การประกันคุณภาพภายในของ การประกันคุณภาพภายในของ สถานศกึ ษาท่กี าหนดได้ชดั เจน สถานศกึ ษาท่ีกาหนดได้ชัดเจน สถานศกึ ษาทก่ี าหนดได้ 3. สถานศึกษามีการทบทวน สถานศึกษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาไม่มีการทบทวนหรือ หรือประเมินระบบการประกัน วิธีการท บท วนหรือประเมิน วิธีการท บท วนหรือประเมิน ป ระ เมิ น ระ บ บ การ ป ระ กั น คุ ณ ภ าพ ภ าย ใน ที่ ส่ งผ ล ต่ อ ระบบการประกันคณุ ภาพภายใน ระบบการประกันคุณภาพภายใน คุ ณ ภ าพ ภ าย ใน ท่ี ส่ งผ ล ต่ อ คุณภาพผู้เรียนและผู้รับบริการ ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนและ ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนและ คณุ ภาพผเู้ รียนและผรู้ บั บรกิ าร อยา่ งไร ผูร้ ับบริการได้ชัดเจน ผรู้ ับบริการได้ แตไ่ ม่ชัดเจน 4. สถานศึกษามีการจัดทาแนวทาง สถานศึกษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาสามารถอธิบาย สถานศึกษาไม่มี ห รือมี การ ก าร ด าเนิ น ง าน ต าม ร ะ บ บ วิธีการและข้ันตอนการจัดทา วิธีการและขั้นตอนการจัดทา ดาเนินงานแต่ไม่สามารถอธิบาย ประกันคุณภาพภายใน เพ่ือให้ แนวทางการดาเนินงานตาม แนวทางการดาเนินงานตาม วิธีการและขั้นตอนการจัดทา บุคลากรของสถานศึกษาใช้เป็น ระบบประกันคุณภาพภายใน ระบบประกันคุณภาพภายใน แนวทางการดาเนินงานตาม แนวทางในการดาเนนิ งานอย่างไร เพ่ือให้บุคลากรของสถานศึกษา เพ่ือให้บุคลากรของสถานศึกษา ระบบประกันคุณภาพภายใน ใชเ้ ป็นแนวทางในการดาเนนิ งาน ใชเ้ ป็นแนวทางในการดาเนินงานได้ เพื่อให้บุคลากรของสถานศึกษา ได้ชัดเจน แตไ่ ม่ชัดเจน ใช้เปน็ แนวทางในการดาเนนิ งานได้ 5. สถานศึกษาพั ฒ นาระบ บ สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษามีการดาเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา พัฒนาระบบการประกันคุณภาพ พฒั นาระบบการประกนั คุณภาพ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายในสถานศกึ ษาอยา่ งไร การศึกษาภายในสถานศึกษา การศึกษาภายในสถานศึกษา การศึกษาภายในสถานศึกษา ท่ีเปน็ ต้นแบบ ที่เปน็ ต้นแบบ ท่ี เป็ น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ ดี (Best แต่ยังไม่เป็นวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ห รื อ น วั ต ก ร ร ม Practice) (Innovation) ตารางเทยี บคะแนนระดับคุณภาพ ตอ้ งปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดมี าก 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00 ระดับคุณภาพ ตอ้ งปรับปรุงเร่งดว่ น คะแนน 0.00 0.50 1.00
79 แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา 1. ผู้บริหารสถานศึกษาสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่บุคลากรของสถานศึกษา เกี่ยวกับกฎกระทรวง กาหนด ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สาหรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ให้ครบถว้ นตามคาอธบิ ายตวั บ่งชี้ 3.4 2. ผบู้ ริหารสถานศึกษาและบุคลากรของสถานศกึ ษา ร่วมกนั จัด และทบทวน ติดตาม หรือประเมนิ ระบบ การประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เชน่ ประชมุ รายงานผลการดาเนนิ งาน เป็นตน้ 3. สถานศึกษาควรจัดทาแนวทางการดาเนินงานการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา เชน่ การจัดทา แผนผังข้ันตอนการดาเนินงาน การอธิบายวิธีการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา การกาหนด ค่าเปา้ หมายของสถานศกึ ษา เป็นตน้ 4. สถานศึกษาควรมีการดาเนนิ งานตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมท่กี าหนดไว้ และจัดให้มกี ารรวบรวม ขอ้ มลู สารสนเทศจากผลการดาเนนิ งานอย่างเป็นระบบ และเปน็ ปัจจุบัน สอดคลอ้ งกบั บริบทของสถานศึกษา
80 บทท่ี 4 การคิดคะแนนตัวบ่งช้ี และสรุประดบั คุณภาพตวั บง่ ช้ี ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอ/เขต การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอ/เขต ได้กาหนดค่าน้าหนักคะแนนของแต่ละตัวบ่งชี้ไว้ โดยมีคะแนนเต็มตัวบ่งช้ีละ 5 คะแนน ซ่ึงตาม มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีจานวน 20 ตัวบ่งช้ี จึงรวมคะแนนเต็มทกุ มาตรฐาน และตัวบง่ ชี้เป็น 100 คะแนน ในท่นี ้จี งึ ขอนาเสนอวิธีการคิดคะแนน และการสรปุ ระดบั คณุ ภาพ ไว้ดังน้ี 1. สถานศึกษาดาเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา โดยพิจารณาและให้คะแนนทเ่ี ป็นไปตาม ประเด็นการพจิ ารณาในแต่ละตัวบ่งช้ี ซึง่ มจี านวน 5 ข้อ ขอ้ ละ 1 คะแนน รวม 5 คะแนน 2. ดาเนินการรวมคะแนนทีไ่ ดภ้ ายในตัวบง่ ชี้ ซง่ึ มีคะแนนเตม็ จานวน 5 คะแนน 3. นาคะแนนทรี่ วมได้ไปเทียบกบั ตารางเทยี บคะแนนระดบั คุณภาพ เพ่อื ตดั สินระดบั คุณภาพ 4. สรุปคะแนน และระดบั คณุ ภาพตวั บง่ ชี้ ตัวอยา่ ง การคดิ คะแนนและระดบั คุณภาพตวั บ่งช้ี ขั้นท่ี 1 สถานศึกษาดาเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยพจิ ารณาและให้คะแนนท่ีเป็นไป ตามประเด็นการพจิ ารณาในแต่ละตัวบ่งชี้ ตัวอยา่ ง สถานศกึ ษาแหง่ หน่ึงดาเนินการประเมนิ คณุ ภาพในตัวบ่งช้ีที่ 1.1 โดยพิจารณาให้คะแนน ทีเ่ ปน็ ไปตามประเด็นการพิจารณา ดังนี้ คะแนนที่ไดจ้ าก ประเดน็ 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน การประเมินคณุ ภาพ 1. ผู้เรียนมีคุณธรรมเปน็ ไปตาม ผู้เรีย น มี คุ ณ ธ รรม สู งก ว่า ผู้เรียนมีคุณธรรมเป็นไปตาม ผู้เรีย น มี คุณ ธ รรม ต่ าก ว่า 0.5 คะแนน คา่ เปา้ หมายท่กี าหนดหรือไม่ ค่าเปา้ หมายท่กี าหนด คา่ เป้าหมายทีก่ าหนด ค่าเปา้ หมายที่กาหนด 2. สถานศึกษามีการประเมิน สถานศึกษาสามารถนาเสนอ สถานศึกษาสามารถนาเสนอ สถานศึกษาไม่มี/ไม่สามารถ 1 คะแนน คุ ณ ธ รร ม ข อ ง ผู้ เรีย น ที่ มี ข้ อมูล ห ลัก ฐา น ร่องรอยท่ี ข้อมูล หลักฐาน ร่องรอยท่ี น าเส น อ ข้ อ มู ล ห ลัก ฐา น ความน่าเชื่อถืออย่างไร น่ าเชื่ อถื อ เป็ นเหตุ เป็ นผล น่าเช่ือถื อ เป็ นเหตุเป็ นผล ร่ อ ง ร อ ย ที่ ส นั บ ส นุ น ผ ล สนบั สนุนผลการดาเนนิ งานอยา่ ง สนับสนุนผลการดาเนินงาน การดาเนนิ งานได้ ชัดเจนครบถ้วนตามคณุ ลกั ษณะ ไม่ครบถ้วนตามคุณลักษณะ ท่ีกาหนดไว้ในคาอธิบาย ท่ีกาหนดไวใ้ นคาอธบิ าย 3. สถานศึกษามีผลการดาเนินงาน สถานศึกษามผี ลการดาเนินงาน สถานศึกษามผี ลการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่มีผลการดาเนินงาน 1 คะแนน เกี่ยวกับการพัฒนาคุณธรรม พัฒนางานและขยายผลการ ในลกั ษณะเดมิ ไม่มีการพัฒนา ทีช่ ดั เจน อย่างตอ่ เน่อื งอย่างไร ดาเนินงานอยา่ งชัดเจนตอ่ เน่ือง หรอื ขยายการดาเนนิ งาน ให้ ค รอ บ ค ลุ ม คุ ณ ธร ร ม ต า ม คาอธบิ ายตัวบ่งชี้ 1.1 4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษามีผลการดาเนินงาน สถานศึกษามีผลการดาเนนิ งาน สถานศึกษาไม่มี หรอื มีผลการ 1 คะแนน สอดคล้องกับนโยบายและ ท่ีสอดคล้องกับนโยบายและ ไม่ครอบคลุมนโยบายและ ดาเนินงาน แต่ไม่สอดคล้อง จุดเน้นของสานักงาน กศน. จุดเน้นของสานักงาน กศน. จุดเน้นของสานักงาน กศน. กับนโยบายและจุดเน้นของ นโยบาย จุดเน้นของกระทรวง นโยบาย จุดเน้นของกระทรวง นโยบาย จุดเน้นของกระทรวง สานักงาน กศ น. นโย บาย ศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์และ ศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์และ ศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์และ จดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธิการ เป้าหมายของแผนการศึกษา เป้าหมายของแผนการศึกษา เป้าหมายของแผนการศึกษา ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ แห่งชาติ 20 ปี หรอื ไม่ แหง่ ชาติ 20 ปี แหง่ ชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี
81 ประเด็น 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน คะแนนทไ่ี ดจ้ าก การประเมินคณุ ภาพ 5. สถานศึกษามีผู้เรียนท่ีเป็น ส ถ า น ศึ ก ษ า มี ผู้ เรี ย น ท่ี เป็ น ส ถ า น ศึ ก ษ า มี ผู้ เรี ย น ท่ี เป็ น ส ถ า น ศึ ก ษ า มี ผู้ เรี ย น ท่ี เป็ น ตวั อย่างที่ดี หรือต้นแบบด้าน ตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบด้าน ตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบด้าน ตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบด้าน 0 คะแนน คณุ ธรรม เป็นไปตามค่าเป้าหมาย คณุ ธรรมสงู กว่าค่าเปา้ หมายที่ คุณธรรมเปน็ ไปตามค่าเป้าหมาย คุณธรรมต่ากว่าค่าเป้าหมาย ท่ีกาหนดหรือไม่ อยา่ งไร กาหนด ทก่ี าหนด ท่กี าหนด ขน้ั ท่ี 2 ดาเนินการรวมคะแนนทไี่ ดภ้ ายในตวั บง่ ช้ี ซ่ึงมีคะแนนเต็ม จานวน 5 คะแนน จากการดาเนินการในข้ันที่ 1 เมื่อรวมคะแนนผลการประเมินคุณภาพภายใน จากประเด็น ประเด็นการพิจารณา 5 ข้อ ในตัวบ่งชี้ที่ 1.1 พบว่า มีคะแนนรวม เท่ากบั 3.50 คะแนน (มาจาก 0.5+1+1+1+0 = 3.5 คะแนน) ข้ันท่ี 3 นาคะแนนทรี่ วมไดไ้ ปเทยี บกับตารางเทยี บคะแนนระดับคุณภาพ เพื่อตัดสินระดับคณุ ภาพ จากคะแนนทีร่ วมไดใ้ นตวั บง่ ชีท้ ่ี 1.1 พบวา่ มีคะแนนรวม เทา่ กบั 3.50 คะแนน จึงนาไปเทียบกับ ตารางเทียบคะแนนระดบั คุณภาพ เพื่อกาหนดระดบั คณุ ภาพ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรงุ เร่งดว่ น ตอ้ งปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก คะแนน 0.00 0.50 1.00 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00 ซึ่งเม่อื นาคะแนนท่ไี ด้ คือ 3.50 คะแนน มาเทยี บกับตารางเทียบคะแนนระดับคณุ ภาพ เพ่ือกาหนดระดับ คณุ ภาพ จะได้ระดบั คณุ ภาพ เทา่ กับ “ดี” ข้นั ที่ 4 สรุปคะแนน และระดบั คณุ ภาพตัวบ่งช้ี จากผลการนาคะแนนผลการประเมินไปเทียบกบั ตารางเทยี บคะแนนระดับคณุ ภาพ ตามข้นั ท่ี 4 ดงั นัน้ จงึ สรุปได้วา่ ผลการประเมินตวั บ่งชท้ี ี่ 1.1 ไดค้ ะแนน 3.50 คะแนน อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดี ท้ังน้ี ในกรณีที่ต้องการสรุประดับคุณภาพในภาพรวมตามรายมาตรฐาน ให้สถานศึกษา ดาเนนิ การ ดังนี้ 1. สถานศึกษานาคะแนนที่ประเมินได้ในแต่ละตัวบ่งชี้ในมาตรฐานน้ัน ๆ มาบวกรวมกันให้ได้ ผลลัพธเ์ ปน็ คะแนนรวมในมาตรฐานนั้น ๆ 2. นาคะแนนท่ไี ด้ไปเทยี บกับตารางเทียบคะแนนระดับคณุ ภาพตามระดับคะแนนเตม็ ของแตล่ ะ มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รียน/ผรู้ บั บรกิ าร มีคะแนนเตม็ เทา่ กบั 35 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ต้องปรบั ปรุงเร่งดว่ น ตอ้ งปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดมี าก ชว่ งคะแนน 0.00 – 7.00 7.01 – 14.00 14.01 – 21.00 21.01 – 28.00 28.01 - 35.00 มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ มีคะแนนเต็มเทา่ กับ 45 คะแนน ระดบั คุณภาพ ตอ้ งปรบั ปรุงเร่งด่วน ต้องปรับปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก ชว่ งคะแนน 0.00 – 9.00 9.01 – 18.00 18.01 – 27.00 27.01 – 36.00 36.01 - 45.00 มาตรฐานที่ 3 ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการการศกึ ษา มคี ะแนนเต็มเทา่ กับ 20 คะแนน ระดับคณุ ภาพ ต้องปรับปรงุ เร่งดว่ น ตอ้ งปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ช่วงคะแนน 0.00 – 4.00 4.01 – 8.00 8.01 – 12.00 12.01 – 16.00 16.01 - 20.00
82 3. นาคะแนนที่รวมได้ไปเทยี บกบั ตารางเทยี บคะแนนระดับคุณภาพ เพ่ือตดั สินระดบั คณุ ภาพ 4. สรปุ คะแนน และระดบั คณุ ภาพมาตรฐาน ตัวอยา่ ง การคดิ คะแนนและระดบั คุณภาพในภาพรวม ตามรายมาตรฐาน ข้ันท่ี 1 สถานศึกษานาคะแนนทีป่ ระเมินได้ในแต่ละตัวบ่งชีใ้ นมาตรฐานน้ัน ๆ มาบวกรวมกันให้ได้ผลลัพธ์ เปน็ คะแนนรวมในมาตรฐานน้ัน ๆ ตวั อยา่ ง สถานศกึ ษาแหง่ หนงึ่ มีคะแนนผลการประเมินในมาตรฐานท่ี 1 ดงั น้ี มาตรฐาน นา้ หนกั (คะแนน) คะแนนทีไ่ ดจ้ าก การประเมนิ คณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผูร้ บั บรกิ าร 5 การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน 5 3.50 ตวั บ่งช้ี 1.1 ผู้เรยี นการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานมีคณุ ธรรม 5 ตัวบ่งชี้ 1.2 ผู้เรยี นการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานมที กั ษะกระบวนการคดิ ทักษะการแสวงหาความรู้ 5 4.00 เรยี นร้อู ย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในการดารงชวี ติ 5 3.50 ตัวบ่งช้ี 1.3 ผเู้ รียนการศึกษาขั้นพน้ื ฐานมคี วามรู้พื้นฐาน 5 การศกึ ษาตอ่ เน่ือง 4.00 ตวั บ่งช้ี 1.4 ผเู้ รียนหรอื ผเู้ ข้ารบั การอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะในการประกอบอาชพี 5 2.50 ตัวบ่งช้ี 1.5 ผู้เรยี นหรือผูเ้ ข้ารบั การอบรมปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 35 3.00 ตวั บง่ ช้ี 1.6 ผเู้ รยี นหรือผ้เู ขา้ รบั การอบรมสามารถใช้เทคโนโลยไี ด้อยา่ งเหมาะสม การศกึ ษาตามอัธยาศยั 5.00 ตวั บ่งช้ี 1.7 ผูร้ ับบรกิ ารได้รับความรู้และ/หรอื ประสบการณ์จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรม/โครงการ 25.50 การศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมคะแนน ขั้นท่ี 2 นาคะแนนท่ีได้ไปเทียบกับตารางเทียบคะแนนระดับคุณภาพตามระดับคะแนนเต็มของแต่ละ มาตรฐาน ดังน้ี จากการดาเนินการในขั้นท่ี 1 เม่ือรวมคะแนนผลการประเมินในมาตรฐานท่ี 1 พบว่า มีคะแนนรวม เท่ากับ 25.50 คะแนน (มาจาก 3.5+4+3.5+4+2.5+3+5 = 25.50 คะแนน) ขั้นที่ 3 นาคะแนนทร่ี วมได้ไปเทยี บกับตารางเทยี บคะแนนระดับคุณภาพ เพื่อตดั สนิ ระดับคณุ ภาพ จากคะแนนท่ีรวมได้มาตรฐานที่ 1 พบว่า มคี ะแนนรวม เท่ากับ 25.50 คะแนน จงึ นาไปเทยี บกับ ตารางเทยี บคะแนนระดบั คุณภาพ เพื่อกาหนดระดบั คุณภาพ ดงั นี้ ระดบั คุณภาพ ตอ้ งปรับปรุงเร่งด่วน ต้องปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก 7.01 – 14.00 14.01 – 21.00 21.01 – 28.00 28.01 - 35.00 ชว่ งคะแนน 0.00 – 7.00 ซ่ึงเมื่อนาคะแนนท่ีได้ คือ 25.50 คะแนน มาเทียบกับตารางเทียบคะแนนระดับคุณภาพ จะได้ระดับคุณภาพ เทา่ กบั “ด”ี ขนั้ ที่ 4 สรปุ คะแนน และระดบั คณุ ภาพมาตรฐาน จากผลการนาคะแนนผลการประเมินไปเทียบกับตารางเทียบคะแนนระดับคณุ ภาพ ตามข้ันที่ 4 ดังน้นั จึงสรุปไดว้ า่ ผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 ได้คะแนน 25.50 คะแนน อย่ใู นระดบั คุณภาพ ดี กรณที ่ีมีการรวมคะแนนจากทุกมาตรฐาน ซึ่งมคี ะแนนเตม็ 100 คะแนน สามารถเทยี บระดับคุณภาพ ได้ดังนี้ ระดบั คุณภาพ ตอ้ งปรับปรงุ เร่งดว่ น ต้องปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ชว่ งคะแนน 0.00 – 20.00 20.01 – 40.00 40.01 – 60.00 60.01 – 80.00 80.01 - 100.00
83 เอกสารอา้ งอิง กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2551. พระราชบญั ญัตสิ ่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั พ.ศ.2551. กรงุ เทพฯ. มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์ 2559. คู่มอื การประกันคณุ ภาพภายในระดับหลักสตู ร. กรุงเทพฯ : สหประชาพาณชิ ย์. สานักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา. เกณฑค์ ณุ ภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการท่ีเป็นเลิศ ฉบับปี 2558 - 2561. กรงุ เทพฯ. สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. คัมภีร์ กศน. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจากัด เอน็ เอ รตั นะเทรดดงิ้ . สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั . 2555. คู่มือการคัดเลอื กอนุกรรมการภาคีเครือข่าย. กรุงเทพฯ : รงั ษกี ารพมิ พ์. สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. 2559. คู่มอื การจัดการศกึ ษาตอ่ เนื่อง (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2559). กรุงเทพฯ : รงั ษกี ารพิมพ์. สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย. 2559. คมู่ ือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน. กรงุ เทพฯ : รงั ษีการพิมพ.์ สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั . 2555. คู่มอื การดาเนินงานหลักสตู รการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2555). กรุงเทพฯ : รังษกี ารพมิ พ์. สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย. 2556. คู่มอื การประเมินคุณภาพสถานศึกษา โดยต้นสงั กดั สาหรบั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั . กรงุ เทพฯ : รงั ษกี ารพิมพ์. สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย. 2556. คู่มือการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของสว่ นราชการ หนว่ ยงานของรัฐท่เี กีย่ วข้องและภาคเี ครือข่าย. กรุงเทพฯ : รงั ษกี ารพมิ พ์. สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย. 2551. คูม่ ือการสรรหาและแต่งตัง้ คณะกรรมการ สถานศึกษาสงั กัดสานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย. กรงุ เทพฯ : รงั ษกี ารพิมพ์. สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. 2555. แนวทางการประกันคุณภาพภายใน กศน.อาเภอ/เขต ตามมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปี 2555. กรุงเทพฯ : ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย. 2559. รายงานการวิจัยการพัฒนาระบบประเมิน และประกันคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั . กรุงเทพฯ. สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. 2552. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ.
ภาคผนวก
85 ภาคผนวก ก กฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
86
87
88
89 ภาคผนวก ข กฎกระทรวง กาหนดระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธีการประกนั คุณภาพภายใน สาหรบั สถานศึกษาที่จดั การศกึ ษานอกระบบ พ.ศ. 2555
90
91
92
93
94 ภาคผนวก ค ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2560
95
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146