Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารละลาย

สารละลาย

Published by อมรรัตน์ โพรามาต, 2020-11-30 10:58:47

Description: สารละลาย

Search

Read the Text Version

ชดุ การสอนท่ี 1

ก คาํ นํา ชุดการสอน ชุดท่ี 1 เร่ือง องคป์ ระกอบของสารละลาย เป็ นเอกสารที่จดั ทาํ ข้ึน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ว21101 โดยนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับ ความหมายของสารละลาย องคป์ ระกอบของสารละลาย เกณฑ์ในการกาํ หนดวา่ สารใดเป็ น ตวั ทาํ ละลายและตวั ละลาย ซ่ึงจะสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 หลกั สูตรสถานศึกษา และหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษา ปี ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้เรื่องสารละลาย ภายในเล่มประกอบดว้ ยสื่อและกิจกรรมต่าง ๆ เช่น แบบทดสอบก่อนเรียน ใบ ความรู้ท่ี 1.1 เรื่องสารละลาย ใบกิจกรรมที่ 1.1 เร่ืององค์ประกอบของสารละลาย ใบ กิจกรรมท่ี 1.2 เร่ืององค์ประกอบของสารละลาย แบบฝึ กหัดที่ 1.1 เร่ืองสารละลายและ แบบทดสอบหลงั เรียน ซ่ึงผเู้ รียนสามารถเรียนรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง สาํ หรับนกั เรียนท่ีเรียนรู้ชา้ ก็สามารถทาํ กิจกรรมไปพร้อม ๆ กบั เพ่ือนในกลุ่ม ส่วนครูจะคอยช้ีแนะแนวทางในการเรียน กาํ กบั ดูแล นกั เรียนอยา่ งทว่ั ถึง เพื่อใหก้ ระบวนการเรียนรู้ดาํ เนินไปตามข้นั ตอน ผจู้ ดั หวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ ชุดการสอนเร่ืองน้ีจะเป็ นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้ ดาํ เนินไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ ช่วยพฒั นาผเู้ รียนให้มีความรู้ ทกั ษะกระบวนการและเจตคติ ท่ีดีต่อวชิ าวทิ ยาศาสตร์ สามารถนาํ ความรู้ไปประยกุ ตใ์ หเ้ กิดประโยชน์ในชีวติ ประจาํ วนั ได้ อรอุมา เทียนิระมล

ข สารบัญ เรื่อง หน้า คาํ นาํ ………………………………………………………………………………. (ก) สารบญั ………………………………………………………………………….... (ข) สารบญั ภาพ………………………………………………………………………. (ค) มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั …………………………………………………... 1 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้…………………………………………………………….. 3 บตั รคาํ ส่ังการใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรู้…………………………………………… 4 แบบทดสอบก่อนเรียน……………………………………………………………. 5 กระดาษคาํ ตอบก่อนเรียน………………………………………………….……… 8 ใบความรู้ที่ 1.1 เร่ืองสารละลาย ……………………………………….………… 9 ใบกิจกรรมท่ี 1.1 เรื่ององคป์ ระกอบของสารละลาย……………………………… 16 ใบกิจกรรมท่ี 1.2 เรื่ององคป์ ระกอบของสารละลาย……………………………… 20 แบบฝึกหดั ท่ี 1.1 เร่ืองสารละลาย………………………………………………… 20 แบบทดสอบหลงั เรียน……………………………………………………………. 23 กระดาษคาํ ตอบหลงั เรียน…………………………………………………………. 27 บรรณานุกรม……………………………………………………………………… 28 ภาคผนวก………………………………………………………………………… 29

ค สารบญั ภาพ เรื่อง หน้า ภาพที่ 1 แสดงสารละลายท่ีมีสถานะเดียวกนั ............................................................... 10 ภาพที่ 2 แสดงสารละลายทม่ี ีสถานะต่างกนั …………………………………………... 11 ภาพท่ี 3 ทองเหลือง...................................................................................................... 13 ภาพที่ 4 นาก.................................................................................................................. 13 13 ภาพท่ี 5 ฟิ วส์ไฟฟ้ า....................................................................................................... 14 ภาพท่ี 6 น้าํ ส้มสายชู ...................................................................................................... 14 ภาพท่ี 7 แอลกอฮอลล์ า้ งแผล........................................................................................ 14 ภาพที่ 8 น้าํ โซดา........................................................................................................... ภาพที่ 9 แกส๊ หุงตม้ ....................................................................................................... 15

1 มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจหลกั การและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสารการเกิด สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และ จิตวทิ ยาศาสตร์ส่ือสาร สิ่งที่เรียนรู้ และ นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

2 มาตรฐาน ว 8.1 ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแกป้ ัญหา รู้วา่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติท่ีเกิดข้ึนส่วนใหญม่ ีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใตข้ อ้ มลู และเคร่ืองมือที่มีอยใู่ นช่วงเวลาน้นั ๆ เขา้ ใจวา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอ้ มมีความเกี่ยวขอ้ งสมั พนั ธ์กนั ตวั ชี้วดั ว 3.2 ม1/3 ทดลองและอธิบายปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ การเปลี่ยนสถานะ และ การละลายของสาร ว 8.1 ม.1-3 - ม.1-3/5, ม.1-3/8 สาระการเรียนรู้ - องคป์ ระกอบของสารละลาย - เกณฑใ์ นการช้ีบ่งวา่ สารใดเป็นตวั ทาํ ละลายหรือตวั ละลาย

3 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลกั ษณะสาํ คญั ของสารละลายได้ (K) 2. บอกองคป์ ระกอบของสารละลายแต่ละชนิดได้ (K) 3. กาํ หนดปัญหาของการทดลองได้ (P) 4. ต้งั สมมติฐานจากปัญหาท่ีกาํ หนดใหไ้ ด้ (P) 5. ทดลองและสรุปผลเรื่ององคป์ ระกอบของสารละลายได้ (P) 6. มีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นดา้ น (A) 6.1 มีความกระตือรือร้นและพยายามในการแสวงหาความรู้ 6.2 เขา้ เรียนตรงเวลาและมีความต้งั ใจในขณะปฏิบตั ิกิจกรรมได้ 7. มีความสามารถในการคิดการส่ือสาร (C) 7.1 นกั เรียนปฏิบตั ิกิจกรรมร่วมกนั เป็ นกลุ่มได้ 7.2 แกป้ ัญหาขณะปฏิบตั ิกิจกรรมได้ 7.3 นาํ เสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา้ ช้นั เรียนได้ 2 ช่ัวโมง

4 คาํ แนะนํา การใช้ชุดการสอน ชุดการสอนวทิ ยาศาสตร์ ชุดท่ี 1 เรื่ององคป์ ระกอบของ สารละลาย เป็นเอกสารท่ีจดั ทาํ ข้ึน เพอ่ื ใชป้ ระกอบการเรียนการสอน วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ว 21101 หน่วยการเรียนรู้ เร่ืองสารละลาย ซ่ึงนกั เรียน จะตอ้ งศึกษาใบความรู้ โดยอา่ นรายละเอียดเน้ือหาใหช้ ดั เจน ทาํ กิจกรรม และบนั ทึกผลลงในคูม่ ือปฏิบตั ิกิจกรรม ไม่ขีดเขียนหรือทาํ เคร่ืองหมาย ใด ๆ ลงในชุดการสอนน้ี ปฏิบตั ิตามกิจกรรมตามลาํ ดบั ดงั น้ี 1. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้และเน้ือหา 2. ทดสอบก่อนเรียน 3. ศึกษาใบความรู้ที่ 1.1 เร่ืองสารละลาย 4. ทาํ กิจกรรมท่ี 1.1 เรื่ององคป์ ระกอบของสารละลาย 5. ศึกษาใบความรู้ท่ี 1.2 เร่ืองเกณฑใ์ นการพิจารณาองคป์ ระกอบของ สารละลาย 6. ทาํ กิจกรรมท่ี 1.2 เร่ืององคป์ ระกอบของสารละลาย 7. ทาํ แบบฝึกหดั ที่ 1.1 เรื่องสารละลาย 8. ทดสอบหลงั เรียน 9. ถา้ นกั เรียนพบปัญหาหรือขอ้ สงสยั ในบทเรียนใหข้ อคาํ แนะนาํ จากครู 10. นกั เรียนจะตอ้ งมีความสามคั คีและยอมฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน

5 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง องค์ประกอบของสารละลาย คําชี้แจง ใหน้ กั เรียนทาํ เครื่องหมาย  ทบั ตวั อกั ษร ก ข ค หรือ ง หนา้ คาํ ตอบท่ีถูกที่สุดเพียง คาํ ตอบเดียว 1. เราเรียกสารท่ีประกอบดว้ ยสารอยา่ งนอ้ ย 2 ชนิด ละลายปนกนั จนมีลกั ษณะเป็น เน้ือเดียวกนั วา่ อะไร ก. สารละลาย ข. สารบริสุทธ์ิ ค. สารเน้ือผสม ง. สารละลายน้าํ 2. โดยทวั่ ไปสารละลายมีอยใู่ นสถานะใด ก. แกส๊ ข. ของแขง็ ค. ของเหลว ง. ทุกสถานะ 3. ในสารละลายทุกชนิดจะประกอบดว้ ยสารประเภทใด ก. ตวั ละลายและตวั ทาํ ละลาย ข. ตวั ละลายและตวั ไมล่ ะลาย ค. ตวั ใหล้ ะลายและตวั ทาํ ละลาย ง. ตวั ใหล้ ะลายและตวั ชอบละลาย

6 4. ถา้ ของเหลวแกว้ หน่ึง พบวา่ เป็นสารละลายของเกลือแกงกบั น้าํ สารละลายน้ีสาร ใดเป็นตวั ละลาย และสารใดเป็นตวั ทาํ ละลาย ก. เกลือแกงเป็นตวั ละลาย น้าํ เป็นทาํ ตวั ละลาย ข. เกลือแกงเป็นตวั ทาํ ละลาย น้าํ เป็นตวั ละลาย ค. ของเหลวในแกว้ เป็นตวั ละลาย น้าํ เป็นตวั ทาํ ละลาย ง. ของเหลวในแกว้ เป็นตวั ทาํ ละลาย เกลือแกงเป็นตวั ละลาย 5. นกั วทิ ยาศาสตร์ใชส้ ิ่งใดเป็ นเกณฑใ์ นการพิจารณาวา่ สารใดเป็นตวั ทาํ ละลายใน สารละลาย ก. มีปริมาณอยนู่ อ้ ย และสถานะตา่ งจากสารละลาย ข. มีปริมาณอยมู่ าก และมีสถานะต่างจากสารละลาย ค. มีปริมาณอยมู่ าก และมีสถานะเดียวกบั สารละลาย ง. มีปริมาณสารอยนู่ อ้ ย และสถานะเดียวกบั สารละลาย 6. สารใดขอ้ ใดจดั เป็ นสารละลาย ก. น้าํ เกลือ น้าํ โคลน น้าํ เช่ือม ข. น้าํ อดั ลม ทองแดง น้าํ หมึก ค. น้าํ แขง็ น้าํ ส้มสายชู น้าํ ประปา ง. อากาศ ทองเหลือง น้าํ ส้มสายชู 7. สารละลายตอ่ ไปน้ีประกอบดว้ ยทองแดง 55 % ทองคาํ 20 % และ เหลก็ 25 % สารใดเป็นตวั ทาํ ละลาย ก. เหล็ก ข. ทองคาํ ค. ทองแดง ง. เหลก็ และทองคาํ

7 8. ขอ้ ใดไม่ใช่สารละลาย ก. น้าํ ตาลละลายในน้าํ ข. แป้ งมนั ละลายในน้าํ ค. เกลือแกงละลายในน้าํ ง. แก๊สคาร์บอนไดออกไซดล์ ะลายในน้าํ 9. ทองเหลืองเป็นสารละลายท่ีเกิดจากการผสมระหวา่ งสารใด ก. เงินกบั ทองแดง ข. เหล็กกบั ทองแดง ค. ทองแดงกบั สังกะสี ง. ทองแดงกบั อะลูมิเนียม 10. สารในขอ้ ใดมีสารปนอยมู่ ากกวา่ 1 ชนิด ก. น้าํ กลนั่ ข. ซูโครส ค. น้าํ หวาน ง. น้าํ ตาลทราย

8 กระดาษคําตอบแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดการสอนท่ี 1 เรื่อง องค์ประกอบของสารละลาย ชื่อ – สกลุ .............................................................................เลขท่ี........... ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ขอ้ ก ตวั เลือก ง ขค 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนท่ีได.้ ..........................คะแนน

9 ใบความรู้ท่ี 1.1 เร่ือง สารละลาย ประกอบการสอนแผนการจดั การเรียนรู้ที่ 27 เร่ือง องค์ประกอบของสารละลาย เวลา 2 ช่ัวโมง สารละลาย สารละลาย เป็นสารเน้ือเดียวที่เกิดจากสารต้งั แต่ 2 ชนิดมาผสมกนั โดยอตั ราส่วน การผสมไมแ่ น่นอน และไมเ่ กิดปฏิกิริยาเคมี สารใหมท่ ่ีเกิดข้ึนยงั มีสมบตั ิของสารชนิดเดิม สารละลายมีท้งั สถานะของแขง็ ของเหลว และแกส๊ เช่น น้าํ เช่ือม น้าํ เกลือ น้าํ อดั ลม ทองเหลือง นาก แอลกอฮอล์ และ อากาศ เป็นตน้ สารละลาย สามารถผา่ นไดท้ ้งั กระดาษ- กรองและกระดาษเซลโลเฟน การชี้บ่งว่าสารใดเป็ นตัวทาํ ละลายและสารใดเป็ นตัวละลายให้พจิ ารณาดงั นี้ 1. ถา้ ตวั ทาํ ละลายและตวั ละลายมีสถานะเดียวกนั สารที่มีปริมาณมากกวา่ เป็นตวั ทาํ ละลาย ส่วนสารท่ีมีปริมาณนอ้ ยกวา่ เป็นตวั ละลาย เช่น ทองคาํ + ทองแดง  นาก ทองแดงเป็นตวั ทาํ ละลาย เนื่องจากทองแดงมีปริมาณมากกวา่ ทองคาํ ทองคาํ เป็ น ตวั ละลาย เนื่องจากทองคาํ มีปริมาณนอ้ ยกวา่ ทองแดง N2 + O2 + CO2 + แกส๊ อ่ืนๆ  อากาศ แกส๊ ไนโตรเจนเป็ นตวั ทาํ ละลาย เน่ืองจากมีปริมาณมากที่สุด แก๊สออกซิเจน แก๊ส คาร์บอนไดออกไซดแ์ ละแกส๊ อื่นๆ เป็นตวั ละลาย เน่ืองจากมีปริมาณรวมกนั นอ้ ยกวา่ แก๊ส ไนโตรเจน

10 สารละลายเอทานอล ซ่ึงมีเอทานอลเป็นตวั ทาํ ละลายดงั รูป เอทานอล 70 cm3 น้าํ 30 cm3 ตวั ทาํ ละลาย ตวั ละลาย สารละลายเอทานอล 100 cm3 ภาพที่ 1 แสดงสารละลายท่ีมีสถานะเดียวกนั ที่มา : อรอมุ า เทียนิระมล, (2556 : ภาพวาด) ข้อควรทราบ ในกรณีที่ตวั ทาํ ละลายและ ตวั ละลายมีสถานะเดียวกนั และมีปริมาณ เท่ากนั จะช้ีบง่ ใหอ้ งคป์ ระกอบใดเป็นตวั ทาํ ละลายหรือตวั ละลายก็ได้

11 2. ถา้ ตวั ทาํ ละลายและตวั ละลายมีสถานะตา่ งกนั สารที่มีสถานะเหมือนกบั สารละลายจดั เป็น ตวั ทาํ ละลาย ส่วนสารที่มีสถานะต่างไปจากสารละลายจดั เป็นตวั ละลาย เช่น ผลึกไอโอดีน เอทานอล ตัวละลาย ตัวทาํ ละลาย สารละลายทงิ เจอร์ไอโอดีน ภาพท่ี 2 แสดงสารละลายที่มีสถานะต่างกนั ที่มา : อรอุมา เทียนิระมล, (2556 : ภาพวาด) ข้อสังเกต เกลือแกง + น้าํ  น้าํ เกลือ ไอโอดีน + เอทานอล  ทิงเจอร์ไอโอดีน CO2 + น้าํ  น้าํ โซดา จากตวั อยา่ งเกลือแกง ไอโอดีน และ CO2 เป็นตวั ละลาย ส่วนน้าํ และ เอทานอล เป็น ตวั ทาํ ละลาย

12 หลกั การพจิ ารณาตัวทาํ ละลาย และ ตวั ละลาย 1. สถานะ ถา้ องคป์ ระกอบในสารละลายมีสถานะต่างกนั - สารท่ีมีสถานะเหมือนกบั สารละลาย จะเป็น ตวั ทาํ ละลาย - สารท่ีมีสถานะตา่ งจากสารละลาย จะเป็น ตวั ละลาย 2. ปริมาณในกรณีท่ีตวั ทาํ ละลายและตวั ละลายมสี ถานะเดียวกบั สารละลาย - สารที่มีปริมาณมากกวา่ จะเป็น ตวั ทาํ ละลาย - สารที่มีปริมาณนอ้ ยกวา่ จะเป็น ตวั ละลาย

ตัวอย่างตัวทาํ ละลายและตวั ละลายในสาร 13 มีทองแดง 70 % เป็นตวั ทาํ ละลาย มีสงั กะสี 30 % เป็นตวั ละลาย ภาพท่ี 3 ทองเหลือง ท่ีมา : Raku ten Tarad.com,. (ม.ป.ป. : ออนไลน์) มีทองแดง 90 % เป็นตวั ทาํ ละลาย มีทองคาํ 10 % เป็นตวั ละลาย ภาพที่ 4 นาก ที่มา : บุญมี(เฮงหลี), (ม.ป.ป. : ออนไลน)์ มีบิสมทั 50 % เป็นตวั ทาํ ละลาย มีตะกว่ั 25 % ดีบุก 25 % เป็นตวั ละลาย ภาพที่ 5 ฟิ วส์ไฟฟ้ า ที่มา : ไฟฟ้ าในชีวติ ประจาํ วนั , (2554 : ออนไลน)์

14 มีน้าํ 95 % เป็นตวั ทาํ ละลาย ภาพที่ 6 น้าํ สม้ สายชู มีกรดแอซิติก 5 % เป็นตวั ละลาย ที่มา : อรอุมา เทียนิระมล, (2556 : ภาพถา่ ย) มีแอลกอฮอล์ 70 % เป็นตวั ทาํ ละลาย มีน้าํ 30 % เป็นตวั ละลาย ภาพท่ี 7 แอลกอฮอลล์ า้ งแผล ท่ีมา : อรอมุ า เทียนิระมล, (2556 : ภาพถา่ ย) มีน้าํ เป็นตวั ทาํ ละลาย มีแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นตวั ละลาย ภาพท่ี 8 น้าํ โซดา ที่มา : อรอุมา เทียนิระมล, (2556 : ภาพถ่าย)

15 มีแก๊สโพรเพน 70 % เป็นตวั ทาํ ละลาย มีแกส๊ บิวเทน 30 % เป็นตวั ละลาย ภาพท่ี 9 แกส๊ หุงตม้ ที่มา : อรอุมา เทียนิระมล, (2556 : ภาพถ่าย) ประโยชน์จากการผสมกนั ของสารละลาย 1. นิโครม เป็นธาตุที่มีส่วนผสมของ นิกเกิล และโครเมียม ใชท้ าํ ขดลวดความร้อน 2. แมกนีเลยี ม เป็นธาตุท่ีมีส่วนผสมของ แมกนีเซียม อะลูมิเนียม ใชท้ าํ ชิ้นส่วน ลาํ ตวั เคร่ืองบิน 3. สําริด เป็นธาตุท่ีมีส่วนผสมของดีบุก ทองแดง บิสมทั พลวง ใชท้ าํ เครื่องประดบั และตกแตง่ 4. ทองเหลอื ง เป็ นธาตุที่มีส่วนผสมของ ทองแดงและสังกะสี ใชท้ าํ ภาชนะ เครื่องใช้

16 ใบกจิ กรรมท่ี 1.1 เรื่อง องค์ประกอบของสารละลาย ประกอบการสอนแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 27 เร่ือง องค์ประกอบของสารละลาย เวลา 2 ช่ัวโมง คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนศึกษาจุดประสงคข์ องกิจกรรม วธิ ีการทดลองแลว้ ปฏิบตั ิการทดลองตาม ข้นั ตอนที่กาํ หนด จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทดลองและอธิบายองคป์ ระกอบของสารละลาย 2. อธิบายวธิ ีตรวจสอบองคป์ ระกอบของสารละลาย วสั ดุอุปกรณ์และสารเคมตี ่อกล่มุ 1. ไขม้นั ข้ ตีดอไนฟการทาํ กิจกรรม 2. น้าํ เชื่อม 1 cm3 3. น้าํ เกลือ 1 cm3 4. น้าํ อดั ลม 1 cm3 5. คีมคีบโลหะ 1 อนั 6. จานหลุมโลหะ 1 อนั 7. กระบอกตวงขนาด 10 cm3 1 ใบ 8. ตะเกียงแอลกอฮอลพ์ ร้อมท่ีก้นั ลมและตะแกรงลวด 1 ชุด

17 ข้นั ตอนการทาํ กจิ กรรม 1. สงั เกตลกั ษณะของน้าํ เกลือ น้าํ หวาน น้าํ อดั ลม (ชนิดไม่ผสมสี) 2. นาํ ของเหลวท้งั 3 ชนิดละ 1 cm3 ใส่ในชอ้ นโลหะ ชนิดละ 1 คนั 3. นาํ ชอ้ นโลหะไปต้งั บนตะเกียงแอลกอฮอล์ ดงั ภาพ 4. ใหค้ วามร้อนจนของเหลวระเหยแหง้ ไปหมด สังเกตและบนั ทึกผลการเปลี่ยนแปลงการ ตรวจสอบองคป์ ระกอบของสารเน้ือเดียว ภาพที่ 1 แสดงข้นั ตอนการทดลอง ท่ีมา : อรอุมา เทียนิระมล. (2556 : ภาพถา่ ย) คาํ ถามก่อนการทดลอง 1. ระบุปัญหาของการทดลอง …................................................................................................................................. 2. สมมติฐานของการทดลอง ..................................................................................................................................... 3. ตวั แปรตน้ คือ...................................................................................................... 4. ตวั แปรตาม คือ..................................................................................................... 5. ตวั แปรควบคุม คือ................................................................................................ 6. ในบนั ทึกผลการทดลองนกั เรียนสังเกตสิ่งใด ....................................................................................................................................

18 ตารางบนั ทกึ ผล สารละลาย ลกั ษณะของเหลวท่ีสังเกตได้ ผลจากการสงั เกตเม่ือใหค้ วามร้อนจนแหง้ 1. น้าํ เชื่อม 2. น้าํ เกลือ 3. น้าํ อดั ลม คาํ ถามหลงั การทดลอง 1. ลกั ษณะของเหลวท่ีสงั เกตไดก้ ่อนใหค้ วามร้อน คือ ……………………………………………………………………………………………… 2. เม่ือนาํ ของเหลวไปใหค้ วามร้อนจนแหง้ ผลที่ไดค้ ือ ……………………………………………………………………………………………… 3. น้าํ เช่ือม น้าํ เกลือ และ น้าํ อดั ลม มีสารท่ีเป็นองคป์ ระกอบก่ีชนิด ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… 4. ในการแยกสารละลายที่มีสถานะเป็นของเหลว ซ่ึงมีตวั ทาํ ละลาย เป็นของเหลว และ ตวั ละลายเป็นของแขง็ สามารถแยกไดโ้ ดยวธิ ีใด ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… 5. วธิ ีการแยกสารโดยใหค้ วามร้อนเรียกวา่ ………………………………………………………………………………………………

19 คาํ ถามหลงั การทดลอง (ต่อ) 6. ในกรณีท่ีนาํ สารตวั อยา่ งมาระเหยแหง้ บนจานหลุม แลว้ พบวา่ ไม่เหลือสารใดๆ จะสรุปวา่ สารตวั อยา่ งมีองคป์ ระกอบเพียงชนิดเดียวไดห้ รือไม่ เพราะเหตุใด ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………… 7. ถา้ นาํ ดินมาผสมกบั น้าํ จะเป็นสารผสมประเภทใด เพราะเหตุผล ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… 8. สมบตั ิของตวั ทาํ ละลาย และ ตวั ละลาย มีผลตอ่ การละลายของสารหรือไม่ อยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… สรุปผลการทดลอง …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………

20 ใบกจิ กรรมที่ 1.2 เร่ือง องค์ประกอบของสารละลาย ประกอบการสอนแผนการจดั การเรียนรู้ที่ 27 เร่ือง องค์ประกอบของสารละลาย เวลา 2 ช่ัวโมง คาํ ชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนพิจารณาสารละลายตวั อยา่ ง แลว้ ช้ีบ่งตวั ทาํ ละลาย และ ตวั ละลาย ลงใน ตารางท่ีกาํ หนดให้ จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายและระบุองคป์ ระกอบของสารละลาย สารละลาย องคป์ ระกอบ ตวั ทาํ ละลาย ตวั ละลาย 1. น้าํ เกลือ 2. น้าํ ปลา 3. นาก 35 % 4. ฟิ วส์ 5. ทอง 18 K 6. น้าํ โซดา 7. แก๊สหุงตม้ 8. น้าํ เชื่อม 9. น้าํ อดั ลม 10. ทองเหลือง

21 แบบฝึ กหัดที่ 1.1 เร่ือง สารละลาย ประกอบการสอนแผนการจดั การเรียนรู้ที่ 27 เร่ือง องค์ประกอบของสารละลาย เวลา 2 ชั่วโมง คาํ ชีแ้ จง จงตอบคาํ ถามใหถ้ ูกตอ้ งและสมบรู ณ์ 1. อธิบายความหมายของคาํ วา่ “สารละลาย” ยกตวั อยา่ งประกอบ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 2. ตวั ทาํ ละลาย หมายถึง …......................................................................................................... 3. ตวั ละลาย หมายถึง…………………………………………………...........……………… 4. สารละลายทุกชนิดจะตอ้ งประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง ………………………………………………………………………………………………

22 5. จากสารละลายที่กาํ หนดใหต้ ่อไปน้ีใหน้ กั เรียนบอกวา่ สารใดเป็นตวั ละลาย สารใดเป็นตวั ทาํ ละลาย สารละลาย ส่วนประกอบ ตวั ทาํ ละลาย ตวั ละลาย ทองเหลือง เหลก็ กลา้ ไร้- ทองแดง 60 % สังกะสี 40 % สนิม อากาศ เหล็ก 74 % โครเมียม 18 % น้าํ เช่ือม นิกเกิล 8 % น้าํ ส้มสายชู น้าํ เกลือ ไนโตรเจน 78 % ออกซิเจน 21 % แก๊สอื่นๆ 1 % น้าํ น้าํ ตาลทราย กรดแอซิติก5 % น้าํ 95 % น้าํ เกลือแกง

23 แบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง องค์ประกอบของสารละลาย คําชี้แจง ใหน้ กั เรียนทาํ เครื่องหมาย  ทบั ตวั อกั ษร ก ข ค หรือ ง หนา้ คาํ ตอบที่ถูกที่สุดเพียง คาํ ตอบเดียว 1. ในสารละลายทุกชนิดประกอบดว้ ยสารประเภทใด ก. ตวั ละลายและตวั ทาํ ละลาย ข. ตวั ละลายและตวั ไม่ละลาย ค. ตวั ใหล้ ะลายและตวั ทาํ ละลาย ง. ตวั ใหล้ ะลาย และตวั ชอบละลาย 2. เราเรียกสารประกอบดว้ ยสารอยา่ งนอ้ ย 2 ชนิด ละลายปนกนั จนมีลกั ษณะเป็น เน้ือเดียวกนั วา่ อะไร ก. สารละลาย ข. การบริสุทธ์ิ ค. การละลายน้าํ ง. สารเน้ือผสม 3. ถา้ ของเหลวแกว้ หน่ึง พบวา่ เป็นสารละลายเกลือแกงกบั น้าํ สารละลายน้ี สารใดเป็นตวั ละลาย และ สารใดเป็นตวั ทาํ ละลาย ก. เกลือแกงเป็นตวั ละลาย น้าํ เป็นตวั ทาํ ละลาย ข. เกลือแกงเป็นตวั ทาํ ละลาย น้าํ เป็นตวั ละลาย ค. ของเหลวในแกว้ เป็นตวั ละลาย น้าํ เป็นตวั ทาํ ละลาย ง. ของเหลวในแกว้ เป็นตวั ทาํ ละลาย เกลือแกงเป็นตวั ละลาย

24 4. โดยทวั่ ไปสารละลายมีอยใู่ นสถานะใด ก. แกส๊ ข. ของแขง็ ค. ของเหลว ง. ทุกสถานะ 5. สารในขอ้ ใดเป็นสารละลาย ก. น้าํ อดั ลม ทองแดง น้าํ หมึก ข. น้าํ เกลือ น้าํ โคลน น้าํ เชื่อม ค. น้าํ แขง็ น้าํ ส้มสายชู น้าํ ประปา ง. อากาศ ทองเหลือง น้าํ ส้มสายชู 6. สารละลายต่อไปน้ี ประกอบไปดว้ ย ทองแดง 55 % ทองคาํ 20 % และ เหลก็ 25 % สารใดเป็นตวั ทาํ ละลาย ก. เหล็ก ข. ทองคาํ ค. ทองแดง ง. เหล็ก และ ทองคาํ 7. นกั วทิ ยาศาสตร์ ใชส้ ิ่งใดเป็นเกณฑใ์ นการพจิ ารณาวา่ สารใดเป็นตวั ทาํ ละลายในสารละลาย ก. มีปริมาณอยมู่ าก และ มีสถานะตา่ งจากสารละลาย ข. มีปริมาณอยมู่ าก และ มีสถานะเดียวกบั สารละลาย ค. มีปริมาณอยนู่ อ้ ย และ มีสถานะตา่ งจากสารละลาย ง. มีปริมาณอยนู่ อ้ ย และ มีสถานะเดียวกบั สารละลาย

25 8. ทองเหลืองเป็นสารละลายที่เกิดจากการผสมระหวา่ งสารใด ก. เงิน กบั ทองแดง ข. เหล็ก กบั ทองแดง ค. ทองแดง กบั สงั กะสี ง. ทองเหลือง กบั อะลูมิเนียม 9. สารในขอ้ ใดมีสารปนอยมู่ ากกวา่ 1 ชนิด ก. น้าํ กลน่ั ข. ซูโครส ค. น้าํ หวาน ง. น้าํ ตาลทราย 10. ขอ้ ใดไม่ใช่สารละลาย ก. น้าํ ตาลละลายในน้าํ ข. แป้ งมนั ละลายในน้าํ ค. เกลือแกงละลายในน้าํ ง. แกส๊ คาร์บอนไดออกไซดล์ ะลายในน้าํ

26 กระดาษคาํ ตอบแบบทดสอบหลงั เรียน ชุดการสอนที่ 1 เร่ือง องค์ประกอบของสารละลาย ชื่อ – สกลุ .............................................................................เลขท่ี........... ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ขอ้ ก ตวั เลือก ง ขค 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนที่ได.้ ..........................คะแนน

27 บรรณานกุ รม ถนดั ศรีบุญเรือง, กนิษฐา อุ่นอนนั ต์ และ ป่ิ นศกั ด์ิ ชุมเกษียน. (2547). ส่ือการเรียนรู้ สาระ การเรียนรู้พนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้พนื้ ฐานสัมฤทธ์ิมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ัน มัธยมศึกษาปี ท่ี 1 เล่ม 2. พมิ พค์ ร้ังที่ 4. นนทบุรี : ไทยร่มเกลา้ . นิพนธ์ ตงั คณานุรักษแ์ ละคณิตา ตงั คณานุรักษ.์ (2547). คู่มือสาระการเรียนรู้พนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ สารและสมบตั ิของสาร ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 1. กรุงเทพฯ : แมค็ . บญั ชา แสนทว.ี (2546). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พืน้ ฐานมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : วฒั นาพาพิช. บุญรอด สวสั ด์ิพานิช และวราพร ยสี่ ุนเทศ. (2548). สรุปเข้มวทิ ยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : แมค็ . พเยาว์ ยนิ ดีสุขและคณะ. ( 2546). วทิ ยาศาสตร์ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 1. กรุงเทพฯ : พฒั นา คุณภาพวชิ าการ. พชั รินทร์ แสนพลเมือง. ( 2556). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พนื้ ฐานมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 2 . กรุงเทพฯ : อกั ษรเจริญทศั น.์ พิมพนั ธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. ( 2547). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พนื้ ฐานมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 2 . กรุงเทพฯ : พฒั นาคุณภาพวชิ าการ. ยพุ า วรยศ และคณะ. (2546). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พนื้ ฐานมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ม. 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 1. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจริญทศั น.์ ยพุ า วรยศ และคณะ. (2553). หนังสือเรียนรายวชิ าพนื้ ฐานมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ม.1 (เล่ม 1)ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 1. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจริญทศั น์. ยพุ า วรยศ และคณะ. (2556). คูม่ ือครูหนงั สือเรียน วทิ ยาศาสตร์ ม.1 (เล่ม 1) ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจริญทศั น์. ศรีลกั ษณ์ ผลวฒั นา และ คณะ. ( 2545). สื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมบัติของสารและการ จําแนก ช่วงช้ัน 3 ( ม.1-3). กรุงเทพฯ : นิยมวทิ ยา. ศรีลกั ษณ์ ผลวฒั นา ,รัตนาภรณ์ อิทธิไพสิฐพ์ นั ธุ์ และ สุภาภรณ์ หรินทรนิตย.์ ( 2552). สื่อการ เรียนรู้และเสริมสร้างทกั ษะตามมาตรฐานและตวั ชี้วดั ช้ันปี กล่มุ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : นิยมวทิ ยา.

28 บรรณานกุ รม(ต่อ) ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย,ี สถาบนั . (2553). คู่มอื ครูรายวชิ าพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.ลาดพร้าว ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย,ี สถาบนั . (2553). คู่มือครูรายวชิ าพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ 1 ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.ลาดพร้าว สมพงศ์ จนั ทร์โพธ์ิศรี. คู่มือเตรียมสอบวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1. กรุงเทพ : ไฮเอด็ พบั ลิชชิ่ง. สุพจน์ แสงมณีและ ขวญั สุดา ประวะภูโต. (2546). กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 1.กรุงเทพฯ : ประสานมิตร เสียง เชษฐศิริพงศ.์ ( 2546 ). คู่มือสาระการเรียนรู้พนื้ ฐานกล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ม. 1 สารและสมบตั ิของสาร. กรุงเทพฯ : พฒั นาศึกษา. บุญมี(เฮงหลี). (ม.ป.ป.). สร้อยคอนาค. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.plakard.com/id- 4de7bdc8e216a7ca220001c0.html.สืบคน้ เมื่อ 15 พฤษภาคม 2556 Raku ten Tarad.com. (ม.ป.ป.). ขนั ทองเหลอื งตกลายท้งั ใบ. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.taradplaza.com/product/1377751 สืบคน้ เม่ือ 15 พฤษภาคม 2556 ไฟฟ้ าในชีวติ ประจําวนั . (2554.) เขา้ ถึงไดจ้ าก. http://tv11.prd.go.th/khonkaen/ewt_news.php?nid=2278&filename=index. สืบคน้ เม่ือ 15 พฤษภาคม 2556.

29 ภาคผนวก เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดการสอนท่ี 1 เรื่อง องค์ประกอบของสารละลาย ขอ้ ก ตวั เลือก ง ขค 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 

30 เฉลยใบกจิ กรรมที่ 1.1 เรื่อง องค์ประกอบของสารละลาย ประกอบการสอนแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 27 เร่ือง องค์ประกอบของสารละลาย เวลา 2 ช่ัวโมง คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนศึกษาจุดประสงคข์ องกิจกรรม วธิ ีการทดลองแลว้ ปฏิบตั ิการทดลองตาม ข้นั ตอนท่ีกาํ หนด จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทดลองและอธิบายองคป์ ระกอบของสารละลาย 2. อธิบายวธิ ีตรวจสอบองคป์ ระกอบของสารละลาย วสั ดุอปุ กรณ์และสารเคมีต่อกล่มุ 1. ไขม้นั ข้ ตีดอไนฟการทาํ กิจกรรม 2. น้าํ เชื่อม 1 cm3 3. น้าํ เกลือ 1 cm3 4. น้าํ อดั ลม 1 cm3 5. คีมคีบโลหะ 1 อนั 6. จานหลุมโลหะ 1 อนั 7. กระบอกตวงขนาด 10 cm3 1 ใบ 8. ตะเกียงแอลกอฮอลพ์ ร้อมที่ก้นั ลมและตะแกรงลวด 1 ชุด

31 ข้นั ตอนการทาํ กจิ กรรม 1. สงั เกตลกั ษณะของน้าํ เกลือ น้าํ หวาน น้าํ อดั ลม (ชนิดไม่ผสมสี) 2. นาํ ของเหลวท้งั 3 ชนิด ๆ ละ 1 cm3 ใส่ในชอ้ นโลหะ ชนิดละ 1 คนั 3. นาํ ชอ้ นโลหะไปต้งั บนตะเกียงแอลกอฮอล์ ดงั ภาพ 4. ใหค้ วามร้อนจนของเหลวระเหยแหง้ ไปหมด สังเกตและบนั ทึกผลการเปลี่ยนแปลงการ ตรวจสอบองคป์ ระกอบของสารเน้ือเดียว ภาพท่ี 1 แสดงข้นั ตอนการทดลอง ท่ีมา : ภาพถา่ ย. อรอมุ า เทียนนิระมล. 2556 คาํ ถามก่อนการทดลอง 1. ระบุปัญหาของการทดลอง …..ช..น...ิด..ข...อ..ง..ส...า..ร..ล..ะ..ล...า.ย...ม..ีผ..ล...ต..อ่...อ..ง..ค..ป์...ร..ะ..ก...อ..บ...ข..อ...ง..ส..า..ร..ล...ะ..ล..า..ย........................................ 2. สมมติฐานของการทดลอง ......ช..น...ิด..ข...อ..ง..ส...า..ร..ล..ะ..ล...า.ย...ม..ีผ..ล...ต..่อ...อ..ง..ค..ป.์ ..ร..ะ..ก...อ..บ...ข..อ...ง..ส..า..ร..ล...ะ..ล..า..ย...อ..ย..า.่ .ง..ไ..ร........................... 3. ตวั แปรตน้ คือ......ช...น..ิด...ข..อ...ง..ส..า..ร..ล..ะ...ล..า..ย.................................................................. 4. ตวั แปรตาม คือ.......อ..ง..ค..ป์...ร..ะ..ก...อ..บ...ข..อ...ง.ส...า..ร..ล..ะ..ล...า..ย................................................... 5. ตวั แปรควบคุม คือ ....ป...ร..ิม...า.ณ....ข..อ..ง..ส...า..ร....ช..น...ิด..ข...อ..ง..ช...อ้ ..น...โ..ล..ห...ะ................................. 6. ในบนั ทึกผลการทดลองนกั เรียนสังเกตสิ่งใด ........อ..ง..ค..ป.์ ..ร..ะ..ก...อ..บ...ข..อ...ง..ส..า..ร..ล...ะ..ล..า..ย..แ..ต...ล่ ..ะ..ช...น..ิ.ด................................................................

32 ตารางบนั ทกึ ผล สารละลาย ลกั ษณะของเหลวท่ีสงั เกตได้ ผลจากการสงั เกตเม่ือใหค้ วามร้อนจนแหง้ 1. น้าํ เชื่อม มีตะกอนสีน้าํ ตาลอ่อน ของเหลวใส ไม่มีสี หรือน้าํ ตาลเขม้ อยกู่ น้ จานหลุม 2. น้าํ เกลือ หรือสีน้าํ ตาลอ่อน มีตะกอนละเอียดสีขาว อยกู่ น้ จานหลุม ของเหลวใส ไม่มีสี 3. น้าํ อดั ลม ของเหลวใส ไม่มีสี มีตะกอนละเอียดสีขาว หรือสีน้าํ ตาลอ่อน อยกู่ น้ จานหลุม คาํ ถามหลงั การทดลอง 1. ลกั ษณะของเหลวท่ีสังเกตไดก้ ่อนใหค้ วามร้อน คือ …เป็…นข…อง…เห…ลว…ใส…เ…น้ือ…เด…ียว…ไ…ม่ม…ีส…ี ………………………………………………………… 2. เมื่อนาํ ของเหลวไปใหค้ วามร้อนจนแหง้ ผลท่ีไดค้ ือ ท…้งั …น้าํ …เชื่…อม…น…้าํ เก…ล…ือ แ…ล…ะน…้าํ อ…ดั ล…ม…ม…ีสา…รเป…็ น…ขอ…งแ…ข…ง็ ท…่ีเห…ลือ…อ…ยู่ …………………………… 3. น้าํ เช่ือม น้าํ เกลือ และ น้าํ อดั ลม มีสารที่เป็นองคป์ ระกอบกี่ชนิด ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง ม…ีส…าร…ที่เ…ป็น…อง…ค…ป์ ร…ะก…อ…บม…าก…กว…า่ …1 ช…น…ิด …ปร…ะก…อ…บด…ว้ ย…ตว…ั ท…าํ ล…ะล…าย…ท…่ีเป็น…น…้าํ …ซ่ึง…เป็…นส…าร…… ร…ะเ…หย…ง่า…ย …แล…ะ …ตวั …ละ…ลา…ยเ…ป็น…ข…อง…แข…ง็ อ…ยา่…งน…อ้ …ย 1…ช…นิด……………………………………… 4. ในการแยกสารละลายที่มสี ถานะเป็นของเหลว ซ่ึงมีตวั ทาํ ละลาย เป็นของเหลว และตวั ละลายเป็นของแขง็ สามารถแยกไดโ้ ดยวธิ ีใด ……กา…รใ…หค้ …วา…ม…ร้อ…นแ…ก…่สา…รล…ะล…าย…จน…ข…อง…เห…ลว…ระ…เห…ยก…ล…าย…เป็น…ไ…อแ…ห…ง้ ห…มด…เห…ล…ือต…วั ……… …ล…ะล…าย…ซ่ึง…เป…็น…ขอ…งแ…ขง็…อ…ยทู่ …ี่กน้ …ภ…าช…นะ……………………………………………………… 5. วธิ ีการแยกสารโดยใหค้ วามร้อนเรียกวา่ …ก…าร…ระ…เห…ยแ…หง้………………………………………………………………………………

33 คาํ ถามหลงั การทดลอง (ต่อ) 6. ในกรณีท่ีนาํ สารตวั อยา่ งมาระเหยแหง้ บนจานหลุม แลว้ พบวา่ ไมเ่ หลือสารใดๆ จะสรุปวา่ สารตวั อยา่ งมีองคป์ ระกอบเพียงชนิดเดียวไดห้ รือไม่ เพราะเหตุใด ……ถ…า้ ส…าร…ตวั…อย…า่ ง…ระ…เห…ยแ…ห…ง้ บ…น…จา…นห…ล…ุมโ…ลห…ะ…ห…มด…โด…ยไ…ม…่มีส…าร…ใด…ๆ…เห…ลือ…อ…ยเู่ ล…ย……… ย…งั ส…รุ…ปไ…ม่ไ…ด…ว้ า่ ม…ีอ…งค…ป์ ร…ะ…กอ…บเ…พยี…งช…น…ิดเ…ดีย…ว เ…พร…าะ…ส…าร…ตวั …อย…า่ ง…น้นั…อ…าจ…ปร…ะก…อ…บด…ว้ ย…ส…าร… ช…น…ิดเ…ดีย…วห…รือ…ห…ลา…ยช…น…ิดท…่ีระ…เห…ยง…่าย…เม…่ือไ…ดร้…ับ…คว…าม…ร้อ…น…เช…่น…แก…ส๊ …ห…รือ…ขอ…ง…เห…ลว…เม…่ือ….. น…าํ ไ…ป…ระ…เห…ยแ…ห…ง้ จ…ะไ…ม่ส…าร…ใด…ๆ…เห…ลือ…เล…ย …………………………………………………… 7. ถา้ นาํ ดินมาผสมกบั น้าํ จะเป็นสารผสมประเภทใด เพราะเหตุผล ……ถา้ …นาํ…ดิน…ม…าผ…สม…ก…บั น…้าํ จ…ะ…เป็…นส…าร…ผส…ม…ปร…ะเ…ภท…ส…าร…เน…้ือผ…สม…ท…่ีไม…่เป…็น…เน้ื…อเด…ียว…ก…นั …เพ…ราะ… ด…ินไ…ม…ล่ ะ…ลา…ยน…้าํ …หร…ือ…ละ…ลา…ยไ…ดน้…อ้ …ยม…าก…ซ…่ึงเม…ื่อ…ผส…ม…กนั …จะ…ได…ข้ …อง…เห…ลว…ขุ่น…ห…ร…ือน…้าํ โ…คล…น…… เม…ื่อ…ทิง้ …ไว…จ้ ะ…ต…กต…ะก…อน…น…อน…ก…น้ …แล…ะ…สา…มา…รถ…แ…ยก…ดิน…อ…อก…จา…กน…้าํ โ…ด…ยก…าร…กร…อง……………… 8. สมบตั ิของตวั ทาํ ละลาย และ ตวั ละลาย มีผลต่อการละลายของสารหรือไม่ อยา่ งไร ……สม…บ…ตั ิข…อง…ตวั…ท…าํ ล…ะล…าย…แ…ละ…ต…วั ล…ะล…าย…มีผ…ล…ต่อ…กา…รล…ะ…ลา…ยข…อง…สา…ร …ส…ารบ…า…งอ…ยา่ …งไ…ม่ล…ะล…าย ใ…นน…้าํ …เยน็…แ…ต่ล…ะ…ลา…ยใ…นน…้าํ ร…้อ…น …เช่น…เ…คร…่ือง…ด่ืม…ห…รือ…ช…า…กา…แฟ…ท…่ีตอ…้ ง…ผส…มน…้าํ …ร้อ…นใ…น…กา…รด…ื่ม … ส…าร…บ…างอ…ย…า่ ง…ละ…ลา…ยใ…นน…้าํ …แต…ไ่ ม…่ล…ะล…าย…น้า…ํ ม…นั เ…ช่น…เ…กล…ือแ…ก…ง เป…็น…ตน…้ ……………………… สรุปผลการทดลอง 1…. ส…า…รล…ะล…าย…เป…็นส…า…รผ…สม…ป…ระ…กอ…บ…ดว้ …ยส…าร…2…ส่…วน…ค…ือ ต…วั …ทาํ …ละ…ลา…ยม…ีป…ริม…าณ…ม…าก…ท่ีส…ุด… ……ใน…ข…อง…ผส…ม…แล…ะต…วั ล…ะ…ลา…ย ท…่ีอ…าจ…มีส…ถ…าน…ะเป…็น…ขอ…งแ…ข…ง็ ข…อ…งเห…ล…ว แ…ล…ะแ…ก๊ส…ก…ไ็ ด…้ …… …2. ก…า…รใ…หค้ …วา…มร…้อ…นแ…ก่ส…า…รล…ะล…าย…จน…ข…อง…เห…ลว…ระ…เห…ยก…ลา…ยเ…ป็น…ไ…อห…มด…ใ…ชต้…ร…วจ…สอ…บ…… ……อง…ค…ป์ ร…ะก…อบ…ข…อง…สา…รล…ะ…ลา…ยไ…ด้ ………………………………………………… 3…. ก…าร…ระ…เห…ยแ…หง้ …คือ…ว…ธิ ีก…ารแ…ยก…ส…ารโ…ดย…ให…ค้ ว…าม…ร้อ…น………………………………

34 เฉลยใบกจิ กรรมท่ี 1.2 เรื่อง องค์ประกอบของสารละลาย ประกอบการสอนแผนการจดั การเรียนรู้ที่ 27 เร่ือง องค์ประกอบของสารละลาย เวลา 2 ช่ัวโมง คาํ ชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนพจิ ารณาสารละลายตวั อยา่ ง แลว้ ช้ีบง่ ตวั ทาํ ละลาย และ ตวั ละลาย ลงใน ตารางที่กาํ หนดให้ สารละลาย องคป์ ระกอบ ตวั ทาํ ละลาย ตวั ละลาย 1. น้าํ เกลือ 2. น้าํ ปลา น้าํ + เกลือแกง น้าํ เกลือแกง 3. นาก 35 % น้าํ +ปลา+เกลือ+สี น้าํ ปลา,เกลือ,สี 4. ฟิ วส์ ทองคาํ + ทองแดง +เงิน ทองแดง ทองแดง , เงิน 5. ทอง 18 K 6. น้าํ โซดา ดีบุก 25 % + ตะกวั่ 25 % + บิสมทั 50 % บิสมทั ดีบุก , ตะกวั่ 7. แกส๊ หุงตม้ 8. น้าํ เชื่อม ทองคาํ 75 %+เงิน 25 % ทองคาํ เงิน 9. น้าํ อดั ลม น้าํ + แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ น้าํ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 10. ทองเหลือง โพรเพน70 % + บิวเทน30 % โพรเพน บิวเทน น้าํ + น้าํ ตาลทราย น้าํ น้าํ ตาลทราย น้าํ +น้าํ ตาลทราย + สี + กลิ่น +แกส๊ น้าํ น้าํ ตาลทราย ,สี ,กลิ่น คาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ทองแดง 60 % +สงั กะสี 40 % ทองแดง สงั กะสี

35 เฉลยแบบฝึ กหัดท่ี 1.1 เร่ืองสารละลาย ประกอบการสอนแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 27 เรื่อง องค์ประกอบของสารละลาย เวลา 2 ช่ัวโมง 1. อธิบายความหมายของคาํ วา่ “สารละลาย” ยกตวั อยา่ งประกอบ ..ส...า..ร..ล..ะ..ล...า..ย..ค..ือ....ส..า..ร..เ.น...้ือ..เ.ด...ีย..ว..ท...่ีป..ร..ะ...ก..อ..บ...ด...ว้ ..ย..ส..า..ร..ต...้งั..แ..ต..่.2...ช...น..ิ.ด..ข..้ึน...ไ..ป...ม...า.ร..ว...ม..ต...วั ..ก..นั....ส...า.ร..ใ..ห...ม...ท่ ..ี่. .เ.ก...ิด..ข..้.ึน..ย...งั .ม...ีส...ม..บ...ตั..ิข...อ..ง..ส...า..ร..ท..่ีม...า..ร..ว..ม..ก...นั....................................................................................... 2. ตวั ทาํ ละลาย หมายถึง ..ส...า..ร..ท...ี่ม..ีป...ร..ิม...า.ณ....ม..า..ก..แ...ล..ะ..ท...่ีม..ีส...ถ..า..น...ะ..เ.ห...ม...ือ..น...ก..บั...ส...า.ร..ล...ะลาย 3. ตวั ละลาย หมายถึง………สา…รท…่ีม…ีปร…ิมา…ณ…นอ้ …ยแ…ล…ะม…ีสถ…าน…ะ…ตา่ …งจ…าก…สา..ร..ล...ะ..ล..า…ย…………… 4. สารละลายทุกชนิดจะตอ้ งประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง …ต…วั ท…าํ ล…ะ…ลา…ย แ…ล…ะต…วั ล…ะล…าย……………………………………………………………………

36 5. จากสารละลายท่ีกาํ หนดใหต้ ่อไปน้ีใหน้ กั เรียนบอกวา่ สารใดเป็นตวั ละลาย สารใดเป็นตวั ทาํ ละลาย สารละลาย ส่วนประกอบ ตวั ทาํ ละลาย ตวั ละลาย ทองเหลือง ทองแดง สงั กะสี เหล็กกลา้ ไร้ ทองแดง 60 % เหลก็ โครเมียม นิกเกิล สงั กะสี 40 % สนิม น้าํ ออกซิเจน อากาศ เหล็ก 74 % แก๊สอ่ืนๆ โครเมียม 18 % น้าํ น้าํ ตาลทราย น้าํ เชื่อม นิกเกิล 8 % น้าํ กรดแอซิติก น้าํ ส้มสายชู น้าํ เกลือแกง น้าํ เกลือ ไนโตรเจน 78 % ออกซิเจน 21 % แกส๊ อื่นๆ 1 % น้าํ น้าํ ตาลทราย กรดแอซิติก 5 % น้าํ 95 % น้าํ เกลือแกง

37 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน ชุดการสอนท่ี 1 เรื่อง องค์ประกอบของสารละลาย ขอ้ ก ตวั เลือก ง ขค 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook