Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore goldfish standard 58

goldfish standard 58

Description: goldfish standard 58

Search

Read the Text Version

ปลาทองมาตรฐานสายพนั ธุและเกณฑการตดั สนิ ในประเทศไทย (ฉบับปรบั ปรงุ ป พ.ศ.2558) Goldfish variety standards and judging criteria in Thailand สถาบันวจิ ยั สัตวน ํ้าสวยงามและพรรณไมน ํา้ กองวจิ ยั และพัฒนาประมงน้าํ จืด กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ



ปลาทองมาตรฐานสายพนั ธุแ ละเกณฑก ารตดั สิน ในประเทศไทย Goldfish variety standards and judging criteria in Thailand (ฉบบั ปรับปรุง ป พ.ศ.2558) สถาบันวจิ ัยสัตวน ํา้ สวยงามและพรรณไมนํา้ กองวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืด กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ

มาตรฐานสายพันธุและเกณฑก ารตดั สนิ ปลาทอง ในประเทศไทย (ฉบบั ปรบั ปรงุ ป พ.ศ.2558) Goldfish variety standards and judging criteria in Thailand ท่ปี รึกษา ดร.จอู ะดี พงศมณีรตั น รองอธบิ ดีกรมประมง ดร.อมรรัตน เสรมิ วฒั นากลุ ผเู ช่ียวชาญดานสัตวน ํ้าและพรรณไมนํ้าสวยงาม นายนพดล ภูวพานิช ผอู าํ นวยการกองวจิ ยั และพัฒนาประมงน้ําจดื กรมประมง นายวีระ วัชระกรโยธนิ ผูอ าํ นวยการสถาบนั วิจยั สตั วนํ้าสวยงามและพรรณไมน้ํา เรยี บเรียงโดย นางอรุณี รอดลอย ภาพประกอบโดย นางอรณุ ี รอดลอย นติ ยสาร Fish Max คณะผจู ดั ทํา สถาบนั วิจัยสตั วน ํ้าสวยงามและพรรณไมน า้ํ กองวจิ ยั และพัฒนาประมงน้าํ จดื กรมประมง ชมรมผนู ิยมปลาสวยงามแหง ประเทศไทย กลมุ ผเู ลี้ยงปลาทอง รายช่ือผูเขา รว มประชุมมาตรฐานสายพนั ธุแ ละเกณฑการตัดสนิ ปลาทอง ในประเทศไทย กรมประมง นางวันเพ็ญ มนี กาญจน นายสจุ ินต หนูขวญั นายวรี ะ วัชระกรโยธนิ นางอรุณี รอดลอย นางสาวกฤษณา เตบสัน นางสาววรรณดา พพิ ัฒนเจริญชยั นางสาวญานทั แสงช่นื นางสาวสรุ งั สี ทพั พะรงั สี ชมรมผนู ิยมปลาสวยงามแหง ประเทศไทย นายวฑิ ูรย เทียนรงุ ศรี กลมุ ผูเล้ียงปลาทอง นายวิฑูรย เทียนรุงศรี นายอนสุ ร อดเิ รกกติ ติคณุ นายสุรชยั ศรวี ฒั นา นายประวิทย โลหอ รชนุ นายสิริวฒั น ศุภกิจโยธนิ นายจุลสวัสดิ์ อนกุ ลุ นายพเิ ชษฐ ทรวงสุรัตน นายธานินทร สังขฉ ิม นายภาณุวฒั น จนั ทวงษว าณชิ ย นายศิริชยั เตยี วเจรญิ นายสุรชยั สะอาดดวงกมล นางนรียา แกว จนิ ดา นายสมโชค นันทวริ ิยะ นายศภุ ชยั มติ รอุดม นายยรรยง อดุ มแสวงโชค นายเจษฎา จติ รขาว นายเรกณ อภชิ าตวิ รพงษ นายสาธติ สนุ ทร นายอาํ นาจ แพงโสม นายจกั รกฤษณ การุณงามพรรณ นายสทิ ธิวฒุ ิ มหาโชติ นายบรรพต เปรมวงศิริ นายสมหมาย ฟก ออน นายประพล อนุเคราะหดิลก นายณัฐพงษ แกว สุนทร นางสาวนงนภสั ศรสี งคราม นายสิทธินติ ิ หอกุล นายกติ ตพิ ล ฟกประไพ นายไพโรจน เถยี มมิตรภาพ ปท ีจ่ ดั พมิ พ พ.ศ.2558 จาํ นวน 2,000 เลม ISBN 978-616-358-124-2 ออกแบบ/พมิ พท ี่ หจก.วนิดาการพมิ พ (สาขาท่ี 1) จ.นนทบุรี โทร. 081-7838569

¤íÒ¹Òí ปลาทองเปนปลาสวยงามท่ีนิยมเล้ียงกันแพรหลายต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน เปนปลาสวยงามท่ีมีมูลคาการสงออกในอันดับตนๆ ในปจจุบันไดมีการพัฒนา สายพนั ธปุ ลาทองใหส วยงามมมี าตรฐาน และมคี วามหลากหลายของสายพนั ธมุ ากขนึ้ จนไดร ับการยอมรับจากผูค า ในตา งประเทศ ในการจดั การประกวดปลาทองในประเทศไทย บางครงั้ เกดิ ปญ หาในมาตรฐาน การตัดสินของคณะกรรมการ ดังนั้น สถาบันวิจัยสัตวน้ําสวยงามและพรรณไมน้ํา กรมประมง จึงไดเชิญผูที่เก่ียวของเขามาประชุม เพ่ือทําการปรับปรุงและแกไข มาตรฐานสายพนั ธแุ ละหลกั เกณฑก ารตดั สนิ การประกวดปลาทอง โดยมจี ดุ มงุ หมาย เพ่ือยกระดับการพัฒนาสายพันธุใหมีความสวยงามตามมาตรฐาน สอดคลองกับ ความตองการของผูคาและผูซ้ือจากตางประเทศ เปนการสงเสริมธุรกิจปลาสวยงาม ของไทยใหเทียบเทา มาตรฐานสากล หนังสือเลมนี้จัดทําขึ้นโดย สถาบันวิจัยสัตวนํ้าสวยงามและพรรณไมนํ้า กองวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืด ซึ่งไดรับความรวมมือจากคณะกรรมการตัดสิน การประกวด ชมรมผูนิยมปลาสวยงามแหงประเทศไทย ผูเพาะเล้ียงปลาทอง ผสู ง ปลาประกวด ภาคเอกชน ซงึ่ ทกุ ภาคสว นไดร ว มแสดงความคดิ เหน็ อยา งกวา งขวาง ในการปรับปรุงและแกไขเกณฑการตัดสินการประกวดปลาทองของเดิม ที่กรมประมงไดจัดพิมพข้ึนและใชมาจนถึงปจจุบัน โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใชเปน เกณฑมาตรฐานในการตัดสินการประกวดปลาทอง และเผยแพรความรูแกผูสนใจ การประกวดปลาสวยงาม เน้ือหาสว นใหญเนนเร่ืองมาตรฐานสายพันธุ ลกั ษณะเดน ของแตล ะสายพนั ธุ และเกณฑก ารพจิ ารณาใหค ะแนนปลาทองสายพนั ธตุ า งๆ ทน่ี ยิ ม ประกวดกันในประเทศไทย นอกจากน้ี ยังไดรวบรวมขอมูลและภาพประกอบ จากหนงั สอื และตาํ ราตา งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งเพม่ิ เตมิ เพอื่ ใหม สี าระถกู ตอ งและสมบรู ณย งิ่ ขน้ึ ท้ังนี้ กรมประมงหวังวา หนังสือเลมน้ีจะเปนประโยชนและสามารถนําไปใชเปน เกณฑม าตรฐานในการตดั สนิ การประกวดปลาทอง ในโอกาสตอไป (นายนพดล ภูวพานชิ ) ผอู าํ นวยการกองวจิ ัยและพัฒนาประมงน้ําจดื กรมประมง กนั ยายน 2558

ÊÒúÑÞ º·¹íÒ... 01 ·èÁÕ Ò¢Í§»ÅҷͧÊÒ¾¹Ñ ¸μØ Ò‹ §æ... 02 Å¡Ñ É³Ð¢Í§»Åҷͧ... 06 »Åҷͧ·èÕ¹ÂÔ Á¨´Ñ »ÃСǴ㹻ÃÐà·Èä·Â... 13 ࡳ±¡ÒÃμÑ´ÊÔ¹¡ÒûÃСǴ»Åҷͧ㹻ÃÐà·Èä·Â... 24 ¡ÒèѴ»ÃÐàÀ·¡ÒûÃСǴ»Åҷͧ㹻˜¨¨ØºÑ¹... 43 àÍ¡ÊÒÃ͌ҧÍÔ§... 58 ÊÒúÞÑ ÀÒ¾........................................................................ ÀÒ¾·Õè 1 á¼¹¼Ñ§¤ÇÒÁÊÁÑ ¾¹Ñ ¸¢Í§¡ÒäѴàÅ×Í¡»Åҷͧ... 05 ÀÒ¾·Õè 2 ÅѡɳÐÃÙ»ÃÒ‹ §áÅÐâ¤Ã§ÊÌҧ¾×é¹°Ò¹¢Í§»Åҷͧ... 07 ÀÒ¾·èÕ 3 Å¡Ñ É³ÐʋǹËÇÑ áÅÐÅíÒμÑǢͧ»Åҷͧ... 08 ÀÒ¾·Õè 4 Å¡Ñ É³ÐμÒáÅШÁÙ¡»Åҷͧ¾¹Ñ ¸μØ ‹Ò§æ... 09 ÀÒ¾·Õè 5 ÅѡɳТͧ¤ÃºÕ ËÅ§Ñ ¤ÃÕºËÒ§ áÅФÃÕº¡Œ¹... 11 ÀÒ¾·Õè 6 ÅѡɳТͧà¡Åç´»Åҷͧ... 12 ÀÒ¾·èÕ 7 Å¡Ñ É³Ð»ÅÒ·èÕäÁ‹ÊÁºÃÙ ³... 26 ÀÒ¾·Õè 8 ÃÇÁÀÒ¾»ÅҷͧÊÒ¾ѹ¸ØμÒ‹ §æ... 44

ÊÒúÑÞμÒÃÒ§....................................................... μÒÃÒ§·èÕ 1 ÅѡɳÐà´‹¹¢Í§»ÅҷͧÊÒ¾¹Ñ ¸Ø ËÇÑ Êԧˏ (Lionhead)... 28 μÒÃÒ§·èÕ 2 ¤Ðá¹¹ÊÒí ËÃѺ»ÅҷͧÊÒ¾¹Ñ ¸ËØ ÑÇÊ§Ô Ë... 30 μÒÃÒ§·èÕ 3 Å¡Ñ É³Ðà´‹¹¢Í§»ÅҷͧÊÒ¾¹Ñ ¸Ø ÍÍÃ¹Ñ ´Ò (Oranda)... 32 μÒÃÒ§·Õè 4 ¤Ðá¹¹ÊÒí ËÃºÑ »ÅҷͧÊÒ¾ѹ¸Ø͏ ÍÃѹ´Ò... 34 μÒÃÒ§·Õè 5 Å¡Ñ É³Ðà´‹¹¢Í§»ÅҷͧÊÒ¾¹Ñ ¸Ø ÃÇÔ ¤¹Ô (Ryukin) ÊÕÊŒÁáÅТÒÇ-á´§... 35 μÒÃÒ§·Õè 6 Å¡Ñ É³Ðà´‹¹¢Í§»ÅҷͧÊÒ¾¹Ñ ¸Ø ÃÔǤ¹Ô ËÒŒ ÊÕ (Calico)... 36 μÒÃÒ§·Õè 7 ¤Ðá¹¹ÊÒí ËÃѺ»ÅҷͧÊÒ¾ѹ¸Ø ÃÇÔ ¤¹Ô ÊÕÊÁŒ áÅТÒÇ-á´§... 37 μÒÃÒ§·Õè 8 ¤Ðá¹¹ÊíÒËÃѺ»ÅҷͧÊÒ¾ѹ¸ÃØ ÇÔ ¤Ô¹ËŒÒÊÕ... 37 μÒÃÒ§·èÕ 9 ÅѡɳÐà´‹¹¢Í§»ÅҷͧÊÒ¾ѹ¸Ø μÒ⻹ (Telescope eyes goldfish) ËÃÍ× àÅË‹  (Black Moor)... 38 μÒÃÒ§·èÕ 10 ¤Ðá¹¹ÊíÒËÃºÑ »ÅҷͧÊÒ¾ѹ¸Ø μÒ⻹ ËÃÍ× àŋˏ... 40 μÒÃÒ§·Õè 11 Å¡Ñ É³Ðà´¹‹ ¢Í§»ÅҷͧÊÒ¾ѹ¸Ø à¡Åç´á¡ÇŒ (Pearl scale goldfish)... 41 μÒÃÒ§·Õè 12 ¤Ðá¹¹ÊíÒËÃºÑ »ÅҷͧÊÒ¾ѹ¸Øà¡Åç´á¡ŒÇ... 42



º·¹íÒ ปลาทองจัดวาเปนปลาสวยงามชนิดแรกท่ีมนุษยนํามาเล้ียง โดยมีถ่ินกําเนิดดั้งเดิมอยูในประเทศจีน จากหลักฐานที่ปรากฏ ไมต า่ํ กวา 2,000 ป คอื รปู สลกั ปลาทองหลากหลายสวี า ยรวมกนั อยใู นบอ ซึ่งชาวจีนนิยมเรียกวา กิมลี่ ตอมาไดมีการนํามาเผยแพร เล้ียง และ เกดิ การพฒั นาสายพนั ธใุ หม คี วามสวยงามและหลากหลายในประเทศญปี่ นุ ซงึ่ ชาวญปี่ นุ นยิ มเรยี กวา คนิ กอย สาํ หรบั ประเทศไทยไดม กี ารสนั นษิ ฐานวา ไดน าํ มาเลยี้ งในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาตอนกลาง โดยนาํ เขา มาจากประเทศจนี เพ่ือเปนของบรรณาการในราชสํานัก เนื่องจากสมัยน้ันประเทศไทย ไดมีการคาขายติดตอกันทางเรือสําเภากับประเทศจีน ซ่ึงในปจจุบัน คนไทยนิยมเรียกกนั ตดิ ปากวา ปลาเงินปลาทอง หรือ ปลาทอง ปลาทอง (Goldfish) จัดเปนปลาน้ําจืด ที่มีชื่อวิทยาศาสตรวา Carassius auratus Linn. และอยูใ นครอบครัว (Family) Cyprinidae ซ่ึงเปนครอบครัวเดียวกับปลาไน จากการศึกษาชีวประวัติปลาชนิดนี้ พบวาปลาทองเกิดจากการผาเหลามาจากปลาไน (Crucian carp) ปจจุบันผูเพาะเล้ียงไดคัดพันธุปลาทองที่มีลักษณะดีและสีสวยงาม ไดมากมายหลายสายพันธุดวยกัน ซึ่งเปนท่ีนิยมอยางแพรหลายใน ตลาดปลาสวยงาม สายพันธุท่ีสําคัญ ไดแก พันธุหัวสิงห (Lion head) ออรนั ดา (Oranda) รวิ คนิ (Ryukin) ตาโปน (Telescope eyes goldfish) หรือเลห (Black Moor) ตาลูกโปง (Bubble eyes goldfish) เกลด็ แกว (Pearl scale goldfish) ชูบุนคนิ (Shubunkin) และปลาทอง หางซิวหรอื โคเมท็ (Comet) เปนตน 1

ࡳ±¡ÒÃμ´Ñ Ê¹Ô ¡ÒûÃСǴ»Åҷͧ ในปจจุบันผูเลี้ยงปลาสวยงามนิยมเล้ียงปลาทองเปนปลาตูกัน อยางกวางขวาง เนื่องจากปลาทองเปนปลาสวยงามที่มีความหลากหลาย ในสายพันธุ มีสีสันสดใสและหลากสี ตั้งแตสีแดง สีขาว สีทอง สีสม สีเทา สีดํา และสารพัดสีในตัวเดียวกัน จึงมีการจัดประกวดแขงขันปลาทอง เร่ือยมาจนมาถึงปจจุบัน โดยมีการรางหลักเกณฑการตัดสินการประกวด ปลาทองเปนมาตรฐานขึ้นมา กอนที่จะไดศึกษาเกี่ยวกับเกณฑในการตัดสิน การประกวดปลาทองนั้น เราควรศึกษาที่มาและลักษณะของปลาทอง สายพันธตุ า งๆ รวมทง้ั สายพันธทุ ีน่ ยิ มจดั ประกวดในประเทศไทยกนั กอ น ·èÁÕ Ò¢Í§»ÅҷͧÊÒ¾ѹ¸μØ ‹Ò§æ ในธรรมชาติ หากพบวาสิ่งมีชีวิตท่ีเกิดใหม (ลูก) อาจจะมีลักษณะที่ แตกตา งไปจากพอ แม ซงึ่ เรยี กลกั ษณะนวี้ า การกลายพนั ธุ เชน ลกู ปลาทเ่ี กดิ ใหม มสี ีขาวเผอื กซ่งึ เปน ลักษณะสีทีแ่ ตกตา งไปจากพอ แมปลาทม่ี ีสีดาํ ทาํ ใหไดป ลา สายพนั ธใุ หม โดยเปน ผลจากการผสมไขว (Cross-breeding) และการถา ยทอด ทางกรรมพันธุ ทั้งนี้ปลาทองยังมีความแตกตางระหวางสายพันธุที่เกิดจาก การผสมขามชนิด (Hybridization) และผูเพาะพันธุปลาทองก็คัดเลือกพันธุ ตามความนยิ มและความชอบ จงึ มกี ารผลติ ปลาทองออกมาหลากหลายสายพนั ธุ 2

จากภาพท่ี 1 แสดงความสัมพันธของปลาทองที่คัดเลือกพันธุในญี่ปุน โดยบางสายพันธุเปนช่ือไทยและบางสายพันธุเปนชื่อญี่ปุน ซ่ึงก็มีความคุนเคย กับคนไทย เนื่องจากมีการนํามาเล้ียงและเพาะพันธุในประเทศไทย สวนบาง สายพันธุที่ไมไดนําเขามาเล้ียงในประเทศไทยจึงใชเปนช่ือภาษาญี่ปุน อยาง สายพันธุแรกเริ่มจากปลาฟุนะ (Funa) มีรูปรางคลายปลาไน เมื่อปลาฟุนะ กลายพันธุจะไดปลาท่ีลําตัวมีสีแดง เรียกวา ปลาฮิฟุนะ (Hifuna) หรือ ปลาคารปสีแดง ซึ่งเมื่อเลี้ยงตอไปก็มีการกลายพันธุอีกเปนปลาฮิฟุนะท่ีมีหาง แยกเปนดอก จึงไดทําการแยกชนิดน้ีมาเลี้ยงคงสภาพไวจนถึงปจจุบันและ เรยี กปลาชนดิ นว้ี า วะคิน (Wakin) หลังจากน้ันปลาวะคินที่มีครีบหางยาวก็ถูกเพาะพันธุข้ึนมาและเรียก ปลาสายพันธุน้ีวา ปลาริวคิน หรือริวก้ิน (Ryukin) สวนปลาที่มีตาโปน ออกมานอกเบา เรียกวา อะคาเดะเมะคิน (Akademekin) หรือปลาตาโปน สีแดง และปลาที่ไมมีครีบหลังถูกเรียกวา ปลามารุโคะ (Maruko) ซ่ึงปลา สายพนั ธุตา งๆ ดงั ทก่ี ลา วมาลว นเปนปลาทก่ี ลายพันธมุ าจากปลาวะคิน นอกจากน้ียังมีปลาที่เพาะพันธุไดจากปลาริวคิน คือ ปลาที่มีหัววุน ซง่ึ เรยี กวา ออรนั ดาชชิ กิ ะชริ ะ (Orandashishigashira) หรอื ออรนั ดาหวั วนุ และ ปลาที่มีครีบหางเหมือนหางนกยูง คือ ปลาโตซาคิน (Tosakin) ในสวน ปลาท่ีเพาะพันธุไดจากปลาอะคาเดะเมะคิน (Akademekin) (ตาโปนสีแดง) คอื ปลาคโุ รเดะเมะคิน (Kurodemekin) หรือเลห  และปลาซันโชคเุ ดะเมะคิน (Sanshokudemekin) หรอื ปลาตาโปนสามสี ในสว นของปลามารโุ คะ (Maruko) สามารถเพาะขยายพนั ธไุ ดป ลานนั คนิ (Nankin) โอซากา รนั ชู (Oosakaranchu) และปลารันชู (Ranchu) หรือปลาหวั สิงหญ ี่ปุน อีกดานหน่ึงน้ันลูกพันธุท่ีคงสายพันธุเดิมไว ไดมีการเพาะพันธุลูกผสม (Hybridization) ซึ่งเรียกวา พันธุลูกผสม (Hybridization) เชน ปลาวะคิน x ปลาซนั โชคุเดะเมะคิน (ตาโปนสามสี) จะไดปลาชูบุนคนิ (Shubunkin) และ การผสมของปลาซนั โชคเุ ดะเมะคนิ x ปลาออรนั ดาชชิ กิ ะชริ ะ (ออรนั ดาหวั วนุ ) 3

จะไดเ ปน ปลาอะซมุ านชิ กิ ิ (Azumanishiki) ปลาอะซุมานิชิกิ x ปลารันชู จะไดเปน ปลาเอโดะนชิ กิ ิ (Edonishiki) อยา งไรกต็ าม ในปจ จบุ นั นปี้ ลาทอง มกี ารผสมขา มสายพนั ธกุ นั อยา งหลากหลาย ดังนั้นการที่จะไดปลาทองท่ีมีรูปรางสวย สงางาม เหมือนบรรพบุรุษ (ปลาฟุนะ) ซึ่งเปนสายพันธุที่ดีน้ันคงทําไดยาก โดย ในภาพที่ 1 ไดแสดงแผนผังสายพันธุ ถือวาเปนท่ีมาของสายพันธุปลาทอง ในปจจุบนั นี้ 4

ภาพที่ 1 แผนผังความสัมพันธข องการคดั เลือกปลาทอง โชเตนกัน (Chotengan) ซนั โชคุเดะเมะคิน (Sanchokudemekin) ชบู นุ คิน (Shubunkin) หรอื สิงหต ากลบั หรอื ตาโปนสามสี วะโตอนุ ะอิ (Watounai) คุโรเดะเมะคิน (Kurodemekin) อะซุมานชิ ิกิ (Azumanishiki) หรอื เลห จิคิน (Jikin) อะคาเดะเมะคิน (Akademekin) ออรันดาชชิ ิกะชริ ะ (ออรนั ดาหัววุน ) คิยาริโกะ (Kyariko) ตาโปนสแี ดง (Orandashishigashira) หรือรวิ คนิ หาสี ฟุนะ (Funa) ฮิฟนุ ะ (Hifuna) วะคนิ (Wakin) รวิ คิน (Ryukin) โตซาคิน (Tosakin) ชูคิน (Chukin) เตกเกยี ว (Teggyo) มารโุ คะ (Maruko) คนิ รนั ชิ (Kinranshi) เทซึโอนะกะ (Tetsuonaka) เอโดะนชิ กิ ิ (Edonishiki) 5 นันคิน (Nankin) โอซาการนั ชู (Oosakaranchu) รนั ชู (Ranchu) หรือสิงหญี่ปนุ

GOLDFISH Å¡Ñ É³Ð¢Í§»Åҷͧ ลักษณะของปลาทองที่จะกลาวถึงนี้ จัดเปนลักษณะของปลาทอง ท่ีนิยมเล้ียงกันในประเทศญ่ีปุน จึงใชช่ือสวนใหญของปลาเปนชื่อภาษาญี่ปุน มรี ายละเอยี ดดังตอ ไปนี้ ÅѡɳÐÃÙ»ÃÒ‹ § รูปรางของปลาทองมีหลายแบบซ่ึงสามารถจัดเปนกลุม 3 กลุมใหญๆ คอื 1. ลักษณะแบบปลาวะคิน (Wakin) มีลักษณะเหมือนปลาไนหรือ ฟนุ ะ (Crucian carp) ซึง่ ไดแก ชูบุนคิน โคเม็ท ยามากาเตะ และจิคิน เปนตน 2. ลักษณะแบบปลาริวคิน (Ryukin) มีลักษณะลําตัวทรงกระบอก กลม และพองตัว สวนครีบทุกครีบยาว โดยเฉพาะครีบหางพล้ิวและสวยงาม จัดเปนลกั ษณะเดน ซง่ึ ไดแ ก คิยารโิ กะ เดะเมะคนิ อะซุมานิชกิ ิ โตซาคิน และ ออรนั ดาชิชิกะชิระ เปน ตน 3. ลกั ษณะแบบปลารันชู (Ranchu) มลี ักษณะเดนคอื ไมมคี รบี หลัง และมลี ักษณะลําตวั อว นปอ ม ซ่งึ ไดแ ก รันชู นันคนิ เอโดะนิชิกิ และโชเตนกัน เปน ตน อยางไรก็ตามลักษณะรูปรางของปลาทองซ่ึงดูแตกตางกัน แตโดย โครงสรา งพน้ื ฐานของปลาทองนน้ั ไมแ ตกตา งกนั ดังภาพที่ 2 6

เสนขา งตวั ครบี หลัง โคนหาง วนุ รูจมูก ครีบหาง กระพงุ แกม ครบี กน ครบี อก ครบี ทวาร ครบี ทอ ง ภาพท่ี 2 ลกั ษณะรปู รา งและโครงสรา งพื้นฐานของปลาทอง Å¡Ñ É³Ð¢Í§ÊÇ‹ ¹ËÑÇ บริเวณสวนหัวของปลาทองสวนใหญจะมีผิวท่ีลื่น ในบางชนิดอาจจะมี กอนเนื้อที่มีลักษณะเปนเม็ดกลมเล็กๆ รวมตัวซอนกันอยูดูคลายฟองสบู โดยเม็ดกลมๆ ดังกลาวนี้ประกอบดวยชั้นไขมันหนาและจะปรากฏใหเห็น ชัดเจนเม่ือปลาทองอายุมากขึ้น ซึ่งบานเราเรียกช้ันไขมันนี้วา “วุน” สวน ปลาทองทมี่ ลี กั ษณะน้ี ไดแก ปลาทองรันชหู รอื หัวสิงหญป่ี นุ อะซมุ านชิ ิกิ และ ออรันดาชิชิกะชิระหรือออรันดาหัววุน เปนตน นอกจากนี้ปลาทองพันธุ หัวสิงหมักจะมีวุนเปนกอนใหญพาดเปนวงรอบปาก เรียกวา “เข้ียว” ในปลา กลุมน้ีนอกจากจะมีลักษณะของวุนแลว เราจะใหความสําคัญกับลักษณะ ที่สวยงามของลําตัวปลาเชนกัน แตลักษณะวุนจะไมพบในกลุมลักษณะ แบบปลาวะคินและริวคิน ซึ่งสามารถแบงลักษณะของสวนหัวปลาทองโดย พจิ ารณาจากดานบน (Top view) แบงเปน 3 ลกั ษณะ ไดแ ก 7

1. ลกั ษณะคลา ยเรอื เชน ปลาฟนุ ะ วะคิน และริวคนิ 2. ลักษณะกลมเลก็ นอย เชน ปลาอะซมุ านชิ ิกิ และออรันดาชิชิกะชริ ะ 3. ลกั ษณะทรงกลมแบบครง่ึ เหรยี ญ เชน ปลารันชู ภาพที่ 3 ลกั ษณะสวนหวั และลาํ ตัวของปลาทอง ÅѡɳТͧμÒ ตาของปลาทองสามารถแบง เปน 4 ลักษณะ ไดแก 1. ลักษณะคลายปลาฟนุ ะ เชน วะคิน และรวิ คนิ 2. ลกั ษณะโปนออกมา เชน เดะเมะคิน 3. ลกั ษณะตาใกลก นั ติดอยูบ รเิ วณสว นหัวดานบน เชน โชเตนกัน 4. ลักษณะตาทีม่ ขี อบตาใหญอ ว น มองดูเหมอื นมีถุงน้ําติดอยูดานลา ง เชน ซอุ ิโฮกนั 8

ปลาทองแตล ะชนดิ จะมลี กั ษณะของตาทพ่ี เิ ศษแตกตา งกนั ไป อยา งเชน ปลาโชเตนกัน และปลาซุอิโฮกันน้ัน จะดูเหมือนวามองไมคอยเห็นภาพทาง ดานหนา แตก็สามารถวายนํ้าไดถูกทิศทาง และสามารถกินอาหารไดอยาง ปกติ ÅѡɳТͧ¨ÁÙ¡ จมกู ของปลาทองสามารถแบง เปน 2 แบบ ไดแก 1. แบบธรรมดาอยูทส่ี วนหวั ดา นหนา ซึง่ ใชใ นการดมกลิน่ หาอาหาร 2. แบบจมกู ทบเปน ชอ โดยทขี่ อบของจมกู จะเปน ผวิ หนงั ทม่ี ลี กั ษณะนมุ ซึ่งแยกออกเปนสวนเล็กๆ ทบไปมาเปนชอจมูกใหญ ปลาชนิดนี้นําเขามาจาก ประเทศจีน บางทีมีชอจมูกใหญจนยอยลงมาปกคลุมเขาไปในปาก เวลา ปลาวา ยนํ้ากจ็ ะงับเคย้ี วจมูกตวั เอง (ดตู ลกดี) เชน ปลาฮะนะฟซุ ะ (Hanafusa) หรือชาวญ่ปี นุ นิยมเรียกวา ปอมปอม (Pompom) ดังภาพที่ 4 ภาพท่ี 4 ลักษณะตาและจมกู ปลาทองพันธุตา งๆ 9

Å¡Ñ É³Ð¢Í§¤ÃºÕ ครีบจัดเปนอวัยวะท่ีสําคัญสําหรับปลา เพราะทําใหปลาวายนํ้าได สามารถแบงครบี ในแตล ะสวน ดังภาพที่ 5 ไดดังนี้ ครบี หลงั ปลาทองสามารถแบงประเภทไดตามลักษณะของครีบหลัง ซึ่งแบงเปน 3 ประเภท ไดแก 1. ครีบหลังอยูบริเวณกลางลําตัว และมีลักษณะแบบเสากระโดงเรือ ยดื ออกมา เชน ปลาฟุนะ 2. ไมม คี รีบหลงั เชน ปลารนั ชู โชเตนกัน และซุอโิ ฮกัน 3. ครีบหลงั ยาว เชน ปลารวิ คนิ ออรนั ดาชชิ กิ ะชริ ะ และอะซมุ านชิ กิ ิ ครีบหาง ครีบหางน้ันสามารถกลาวไดวาเปนสวนที่สําคัญที่สุด เพราะสามารถ สรา งความประทับใจอยา งมากแกผูท่ไี ดพ บเหน็ อยา งไรกต็ ามเพยี งแคส วนหาง สวนเดียวก็มีการเพาะพันธุปลาที่มีรูปแบบครีบหางที่แตกตางกันถึง 6 แบบ ไดแก 1. ครบี หางแบบบรรพบุรุษ (ปลาฟนุ ะ) 2. ครบี หางยาว (หางซาบะ) เชน ปลาโคเม็ท และชบู ุนคนิ 3. ครีบหางเปน 3 แฉก 4. ครบี หางเปนดอกซากุระ (ครบี หางเปดออก 4 แฉก) 5. ครีบหางเหมือนหางนกยูง (ครีบหางนกยูงมี 4 แฉก แผพลิ้ว เชน ปลาจคิ นิ ) 6. ครีบหางกลับ คือ ครีบหางทางดานซายและดานขวาท่ีอยูสวนบน กลับลงมาอยูด านลาง 10

อีกท้ังความยาวของหางปลาทองนั้นควรจะยาวออกดานซายและ ดานขวาเทากัน และดูสมดุล ฉะนั้นการตัดสินจะเลือกปลาทองเฉพาะหาง ทม่ี คี วามสมบรู ณเทานนั้ ครบี กน ปลาทองปกตจิ ะมคี รบี กน 1 ครบี แตบ างสายพนั ธมุ คี รบี กน 2 ครบี และ เปนรปู ตวั วี (V) สามารถแบงเปน 4 แบบ ไดแก 1. ครบี กน 1 ครีบ 2. ครบี กนรปู ตวั วี (V) แฉกปลาย 3. ครบี กน รปู ตัววี (V) หางยาว 4. ครีบกน 2 ครบี ขนานกนั ภาพท่ี 5 ลกั ษณะของครีบหลัง ครีบหาง และครบี กน 11

ทงั้ นส้ี ายพนั ธทุ ค่ี รบี กน มี 2 ครบี และมลี กั ษณะเปน รปู ตวั วี (V) ซงึ่ ขนาน คูกันจะจดั วาเปน สายพนั ธุท่ีมรี าคาสงู ราคาดี ครีบอก และครบี ทอ ง มีทั้งดานซายและดานขวา ดานละ 1 ครีบ ทําใหปลาวายนํ้าไป ขา งหนา ได Å¡Ñ É³Ð¢Í§à¡Åç´»ÅÒ เกล็ดปลามีลักษณะคลายกระเบื้องมุงหลังคาซอนกันอยูที่ผิวหนัง ของตวั ปลา อยางปลาท่ไี มมีครีบหลัง เชน ปลารันชหู รอื ปลาหวั สงิ ห จะมเี กล็ด เรียงเปนระเบียบบริเวณหลังซึ่งถือวาเปนจุดท่ีมีความสวยงาม สวนของ ปลาจิคินน้ัน ถาเกล็ดหลุดออก ผิวหนังของตัวปลาจะเตรียม สรางเกล็ดใหม ซ่ึงคอนขางจะไมเปนระเบียบ ลกั ษณะเกลด็ ทดี่ คี อื สว นตรงกลางของเกลด็ จะมีลักษณะเปนมันวาว เกล็ดท่ีดูดีนั้น เรยี งเปน แนวคลายตาขาย และ แ น ว เ ส  น เ ก ล็ ด ป ล า น้ั น สามารถตรวจอายุของ ปลาได ภาพที่ 6 ลกั ษณะของเกล็ดปลาทอง 12

»Åҷͧ GOLDFISH ·Õ¹è ÔÂÁ¨Ñ´»ÃСǴ㹻ÃÐà·Èä·Â ปลาทองเปนปลาที่มีความหมายลํ้าคาแกผูท่ีไดครอบครอง และยังเปน ปลาท่ีมีผูนิยมเลี้ยง และเพาะขยายพันธุกันมาชานาน ทั้งสายพันธุที่สามารถ เพาะไดในประเทศไทยและตางประเทศ อยางเชน ประเทศจีน ประเทศญี่ปุน เปน ตน ทาํ ใหป ลาทองทพ่ี บในปจ จบุ นั จงึ มหี ลายสายพนั ธุ แตใ นการจดั ประกวด ปลาทองนั้น พบวาปลาทองท่ีนิยมจัดประกวดในประเทศ มีสายพันธุและ จัดแบง เปน ประเภทตางๆ ดังตอ ไปน้ี 1 ปลาทองหัวสงิ หญ ปี่ นุ (Ranchu) ป ล า ท อ ง หั ว สิ ง ห  ญี่ ปุ  น จัดเปนปลาทองหัวสิงหที่ไดรับ ความนิยมแพรหลายมากท่ีสุด เนื่องจากมีรูปรางสวยงามและ มีสีเขมสดใส ซึ่งเปนปลาที่ชาวญี่ปุนผสม คัดพันธุมาจากปลาทองหัวสิงหจีน โดย ลกั ษณะเดน ของปลาหวั สงิ หญ ปี่ นุ คอื มลี าํ ตวั สนั้ และโคง มนมากกวา ปลาทองหวั สงิ หจ นี สว นหวั มวี นุ ทม่ี เี นอื้ ละเอยี ด สามารถ แบงออกได 3 สว น ไดแ ก บนหัว บรเิ วณกระพงุ แกม และบริเวณเหนือริมฝป าก สวนบริเวณสันหลังใหญหนาตั้งแตโคนหัวจรดถึงปลายหาง มีครีบหางตอกับ ลําตัวเปนมุมแหลม และขอตอหางโคงตํ่าเล็กนอย ครีบทวารหรือครีบกน มที ัง้ ครีบเด่ียวและครบี คู 13

2 ปลาทองหัวสงิ หลกู ผสม (Hybrid lionhead, Ranchu x Chinese lionhead) ปลาทองหวั สงิ หล กู ผสมนเ้ี ปน ลกู ผสมทเ่ี พาะพนั ธใุ นประเทศไทย ซงึ่ นาํ เอา จุดเดนของปลาทองสายพันธุหัวสิงหจีนและญี่ปุนมารวมกันไวในปลา สายพันธุนี้ สําหรับสาเหตุของการผสมขามพันธุนั้น เน่ืองมาจากปลาทอง หวั สงิ หญ ป่ี นุ จะผสมพนั ธไุ ดค อ นขา งยาก จงึ มกี ารนาํ ปลาทองหวั สงิ หจ นี มาผสม เพื่อชวยใหการแพรพันธุงายขึ้นและยังไดจํานวนลูกปลาที่เพิ่มมากข้ึน ซึ่งลักษณะเดนของปลาทองหัวสิงหลูกผสม คือ วุนบนหัวของปลาจะมีขนาด ปานกลาง ไมใหญแ ละไมหนาเทากบั ปลาทองหัวสงิ หจ นี แตใ หญก วาปลาทอง หัวสิงหญ่ีปุน หลังโคงมนกวาปลาทองหัวสิงหจีน แตไมโคงและไมสั้นเทา ปลาทองหัวสิงหญ่ีปุน สวนครีบหางสั้นกวาปลาทองหัวสิงหจีน แตจะยาวกวา ปลาทองหัวสงิ หญ่ีปนุ »ÅҷͧËÑÇÊԧˏš٠¼ÊÁ (Hybrid lionhead, Ranchu x Chinese lionhead) 14

3 ปลาทองหัวสงิ หส ยาม »Åҷͧ ÑËÇÊÔ§ ËÊÂÒÁ (Siamese lionhead) (Siamese lionhead) ปลาทองหัวสิงหสยามหรือที่เรียกกันวาหัวสิงหตามิด ซงึ่ เปน ปลาทองลกู ผสมทมี่ ตี น กาํ เนดิ ในประเทศไทย โดยมลี กั ษณะ หัวแบบสิงหจีนหรือหัวสิงหญ่ีปุน อีกทั้งมีวุนปกคลุมบริเวณหัว หนาแนน จนมองไมเหน็ ตา และมีลกั ษณะลาํ ตัวคลา ยหวั สงิ หญ ี่ปนุ สวนลักษณะเดนของปลาสายพันธุนี้ คือ ลําตัวและครีบตองมี สดี ําสนิท รวมท้ังไมม ีสีอนื่ แซม 15

4 ปลาทองออรนั ดาหวั วุน (Dutch lionhead) ปลาทองออรันดาหัววุนน้ี สามารถเพาะพันธุไดในประเทศญี่ปุน เปนประเทศแรก จึงเรียกวา ออรันดาชิชิกะชิระ (Orandashishigashira) ซ่ึงแปลเปนภาษาอังกฤษไดวา Dutch lionhead มีลักษณะเดน คือ บริเวณ หัวดานบนมีวุนมากและวุนมีลักษณะละเอียดกวาวุนของปลาทองหัวสิงห ถามองจากดานบนจะเห็นเปนกอนกลมหรือเหลี่ยมคลายปลาสวมหมวกไว บนหัว สวนครบี หางมลี ักษณะแผก วางและไมส น้ั จนเกนิ ไป สําหรับปลาทองออรันดาสายพันธุที่นิยมเล้ียงในประเทศไทย ไดแก ปลาทองออรนั ดาหวั วนุ (Dutch lionhead) ปลาทองออรนั ดาหวั แดง (Redcap oranda หรอื ภาษาญ่ีปนุ เรียกวา ตันโจ) ลกั ษณะลาํ ตัวมีสขี าวเงิน สวนหวั มีวนุ กอ นกลมสแี ดงคลา ยปลาสวมหมวกสแี ดง และปลาทองออรนั ดาหา สมี ลี กั ษณะ เหมือนออรันดาหัววุนท่ัวไป แตสีบริเวณลําตัวมี 5 สี คือ ฟา ดํา แดง ขาว และสม สวนอีกชนิดหนึ่ง คือ ปลาทอง ออรันดาหางพวง ซึ่งสายพันธุน้ี มีครีบหางยาวเปนพวง ครีบหลัง พลวิ้ ยาว อกี ทงั้ บรเิ วณหวั มวี นุ นอ ย หรือไมมเี ลย 16

»Åҷͧ ÔÃǤԹ (Ryukin) 5 ปลาทองรวิ คนิ (Ryukin) ปลาทองพันธุริวคินมีช่ือภาษาอังกฤษวา Veiltail goldfish เปนปลาท่ีไดรับความนิยมเลี้ยงกันทั้งในประเทศ และตา งประเทศ โดยเฉพาะในประเทศญ่ีปุน เนอ่ื งจากเปน ปลาท่ีมีรูปทรงสวยงามและมีสีสันท่ีสดใส ในขณะวายน้ํา จะมีทวงทาท่ีสงางาม ซึ่งลักษณะเดนของปลาชนิดนี้ คือ ลําตัวดานขางกวางและสั้น สวนทองอวนกลม มองจาก ดานหนาโหนกหลังสูงเทากับสวนโคงของคอ โดยปลาท่ีมี ลักษณะท่ีดีน้ันสวนหัวจะตองเล็ก เกล็ดหนา ข้ึนเรียงเปน ระเบียบ สวนสีท่ีพบมีท้ังสีแดง ขาว-แดง และสม หรือมี 5 สี คือ แดง สม ดํา ขาว ฟา ซึ่งในประเทศไทยนิยม เรยี กวา รวิ คินหาสี 17

6 สายพนั ธอุ ืน่ ๆ 6.1 »ÅҷͧμÒ⻹ (Telescope eyes goldfish) ปลาทองตาโปนน้ี ชาวญป่ี นุ เรยี กวา เดะเมะคนิ (Demekin) ซงึ่ หมายถงึ ปลาตาโปน มีช่ือภาษาอังกฤษหลายช่ือ ในบางคร้ังก็เรียกวา Pop-eyes goldfish สวนชาวจีนนิยมเรียกวา Dragon eyes ซ่ึงหมายถึง ปลาที่มีตา เหมือนตามังกร โดยลักษณะเดนของปลาทองสายพันธุนี้ คือ สวนตาจะย่ืน โปนออกไปขางหนา จะดูคลายกลองสองทางไกล จึงมีช่ือภาษาอังกฤษวา Telescope eyes goldfish ซง่ึ ลกั ษณะทด่ี ขี องปลาสายพนั ธนุ ้ี คอื ตาจะตอ งโต และมีขนาดเทาๆ กันทั้ง 2 ขาง และปลาทองตาโปนท่ีนิยมเลี้ยงในบานเรามี หลายสายพันธุ ดังน้ี 6.1.1 ปลาทองตาโปนญ่ีปุน (Red telescope eyes goldfish) ปลาทองตาโปนญี่ปนุ น้ี ชาวญ่ีปุนบางคนเรียกวา Red metallic globe-eyes เปนปลาทองสายพันธุตาโปนท่ีมีลําตัวเปนสีแดงตลอดทั้งลําตัว ชาวญป่ี นุ เรยี กปลาสายพนั ธนุ วี้ า อะคาเดะเมะคนิ (Akademekin) แตใ นปจ จบุ นั สีท่นี ยิ มเล้ียงในประเทศไทย ไดแก ขาวแดง ขาวสม สม หรอื ขาวดาํ เปนตน 6.1.2 ปลาทองตาโปนหาสี (Calico telescope eyes goldfish) ปลาทองตาโปนหา สนี ้ี ชาวญป่ี นุ บางคนเรยี กวา ซนั โชคเุ ดะเมะคนิ (Sanshokudemekin) ซงึ่ แปลวา ปลาทองตาโปนท่ีมีสีสามสอี ยูใ นตัวเดยี วกนั สว นในประเทศไทยนยิ มเรยี กวา ปลาหา สี โดยสที ป่ี รากฏ ไดแ ก สแี ดง ดํา ขาว สม และฟา 18

6.1.3 ปลาทองสายพันธุเลห (Black telescope eyes goldfish หรือ Black Moor) ปลาทองสายพันธุเลหน้ี มีช่ือท่ีเรียกกันในประเทศวา ลักเลห สว นชาวญปี่ นุ เรยี กวา คโุ รเดะเมะคนิ (Kurodemekin) เปน ปลาทองตาโปนทม่ี ี ลกั ษณะเดน คอื ลําตัวและครีบทุกครีบเปนสีดําหรือสนี าก ซ่ึงสามารถจาํ แนก ออกเปนสายพันธุยอยๆ ไดตามลักษณะลําตัว ลักษณะสี และลักษณะหาง เชน เลห กระโปรง เลห ตุกตา เลหค วาย และผเี สื้อ (หลังอูฐ) ดงั ตารางที่ 9 »ÅҷͧμÒ⻹ˌÒÊÕ »ÅҷͧμÒ⻹ 19

6.2 »ÅҷͧËÑÇÊ§Ô Ë¨Õ¹ (Chinese lionhead) ปลาทองหัวสงิ หจนี นี้ สามารถเพาะพนั ธุไดค ร้ังแรกท่ปี ระเทศจีน ดงั นน้ั ประเทศไทยจึงเรียกวา ปลาทองหัวสิงหจีน (Chinese lionhead) สวนชาว ตะวันตกเรียกปลาทองสายพันธุน้ีวา Lionhead ซ่ึงมีลักษณะเดนของปลา สายพันธุน้ี คือ มีสวนหัวใหญกวาลําตัว และสวนหัวมีวุนขึ้นหนาแนนกวา ปลาทองหวั สิงหสายพันธอุ ่ืนๆ สวนหลังของปลาลาดโคงเล็กนอ ย แนวสนั หลงั ไมม คี รบี หลงั และมลี าํ ตวั ยาวกวา ปลาทองหวั สงิ หส ายพนั ธอุ นื่ ๆ มคี รบี หางใหญ และปลายหางลาดเสมอแนวเดียวกับสันหลัง เม่ือโตเต็มที่จะมีความยาวเฉล่ีย ตั้งแตปากถึงโคนหางประมาณ 15 เซนติเมตร ในบางตัวก็มีขนาดใหญถึง 25 เซนตเิ มตร โดยมอี ายุเฉลีย่ ประมาณ 5-7 ป »ÅҷͧËÑÇÊ§Ô Ë¨¹Õ 20

»Åҷͧ ÑËÇÊÔ§ ËμÒ¡ Ñź (Celestial goldfish) 6.3 »ÅҷͧËÑÇÊ§Ô ËμÒ¡ÅѺ (Celestial goldfish) ปลาทองสายพันธุหัวสิงหตากลับนี้เปนปลาที่มีตนกําเนิด อยใู นประเทศจนี ดงั นนั้ ชาวจนี จงึ เรยี กวา โชเตนกนั (Chotengan) ซ่ึงมีความหมายวา ปลาตาดฟู า ดูดาว หรือตามุง สวรรค ชาวญป่ี ุน เรียกช่ือปลาสายพันธุนี้วา เดะเมะรันชู (Demeranchu) อีกท้ัง ลักษณะเดนของปลาสายพันธุน้ี คือ ตาหงายกลับขึ้นขางบน ผดิ จากปลาทองสายพนั ธุอ่ืนๆ มตี าใหญส ดใสท้ังสองขาง สว นหวั ไมมีวุนหรือจะมีเคลือบเพียงเล็กนอย มีลําตัวยาว หลังตรงหรือ โคง ลาดเล็กนอ ย สว นครีบหางยาวและไมม คี รีบหลัง 21

6.4 »ÅҷͧÊÔ§Ëμ Òš٠⻆§ (Bubble eyes goldfish) ปลาทองสิงหตาลูกโปงมีถ่ินกําเนิดดั้งเดิมอยูในประเทศจีน ซง่ึ มลี กั ษณะเดน ทสี่ งั เกตไดง า ย คอื เบา ตาของปลาทองสายพนั ธนุ ี้ มีถุงน้ําขนาดใหญดูคลายมีลูกโปงติดอยูท่ีบริเวณใตตา จึงเปน ที่มาของชื่อ สิงหตาลูกโปง ชาวญ่ีปุนเรียกวา ซุอิโฮกัน (Suihogan) มีถุงนํ้าใตตา โดยปกติจะโปรงแสงและ มีขนาดเสมอกัน อีกท้ังปลาทองสายพันธุนี้บริเวณ สวนหัวจะไมมีวุน หรือมีเคลือบบางเพียงเล็กนอย ในสว นของครีบหางยาวและไมมีครบี หลัง 22

»ÅҷͧࡠçÅ´á Œ¡Ç (Pearl scale goldfish) 6.5 »Åҷͧà¡Å´ç á¡ÇŒ (Pearl scale goldfish) ปลาทองพันธุเกล็ดแกวเปนปลาทองท่ีมีลักษณะเดน คือ ลําตัว มลี กั ษณะปอ มสนั้ โดยสว นใหญจ ะมลี าํ ตวั อว นกลม และมลี กั ษณะทแ่ี ตกตา ง ไปจากปลาทองสายพันธุอ่ืนๆ คือ มีเกล็ดหนานูนขึ้นมาจนเห็นเปนตุม โดยปลาที่มีลักษณะที่ดีนั้นเกล็ดควรเรียงเปนระเบียบ ในบริเวณสวนหัว อาจมวี นุ หรอื ไมม กี ไ็ ด ซง่ึ ประเทศไทยมชี อื่ เสยี งในฐานะทสี่ ามารถเพาะพนั ธุ ปลาเกล็ดแกวหนาหนูไดเปนครั้งแรก อีกทั้งยังเปนที่รูจักและยอมรับกัน ท่ัวโลกวาปลาทองสายพันธุนี้เปนปลาทองที่แตกตางจากสายพันธุอ่ืน และมีสวนหัวเล็กแหลม รวมท้ังลําตัวอวนกลม ประกอบกับเกล็ดท่ีมี ลักษณะเฉพาะ ทาํ ใหด เู หมือนลกู กอลฟทส่ี ามารถเคลือ่ นไหวอยูใตนา้ํ ปลาทองเกลด็ แกว ท่นี ยิ มเลีย้ งในประเทศไทยมี 3 สายพนั ธุ ไดแ ก เกล็ดแกวหนา หนู เกล็ดแกว หวั วุน และเกล็ดแกว หวั มงกุฎ 23

ࡳ±¡ÒÃμ´Ñ ÊÔ¹ ¡ÒûÃСǴ»Åҷͧ ã¹»ÃÐà·Èä·Â ปลาทองเปน ปลาสวยงามทม่ี ลี กั ษณะ แปลกไปจากปลาสวยงามชนดิ อน่ื ๆ อกี ทง้ั มี สีสันสดใสสวยงามและมีความหลากหลาย ทางสายพนั ธุ นยิ มเล้ียงกนั อยางกวา งขวาง ทั่วทุกภาคของประเทศไทย ซึ่งในการจัด ประกวดแขงขันปลาทองแตละครั้งมักพบ ปญ หาเกณฑก ารพจิ ารณาลกั ษณะปลาและ เกณฑก ารตดั สนิ ยงั ไมเ ดน ชดั กรมประมงจงึ มีนโยบายท่ีจะหาทางแกไขปญหาในเร่ืองนี้ โดยมอบหมายใหสถาบันวิจัยสัตวน้ํา สวยงามและพรรณไมน้ํา เชิญผูเชี่ยวชาญ ผูมีประสบการณเร่ืองปลาทอง และคณะ กรรมการตัดสินปลาทอง รวมพิจารณา แกไ ขและปรบั ปรงุ เกณฑก ารตดั สนิ ปลาทอง เพอ่ื ใหส อดคลอ งกบั การพฒั นาของสายพนั ธุ สําหรับเกณฑการตัดสินการประกวด ปลาทอง ทไี่ ดร บั การยอมรับจากมตปิ ระชุม ฉบบั ปจ จบุ นั คอื ฉบบั ปรบั ปรงุ ป พ.ศ.2558 มดี ังตอ ไปน้ี 24

การพจิ ารณารับปลาทองเขาประกวด มีหลักเกณฑพจิ ารณาดังน้ี 1. ลักษณะตรงตามสายพนั ธุท่กี าํ หนด 2. ขนาดถกู ตองตามทีก่ าํ หนด 3. ลักษณะสมบูรณ สดั สวนดี ไมพิการ 4. ไมเ ปน โรค ลกั ษณะปลาทไี่ มส มบรู ณ มีดงั น้ี 1. หลังไมสวย ลาํ ตวั โคง เปน คล่นื 2. วุนนอย 3. ครบี พับ 4. กานครบี ไมสมบรู ณ 5. ไมสามารถทรงตัวไดตามปกติ 6. ความไมส มสวนตา งๆ ลกั ษณะปลาพกิ าร มีดังน้ี 1. หลงั คด 2. ครบี คด 3. ตัดแตง ครีบหรือวนุ 4. วุน แตก FISH 25

หลงั ไมส วย ลําตัวโคง เปน คลน่ื ความไมส มสว นตางๆ ขอ หางยาวผดิ ปกติ ครีบพับ กา นครบี ไมส มบูรณ ครบี หางไมเ ทากนั ครบี หางแผก วางเกนิ ไป ครบี หางไมตรง ขอหางเวา ขอหางผิดปกติ ขอ หางพบั ครบี หางไมเ ทา กัน ครีบหางไมแยก ครบี หางไมเรยี บ ครีบหางแตก ครีบหางซอน ลาํ ตัวดา นซายและขวาไมเสมอกัน ลําตัวไมเทา กนั กระพุงแกมอา ลําตัวบิดงอ ปากเบย้ี ว ลําตวั ไมเ ทา กนั ขอหางเบย้ี ว ภาพท่ี 7 ลักษณะปลาทไ่ี มส มบูรณ (ตวั อยา ง) 26

GOLDFISH

ตารางที่ 1 ลักษณะเดน ของปลาทองสายพันธุ ËÑÇÊ§Ô Ë (Lionhead) ลกั ษณะ หัวสงิ หญ ป่ี ุน หวั สงิ หจีน หัวสิงหส ยาม (สงิ หต ามิดดาํ ) หัว และ • มวี ุน ครบทง้ั 3 สว น คือ • หัววนุ มีขนาดใหญก วา • วนุ มีท้ังแบบสิงหจ นี นยั นต า สว นบนของหวั กระพงุ แกม และบริเวณเหนอื รมิ ฝปาก ลําตวั ลักษณะวุน และสงิ หญ ่ีปนุ หรอื วุน • วนุ สว นบนของหัวไมแตก เปน เมด็ เล็กหรือใหญ เปน หลืบคลา ยมนั สมอง ละเอยี ดจนเกินไป จบั เปนกอ น ดูสมสว น ขนาดสมํา่ เสมอ • วนุ ตอ งปดตาจนมดิ • บรเิ วณกระพุง แกม • วนุ ไมป ด ตาจนมดิ ตาสดใส วุนเรยี งตัวกันแนนไมแตก ละเอยี ดจนเกนิ ไป สว นบน เหนือตาไมมวี นุ นูนสงู • วนุ บรเิ วณเหนือรมิ ฝป าก มีลักษณะคลายเขีย้ วและ วนุ ใตคางไมมากจนเกนิ ไป • วุน ไมปดตาจนมิด (ยกเวนปลาที่มขี นาด 5 นว้ิ ข้นึ ไป) ตาสดใส ลําตวั • ไมมคี รีบหลงั • ไมมีครีบหลงั หลังตรง • ไมม ีครบี หลัง • สวนหลังโคงมนสมสว น หรอื ลาดโคงเล็กนอย • สวนหลงั โคงมนสมสวน • เมอ่ื มองจากดา นบน • ลําตัวหนา ไมค ดงอ • เมื่อมองจากดา นบน ลาํ ตวั หนาไมคดงอ ดูสมสวน • เกล็ดเปน เงางาม เรียงเปน ลาํ ตัวหนา ไมคดงอ สมสวน • เกลด็ เปนเงางาม เรียงเปน ระเบยี บ • เกลด็ เปน เงางาม เรียงเปน ระเบยี บ (ยกเวนปลาทมี่ ีเกลด็ ระเบยี บ (ยกเวน ปลาที่มีเกล็ด ขนาดใหญ/ ปลาหนัง (ยกเวน ปลาท่ีมีเกลด็ ขนาดใหญ/ปลาหนงั เกล็ดไมจาํ เปนตอ งเรยี ง ขนาดใหญ/ ปลาหนัง เกล็ดไมจ าํ เปน ตอ งเรยี งเปน เปนระเบยี บ) เกล็ดไมจ าํ เปนตองเรยี ง ระเบียบ) เปน ระเบียบ) 28

หัวสงิ หลูกผสม หวั สิงหต ากลับ หวั สงิ หต าลูกโปง • ลกั ษณะวุนใสเปนเม็ดเล็ก • หัวไมมีวุน หรือ • หัวไมม วี นุ หรือ เคลอื บวุนเล็กนอ ย หรอื วนุ เปนหลบื คลา ย มเี คลือบวนุ เลก็ นอ ย • มถี ุงนํา้ ใตตาคลา ยลกู โปง มันสมอง • ตาใหญส ดใส ตาทง้ั และถงุ น้ําโปรง แสง • วุนไมปด ตาจนมดิ 2 ขา งเสมอกนั และหงาย • ตาและถงุ น้ําใตต า ทั้ง 2 ขางเสมอกัน (ยกเวน ปลาที่มขี นาด 5 นิว้ แหงนมองทอ งฟาเสมอ ขึน้ ไป) ตาสดใส • วุน ทดี่ คี วรจะมีลักษณะใส สะอาด • บริเวณกระพุงแกม วนุ เรยี งตัวกันแนน ไมแ ตก ละเอียดจนเกินไป สว นบน เหนอื ตามีวนุ นนู สงู • ไมมคี รีบหลงั • ไมมคี รีบหลัง • ลาํ ตวั ยาว • สว นหลงั โคงมนสมสว น • สวนลาํ ตัวยาวหลงั ตรงหรอื • สว นหลงั ตรงหรือโคงลาด • มองจากดานบนลําตัวหนา โคงลาดเล็กนอย เลก็ นอย ไมคดงอ สมสว น • เกลด็ เปน เงางาม • เกล็ดเปน เงางาม • เกลด็ เปน เงางาม เรยี งเปน ระเบียบ เรยี งเปนระเบยี บ เรยี งเปน ระเบยี บ (ยกเวน ปลาท่มี ีเกล็ด (ยกเวน ปลาที่มเี กลด็ (ยกเวนปลาท่มี เี กล็ด ขนาดใหญ/ ปลาหนัง ขนาดใหญ/ ปลาหนัง ขนาดใหญ/ปลาหนงั เกลด็ ไมจ าํ เปนตอ งเรยี ง เกล็ดไมจ าํ เปน ตอ งเรียง เกลด็ ไมจาํ เปน ตองเรียง เปน ระเบยี บ) เปนระเบียบ) เปน ระเบียบ) 29

ลักษณะ หัวสิงหญ ีป่ นุ หัวสิงหจนี หัวสิงหสยาม (สงิ หตามดิ ดาํ ) ครีบหาง • ครีบหางสนั้ ตง้ั ตอกบั ลําตวั • ครบี หางใหญ • ครีบหางส้ันตั้งตอกับ เปนมมุ แหลมประมาณ • หางลาด ปลายหาง ลาํ ตัวเปน มุมแหลมประมาณ 45 องศา เสมอแนวเดยี วกบั สนั หลงั 45 องศา • ครบี หางหนา • ครีบหางหนา อาจมี 3 หรือ 4 แฉก อาจมี 3 หรือ 4 แฉก • ครบี หางแผก วาง สี และ • มีทุกสี • มีทุกสี • สีดาํ ปลอด เปน เงาสดใส ลวดลาย • ลวดลายสวยสะดุดตา รปู ทรงและ • ซายและขวาเสมอกนั • ซา ยและขวาเสมอกัน • ซา ยและขวาเสมอกนั การทรงตวั • การวา ยนํา้ และการทรงตัวดี • การวา ยนา้ํ และการทรงตวั ดี • การวา ยนา้ํ และการทรงตวั ดี • ขณะหยดุ นง่ิ ลาํ ตวั ทาํ มมุ กับ • ขณะหยดุ น่ิงลําตวั ทาํ มมุ กบั พนื้ ตูไมเ กนิ 45 องศา พ้ืนตไู มเกิน 45 องศา ครีบทวาร • ครีบคทู ่เี สมอ หรอื ครีบเดย่ี ว • ครบี คทู เี่ สมอ หรอื ครบี เดย่ี ว • ครบี คทู ่ีเสมอ หรอื ครบี เดีย่ ว หรอื ครบี กน ตรงกลางท่ขี ้ึนตามธรรมชาติ ตรงกลางทขี่ นึ้ ตามธรรมชาติ ตรงกลางทข่ี ้นึ ตามธรรมชาติ ครบี อนื่ ๆ • ครบี คูเ สมอกัน • ครีบคูเ สมอกนั ทง้ั ซาย • ครบี คเู สมอกนั ท้งั ซา ย ทั้งซา ยและขวา และขวา และขวา μÒÃÒ§·Õè 2 ¤Ðá¹¹ÊíÒËÃºÑ »ÅҷͧÊÒ¾¹Ñ ¸ØËÇÑ Êԧˏ ลกั ษณะ สิงหญี่ปุน สิงหล กู ผสม สิงหจ ีน สิงห และสิงหส ยาม ตากลับและสงิ หตา ภาพรวม ลูกโปง 40 คะแนน 32 คะแนน หัวและนัยนต า 10 คะแนน 18 คะแนน เสน หลงั และลาํ ตัว 10 คะแนน - ครีบหาง 10 คะแนน สีและเกลด็ 10 คะแนน 18 คะแนน การทรงตวั และการวา ยนํ้า 10 คะแนน 18 คะแนน ครบี ทวาร 5 คะแนน 5 คะแนน ครีบอ่นื ๆ 5 คะแนน 5 คะแนน 100 คะแนน 4 คะแนน 30 คะแนนรวม 100 คะแนน

หัวสงิ หลกู ผสม หวั สงิ หต ากลบั หัวสิงหต าลูกโปง • ครบี หางสนั้ ต้ังตอ กบั ลาํ ตวั • ครีบหางยาว • ครีบหางยาว เปน มุมแหลมประมาณ • หางลาด ปลายหางเสมอ • หางลาด ปลายหางเสมอ 45 องศา แนวเดียวกบั สนั หลังหรอื แนวเดียวกับสันหลงั หรือ • ครีบหางหนา สงู กวา สงู กวา อาจมี 3 หรอื 4 แฉก • มที กุ สี • มีทุกสี • มที กุ สี • ลวดลายสวยสะดุดตา • ลวดลายสวยสะดุดตา • ลวดลายสวยสะดุดตา • ซายและขวาเสมอกนั • ซา ยและขวาเสมอกนั • ซายและขวาเสมอกนั • การวายน้ําและการทรงตัวดี • การวา ยนา้ํ และการทรงตวั ดี • การวายน้ําและการทรงตัวดี • ขณะหยดุ นง่ิ ลําตวั ทํามมุ กับ • ขณะหยุดนิ่งลาํ ตัวทาํ มมุ กับ • ขณะหยดุ นงิ่ ลาํ ตวั ทาํ มมุ พ้ืนตไู มเ กิน 45 องศา พื้นตไู มเ กนิ 45 องศา กบั พื้นตไู มเกิน 45 องศา • ครบี คทู เ่ี สมอ หรอื ครบี เดยี่ ว • ครบี คทู เ่ี สมอ หรอื ครบี เดย่ี ว • ครบี คทู เ่ี สมอ หรอื ครบี เดยี่ ว ตรงกลางทขี่ น้ึ ตามธรรมชาติ ตรงกลางทขี่ น้ึ ตามธรรมชาติ ตรงกลางทข่ี นึ้ ตามธรรมชาติ • ครีบคูเ สมอกนั ทง้ั ซา ย • ครบี คูเสมอกันทงั้ ซาย • ครีบคูเ สมอกันทัง้ ซา ย และขวา และขวา และขวา 31

ตารางที่ 3 ลกั ษณะเดนของปลาทองสายพันธุ ÍÍÃѹ´Ò (Oranda) ลักษณะ ออรนั ดาหวั วนุ ออรนั ดาหัวแดง หัว • วุนมาก มองจากดา นบนเหน็ เปน • วนุ บนหัวเปนกอนกลมสีแดง กอนกลมหรอื เหลี่ยม เหมอื นหมวก ลาํ ตัว รปู ทรง และเกลด็ • วุนที่ดีควรมลี กั ษณะใสสะอาด • วนุ บรเิ วณขางแกม และใตค างไมมี หรอื มีบา งเลก็ นอย ครบี หาง • มองจากดา นขา ง ลาํ ตวั กวา ง สมสว น • มองจากดานขางลําตัวไมส น้ั จนเกินไป สี และลวดลาย • เกล็ดเรียงเปน ระเบยี บสมา่ํ เสมอ • เกลด็ เรียงเปนระเบียบสม่าํ เสมอ ครีบหลัง ครีบทวาร หรือ มคี วามเงาสดใส (ยกเวนปลาทมี่ ี มีความเงาสดใส (ยกเวน ปลาที่มี ครบี กน เกลด็ ใหญ/ ปลาหนงั ไมจ าํ เปน เกลด็ ใหญ/ ปลาหนังไมจ าํ เปน การทรงตัว ตอ งเรยี งเปนระเบียบ) ตองเรียงเปนระเบียบ) และการวายน้าํ ครีบอน่ื ๆ • ครบี หางมีความยาวไมต ํา่ กวา ⅓ เทา • ครบี หางมคี วามยาวไมต า่ํ กวา ⅓ เทา ของความยาวลําตวั และทาํ มมุ ของความยาวลาํ ตวั และทาํ มมุ ไมม ากกวา 100 องศา กบั แนวสนั หลงั ไมม ากกวา 100 องศา กบั แนวสนั หลงั (ความยาวลําตัว วัดจากสวนหนาสุด (ความยาวลาํ ตวั วดั จากสว นหนา สดุ ของหัว ถงึ มมุ โคนหาง) ของหวั ถงึ มมุ โคนหาง) • มีทกุ สี • ลาํ ตัวสีขาว วนุ บนหัวสีแดงเขม • ลวดลายสวยสะดุดตา • ครีบหลงั ต้ังตรง ไมคดงอ • ครีบหลงั ตั้งตรง ไมค ดงอ • ครบี คทู ่ีเสมอหรือครีบเด่ยี วตรงกลาง • ครบี คทู ่เี สมอหรือครบี เดยี่ วตรงกลาง ที่ขึน้ ตามธรรมชาติ ท่ขี ึ้นตามธรรมชาติ • ขณะวายน้าํ สามารถทรงตัวไดดี • ขณะวายนาํ้ สามารถทรงตัวไดด ี • ขณะหยุดน่ิงลําตัวทํามุมกับพื้นตู • ขณะหยุดน่ิงลําตวั ทํามุมกับพ้ืนตู ไมเ กิน 45 องศา ไมเ กนิ 45 องศา • ครีบคเู สมอกนั ไมพ ับ • ครบี คูเ สมอกัน ไมพบั 32

ออรนั ดาหา สี ออรันดาหางพวง (ธรรมดา) ÍÍ Ñù´Ò (Oranda) • วนุ มากขนาดสม่าํ เสมอ • วุน นอ ยหรอื ไมม วี นุ • มองจากดานขา งลาํ ตัวกวาง สมสว น • ลําตัวคอนขางยาว • เกลด็ เรยี งเปน ระเบยี บสม่ําเสมอ มีความเงาสดใส (ยกเวน ปลาท่มี ี เกลด็ ใหญ/ ปลาหนังไมจ าํ เปน ตอง เรียงเปน ระเบยี บ) • ครบี หางมคี วามยาวไมตาํ่ กวา ⅓ เทา • หางยาวเปนพวง ของความยาวลาํ ตัวและทํามุม ไมม ากกวา 100 องศา กบั แนวสนั หลงั (ความยาวลาํ ตวั วดั จากสวนหนาสุด ของหวั ถงึ มมุ โคนหาง) • มีครบทั้ง 5 สี (ฟา , ดาํ , แดง, ขาว, • มีทกุ สี สม ) สีกระจายสมา่ํ เสมอ • ครีบหลังต้ังตรง ไมค ดงอ • ครบี หลังยาวพลวิ้ • ครีบคทู ่เี สมอหรอื ครบี เดย่ี วตรงกลาง • ครีบคทู เ่ี สมอหรอื ครบี เดี่ยวตรงกลาง ที่ข้ึนตามธรรมชาติ ที่ขน้ึ ตามธรรมชาติ • ขณะวา ยนํ้าสามารถทรงตัวไดด ี • ขณะวา ยนํ้าสามารถทรงตัวไดดี • ขณะหยุดนิ่งลําตวั ทํามมุ กบั พ้นื ตู ไมเ กิน 45 องศา • ครีบคเู สมอกนั ไมพับ • ครบี คเู สมอกนั ไมพ ับ 33

μÒÃÒ§·Õè 4 ¤Ðá¹¹ÊÒí ËÃѺ»ÅҷͧÊÒ¾¹Ñ ¸Ø ÍÍÃѹ´Ò ลักษณะ หวั วุน และ หา สี หางพวง หัวแดง (ธรรมดา) ภาพรวม 30 คะแนน หัว 30 คะแนน 10 คะแนน - ลาํ ตัว รูปทรง 10 คะแนน 10 คะแนน 5 คะแนน ครีบหลงั 10 คะแนน 10 คะแนน 23 คะแนน ครบี หาง 10 คะแนน 10 คะแนน 12 คะแนน สี และเกลด็ 10 คะแนน 10 คะแนน 26 คะแนน การทรงตัวและการวายนาํ้ 10 คะแนน 10 คะแนน 15 คะแนน ครีบทวาร 10 คะแนน 5 คะแนน 10 คะแนน ครบี อ่ืนๆ 5 คะแนน 5 คะแนน 5 คะแนน 5 คะแนน 100 คะแนน 4 คะแนน คะแนนรวม 100 คะแนน 100 คะแนน 34

μÒÃÒ§·èÕ 5 Å¡Ñ É³Ðà´‹¹¢Í§»ÅҷͧÊÒ¾ѹ¸Ø ÃÇÔ ¤Ô¹ (Ryukin) ÊÊÕ ÁŒ áÅТÒÇ-á´§ ลักษณะ ริวคนิ สสี ม และขาว-แดง หวั และตา หวั ส้ัน ปากแหลม ไมม ีวนุ ตาจะตอ งไมใหญก วา ปกติ และไมปูดโปน ลาํ ตวั รปู ทรง และเกลด็ มองดา นขา งลาํ ตัวคอ นขา งกวาง สว นทองอว นกลม เกลด็ เรยี งเปน ระเบยี บ เปน เงาสดใส ยกเวนปลาที่มี เกล็ดขนาดใหญ/ ปลาหนัง เกล็ดไมจ าํ เปนตอ งเรยี ง เปน ระเบียบ โหนกหลัง โหนกหลังสงู เทา กับสวนโคง ของหลังและทอง ครีบหลงั ครีบหลงั สูง ตั้งตรงไมคดงอ ครบี หาง ครบี หาง 3 แฉก หรอื 4 แฉก กานครีบหางไมพับ ไมบ ดิ งอ ความยาวของหางไมต ่าํ กวา ½ ของ ความยาวลาํ ตวั และครีบหางตอ งทํามุมไมม ากกวา 90 องศา กบั แนวสนั หลงั ซา ย-ขวาตองสมดลุ กนั สี และลวดลาย มที กุ สี ลวดลายสวยสะดดุ ตา ครีบทวาร หรอื ครีบกน ครบี คทู เี่ สมอหรอื ครบี เดยี่ วตรงกลางทขี่ น้ึ ตามธรรมชาติ รูปทรง และการทรงตัว ซา ยและขวาเสมอกนั วายนา้ํ ทรงตัวดี ครบี อนื่ ๆ ครีบคเู สมอกัน ไมพบั หมายเหต:ุ 1. ปลาริวคนิ ท่ีประกวดแบง ปลาออกไดเปน 2 ประเภท 1.1 รวิ คินหางกลาง มคี วามยาวของหาง ½ เทา ของความยาวลาํ ตัว 1.2 ริวคินหางยาว มคี วามยาวของหาง 1 เทา ของความยาวลําตวั 2. ปลาริวคินสว นหวั อาจจะมสี วนทห่ี นาขึ้นตามอายุ ไมถ อื วาเปน วุน 3. สําหรับปลาที่มีเกล็ดใหญ/ปลาหนังสีขาว-แดงเปนแตมตองสมดุล ดูสวยงาม/การลอกสขี องปลาใชว ิธีการตัดคะแนนแตไมคัดปลาออก 35

μÒÃÒ§·èÕ 6 ÅѡɳÐà´‹¹¢Í§»ÅҷͧÊÒ¾ѹ¸Ø ÃÇÔ ¤¹Ô ËÒŒ ÊÕ (Calico) ลักษณะ ริวคนิ หาสี หัว หัวสัน้ ปากแหลม ไมมีวุน ลําตัว รูปทรง และเกล็ด มองดา นขางลําตวั กวา งนอยกวา ริวคินสีสมและ โหนกหลัง ขาว-แดง เลก็ นอ ย สว นทองอว นกลมมองจาก ครีบหลงั ดานหนาโหนกสูงนอ ยกวา รวิ คนิ สสี ม และขาว-แดง ครบี หาง เกลด็ เรยี งไมเ ปน ระเบยี บ แตเปน เงาสดใส สี โหนกหลงั สงู นอยกวาสวนโคง ของหลงั และทอ ง ครบี ทวาร หรือครีบกน ครีบหลังสูง ตั้งตรง ไมค ดงอ รูปทรง และการทรงตวั ครบี หาง 3 แฉก หรอื 4 แฉก กา นครีบหางไมพับ ครีบอ่ืนๆ ไมบ ิดงอ ความยาวของหางไมต ํา่ กวา ½ ของ ความยาวลาํ ตวั และครบี หางตองทํามมุ ไมม ากกวา 90 องศา กบั แนวสันหลัง ซาย-ขวาตองสมดลุ กนั สเี ขม มีครบหา สี (ฟา แดง ดํา ขาว และสม ) ครบี คทู ่ีเสมอหรอื ครีบเด่ียวตรงกลางท่ีข้นึ ตาม ธรรมชาติ ครีบเดี่ยวจะตองงอกจากกึ่งกลางของ ลาํ ตวั ซา ยและขวาเสมอกนั การวา ยนาํ้ และการทรงตัวดี ขณะหยดุ นิง่ ลาํ ตวั ทาํ มมุ กบั พื้นตูไมเกนิ 45 องศา ครีบคูเสมอกัน สมบรู ณไ มพ ับและไมบ ดิ งอ หมายเหตุ: ปลารวิ คินสว นหัวอาจจะมีสว นที่หนาข้นึ ตามอายุไมถือวาเปน วนุ 36

μÒÃÒ§·èÕ 7 ¤Ðá¹¹ÊÒí ËÃºÑ »ÅҷͧÊÒ¾ѹ¸Ø ÃÇÔ ¤¹Ô ÊÊÕ ÁŒ áÅТÒÇ-á´§ ลักษณะ รวิ คินสสี มและขาว-แดง ภาพรวม 20 คะแนน โหนกหลัง 15 คะแนน หัว 10 คะแนน ลําตวั รูปทรง 10 คะแนน ครบี หลัง 10 คะแนน ครบี หาง 10 คะแนน สี และเกล็ด 10 คะแนน การทรงตัว และการวายนา้ํ 10 คะแนน ครบี ทวาร และครบี อ่นื ๆ 5 คะแนน 100 คะแนน คะแนนรวม ÃÇÔ ¤Ô¹ËŒÒÊÕμÒÃÒ§·Õè 8 ¤Ðá¹¹ÊíÒËÃѺ»ÅҷͧÊÒ¾ѹ¸Ø ลักษณะ ริวคินหา สี ภาพรวม 20 คะแนน โหนกหลัง 10 คะแนน หวั 10 คะแนน ลําตวั รปู ทรง 10 คะแนน ครีบหลัง 10 คะแนน ครีบหาง 10 คะแนน สี และเกลด็ 15 คะแนน การทรงตวั และการวายนํา้ 10 คะแนน ครีบทวาร และครบี อ่ืนๆ 5 คะแนน คะแนนรวม 100 คะแนน 37

ตารางที่ 9 ลกั ษณะเดนของปลาทองสายพนั ธุ μÒ⻹ (Telescope eyes goldfish) ËÃÍ× àŋˏ (Black Moor) ลกั ษณะ เลหกระโปรง เลหต ุกตา ตาโปนหาสี นัยนต า ตามขี นาดใหญเสมอกัน ตามขี นาดใหญเ สมอกนั ตามขี นาดใหญเสมอกนั ตาโปนออกนอกเบา ตา ลําตัว มองไปดานหนาหรอื ตาโปนออกนอกเบาตามองไป ตาโปนออกนอกเบา ตา ดานขา งเสมอกนั ดา นหนาหรือดานขางเสมอกัน มองไปดานหนา หรอื กลมสัน้ ดานขางเสมอกนั กลมสั้น กลมสัน้ ครบี หลัง ตงั้ ตรงสูง ไมพ บั ตงั้ ตรงสงู ไมพับ ต้งั ตรงสงู ไมพ บั ครบี หาง หางยาวคลา ยกระโปรงสมุ หาง 3 หรือ 4 แฉก และเวาลกึ หาง 3 หรือ 4 แฉก สี คอ นขางหนายาวปานกลาง และเวา ลกึ หางไมตก รูปทรง และ การทรงตวั ดาํ สนทิ ดําสนิท หา สี (ฟา, แดง, ดํา, ครบี ทวาร ขาว, สม) หรอื ครบี กน เวลาหยุดจะนิ่งสนิท ไมห ยดุ นิ่งเปน เวลานาน การทรงตัวดี ครีบอ่นื ๆ วายนาํ้ ทรงตัวไดดี วายนา้ํ ทรงตัวไดด ี ครบี คูทเี่ สมอหรือครีบเดย่ี ว ครีบคทู ่ีเสมอหรอื ครบี เดย่ี ว ครบี คูท่ีเสมอหรือ ตรงกลางทข่ี ้ึนตามธรรมชาติ ตรงกลางทขี่ ้ึนตามธรรมชาติ ครบี เดี่ยวตรงกลาง ทขี่ ึน้ ตามธรรมชาติ ครีบคูยาวเสมอกนั ไมพ บั ครีบคูยาวเสมอกัน ไมพบั ครบี คยู าวเสมอกัน ไมพบั 38

ตาโปนญปี่ นุ เลห ค วาย ผีเสอื้ (หลงั อูฐ) μÒ⻹ (Telescope eyes goldfish) ËÃ×Í à ‹Åˏ (Black Moor) ตามีขนาดใหญเสมอกัน ตามีขนาดใหญเสมอกนั ตามขี นาดใหญเสมอกนั ตาโปนออกนอกเบา ตา ตาโปนออกนอกเบา ตา ตาโปนออกนอกเบา ตา มองไปดานหนา หรือ มองไปดานหนา หรือ มองไปดา นหนา หรอื ดา นขา งเสมอกนั ดานขางเสมอกัน ดา นขา งเสมอกัน กลมส้นั ขนาดใหญ คอ นขา งยาว กลมสั้น หลังยกสงู ตงั้ ตรงสูง ไมพบั ตงั้ ตรงสูง ไมพ ับ ทองอวนกลม หาง 3 หรือ 4 แฉก หางยาวเปนพวง และเวา ลึก ต้งั ตรงสูง ไมพ บั หาง 3 หรอื 4 แฉกสน้ั บานออกคลายผีเส้อื ขาวแดง, ขาวสม , สม หรอื ดําหรือนาก ดาํ หรือนาก ขาวดํา การทรงตัวดี การทรงตวั ดี การทรงตวั ดี ครีบคทู ่ีเสมอหรอื ครีบเดี่ยว ครบี คูท่เี สมอหรอื ครีบคทู ี่เสมอหรือ ตรงกลางที่ข้นึ ตามธรรมชาติ ครบี เดี่ยวตรงกลาง ครบี เดยี่ วตรงกลาง ทข่ี ึ้นตามธรรมชาติ ที่ขนึ้ ตามธรรมชาติ ครีบคยู าวเสมอกนั ไมพ ับ ครีบคยู าวเสมอกัน ไมพ ับ ครีบคูยาวเสมอกนั ไมพ ับ 39

μÒÃÒ§·èÕ 10 ¤Ðá¹¹ÊÒí ËÃºÑ »ÅҷͧÊÒ¾ѹ¸Ø μÒ⻹ ËÃÍ× àŋˏ ลกั ษณะ ตาโปน หรอื เลห  นัยนตา 18 คะแนน ลาํ ตัว 18 คะแนน ครบี หลงั 14 คะแนน ครีบหาง 18 คะแนน สี 18 คะแนน รปู ทรง และการทรงตัว 5 คะแนน ครีบทวาร หรอื ครบี กน 5 คะแนน ครบี อ่ืนๆ 4 คะแนน 100 คะแนน คะแนนรวม 40

ตารางท่ี 11 ลักษณะเดนของปลาทองสายพนั ธุ à¡Å´ç á¡ŒÇ (Pearl scale goldfish) ลกั ษณะ เกลด็ แกวหนาหนู เกลด็ แกว หัววนุ เกลด็ แกวหัวมงกุฎ หัว • ปากแหลม หนา ส้นั • มวี นุ • มีวนุ เปน กอนกลมเดียว เกล็ด ไมมวี ุน • เกลด็ พองโต เรียง • เกล็ดพองโต เรียง ลาํ ตัว • เกลด็ พองโต ไลขนาดเปน ระเบียบ ไลขนาดเปนระเบยี บ ขนาดสมํา่ เสมอ สี • เกล็ดบริเวณกลางลําตัว • เกลด็ บรเิ วณกลางลาํ ตวั ครีบหลัง • เกลด็ เรยี งเปน ระเบยี บ ขนาดใหญก วา สวนหัว ขนาดใหญกวาสว นหวั ครีบหาง กระจายท่ัวตวั สวนทา ย หลงั และทอ ง สว นทาย หลังและทอ ง รปู ทรง และ • มองจากดานบนลาํ ตัว • หลงั ตรง ทองอูมเปง • หลังตรง ทอ งอูมเปง การทรงตัว กลมสัน้ ครบี อ่ืนๆ • มีทกุ สี • มที ุกสี • หวั ทา ยแหลม ทอ งอมู เปง • ตัง้ ตรง • ตัง้ ตรง • มที กุ สี • หางสั้น • หางส้ัน • ครบี หางมี 3 หรอื 4 แฉก • ครบี หางมี 3 หรอื 4 แฉก • ต้งั ตรง ไมพับ ไมพ บั • หางยาวปานกลาง • ซา ยและขวาเสมอกนั • ซายและขวาเสมอกนั • ครีบหางมี 3 หรือ • การทรงตวั ดี • การทรงตวั ดี • ครบี คยู าวเสมอกนั ไมพ บั • ครบี คยู าวเสมอกนั ไมพ บั 4 แฉก ไมพ ับ • ซา ยและขวาเสมอกัน • การทรงตวั ดี • ครบี คยู าวเสมอกนั ไมพ บั 41

à¡Åç´á¡ÇŒμÒÃÒ§·èÕ 12 ¤Ðá¹¹ÊíÒËÃѺ»ÅҷͧÊÒ¾ѹ¸Ø ลักษณะ เกล็ดแกว หวั 18 คะแนน เกลด็ 18 คะแนน ลาํ ตวั 18 คะแนน สี 18 คะแนน ครบี หลงั 14 คะแนน ครบี หาง 5 คะแนน รปู ทรง และการทรงตัว 5 คะแนน ครีบอืน่ ๆ 4 คะแนน 100 คะแนน คะแนนรวม 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook