Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Description: 001

Search

Read the Text Version

 ⌫    วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม Wat Phrasriratana Sasdaram (Wat Phra Kaeo) or the Temple of the Emerald Buddha วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่เรียกกันอย่างสั้นๆ ว่า “วัดพระแก้ว” เป็นวัดที่ ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือ “พระแก้วมรกต” เป็นพระอารามหลวงที่ สรา้ งขน้ึ พรอ้ มพระบรมมหาราชวงั ใน พ.ศ. ๒๓๒๖ แลว้ เสรจ็ ใน พ.ศ. ๒๓๒๘ เมอ่ื วดั คบู่ า้ น คู่เมืองนี้สร้างเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ จึงได้ทรงประกอบพิธี บรมราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณีอีกครั้งหนึ่ง ภายในพระอารามหลวงแห่งนี้ใน ปี พ.ศ. ๒๓๒๘ วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นวัดที่มีเฉพาะเขตพุทธาวาส ไม่มีเขตสังฆาวาสให้ พระสงฆอ์ ยจู่ ำพรรษา ทง้ั นเ้ี ปน็ การสรา้ งตามธรรมเนยี มปฏบิ ตั มิ าแตโ่ บราณ ซง่ึ อาจมมี าแลว้ ตง้ั แตเ่ มอ่ื ครง้ั กรงุ สโุ ขทยั เชน่ ทว่ี ดั มหาธาตุ สนั นษิ ฐานวา่ เปน็ วดั ทอ่ี ยใู่ นเขตพระราชวงั สว่ นทพ่ี บ หลักฐานชัดเจนได้แก่ วัดพระศรีสรรเพชญที่อยู่ในเขตพระราชวังในสมัยกรุงศรีอยุธยา ทง้ั นเ้ี พอ่ื เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐานพระคบู่ า้ นคเู่ มอื ง ในกรณขี องกรงุ รตั นโกสนิ ทรจ์ งึ เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐาน พระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากร วดั พระศรรี ตั นศาสดารามตง้ั อยทู่ างดา้ นตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของพระบรมมหาราชวงั มีการแบ่งเขตระหว่างพระราชวังกับวัดโดยส่วนของวัดนั้นมีระเบียงคดล้อมรอบ ซึง่ ตั้งแต่เมื่อ แรกสรา้ งในรชั กาลท่ี ๑-๓ มพี ระอโุ บสถเปน็ ประธานของวดั ดา้ นหนา้ พระอโุ บสถมเี จดยี ท์ อง ๒ องค์ ประดษิ ฐานอยู่ มรี ะเบยี งคดลอ้ มรอบ ตอ่ มาไดม้ กี ารบรู ณปฏสิ งั ขรณค์ รง้ั ใหญใ่ นสมยั รชั กาลท่ี ๔ โดยมกี ารสรา้ งอาคารเพม่ิ เตมิ ใหมท่ ง้ั แถว ไดแ้ ก่ สวุ รรณเจดยี ์ มณฑป และปราสาท พระเทพบดิ ร และโปรดเกลา้ ฯ ใหช้ ะลอเจดยี ท์ องทง้ั คนู่ น้ั มาประดษิ ฐานดา้ นหนา้ ของปราสาท พระเทพบดิ รแทน และไดม้ กี ารขยายแนวระเบยี งคดใหมด่ งั ทป่ี รากฏอยใู่ นปจั จบุ นั “พระพุทธมหามณีรตั นปฏมิ ากร” พระพทุ ธประธานในพระอโุ บสถ Phra Buddha Maha Maniratana Patimakorn, the Emerald Buddha, the Principal Buddha Image in the Uposatha Hall.

  ⌫   ระเบยี งคดรอบวดั ทง้ั ๔ ดา้ น มปี ระตทู างเขา้ วดั ทง้ั หมด ๗ ประตู Seven gates of Wat Phra Kaeo. ทศิ ตะวนั ออกมี ๒ ประตู ไดแ้ ก่ ประตเู กยเสดจ็ (หนา้ ) และประตหู นา้ ววั ประตเู กยเสดจ็ (หนา้ ) เปน็ ประตทู ง่ี ดงามมาก มเี กยซง่ึ เปน็ ธรรมเนยี มโบราณไวส้ ำหรบั เวลาเสดจ็ ประพาสโดย ทรงมา้ หรอื ทรงชา้ ง และมพี ลบั พลาเปลอ้ื งเครอ่ื งอยตู่ ดิ กนั ประตเู กยเสดจ็ (หนา้ ) มยี อดประตู ทรงมงกฎุ ประดบั ดว้ ยกระเบอ้ื งหลากสี งดงามยง่ิ นกั ในยามทแ่ี สงอาทติ ยส์ าดสอ่ ง ทศิ เหนอื มี ๑ ประตู คอื ประตวู หิ ารยอด เปน็ ประตเู ขา้ ออกวดั ทต่ี รงกบั ประตพู ระบรม มหาราชวงั ทช่ี อ่ื วา่ “ประตมู ณนี พรตั น”์ ทศิ ตะวนั ตก มี ๓ ประตู ไดแ้ กป่ ระตพู ระฤๅษี ประตเู กยเสดจ็ (หลงั ) และประตสู นามไชย ทป่ี ระตเู กยเสดจ็ (หลงั ) มเี กยและพลบั พลาเปลอ้ื งเครอ่ื ง ทศิ ใต้ มี ๑ ประตู คอื ประตศู รรี ตั นศาสดาราม เปน็ ประตสู เู่ ขตพระราชฐานชน้ั กลาง เป็นทางสำหรับฝ่ายในพระบรมมหาราชวังออกมาทำบุญฟังเทศน์ ฟังธรรม ในปัจจุบันนี้เป็น ประตทู างออกของนกั ทอ่ งเทย่ี ว

 ⌫    “สรุ ยิ าภพ” กายสแี ดง “สหสั สเดชะ” กายสขี าว “ทศกณั ฐ”์ กายสเี ขยี ว Suriyaphop’s an imaginary Sahassadeja, the white giant, Thosagan, the king of all the being of human form but of is guarding the right side of the giants, has greenish complexion, superhuman size,or a giant, back gate. Thosagan is guarding the back Suriyaphop is guarding the door. front gate. ประตวู ดั พระศรรี ตั นศาสดาราม มยี กั ษป์ นู ปน้ั กายสงู ใหญ่ สงู ถงึ ๖ เมตร ประดบั เคลอื บสี อยา่ งประณตี งดงามเปน็ ทวารบาลเฝา้ ประตู ประตลู ะ ๒ ตน ซา้ ยขวาของประตู เชน่ ทป่ี ระตู เกยเสดจ็ (หนา้ ) มยี กั ษช์ อ่ื สรุ ยิ าภพ โอรสของสหายของทศกณั ฐ์ มกี ายสแี ดงฉานดงั แสงอาทติ ย์ สรุ ยิ าภพมหี อกเมฆพทั ทเ่ี ปน็ หอกวเิ ศษพระอศิ วรประทานให้ สรุ ยิ าภพไดใ้ ชห้ อกเมฆพทั ซง่ึ ยงั ปลกุ เสกไมค่ รบพนั คาบพงุ่ ถกู พระทรวง ของพระสตั รดุ สลบคาท่ี พระพรตเชษฐาของพระสตั รดุ จึงแผลงศรพรหมาสตร์สังหารสุริยาภพได้ ถ้าสุริยาภพปลุกเสกหอกเมฆพัทได้ครบพันคาบ จะไมม่ ผี ใู้ ดตา้ นทานได้ ยกั ษส์ รุ ยิ าภพเฝา้ ดา้ นซา้ ยของประตเู กยเสดจ็ (หนา้ ) ดา้ นขวาของประตเู กยเสดจ็ (หนา้ ) มยี กั ษอ์ นิ ทรชติ เฝา้ อนิ ทรชติ มสี กี ายเขยี ว จดั เปน็ เจา้ ฟา้ เอกเพราะเปน็ บตุ รของทศกณั ฐก์ บั นางมณโฑ อนิ ทรชติ เดมิ ชอ่ื รณภกั ตรก์ มุ าร มฤี ทธม์ิ าก ครั้งหนึ่งไปรบกับพระอินทร์แล้วชนะ จึงเปลี่ยนชื่อเป็นอินทรชิต แปลว่า “ผู้ชนะพระอินทร์” รปู ยกั ษอ์ นิ ทรชติ ทท่ี ำไวน้ ง้ี ดงามมสี งา่ อยา่ งยง่ิ สมกบั เปน็ ผมู้ ฤี ทธม์ิ อี าวธุ ศกั ดส์ิ ทิ ธท์ิ ไ่ี ดร้ บั จาก เทพเจา้ ทง้ั สามคอื พระอศิ วร พระนารายณ์ และพระพรหม อนิ ทรชติ ตายดว้ ยศรพรหมาสตร์ ของพระราม ประตทู ง้ั เจด็ ในวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม มยี กั ษเ์ ปน็ ทวารบาลอยคู่ หู่ นง่ึ ยกเวน้ แตป่ ระตู วหิ ารยอดไมม่ ยี กั ษท์ วารบาล โดยประตหู นา้ ววั มยี กั ษม์ งั กรกณั ฐ์ เปน็ ยกั ษก์ ายสเี ขยี ว กบั ยกั ษ์ วริ ฬุ หก เปน็ ยกั ษก์ ายสขี าบหรอื สนี ำ้ เงนิ แก่ ประตวู ดั พระศรรี ตั นศาสดามยี กั ษฝ์ าแฝดเปน็ ทวารบาล ดา้ นซา้ ยชอ่ื ทศครี ธี ร ดา้ นขวา ชื่อทศคีรีวัน ทั้งสองเป็นลูกทศกัณฐ์กับนางช้างจึงมีปลายจมูกเป็นงวงช้างขนาดเล็กพอเป็น เครอ่ื งหมาย

  ⌫   ประตพู ระฤๅษมี ยี กั ษน์ ามจกั รวรรดอิ ยดู่ า้ นซา้ ย จกั รวรรดเิ ปน็ สหายของทศกณั ฐค์ รองกรงุ มลิวัน ภายหลังเมื่อสิ้นทศกัณฐ์แล้วได้รบชนะพิเภก ซึ่งพระรามแต่งตั้งให้ครองกรุงลงกา พญายกั ษจ์ กั รวรรดมิ สี กี ายสขี าวบรสิ ทุ ธ์ิเปน็ ผมู้ ฤี ทธม์ิ าก ดา้ นขวาของประตพู ระฤๅษมี ยี กั ษน์ ามอศั กรรณมาราเฝา้ อยเู่ ปน็ ทวารบาล เปน็ พญายกั ษ์ ทเ่ี ปน็ สหายของทศกณั ฐอ์ กี ตนหนง่ึ อศั กรรณมารามสี กี ายสมี ว่ งแก่ เปน็ ผมู้ ฤี ทธม์ิ ากอกี ตนหนง่ึ ผใู้ ดรบกไ็ มช่ นะ ตอ้ งใหอ้ งคอ์ วตารของพระนารายณค์ อื พระรามแผลงศรพรหมาสตรจ์ งึ เอาชนะ อศั กรรณมาราได้ ประตเู กยเสดจ็ (หลงั )มพี ญายกั ษ์๒ตนทม่ี คี วามสำคญั มากทส่ี ดุ เปน็ ทวารบาล ดา้ นซา้ ย คอื ทศกณั ฐซ์ ง่ึ เปน็ ปรปกั ษต์ วั เอกกบั พระราม ทศกณั ฐม์ ี ๑๐ เศยี ร ๒๐ กร มสี กี ายสเี ขยี วเปน็ เจา้ ผคู้ รองกรงุ ลงกา ทำสงครามกบั พระรามหลายยกหลายตอน แลว้ มาสน้ิ ชวี ติ ในตอนทา้ ยเรอ่ื ง รามเกยี รต์ิ ดา้ นขวาของประตเู กยเสดจ็ (หลงั ) คอื พญายกั ษส์ กี ายสขี าว เจา้ เมอื งปางตาล มนี ามวา่ สหสั เดชะ สหสั เดชะมี ๑,๐๐๐ เศยี ร ๒,๐๐๐ กร มอี าวธุ วเิ ศษคอื กระบองตาล ประตสู นามไชยมไี มยราพ และวริ ญุ จำบงั เปน็ ทวารบาล พญายกั ษไ์ มยราพครองเมอื ง บาดาล มีสีกายสีม่วงอ่อน เป็นสหายของทศกัณฐ์ เคยเข้าสะกดทัพและลักพาพระรามไปขัง ในเมอื งบาดาล หนมุ านตามลงไปฆา่ ไมยราพตาย และชว่ ยพระรามขน้ึ มาได้ พญายกั ษว์ ริ ญุ จำบงั เปน็ โอรสพญาทษู ณ์ ผคู้ รองเมอื งจารกึ และเปน็ หลานของทศกณั ฐ์ วริ ญุ จำบงั มคี วามสามารถทางดา้ นแปลงกาย เคยแปลงกายเปน็ ไรนำ้ ไปซอ่ นอยใู่ นฟองอากาศ ในนำ้ แตห่ นมุ านกร็ ทู้ นั และจดั การฆา่ เสยี ประตูสุดท้ายคือประตูวิหารยอด เป็นประตูเดียวที่ไม่มีรูปปั้นยักษ์ทวารบาล มีแต่ ภาพยกั ษแ์ ละภาพวานรเขยี นไว้ ประตเู กยเสดจ็ (หลงั ) ประตกู ลาง ด้านทิศตะวันตก ยักษ์ทศกัณฐ์ ซ้าย ยกั ษส์ หสั เดชะ ขวา The back gate on the west has 2 guards; Sahassadeja and Thosagan.

 ⌫    “พระพุทธมหามณีรัตนปฏมิ ากร” พระพทุ ธประธานในพระอโุ บสถ Phra Buddha Maha Maniratana Patimakorn, the Principal Buddha Image in the Uposatha Hall. พระพทุ ธรปู ยนื ฉลองพระองค์ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก และพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั Two standing Buddhas dedicated to King Rama I and King Rama II. ภายในบรเิ วณวดั พระศรรี ตั นศาสดารามประกอบดว้ ยศาสนสถานและศาสนวตั ถตุ า่ งๆ ทน่ี บั เปน็ ยอดของฝมี อื ชา่ งในเวลาทจ่ี ดั สรา้ ง เชน่ พระอโุ บสถ ซง่ึ มพี ระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากร (พระแก้วมรกต) เป็นพระประธาน และมีพระพุทธรูปยืนองค์ใหญ่ ๒ องค์ ซึ่งฉลองพระองค์ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก และพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ศาลารายรอบพระอโุ บสถ Small pavilions around the Uposatha Hall. ศาลารายรอบพระอโุ บสถ ๑๒ หลงั เปน็ ศาลาโถงไมม่ ฝี า ในสมยั กอ่ นศาลารายเปน็ ท่ี มรรคทายกอ่านหนังสือธรรมะให้ประชาชนฟังเวลามีงาน จนเกิดประเพณีสวดโอ้เอ้วิหารราย

  ⌫   ขึ้นในวัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นที่แรก ต่อมาจึงมีการปฏิบัติอย่างเดียวกันในวัดอื่นๆ ในปจั จบุ นั ศาลารายเปน็ ทน่ี ง่ั พกั ของนกั ทอ่ งเทย่ี วแตไ่ มใ่ ชศ่ าลารายทส่ี รา้ งขน้ึ ในสมยั รชั กาลท่ี ๑ เพราะว่ารัชกาลที่ ๗ ได้โปรดเกล้าฯ ให้รื้อ ศาลารายของเก่าลงทั้งหมด แล้วสร้างขึ้นใหม่ ดงั ทเ่ี ปน็ อยใู่ นปจั จบุ นั พระอโุ บสถ พระอโุ บสถเปน็ อาคารแบบประเพณนี ยิ ม Front view of the Uposatha Hall, built in the traditional style. พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามรัชกาลที่ ๑ โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. ๒๓๒๖ เพอ่ื ประดษิ ฐานพระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากรและเปน็ วดั ในพระบรมมหาราชวงั ลักษณะของพระอุโบสถจัดเป็นแบบประเพณีนิยมที่สืบทอดมาจากกรุงศรีอยุธยาและมี ระเบียบเดียวกับวัดโดยทั่วไปในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้แก่การมีพระอุโบสถเป็น ประธานหลักของวัด มีระเบียงคดล้อมรอบ มีสิ่งปลูกสร้างสำคัญอื่นๆ ได้แก่ เจดีย์ มณฑป หอระฆงั หอพระมณเฑยี รธรรม ศาลาราย เปน็ ตน้ รปู แบบของพระอโุ บสถเปน็ อาคารแบบประเพณนี ยิ ม ไดแ้ ก่ การมหี ลงั คาซอ้ นชน้ั หลงั คา เปน็ เครอ่ื งลำยอง ประกอบดว้ ย ปา้ นลมทเ่ี ปน็ นาคลำยอง ชอ่ ฟา้ ใบระกา หางหงส์ สว่ นหนา้ บนั เปน็ งานไมแ้ กะสลกั เปน็ รปู พระนารายณท์ รงครฑุ สว่ นเสาเปน็ เสายอ่ มมุ มบี วั หวั เสาเปน็ บวั แวง มคี นั ทวยรองรบั ชายคา ลกั ษณะโดยรวมแลว้ เหมอื นกบั อาคารแบบประเพณนี ยิ มทน่ี า่ จะสบื ทอด มาจากกรงุ ศรอี ยธุ ยา และไดพ้ บอยใู่ นกลมุ่ วดั สำคญั ในสมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ ทม่ี ปี ระวตั วิ า่ เปน็ วดั ทม่ี มี าแลว้ ตง้ั แตเ่ มอ่ื ครง้ั กรงุ ศรอี ยธุ ยา เชน่ วดั สวุ รรณาราม เขตบางกอกนอ้ ย เปน็ ตน้

 ⌫    เชิงบาตรหรือเอวขันธ์เป็นครุฑยุดนาคเรียงล้อมรอบฐาน Above the foundation of the Uposatha Hall, at the part called Aew Khan, row of golden garudas adorn the foundation, signifying that the owner of the building is a descendant of Vishnu. อย่างไรก็ตามเนื่องจากวัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นวัดสำคัญในเขตพระบรมมหา- ราชวงั จงึ มงี านศลิ ปกรรมทม่ี ลี กั ษณะพเิ ศษตา่ งจากวดั โดยทว่ั ๆไปหลายประการ ในสว่ นของงาน ประดบั ตกแตง่ ตวั อยา่ งเชน่ สว่ นฐานอาคารทเ่ี รยี กวา่ เชงิ บาตรหรอื เอวขนั ธ์ ประดบั ดว้ ยแถว ครฑุ แบก ซง่ึ เปน็ ครฑุ ยดุ นาคเรยี งลอ้ มรอบฐาน การประดบั แนวครฑุ แบกนโ้ี ดยทว่ั ไปพบอยใู่ น งานประดับเจดีย์ ส่วนที่เป็นงานประดับฐานอาคารพบเฉพาะที่เป็นปราสาทที่ประทับของ พระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ สำคญั ซง่ึ พบหลกั ฐานแลว้ ตง้ั แตส่ มยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ซง่ึ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจาก เขมร การทอ่ี าคารมคี รฑุ แบกเปน็ สญั ลกั ษณท์ แ่ี สดงถงึ สวรรค์ หรอื อกี นยั หนง่ึ อาจตคี วามไดว้ า่ ผอู้ ยใู่ นอาคารนน้ั เปน็ เชอ้ื สายของพระนารายณ์ คติการประดับสิงห์เป็นอิทธิพลที่ได้รับมาจากเขมร Decoration with images of lion indicates the Khmer influence. นอกจากฐานครฑุ แบกแลว้ ยงั มกี ารตง้ั ปฏมิ ากรรมสงิ หส์ ำรดิ บนลานประทกั ษณิ ลอ้ มรอบ อกี ครง้ั หนง่ึ ลกั ษณะของสงิ หเ์ ปน็ แบบเขมรจงึ มกั กลา่ ววา่ เปน็ สงิ หท์ น่ี ำมาจากเขมร แตจ่ ากการ ตรวจสอบลักษณะทางศิลปกรรมโดยเฉพาะลวดลายแล้วน่าจะเป็นงานที่สร้างขึ้นเองในสมัย รัตนโกสินทร์ตอนต้น คติของการประดับฐานสิงห์ส่วนใหญ่พบอยู่ในสมัยอยุธยาตอนต้น

   ⌫   ที่ได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะเขมร ส่วนคติการประดับสิงห์ หรือช้างล้อม มีแนวความคิด เรอ่ื งของศนู ยก์ ลางจกั รวาลคอื การแสดงสญั ลกั ษณข์ องสวรรค์ และอาจใชใ้ นความหมายทาง พทุ ธศาสนาวา่ สงิ หห์ รอื ชา้ งเปน็ สตั วท์ ค่ี ำ้ จนุ จกั รวาลหรอื คำ้ จนุ พระพทุ ธศาสนา ผนงั ของพระอโุ บสถเปน็ ลาย พุ่มข้าวบิณฑ์ทำด้วยดินเผา ปดิ ทองประดบั ดว้ ยกระจกสี The walls of the Uposatha Hall are adorned with a Thai-style pattern, called phum-khao-bin, meaning heap of rice, which is made of baked clay, lacquered and gilted with gold leaf. ลักษณะพิเศษอีกประการหนึ่งของงานศิลปกรรมคือการประดับผนังพระอุโบสถ ดา้ นนอกเปน็ ลวดลายประดบั นนู ดอกทำดว้ ยดนิ เผาปดิ ทองประดบั กระจกสเี หลอื ง เปน็ ลาย กระหนกกา้ นแยง่ พมุ่ ขา้ วบณิ ฑ์ พระทวารและพระบญั ชร (ซมุ้ ประตแู ละหนา้ ตา่ ง) ซมุ้ ประตแู ละซมุ้ หนา้ ตา่ งเปน็ ซมุ้ ทรงยอดปราสาท On top of the doors and windows, a decoration in the form of the crest of a castle is a befitting embellishment. เปน็ ซมุ้ ยอดปราสาท ประกอบดว้ ยพระทวาร ดา้ นหนา้ ๓ ทาง ดา้ นหลงั ๓ ทาง พระทวาร กลางมขี นาดใหญก่ วา่ ดา้ นขา้ ง สว่ นพระบญั ชรมขี นาดเลก็ กวา่ พระทวารแตม่ รี ปู แบบเดยี วกนั

 ⌫     ทง้ั หมด การสรา้ งพระทวารและพระบญั ชรทเ่ี ปน็ ยอดปราสาทแสดงถงึ ฐานนั ดรสงู สดุ ในบรรดา พระอโุ บสถอน่ื นอกพระราชวงั กลา่ วคอื ลกั ษณะของปราสาทยอดของพระทวารและพระบญั ชร น้ี มรี ะบบของหลงั คาชน้ั ซอ้ นลดหลน่ั กนั แบบเสาตง้ั คานทบั ซง่ึ ตา่ งจากยอดปราสาทโดยทว่ั ไป ทจ่ี ะเปน็ แบบหลงั คาลดชน้ั ๑ หนา้ บนั หนา้ บนั พระอโุ บสถเปน็ งานแกะไม้ รูปนารายณ์ทรงครุฑ The gable of the Uposatha Hall is made of teak, carved to represent Naraya (Vishnu) on a garuda and gilted with gold leaf. เป็นงานเครื่องไม้แกะสลักลงรักปิดทองประดับกระจก ศิลปกรรมแบบประเพณีนิยม เปน็ ลายพระนารายณท์ รงครฑุ ตรงกลาง ลอ้ มรอบดว้ ยลายเครอื กา้ นขด ลกั ษณะลวดลายดงั กลา่ ว นิยมอยู่ในสมัยอยุธยาตอนปลาย ซึ่งสัญลักษณ์ของพระนารายณ์ทรงครุฑถือเป็นแบบแผน การสรา้ งวดั อยา่ งหนง่ึ ในสมยั โบราณซง่ึ สนั นษิ ฐานวา่ ใชเ้ ปน็ สญั ลกั ษณข์ องพระเจา้ แผน่ ดนิ ๑ สันติ เล็กสขุ มุ . ข้อมูลและมุมมอง : ศิลปะรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๔๘, หน้า ๕๓.

   ⌫   งานจติ รกรรมภายในพระอโุ บสถ ด้านหลังพระประธานเขียนเป็นภาพไตรภูมิด้านหน้าเป็นภาพมารผจญ Behind the Principal Buddha Image is a mural depicting the scenes from Te-Bhumi Khatha or story of the three worlds, In front of the Principal Buddha Image is the subduing of Mara. ตามประวัติกล่าวว่าแต่เดิมเป็นงานเขียนในสมัยรัชกาลที่ ๑ มีการซ่อมแซมในสมัย รชั กาลท่ี ๓ และการบรู ณะครง้ั สำคญั ในสมยั รชั กาลท่ี ๔ กลา่ ววา่ มกี ารเขยี นภาพจติ รกรรมใหม่ ทง้ั หมด นอกจากนย้ี งั มกี ารบรู ณะเพม่ิ เตมิ ในสมยั รชั กาลท่ี ๖ อกี ดว้ ย อยา่ งไรกต็ ามงานเขยี น ทั้งหมดยังเป็นงานจิตรกรรมแบบไทยประเพณีที่มีมาแต่ครั้งโบราณ ทั้งเรื่องราวและรูปแบบ ทเ่ี ขยี น กลา่ วคอื ผนงั สกดั ดา้ นหลงั พระประธานเขยี นเรอ่ื ง ไตรภมู โิ ลกสณั ฐาน ดา้ นหนา้ เปน็ พทุ ธประวตั ติ อนมารผจญ ผนงั ดา้ นขา้ งเหนอื กรอบหนา้ ตา่ งทง้ั ๒ ผนงั เขยี นภาพพทุ ธประวตั ิ ตอนตา่ ง ๆ เตม็ พน้ื ทแ่ี ละผนงั ระหวา่ งชอ่ งหนา้ ตา่ งเปน็ ภาพทศชาติ ซมุ้ สมี า Different styles of the structure for housing the boundary stones. มลี กั ษณะสำคญั คอื เปน็ ทรงเรอื นทม่ี หี ลงั คาเปน็ ปราสาทหา้ ยอด เปน็ เจดยี ท์ รงปราสาท ยอด มยี อดประธานตรงกลางเปน็ หลกั ทม่ี ขี นาดใหญก่ วา่ สว่ นองคอ์ น่ื เปน็ บรวิ ารประดบั เหนอื

 ⌫     สันหลังคา กล่าวกันว่าซุ้มสีมาวัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นซุ้มสีมาที่มีความงามมากที่สุด ซมุ้ สมี านน้ี า่ จะมมี าแลว้ ตง้ั แตเ่ มอ่ื แรกสรา้ งในสมยั รชั กาลท่ี ๑ และนา่ จะเปน็ งานทส่ี บื ตอ่ มาจาก สมัยอยุธยาตอนปลาย พระระเบยี งคด พระระเบยี งคดทร่ี ายลอ้ มพระราชวงั ทง้ั ๔ ดา้ นเปน็ หอ้ งยาวรายลอ้ มพระอาราม แบบ แผนเดียวกับพระระเบียงที่ปรากฏมาแล้วตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้น ในสมัยรัชกาลที่ ๑ นั้น พระระเบียงเป็นแนวตรงทั้งหมด ส่วนรูปแบบที่ปรากฏในปัจจุบันนี้เป็นงานที่ปฏิสังขรณ์ ขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาลที่ ๔ จึงมีแนวระเบียงคดที่ขยายและหักมุมเพิ่มขึ้นเพราะมีการสร้าง อาคารขึ้นใหม่หลายหลัง ที่ผนังของพระระเบียงคดมีภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ ตง้ั แตต่ น้ จนจบ รวม ๑๗๘ ภาพ พรอ้ มคำบรรยายใตภ้ าพ ภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ที่พระระเบียงคด นี้ได้รับการซ่อมแซมครั้งใหญ่ครั้งสุดท้ายเมื่อคราวฉลอง กรุงเทพฯ ๒๐๐ ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ The murals depicting the Ramayana on the covered walk along the inside walls around the Uposatha Hall was repaired in 1982. จิตรกรรมฝาผนังแห่งนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้โปรดเกล้าฯ ให้ ชา่ งเขยี นภาพเลา่ เรอ่ื งรามเกยี รตต์ิ ามทพ่ี ระองคท์ รงพระราชนพิ นธไ์ วเ้ ปน็ บทละครเรอ่ื งรามเกยี รต์ิ ซึ่งนับเป็นพระราชนิพนธ์ที่สำคัญที่สุดของพระองค์ ภาพเขียนทั้ง ๑๗๘ ภาพ ได้ซ่อมแซม หลายครั้ง คือในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และครง้ั สดุ ทา้ ยใน รชั กาลปจั จบุ นั เมอ่ื ครง้ั ฉลองกรงุ เทพฯ ครบ ๒๐๐ ปี ใน พ.ศ. ๒๕๒๕

  ⌫   พระเจดยี ท์ อง ๒ องค์ พระเจดีย์ทองคำลกั ษณะเป็นเจดีย์ทรงเครื่อง ตง้ั อยดู่ า้ นขา้ งปราสาทพระเทพบดิ ร The Golden Pagoda is in front of the Pavilion of the Royal Ancestors. แต่เดิมตั้งอยู่ด้านหน้าพระอุโบสถ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ได้โปรดเกล้าฯ ให้ชะลอเจดีย์ ทั้ง ๒ องค์นี้มาตั้งอยู่ในตำแหน่งปัจจุบัน ด้านข้างเหนือและใต้ของปราสาทพระเทพบิดร ลักษณะทางศิลปกรรมของเจดีย์ทองเป็นเจดีย์ทรงเครื่อง ประกอบด้วยฐานที่มียักษ์แบกชุด ฐานสงิ ห์ ๓ ฐาน มบี วั ทรงคลมุ่ รองรบั องคร์ ะฆงั ตง้ั แตฐ่ านถงึ องคร์ ะฆงั อยใู่ นผงั ยอ่ มมุ ไม้ ๒๐ สว่ นยอดเปน็ บวั ทรงคลมุ่ เถาและปลตี ามลำดบั เจดยี ท์ องจดั เปน็ งานศลิ ปกรรมทท่ี ำสบื ตอ่ มาจาก สมัยอยุธยาตอนปลายและเป็นแบบอย่างให้กับงานศิลปกรรมในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (รชั กาลท๑่ี -๓) พระอษั ฏามหาเจดยี ์ หรอื พระปรางคแ์ ปดองค์ ตามประวตั กิ ลา่ ววา่ จะเปน็ พระราชดำรขิ องพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกอยา่ งไรไมป่ รากฏหลกั ฐาน แตป่ รากฏในหมายรบั สง่ั ของพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งพระปรางคแ์ ปดองคใ์ น จ.ศ. ๑๑๙๖ (พ.ศ. ๒๓๗๗) โดยมีวัตถุประสงค์ในการสร้างที่ชัดเจน เพื่อให้เป็นตัวแทนของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์

 ⌫    พระสาวก พระภกิ ษณุ ี พระโพธสิ ตั ว์ และพระยาจกั ร และมหี มายรบั สง่ั ในพธิ บี รรจพุ ระบรมธาตุ ไวภ้ ายใน๒ พระปรางค์ทั้งแปดองค์ปัจจุบันได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์จนสวยงาม Eight Pagodas are beautifully repaired. รปู แบบศลิ ปกรรมเจดยี ท์ รงปรางคม์ ลี กั ษณะทางศลิ ปกรรมเหมอื นกนั ทกุ องค์ จะแตกตา่ ง กนั เฉพาะการประดบั กระเบอ้ื งทม่ี สี ตี า่ งกนั เทา่ นน้ั เรม่ิ จาก สว่ นฐาน ทำเปน็ ฐานเขยี งอยใู่ นผงั ๘ เหลย่ี ม ๒ ฐาน ฐานเขยี งชน้ั ท่ี ๒ มรี ะเบยี งลอ้ มรอบ เหมือนกับเป็นชั้นประทักษิณ ถัดจากฐานเขียงขึ้นไปเป็นชุดฐานสิงห์ ๓ ฐานในผังเพิ่มมุม อันเป็นลักษณะเฉพาะของเจดีย์ในสมัยรัชกาลที่ ๓ ส่วนเรือนธาตุ อยู่ในผังสี่เหลี่ยมเพิ่มมุม มกี ารเจาะชอ่ งจระนำประดษิ ฐานรปู เทวดาถอื พระขรรค์ มซี มุ้ ซอ้ นกนั ๒ ชน้ั ส่วนบน มีชั้นเชิงบาตรประดับด้วยยักษ์แบก ๑ ชั้น รองรับส่วนของเรือนชั้น ๖ ชั้น สว่ นบนนม้ี ลี กั ษณะเปน็ แทง่ สงู ชะลดู เกอื บไมม่ คี วามลาดเอยี งแบบเจดยี ท์ รงปรางคใ์ นสมยั กอ่ น หนา้ น้ี อนั ถอื เปน็ ลกั ษณะพเิ ศษของปรางคใ์ นสมยั นค้ี อื เปน็ แทง่ ตรงคลา้ ยทอ่ นซงุ การประดบั ในแต่ละชั้นที่เคยมีเสาตั้งและคานรับส่วนบนเป็นบรรพ์แถลงได้หายไปแล้ว เหลือเฉพาะการ ประดบั ใบ หรอื กลบี ขนนุ ดา้ นหนา้ แนบกบั องคป์ รางค์ และประดบั กลบี ขนนุ ทกุ มมุ ๒ หมายรบั ส่ัง ร.๓ จ.ศ. ๑๑๙๖ เรอ่ื งบนั จพุ ระปรางค์ ๘ องค์ เลขท่ี ๑ ตู้ ๑๑๘ ชัน้ ๑/๑ มัดท่ี ๑, หอสมุดแห่งชาต.ิ

  ⌫   การประดับกลีบขนุนปรางค์มีที่มาจากปราสาทขอม การทำเรือนชั้นที่มีเสาตั้งและ คานทบั นน้ั เปน็ การยอ่ เรอื นฐานในแตล่ ะชน้ั ตรงกลางมกี ารประดบั ดว้ ยบรรพแ์ ถลง และทม่ี มุ ในชน้ั ลา่ งสดุ มกี ารประดบั นาคปกั อนั เปน็ สญั ลกั ษณแ์ ละแสดงถงึ ความเปน็ เรอื นฐานนั ดรสงู ๓ แตม่ าถงึ ในสมยั นร้ี ปู แบบดงั กลา่ วแสดงใหเ้ หน็ ถงึ พฒั นาการทางดา้ นรปู แบบทห่ี า่ งจากตน้ แบบ คอื ปราสาทขอม และเจดยี ท์ รงปรางคใ์ นสมยั อยธุ ยาตอนตน้ อยา่ งมาก จงึ เหลอื เพยี งงานประดบั เฉพาะทก่ี ลบี ขนนุ ซง่ึ แนบตดิ กบั องคป์ รางคเ์ ทา่ นน้ั หอพระมณเฑยี รธรรม เปน็ ทเ่ี กบ็ พระไตรปฎิ ก The Library containing the Tri-pitaka or the complete version of Dhamma books. คือหอไตรสำหรับเก็บพระไตรปิฎก สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๑ แต่เดิมเป็นหอไตร กลางสระน้ำตั้งอยู่ทางทิศเหนือของพระอุโบสถเป็นที่เก็บพระไตรปิฎกฉบับทองใหญ่ ต่อมา ถกู เพลงิ ไหม้ จงึ สรา้ งแทนขน้ึ ใหมโ่ ดยยา้ ยมาอยมู่ มุ ระเบยี งคดทางดา้ นทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื สมเด็จกรมพระราชวังบวรสถานมงคลได้ทรงส่งช่างวังหน้ามาช่วยสร้าง จึงมีลักษณะของ งานชา่ งบางอยา่ งทเ่ี ปน็ ฝมี อื ชา่ งวงั หนา้ เชน่ คนั ทวยรปู พญานาค เปน็ ตน้ พระศรรี ตั นเจดยี ์ เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ไดม้ าจากลงั กา พระศรรี ตั นเจดยี ส์ รา้ งขน้ึ ใน พ.ศ. ๒๓๙๘ โดยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ - เจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นโดยถ่ายแบบมาจากเจดีย์ประธานวัดพระศรีสรรเพชญ ๓ สันติ เล็กสุขุม, เจดยี ์ ความเปน็ มาและคำศพั ทเ์ รยี กองคป์ ระกอบเจดยี ใ์ นประเทศไทย,พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๔ (กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน , ๒๕๔๕), หน้า ๑๐๗.

 ⌫    พระนครศรอี ยธุ ยา เปน็ เจดยี ท์ ก่ี อ่ อฐิ ถอื ปนู ประดบั กระเบอ้ื งโมเสกทอง ภายในประดษิ ฐาน เจดีย์ขนาดเล็กที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระศรีรัตนเจดีย์ The Sri Ratana Chedi. ลักษณะของเจดีย์ที่มีการถ่ายแบบนี้มีลักษณะใกล้เคียงกับต้นแบบเจดีย์ประธาน วดั พระศรสี รรเพชญอยา่ งมากเพยี งแตข่ นาดและสดั สว่ นบางอยา่ งตา่ งออกไปเทา่ นน้ั กลา่ วคอื เปน็ เจดยี ท์ รงระฆงั แบบอยธุ ยา มฐี านบวั ๑ ฐานรองรบั มาลยั เถา องคร์ ะฆงั มบี ลั ลงั กส์ เ่ี หลย่ี ม ทก่ี า้ นฉตั รมเี สาหานซง่ึ ถอื เปน็ ลกั ษณะเฉพาะของเจดยี ท์ รงระฆงั สมยั อยธุ ยา สว่ นทเ่ี หมอื นกบั เจดยี ว์ ดั พระศรสี รรเพชญคอื การมมี ขุ ทย่ี น่ื ออกมาทง้ั ๔ ดา้ น และหลงั คามกี ารประดบั เจดยี ย์ อด ซง่ึ ตามปรกตแิ ลว้ จะไมม่ สี ว่ นน้ี พระมณฑป The Mondop, situated between the Pavilion of the Royal Ancestors and the Sri Ratana Chedi. ตง้ั อยตู่ รงกลางระหวา่ งปราสาทพระเทพบดิ รและพระศรรี ตั นเจดยี ์ สรา้ งขน้ึ สมยั รชั กาล ท่ี ๑ แทนทห่ี อไตรทถ่ี กู ไฟไหมส้ รา้ งขน้ึ เพอ่ื เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐานพระไตรปฎิ กฉบบั ทองทโ่ี ปรดเกลา้ ฯ

  ⌫   ใหส้ งั คายนา พระมณฑปนไ้ี ดร้ บั การซอ่ มครง้ั ใหญใ่ นสมยั รชั กาลท่ี ๕ และรชั กาลท่ี ๖ มกี าร เปลย่ี นเครอ่ื งบน ลงรกั ปดิ ทอง ประดบั กระจกสเี หลอื ง หลังคามณฑปมีลักษณะเป็นแบบพระมหาปราสาท เช่นพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระทน่ี ง่ั จกั รมี หาปราสาท คอื เปน็ หลงั คาทรงกรวย เอนลาดลดหลน่ั กนั แตล่ ะชน้ั มกี ารจำลอง เรอื นประดบั คอื มหี ลงั คาจำลองเลก็ ๆ ทเ่ี รยี กวา่ บรรพแ์ ถลง มนี ากปกั ประดบั ลกั ษณะของการ ทำเรอื นชน้ั ซอ้ นแบบนเ้ี ปน็ สญั ลกั ษณข์ องฐานนั ดรสงู อนั หมายถงึ ปราสาท๔ สว่ นยอดปราสาท เหนอื เรอื นชน้ั เปน็ เจดยี ย์ อ่ มมุ ตอ่ ดว้ ยสว่ นชน้ั ซอ้ นทค่ี ลา้ ยยอดปรางค์ เรยี กวา่ เหม ตอ่ ดว้ ยปลี และปลียอดตามลำดับ ที่ซุ้มพระทวารปิดทองประดับกระจกเป็นลายกำมะลอสีทองพื้นม่วง ทำรปู เซย่ี วกาง บนบานประตภู ายในมณฑปทำเปน็ กรอบวงกลม ๘ ดวง เปน็ ภาพในวรรณคดี เรื่องรามเกียรติ์ ๗ ภาพ ส่วนภาพสุดท้ายทำเป็นรูปหงส์ของจีน และมุมอาคารพระมณฑป ทง้ั ๔ มมุ ประดษิ ฐานพระพทุ ธศลิ าสลกั ปราสาทพระเทพบดิ ร The Pavilion of the Royal Ancestors. เดมิ ชอ่ื พระพทุ ธปรางคป์ ราสาท ตอ่ มานยิ มเรยี กกนั วา่ ปราสาทพระเทพบดิ รมากกวา่ สรา้ งขน้ึ ในสมยั รชั กาลท่ี ๔ เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๓๙๘ และมาแลว้ เสรจ็ ในรชั กาลท่ี ๕ พทุ ธปรางค์ ปราสาทเป็นที่ประดิษฐานพระบรมรูปพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีตั้งแต่รัชกาลที่๑ ถงึ รชั กาลท่ี ๘ เปน็ สถานทส่ี ำคญั ทเ่ี ปดิ แตเ่ ฉพาะวนั สำคญั ของชาติ คอื วนั จกั รี วนั ฉตั รมงคล วนั สงกรานต์ วนั ปยิ มหาราช และวนั เฉลมิ พระชนมพรรษาในรชั กาลปจั จบุ นั ๔ สนั ติ เลก็ สขุ มุ . ข้อมูลและมุมมอง : ศิลปะรัตนโกสินทร์. ๒๕๔๘, หน้า ๖๐.

 ⌫    ปราสาทพระเทพบดิ รเปน็ อาคารจตั รุ มขุ ทรงไทย ทม่ี มี ขุ ยน่ื ออกมาทง้ั ๔ ดา้ น มสี ว่ น หลังคาเป็นแบบทรงโรงซ้อนชั้น มีเครื่องลำยอง ประดับช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ที่พิเศษคือ ส่วนยอด ได้นำเอาแบบอย่างของปรางค์มาไว้เป็นส่วนยอด ปราสาทพระเทพบิดรจึงมี สญั ลกั ษณข์ องอาคารทรงปราสาทดว้ ย เพยี งแตย่ อดเปน็ ทรงปราสาทแบบปรางคค์ อื เปน็ เรอื น ชั้นซ้อน ส่วนปราสาทที่เป็นพระที่นั่งจะเป็นเรือนชั้นซ้อนที่มียอดเป็นทรงกรวย ปราสาทพระเทพบิดรถือเป็นงานศิลปกรรมสำคัญในสมัยรัชกาลที่ ๔ ที่เป็นปรางค์ เพราะเจดยี ท์ รงปรางคไ์ ดห้ มดความนยิ มลงแล้วในรชั กาลน้ี ปราสาทพระเทพบดิ รมรี ปู แบบท่ี ใกลเ้ คยี งกนั คอื พทุ ธปรางคป์ ราสาททว่ี ดั พชิ ยญาตกิ ายาราม ทส่ี รา้ งขน้ึ ในรชั กาลท่ี ๓ ทผ่ี นงั ของปราสาทกอ่ อฐิ ฉาบปนู ประดบั กระเบอ้ื งเคลอื บสลี ายพมุ่ ขา้ วบณิ ฑ์ ฝมี อื ชา่ ง ที่ก่อสร้างงดงามประเสริฐยิ่ง บันไดด้านตะวันออกเป็นรูปหล่ออัปสรสีห์ ๒ ตน ที่คนนิยม ถา่ ยทำเปน็ ภาพโพสคารด์ แพรห่ ลายไปทว่ั โลก หลงั คาเปน็ แบบจัตรุ มขุ ลด ๔ ชน้ั ยอดนพศลู เปน็ รปู พระมหามงกฎุ โลหะปดิ ทอง หอระฆงั The Belfry. ตง้ั อยชู่ ดิ พระระเบยี งดา้ นทศิ ใตข้ องพระอโุ บสถ สรา้ งขน้ึ ในสมยั รชั กาลท่ี ๔ อาจสรา้ งขน้ึ ในทเ่ี ดมิ ทเ่ี คยมมี าแลว้ ตง้ั แตเ่ มอ่ื ครง้ั รชั กาลท่ี ๑ และมงี านบรู ณะซอ่ มแซมในสมยั รชั กาลท่ี ๕ โดยการลงรกั ปดิ ทอง ประดบั กระจก และสว่ นลา่ งประดบั กระเบอ้ื งเคลอื บสี ภายในแขวนระฆงั ทน่ี ำมาจากวดั สระเกศ รปู แบบหอระฆงั มฐี านยกเปน็ แทน่ สงู ลกั ษณะเปน็ หอ้ งสเ่ี หลย่ี มยอ่ มมุ เปน็ จำนวนมาก คลา้ ยกบั มณฑปหลงั หนง่ึ มปี ระตทู างเขา้ ไปภายใน เพอ่ื ขน้ึ ไปขา้ งบนหอระฆงั ตวั หอระฆงั เปน็ ทรงมณฑปยอดปราสาท ประกอบดว้ ยชดุ ฐานสงิ ห์ ๒ ฐานทส่ี ลบั ดว้ ยชน้ั เอวขนั ธ์ ตวั เรอื นทแ่ี ขวน ระฆังประกอบด้วยเสารองรับส่วนยอด ไม่มีผนัง ส่วนยอดเป็นทรงปราสาทแบบยอดของ ปราสาทพระทน่ี ง่ั ทเ่ี ปน็ หลงั คาซอ้ นชน้ั ทรงกรวย มเี หมและปลแี ละปลยี อดตามลำดบั

  ⌫   หอพระโพธธิ าตพุ มิ าน The Pavilion for the Buddha’s relics. สรา้ งขน้ึ ในสมยั รชั กาลท่ี ๔ เปน็ มณฑปยอดมงกฎุ เพอ่ื ประดษิ ฐานเจดยี ท์ รงปรางค์ ขนาดเลก็ หอนต้ี ง้ั อยบู่ นฐานเดยี วกนั และอยรู่ ะหวา่ งหอพระราชพงศานสุ รและหอพระราชกร- มานุสร แตเ่ ดมิ ส่วนยอดเป็นปรางคแ์ ต่ในสมยั รชั กาลท่ี ๕ ได้โปรดเกลา้ ฯ ให้แกแ้ บบเป็นทรง มงกุฎแทน มีงานตกแต่งประดับด้วยกระเบื้องถ้วย ภายในประดิษฐานพระปรางค์ บรรจุ พระบรมสารีริกธาตุจากพุทธคยา หอพระราชกรมานสุ รและหอพระราชพงศานสุ ร หอพระราชกรมานุสร หอพระราชพงศานุสร The Pavilion The Pavilion Honoring the Honoring the former 34 Ratanakosin Kings, Ayudhaya Kings, containing well containing 34 adorned Buddhas Buddha Images wearing an emperor’s dedicated to them. attire. สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๔ ตั้งอยู่ด้านหลังของพระอุโบสถ หอพระราชกรมานุสรอยู่ ดา้ นทศิ เหนอื หอพระราชพงศานสุ รอยดู่ า้ นทศิ ใต้ หอทง้ั สองหลงั เปน็ อาคารทรงโรงทม่ี หี ลงั คา แบบประเพณนี ยิ ม หอพระราชกรมานสุ รเพอ่ื ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ๓๔ องค์ ทส่ี รา้ งขน้ึ ถวาย พระเจา้ แผน่ ดนิ เมอ่ื ครง้ั กรงุ เกา่ ภายในเขยี นจติ รกรรมฝาผนงั เรอ่ื งพระราชพงศาวดารกรงุ เกา่ เขยี นโดยขรวั อนิ โขง่ สว่ นหอพระราชพงศานสุ ร สรา้ งขน้ึ เพอ่ื ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ปางตา่ ง ๆ

 ⌫    ที่เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องอย่างจักรพรรดิราช สร้างขึ้นเพื่ออุทิศถวายพระเจ้าอยู่หัวและ พระบรมวงศานวุ งศ์ ภายในเขยี นภาพจติ รกรรมเรอ่ื ง พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ หนา้ บนั ของหอราชพงศานสุ รดา้ นทศิ ใตเ้ ปน็ รปู พระมหามงกฏุ พระราชสญั ลกั ณป์ ระจำรชั กาลท่ี ๔ The Royal Crown, emblem of King Rama IV,adorns the gable of the Pavilion Honoring the Ratanakosin Kings. มขี อ้ สงั เกตคอื ทห่ี นา้ บนั ของหอทง้ั ๒ นป้ี ระดบั ตราพระลญั จกรของ ๔ รชั กาล ไดแ้ ก่ หนา้ บนั หอพระราชกรมานสุ รดา้ นทศิ เหนอื เปน็ รปู อนุ าโลม พระราชสญั ลกั ษณป์ ระจำรชั กาล ท่ี ๑ ดา้ นทศิ ใตเ้ ปน็ รปู ครฑุ ยดุ นาค พระราชสญั ลกั ษณป์ ระจำรชั กาลท่ี ๒ หนา้ บนั ดา้ นทศิ เหนอื ของหอพระราชพงศานุสร เปน็ รปู พระวมิ าน พระราชสญั ลักษณป์ ระจำรชั กาลท่ี ๓ และดา้ น ทศิ ใตเ้ ปน็ รปู พระมหามงกฎุ พระราชสญั ลกั ษณป์ ระจำรชั กาลท่ี ๔ พระเศวตกฎุ าคารวหิ ารยอดหรอื วหิ ารขาว The White Vihara. สรา้ งขน้ึ ในสมยั รชั กาลท่ี ๑ เพอ่ื เปน็ หอพระทป่ี ระดษิ ฐานพระเทพบดิ ร พระนาก และ พระศลิ า วหิ ารยอดนแ้ี ตเ่ ดมิ เมอ่ื รชั กาลท่ี ๑ ทรงใหก้ อ่ สรา้ งเรยี กวา่ “วหิ ารขาว” อนั เปน็ ทม่ี าของ ชอ่ื เตม็ ของวหิ ารนว้ี า่ “พระเศวตกฎุ าคารวหิ ารยอด” ตอ่ มารชั กาลท่ี ๓ ทรงรอ้ื ลงและสรา้ งใหม่ อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนี้ ในรัชกาลที่ ๕ โปรดเกล้าฯ ให้ซ่อมแซมหลังคาและยอดมงกุฎ ซมุ้ ประตแู ละบานหนา้ ตา่ ง ในรชั กาลท่ี ๗ กโ็ ปรดเกลา้ ฯ ใหบ้ รู ณะครง้ั ใหญพ่ ระวหิ ารยอดเปน็

  ⌫   อาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มียอดเป็นซุ้มทรงมงกุฎประดับกระเบื้องถ้วย บานประตูประดับมุก ฝมี อื ชา่ งในรชั สมยั ของพระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา เปน็ บานประตทู น่ี ำมาจาก วหิ ารพระนอน วดั ปา่ โมก จงั หวดั อา่ งทอง หอพระนาก Hor Phra Nag or The Pavilion of the Buddha Image made of an alloy of gold and copper. ตง้ั อยทู่ างทศิ เหนอื ตดิ กบั พระระเบยี ง สรา้ งขน้ึ ในสมยั รชั กาลท่ี ๑ ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู หลอ่ ดว้ ยนาก เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐานพระบรมอฐั พิ ระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระบวรราชเจ้ากรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลที่ ๑, ๒ และ ๓ และเป็นที่เก็บอัฐิ เจา้ นายฝา่ ยใน หอพระคนั ธารราษฎรแ์ ละพระมณฑปยอดปรางค์ Hor Phra Gantharath and the Mondop with a top in the shape of a pagoda, Phra Gantharath is known as the Buddha Image who can call rain. เป็นหอพระซึ่งอยู่บนฐานไพทีเล็กๆเดียวกัน อยู่ด้านหน้าพระอุโบสถริมพระระเบียง ดา้ นตะวนั ออก เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐานพระคนั ธารราษฎร์ ซง่ึ ประชาชนทว่ั ไปในสมยั กอ่ นถอื วา่ เปน็

 ⌫    พระ “เรียกฝน” เป็นพระพุทธรูปสำคัญที่ใช้บูชาในพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนา ขวญั รชั กาลท่ี ๑ ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหห้ ลอ่ ขน้ึ เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๓๒๖ กลา่ วคอื องคพ์ ระคนั ธารราษฎร์ หลอ่ ขน้ึ กอ่ น สว่ นหอพระคนั ธารราษฎรส์ รา้ งขน้ึ ในสมยั รชั กาลท่ี ๔ The Mondop with a top in the shape of a pagoda containing the chedi that King Rama IV brought from Sukhodaya. ส่วนมณฑปยอดปรางค์รัชกาลที่ ๔ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อประดิษฐานเจดีย์ ที่ทรงอัญเชิญมาจากเมืองเหนือ (เมืองเก่าสุโขทัย) และพระแท่นมนังคศิลาอาสน์ที่ทรง นำมาจากกรงุ สโุ ขทยั ไวห้ นา้ หอนด้ี ว้ ย พระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากร (พระแกว้ มรกต)๕ The Emerald Buddha. พระแก้วมรกตหรือพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ประดิษฐานในพระอุโบสถ วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม (วดั พระแกว้ ) มปี ระวตั คิ วามเปน็ มา จากตำนานและพงศาวดารกลา่ วถงึ ๕ สรปุ ความจาก ศกั ดช์ิ ยั สายสงิ ห.์ “พระแกว้ มรกตคอื พระพทุ ธรปู ลา้ นนาทม่ี คี วามสมั พนั ธท์ างดา้ นรปู แบบกบั พระพทุ ธรปู หนิ ทรายสกลุ ชา่ งพะเยา”,พระแกว้ มรกต.ศลิ ปวฒั นธรรมฉบบั พเิ ศษ, กรงุ เทพฯ : สำนกั พมิ พ์ มตชิ น ๒๕๔๖,หนา้ ๓๑๒-๓๒๓.

  ⌫   ทม่ี าไวห้ ลายกระแส สว่ นใหญแ่ ลว้ กลา่ วถงึ ทางดา้ นปาฏหิ ารยิ เ์ ปน็ สำคญั ในสว่ นทป่ี รากฏใน ตำนานของชาวล้านนากล่าวว่าพระแก้วมรกตนั้นสร้างขึ้นที่เมืองปาตลีบุตร ประเทศอินเดีย และไดอ้ ญั เชญิ ไปยงั เกาะลงั กาและอาณาจกั รตา่ งๆ ไดแ้ ก่ พกุ าม กมั พชู า ตอ่ มาไดเ้ ขา้ มายงั ดินแดนไทยยังเมืองต่างๆ คือ ละโว้ อยุธยา กำแพงเพชร จนกระทั่งมาถึงอาณาจักรล้านนา เท่าที่พบหลักฐานและสามารถสืบค้นได้คือ ประวัติพระแก้วมรกตจากพงศาวดารซึ่งกล่าวว่า ไดพ้ บพระแกว้ มรกตในปี พ.ศ. ๑๙๑๗ ตรงกบั สมยั ของพระเจา้ สามฝง่ั แกนพระมหากษตั รยิ ์ แหง่ อาณาจกั รลา้ นนา โดยพบในเจดยี อ์ งคห์ นง่ึ ในเมอื งเชยี งรายเมอ่ื เจดยี ถ์ กู ฟา้ ผา่ ทลายลงมา๖ (ชอ่ื วา่ วดั ปา่ เฮยี ะ ปจั จบุ นั คอื วดั พระแกว้ อำเภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งราย) หลังจากพบแล้วได้มีการอัญเชิญเพื่อจะมาประดิษฐานยังเมืองเชียงใหม่ แต่ก็เกิด ปาฏิหาริย์ทำให้พระแก้วมรกตนั้นต้องมาประดิษฐานอยู่ที่วัดพระแก้วดอนเต้า เมืองลำปาง จนมาถงึ รชั สมยั ของพระเจา้ ตโิ ลกราช (พ.ศ.๑๙๙๘-พ.ศ.๒๐๓๐) เมอ่ื คราวทส่ี รา้ งวดั เจดยี ห์ ลวง เสรจ็ แลว้ จงึ ไดอ้ ญั เชญิ พระแกว้ มรกตจากนครลำปางมาประดษิ ฐานในจระนำซมุ้ ดา้ นทศิ ตะวนั ออก ของเจดีย์หลวงเมืองเชียงใหม่ จนมาถึงเมื่อคราวพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช พระอุปราชแห่ง อาณาจกั รลา้ นชา้ งมาปกครองลา้ นนาเปน็ เวลา๒ ปี(ระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๐๘๙-๒๐๙๐) พระราชบดิ า ไดเ้ สดจ็ สวรรคต พระเจา้ ไชยเชษฐาจงึ เสดจ็ กลบั ไปครองอาณาจกั รลา้ นชา้ งพรอ้ มกบั อญั เชญิ พระแก้วมรกตไปยังหลวงพระบาง๗ และภายหลังได้ย้ายไปประดิษฐานยังวัดพระแก้วในนคร เวยี งจนั ท์ จนกระทง่ั ถงึ สมยั พระเจา้ ตากสนิ มหาราชแหง่ กรงุ ธนบรุ จี งึ ไดไ้ ปอญั เชญิ พระแกว้ มรกต จากเวยี งจนั ทม์ ายงั กรงุ ธนบรุ โี ดยสมเดจ็ เจา้ พระยามหากษตั รยิ ศ์ กึ และเมอ่ื ยา้ ยเมอื งหลวงมาเปน็ กรงุ เทพ มหานครแลว้ จงึ ไดส้ รา้ งพระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดารามเพอ่ื ประดษิ ฐานมาจนถงึ ทกุ วนั น้ี รปู แบบศลิ ปกรรมของพระแกว้ มรกต พระแก้วมรกตตามความจริงแล้วเนื้อวัสดุนั้นไม่จัดเป็นมรกตแต่เป็นเพียงหินสีเขียว ชนิดหนึ่ง จากรูปแบบศิลปะของพระแก้วมรกตเป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ ประทับนั่ง ขัดสมาธิราบเหนือฐานหน้ากระดานเกลี้ยง มีพระพักตร์ค่อนข้างกลมคล้ายกับพระพุทธรูป ล้านนาระยะแรก (ซึ่งมีลักษณะที่สำคัญคือ ขัดสมาธิเพชร พระพักตร์กลม พระรัศมีเป็นตุ่ม ๖ ประชากจิ กรจกั ร, พระยา. (แชม่ บนุ นาค), พงศาวดารโยนก, พระนคร, คลงั วทิ ยา, พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๕, ๒๕๐๗, หนา้ ๓๔๓-๓๔๕. ๗ เรื่องเดียวกัน.หนา้ ๓๘๙.

 ⌫    คลา้ ยดอกบวั ตมู และชายสงั ฆาฏสิ น้ั เหนอื พระถนั ตามทน่ี ยิ มเรยี กวา่ “แบบเชยี งแสนสงิ หห์ นง่ึ ”๘) ตา่ งจากพระแกว้ มรกตทป่ี ระทบั นง่ั ขดั สมาธริ าบ มชี ายสงั ฆาฏยิ าวจรดพระนาภี ซง่ึ เปน็ ลกั ษณะ ที่ได้รับอิทธิพลศิลปะสุโขทัยเข้ามาผสมแล้วด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงเชื่อว่าพระแก้วมรกตเป็น พระพุทธรูปที่สร้างขึ้นในอาณาจักรล้านนา ช่วงที่ล้านนาเริ่มรับอิทธิพลของศิลปะสุโขทัย ซง่ึ สนั นษิ ฐานไวว้ า่ ระยะการสรา้ งพระแกว้ มรกตนา่ จะอยรู่ ะหวา่ ง พ.ศ. ๑๙๑๓-๑๙๗๙๙ A closer look at the Emerald Buddha. โดยได้พบหลักฐานสนับสนุนว่าพระแก้วมรกตนั้นน่าจะสร้างขึ้นในล้านนาและเป็น ฝีมือช่างในแหล่งที่พบคือแถบเมืองเชียงราย–พะเยา กล่าวคือได้พบพระพุทธรูปหินทราย ในสกุลช่างพะเยากลุ่มหนึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับพระแก้วมรกตทั้งเรื่องของรูปแบบและ เทคนคิ การสรา้ งจงึ นา่ จะเปน็ ขอ้ สนบั สนนุ ทางดา้ นรปู แบบไดแ้ นวทางหนง่ึ ๑๐ และจากตำนาน ที่กล่าวถึงประวัติความเป็นมาและการค้นพบล้วนเกี่ยวข้องกับท้าวมหาพรหมในรัชกาลของ พระเจ้ากือนาและมีการค้นพบในสมัยของพระเจ้าสามฝั่งแกน ด้วยเหตุนี้จึงสามารถตั้งข้อ สงั เกตถงึ ทม่ี าไดด้ งั นค้ี อื พระแกว้ มรกตอาจสรา้ งขน้ึ ทเ่ี มอื งเชยี งรายในสมยั ของทา้ วมหาพรหม ทั้งนี้โดยสันนิษฐานจากรูปแบบศิลปะที่เป็นการผสมผสานระหว่างพระพุทธรูปแบบเชียงแสน สงิ หห์ นง่ึ กบั พระพทุ ธรปู สโุ ขทยั จงึ นา่ จะสรา้ งขน้ึ ในราวตน้ ถงึ กลางพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๐ ๘ ปัจจุบันนิยมเรียกศิลปะเชียงแสนว่าศิลปะล้านนาแต่เพื่อให้เกิดความเข้าใจและป้องกันการสับสนเมื่อจะกล่าวถึง พระพุทธรูป จึงยังคงนิยมเรียกพระพุทธรูประยะแรกของศิลปะล้านนาว่าแบบเชียงแสนสิงห์หนึ่งตามที่คุ้นเคยกันมา แตเ่ ดมิ (มอี ายรุ าวตน้ พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙-๒๐) ๙ ฉวีงาม มาเจริญ, พระแก้วมรกต, กรงุ เทพฯ : กรมศลิ ปากรจดั พิมพเ์ ผยแพร่, ๒๕๒๘, หนา้ ๑๘. ๑๐ ดูใน ศักดิ์ชัย สายสิงห์ “ ความสัมพันธ์ด้านรูปแบบระหว่างพระพุทธรูปหินทรายสกุลช่างพะเยากับพระแก้วมรกต” เมืองโบราณ, ปีที่ ๒๐, ฉบับที่ ๒, เมษายน-มิถุนายน ๒๕๓๗, หน้า ๗๙-๘๑.

  ⌫   พระพทุ ธรปู ทรงเครอ่ื งอยา่ งจกั รพรรดริ าช พระพทุ ธรปู ทรงเครอ่ื งอยา่ งจกั รพรรดริ าช ประดษิ ฐานในวดั พระศรรี ตั นศาสดารามนน้ั ส่วนใหญ่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระพุทธรูปขึ้นและ เรยี กวา่ “พระพทุ ธรปู ทรงเครอ่ื งตน้ อยา่ งพระมหาจกั รพรรด”ิ ๑๑ สว่ นใหญเ่ ปน็ พระพทุ ธรปู หลอ่ ดว้ ยสำรดิ แลว้ หมุ้ ดว้ ยทองคำ ทรงเครอ่ื งตน้ อยา่ งพระมหาจกั รพรรดิ ลายลงยาราชาวดี ประดบั ดว้ ยเนาวรตั น์ วตั ถปุ ระสงคท์ ท่ี รงสรา้ งเพอ่ื อทุ ศิ ถวายพระราชกศุ ลแดส่ มเดจ็ พระบรู พมหากษตั รยิ ์ ในอดีต ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลในพระองค์เอง และทรงอุทิศพระราชกุศลพระราชทาน พระบรมวงศานวุ งศ์ ๑๒ ปจั จบุ นั พระพทุ ธรปู สำคญั ทท่ี รงสรา้ งชดุ นห้ี มหู่ นง่ึ ประดษิ ฐานภายใน หอพระสลุ าลยั พมิ าน และอกี หมหู่ นง่ึ ประดษิ ฐานทฐ่ี านชกุ ชขี องพระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากร (พระแกว้ มรกต) ภายในพระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดารามฯ ลักษณะศิลปกรรมของพระพุทธรูปทรงเครื่องต้นอย่างพระมหาจักรพรรดิที่ พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงสถาปนาขน้ึ น้ี สว่ นใหญม่ พี ทุ ธลกั ษณะทใ่ี กลเ้ คยี งกนั ทุกพระองค์ โดยมีลักษณะร่วมคือ เป็นพระพุทธรูปยืน ยกพระหัตถ์ทั้ง ๒ ข้างขึ้นแสดงปาง ประทานอภัย (ปางห้ามสมุทร) ทรงเครื่องต้นอย่างพระมหาจักรพรรดิ คือ ทรงชฎามงกุฎ ประกอบด้วยกรรเจียกจร ทรงกรองศอ มีทับทรวง พาหุรัด ทองกร แหวนรอบปะวะหล่ำ พระธำมรงค์ทุกนิ้วพระหัตถ์ แสดงการครองจีวรไว้ด้านในมีทั้งกลุ่มที่ห่มเฉียงและห่มคลุม มีเครื่องประดับจีวรอีกชั้นหนึ่ง ประกอบด้วยสายรัดองค์ประดับปั้นเหน่งรูปดอกไม้และมี สุวรรณกระถอบห้อยอยู่ การนุ่งสบงมีผ้าจีบหน้านาง มีเจียระบาดและชายไหวชายแครง ซอ้ นกนั ๓ ชน้ั ทพ่ี ระบาททรงรองพระบาทและฉลองพระบาทเชงิ งอน พระพทุ ธรปู ทรงเครอ่ื งตน้ อยา่ งพระมหาจกั รพรรดิ หมทู่ ป่ี ระดษิ ฐานภายในพระอโุ บสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีองค์สำคัญที่สุด ๒ องค์ ได้แก่ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกและ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั เปน็ พระพทุ ธรปู ยนื ขนาดใหญส่ ดุ (สงู ๓๐๐ เซนตเิ มตร) ประดษิ ฐาน เบื้องขวาและเบื้องซ้ายของพระแก้วมรกต ส่วนพระพุทธรูปสำคัญรองลงมาส่วนใหญ่ ประดิษฐานตามมุม พระเบญจาของฐานชุกชีของพระแก้วมรกต จำนวน ๑๐ องค์ มีขนาด เล็กกว่า ๒ องค์แรก (สูงโดยเฉลี่ยประมาณ ๒๖๐-๒๙๐ เซนติเมตร) พระพุทธรูปทรงเครื่อง ทง้ั หมดในหมนู่ เ้ี องทส่ี นั นษิ ฐานวา่ พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงสรา้ งขน้ึ เพอ่ื อทุ ศิ พระราชกศุ ลถวาย และพระราชทานสมเดจ็ พระบรู พมหากษตั รยิ าธริ าชเจา้ สมเดจ็ พระบวรราชเจา้ สมเดจ็ พระบรมราชวงศ์ ๑๑ คณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทยและจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี, “หมายรับสั่ง รชั กาลท่ี ๓ ร.ศ. ๑๑๙๓ เลขที่ ๓ เร่ืองให้ต้ังการจารึกพระนามพระพุทธรปู ๖ ศอก ลงในแผน่ พระสุพรรณบัฏและ บรรจพุ ระบรมธาต”ุ ประชมุ หมายรับสัง่ ภาค ๔ ตอนท่ี ๑ สมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาล พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จ.ศ. ๑๑๘๖-๑๒๐๓, หน้า ๗๔-๗๕ ๑๒ อา้ งจาก ม.ร.ว. สรุ ิยวฒุ ิ สุขสวัสดิ์, พระพทุ ธปฏมิ าในพระบรมมหาราชวงั , หน้า ๙๙.

 ⌫    และพระบรมราชวงศ์ ไดแ้ ก่ พระพทุ ธรปู ฉลองพระองคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก พระพทุ ธรปู ฉลองพระองคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั พระพทุ ธรปู ฉลองพระองค์ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท พระพุทธรูปฉลองพระองค์สมเด็จพระบวรราชเจ้า มหาเสนานุรักษ์ พระพุทธรูปฉลองพระองค์กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข พระพุทธรูป ฉลองพระองคส์ มเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมสมเดจ็ พระเทพสดุ าวดี พระพทุ ธรปู ฉลองพระองคส์ มเดจ็ ฯ เจ้าฟ้ากรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์ พระพุทธรูปฉลองพระองค์กรมสมเด็จพระศรีสุลาลัย พระพทุ ธรปู ฉลองพระองคส์ มเดจ็ ฯ กรมหลวงศรสี นุ ทรเทพ พระพทุ ธรปู ฉลองพระองคพ์ ระเจา้ ลกู เธอกรมหมน่ื อปั สรสดุ าเทพ พระคนั ธารราษฎร์ ประดิษฐานในหอพระคันธารราษฎร์ รัชกาลที่ ๑ ได้โปรดเกล้าฯ ให้หล่อขึ้นเมื่อ ปีพ.ศ. ๒๓๒๖ เป็นพระพุทธรูปสำคัญที่ใช้บูชาในพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัล แรกนาขวัญ เพื่อการขอฝน ลักษณะพระพุทธรูปแสดงปางที่ต่างจากพระพุทธรูปโดยทั่วไป คือยกพระหัตถ์ขวาขึ้นกวักเรียกฝน พระหัตถ์ซ้ายรองรับเมล็ดฝน พระคันธารราษฎร์เป็นพระพุทธรูปประทับนั่งขัดสมาธิราบ แสดงปางดังกล่าวแล้ว ข้างต้น ที่มีลักษณะพิเศษคือการครองจีวรห่มเฉียงแสดงลักษณะของริ้วจีวรแบบจีน ส่วนพระพักตร์นิ่งดูอ่อนเยาว์ แบบแผนพระพุทธรูปที่พบในรัชกาลที่ ๑ และต่อมาในสมัย รัชกาลที่ ๓ พระรัศมีเป็นดอกบัวตูม พระสมั พทุ ธพรรณี รชั กาลท่ี ๔ โปรดเกลา้ ฯ ใหห้ ลอ่ ขน้ึ ตง้ั แตย่ งั ทรงผนวชในสมยั รชั กาลท่ี ๓ เมอ่ื พระองค์ ครองราชย์แล้วได้โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญมาประดิษฐานบนฐานชุกชีภายในพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดารามแทนที่พระพุทธสิหิงค์ที่อัญเชิญไปประดิษฐานยังพระที่นั่ง พทุ ไธสวรรค์ วงั หนา้ ลกั ษณะของพระสมั พทุ ธพรรณเี ปน็ พระพทุ ธรปู ปางสมาธิ ขดั สมาธริ าบ มีลักษณะสำคัญที่ถือเป็นแบบแผนเฉพาะของพระพุทธรูปที่รัชกาลที่ ๔ มีพระราชนิยมคือ พระพทุ ธรปู ไมม่ อี ษุ ณษี ะ วดั พระศรรี ตั นศาสดารามมอี าคารและศลิ ปวตั ถงุ ดงามนา่ ชมอกี มากทไ่ี มส่ ามารถนำมา กล่าวไว้ในหนังสือนี้ได้หมดสิ้น เป็นเรื่องที่แต่ละท่านควรเลือกดูเลือกชื่นชมเอง แต่ละท่าน มีรสนิยมไม่เหมือนกัน บางท่านซาบซึ้งในความงามของพระมณฑป บางท่านชอบภาพวาด รปู ยกั ษแ์ ละรปู ลงิ บางทา่ นขอถา่ ยรปู กบั ยกั ษส์ งู ๖ เมตร ทย่ี นื ถอื ตะบองนา่ เกรงขาม อยา่ งไร กต็ ามวดั พระศรรี ตั นศาสดารามยากทจ่ี ะดไู ดจ้ บสน้ิ ในวนั เดยี ว จงึ พบวา่ มปี ระชาชนจำนวนไมน่ อ้ ย ที่แวะเวียนมานมัสการวัดคู่บ้านคู่เมืองแห่งนี้บ่อยๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook