Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (ฉบับเต็ม)

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (ฉบับเต็ม)

Description: วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (ฉบับเต็ม)

Search

Read the Text Version

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 45 คือการยืนบริหารกายท่าฤา ษีดัดตนพ้ืนฐานของ ตัวอย่างอย่างเป็นระบบ (Systemic Random สถาบันการแพทย์แผนไทย จำนวน 5 ท่า ท่าละ Sampling แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 385 คน กลุ่ม 10 คร้ัง ขยับกาย 60 ครั้งต่อนาที ใช้เวลา 30 ควบคุม 291 คน กลุ่มทดลองเป็นกลุ่มผู้ป่วยเบา นาที ตามลำดับดังน ้ี หวานที่มารับบริการท่ีสถานีอนามัยที่ให้การส่ง ทา่ ที่ 3 ยดึ เหยียดแขน (ประสานมอื ระดบั เสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ชุดหลัก ล้ินปี่ ชูมือเหนือศีรษะ วาดมือออกข้างไปด้าน ธรรมานามัย โดยเร่ิมจากทีมผู้วิจัยฝึกอบรมเจ้า หลงั กำหมัดประกบเอว นวดไปกลางหลัง) หน้าท่ีสถานีอนามัยให้มีความรู้ในการส่งเสริมสุข ท่าท่ี 4 แก้เกียจ (ประสานมือระดับลิ้นปี่ ภาพด้วยการแพทย์แผนไทย และฝึกปฏิบัติผู้ป่วย หงายมือเหยียดแขนไปทางซ้าย ไปทางขวา ไป เบาหวาน ให้มีความรู้ในหลักปฏิบัติด้านจิตตานา ดา้ นหน้า ชเู หนือศรี ษะ วางบนศีรษะ) มัยจากการสวดคาถาชินบัญชรเป็นประจำก่อน ท่าท่ี 10 ก้าวบิดตัว (ยืนก้าวเท้าซ้าย นอน ด้านกายานามัยโดยการออกกำลังกายด้วย มือขวาแตะสะโพก ย่อตัวลงด้านหน้าหันหน้าไป “กายบริหารท่าฤา ษีดัดตนแบบกันทรลักษ์” ทางขวา กลับมาท่าเดิม ยืนก้าวเท้าขวามือซ้าย และด้านชีวิตานามัยโดยการให้ความรู้การรับ แตะสะโพก ย่อตัวลงด้านหน้าหันไปทางซา้ ย) ประทานอาหารตามธาตุ หลังจากนั้น ทีมผู้วิจัย ท่าที่ 9 ดำรงกาย (กำมือซ้อนกันระดบั อก มอบเอกสารคู่มือการฝึกปฏิบัติการสวดคาถาชิน ย่อตัวลงช้าๆ ยืดตวั ขึน้ ชา้ ๆ) บัญชรและการออกกำลังกายด้วย “กายบริหาร ท่าที่ 13 นวดขา (มือจับต้นขา นวดจาก ท่าฤา ษีดัดตนแบบกันทรลักษ์” ให้ไปปฏิบัติต่อที่ ตน้ ขาถงึ ข้อเท้า นวดจากขอ้ เทา้ ถงึ ต้นขา) บ้านและจะมีการติดตามโดยเจ้าหน้าที่สถานี หมายเหตุ : หลักเกณฑ์การกำหนดท่าใน อนามัย ซึ่งจะมีการทบทวนการปฏิบัติทุกครั้งท่ีผู้ การปฏิบัติ “กายบริหารท่าฤา ษีดัดตนแบบ ป่วยมารับบริการที่คลินิกเบาหวาน ส่วนกลุ่ม กันทรลักษ์” พิจารณาจากความเหมาะสม และ ควบคุมเป็นผู้ป่วยเบาหวานท่ีมารับบริการท่ีสถานี ความสะดวกในการนำไปปฏิบัติได้ทุกสถานท่ีของ อนามัยท่ีมีการดูแลผู้ป่วยเบาหวานตามปกติแต่ ผปู้ ่วย ไม่มีการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ชุดหลักธรรมานามัย เก็บข้อมูลเบื้องต้นโดยให้ผู้ ป่วยตอบแบบสอบถามเองโดยใช้แบบสอบถาม ระเบยี บวธิ วี จิ ัย ขอ้ มูลส่วนบคุ คล และประเมนิ คุณภาพชวี ิตโดยใช้ การวิจัยครงั้ นีเ้ ปน็ การศึกษาวจิ ยั กึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) ในผู้ป่วย แบบวัดคุณภาพชีวิตชุดย่อขององค์การอนามัย เบาหวานท่ีได้รับการส่งต่อสู่ชุมชน (FBS <150 โลก WHO QOL-BREF (WHO,2004) ประเมิน Mg%, B.P <=140/90 mmHg และไม่มีโรค การรับรู้คุณภาพชีวิตท้ัง 4 ด้าน ได้แก่ ด้าน แทรกซ้อน) จำนวน 676 คน สุ่มเลือกกลุ่ม ร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม

46 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ปีที่ 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 และด้านสภาพแวดล้อม เป็นข้อมูลก่อนการ ว่า เริ่มป่วยเมื่ออายุเฉล่ีย 50.06 ปี ระยะเวลา ทดลองท้ังกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมและหลัง ป่วยโดยเฉลี่ย 7 ปี 2 เดือน ระดับน้ำตาลอยู่ จากท่เี จ้าหนา้ ท่ีสถานีอนามยั สง่ เสรมิ ติดตามให้ผู้ ระหว่าง 70 – 120 mg.% รักษาโรคเบาหวาน ป่วยปฏิบัติตามแนวทางอย่างต่อเนื่องเป็นระเวลา ด้วยการแพทย์แผนปัจจุบัน รองลงมาคือรักษา 2 เดือน เก็บข้อมูลคร้ังท่ี 2 เป็นข้อมูลหลังการ แบบผสมผสานระหว่างการแพทย์แผนไทยและ ทดลอง การแพทย์แผนปัจจุบัน ร้อยละ 81.21 และ 16.72 ตามลำดับ การปฏิบัติตนเพ่ือควบคุม ระดับน้ำตาลใช้การรับประทานยาตามแพทย์ส่ัง การวิเคราะห์ขอ้ มลู ทางสถิติ ร่วมกับออกกำลังกาย ควบคุมอาหารและน่ัง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการ เจ็บป่วยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าความถี่ ร้อยละ สมาธิ/สวดมนต์ มีการเข้าร่วมกิจกรรมของคลินิก เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตกลุ่มทดลองและกลุ่ม เบาหวานเป็นประจำ รอ้ ยละ 56.21 สว่ นใหญ่ไม่ ควบคุมก่อนและหลังการส่งเสริมสุขภาพด้วยการ เคยใช้บริการแพทย์แผนไทยท่ีสถานีอนามัย ร้อย แพทย์แผนไทย โดยใช้สถิติ Paired-Samples T ละ 45.7 ส่วนกิจกรรมแพทย์แผนไทยที่ผู้ตอบ test และ Independent-Samples T test แบบสอบถามเคยใช้บริการที่สถานีอนามัยมาก ทสี่ ดุ คอื น่ังสมาธหิ รอื สวดมนต ์ 2. ระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานที่ถูก ผลการศึกษา ส่งกลบั ชุมชน เกณฑ์ในการแบ่งระดับคะแนนคุณภาพ 1. ขอ้ มลู ทั่วไป ผปู้ ่วยเบาหวานกลุ่มตวั อยา่ งสว่ น ใหญเ่ ปน็ หญงิ ร้อยละ 78.99 อายเุ ฉลีย่ 57.26 ปี ชีวิต โดยรวมและรายด้าน แบ่งโดยพิจารณาจาก สถานภาพสมรสคู่ การศึกษาระดับประถมศึกษา ค่าพิสัยของคะแนนรวม (สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล รายได้เฉลี่ยต่อเดือนน้อยกวา่ 1,000 บาท อาศัย และคณะ, 2545) ดังน ้ี อยู่กับคูส่ มรส ลักษณะท่ัวไปด้านการเจบ็ ปว่ ย พบ องค์ประกอบ คุณภาพชีวติ ไม่ด ี คณุ ภาพชีวติ ปานกลาง คณุ ภาพชวี ติ ดี 1. ดา้ นรา่ งกาย 7-16 17-26 27-35 2. ดา้ นจติ ใจ 6-14 15-22 23-30 3. ด้านสัมพันธภาพทางสงั คม 3-7 8-11 12-15 4. ด้านสง่ิ แวดล้อม 8-18 19-29 30-40 26-60 61-95 96-130 คณุ ภาพชวี ติ โดยรวม

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 47 ตารางท่ี 1 คุณภาพชีวิตก่อนการทดลองระหว่างผู้ป่วยเบาหวานท่ีได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยแพทย์ แผนไทย (กลุ่มทดลอง) กับผู้ป่วยเบาหวานท่ีไม่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย (กลุ่ม ควบคมุ ) คุณภาพชีวติ ด้านต่างๆ กลุ่มทดลอง กล่มุ ควบคุม x- SD x- SD 1. ด้านรา่ งกาย 23.10 3.71 23.56 3.79 P-value 2. ด้านจิตใจ 20.60 3.26 21.34 3.80 0.112 3. ดา้ นความสมั พันธ์ทางสงั คม 9.58 0.41 10.00 0.44 0.002 4. ด้านส่ิงแวดล้อม 27.15 0.42 28.08 0.43 0.007 87.15 0.49 89.71 0.42 0.003 คณุ ภาพชีวติ โดยรวม 0.003 ตารางท่ี 2 คณุ ภาพชีวติ หลงั การทดลองระหว่างผู้ป่วยเบาหวานท่ีได้รบั การสง่ เสริมสขุ ภาพด้วยแพทย์ แผนไทย (กลุ่มทดลอง)กับผู้ป่วยเบาหวานท่ีไม่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย (กลุ่ม ควบคุม) คณุ ภาพชีวิตด้านตา่ งๆ กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม x- SD x- SD 1. ดา้ นรา่ งกาย 22.60 2.96 22.84 2.92 P-value 2. ดา้ นจติ ใจ 22.24 3.37 21.52 3.32 0.331 3. ด้านความสมั พันธ์ทางสงั คม 9.83 1.67 9.48 1.73 0.005 4. ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม 28.16 3.66 27.40 3.80 0.009 89.81 10.39 88.24 10.35 0.009 คุณภาพชวี ติ โดยรวม 0.05

48 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ปที ี่ 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 ตารางที่ 3 คณุ ภาพชวี ติ ก่อนและหลังการทดลองผู้ป่วยเบาหวานที่ไดร้ บั การสง่ เสริมสขุ ภาพดว้ ยแพทย์ แผนไทย (กล่มุ ทดลอง) คุณภาพชวี ติ ดา้ นต่างๆ กลมุ่ ทดลอง กลมุ่ ควบคมุ x- SD x- SD 1. ดา้ นร่างกาย 23.10 3.71 23.56 3.79 P-value 2. ดา้ นจิตใจ 20.60 3.26 21.34 3.80 0.112 3. ดา้ นความสมั พันธท์ างสงั คม 9.58 0.41 10.00 0.44 0.002 4. ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม 27.15 0.42 28.08 0.43 0.007 87.15 0.49 89.71 0.42 0.003 คุณภาพชวี ิตโดยรวม 0.003 วิจารณ์และสรุป ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุมีแนวโน้มการปฏิบัติธรรม จากการศึกษาพบว่าคุณภาพชีวิตหลังการ เป็นประจำอยู่แล้ว ดังนั้นเม่ือมีการรวมกลุ่มสวด ให้การสง่ เสรมิ สขุ ภาพด้วยการแพทยแ์ ผนไทย ทงั้ คาถาชินบัญชรท่ีเป็นที่รู้จักและศรัทธาเป็นอย่างดี สองกลุ่มยังคงมีระดับคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ใน มีการเดินจงกรมร่วมกัน และปฏิบัติอย่าง ระดับปานกลางเหมือนเดิมทำให้ไม่สามารถสรุป สม่ำเสมอ จึงส่งผลทำให้จิตใจเกิดสมาธิ มีความ ได้ว่าโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์ สงบมากขึ้น คุณภาพชีวิตดีข้ึน รวมถึงด้านสังคม แผนไทยชุดหลักธรรมานามัยเป็นเคร่ืองมือที่มีผล และสิ่งแวดล้อม ที่กลุ่มทดลองมากกว่ากลุ่ม ต่อการเพ่ิมข้ึนของคุณภาพชีวิตผู้ป่วยเบาหวานได้ ควบคุม ท้ังนี้อาจเน่ืองจากในกระบวนการจัด อย่างชัดเจนท้ังนี้อาจเน่ืองจาก การไม่สามารถ กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ควบคุมปัจจัยด้านอ่ืน ๆ ได้ท้ังหมด เช่น การรับ ในคลินิกเบาหวานเป็นการจัดกระบวนการกลุ่ม ประทานอาหารของผู้ป่วย ความถี่และระยะเวลา ของผปู้ ว่ ยทม่ี ี อายุ การศกึ ษาและลกั ษณะโรคทค่ี ลา้ ย ในการออกกำลังกาย หรือการพักผ่อนตามระยะ กัน ดงั น้นั เมือ่ ได้มารวมกลุม่ มีการพูดคุย ปรึกษา เวลาที่เหมาะสม แต่เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า หารือด้วยความเออ้ื อาทรซงึ่ กนั และกัน จึงทำใหม้ ี กลุ่มทดลองมีคุณภาพชีวิตด้านจิตใจเพิ่มเป็น ความรู้สึกท่ีดีมากขึ้น แตกต่างจากคุณภาพชีวิต ระดับดี ส่วนกลุ่มควบคุมอยู่ในระดับปานกลาง ด้านร่างกายพบว่าก่อนและหลังทดลอง ไม่แตก เช่นเดิม ท้ังน้ีอาจเนื่องจากในโปรแกรมการส่ง ต่างกัน สอดคล้องกับผลการศึกษาท่ีพบว่าผู้ป่วย เสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยชุดหลัก ส่วนใหญ่มีการปฏิบัติตนในการควบคุมน้ำตาล ธรรมานามัย มีกิจกรรมหลักได้แก่ การนั่งสมาธิ โดยการรับประทานยาตามแพทย์สั่งร่วมกับการ การสวดมนต์ การเดินจงกรม ผู้ป่วยเบาหวานซี่ง ออกกำลังกาย เพียงร้อยละ 7.99 ซึ่งแสดงให้

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 49 เห็นว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังมีพฤติกรรการดูแล กติ ติกรรมประกาศ สุขภาพที่ไม่เหมาะสมแม้จะมีการส่งเสริมให้ออก กำลังกายด้วยท่ากายบริหารฤา ษีดัดตนที่ได้มีการ พ.ต.ท.ผศ.ดร.นภดล ทองนพเนื้อ และ ศึกษามาแล้วว่ามีความเหมาะสมสำหรับผู้ป่วย คณาจารย์จากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย เบาหวาน (ปัณสุข., 2552) ดังนั้นจึงควรมีการ ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ท่ีได้ใหค้ วามรแู้ ละคำแนะนำใน ศึกษาเพิ่มเติมถึงปัจจัยหรือแรงจูงใจใดท่ีมีผลต่อ การศึกษาวิจัย. สำนักวิชาการ กรมพัฒนาการ พฤติกรรมการออกกำลังกายของผ้ปู ่วยเบาหวาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ท่ีริเริ่ม จากข้อมูลส่วนหน่ึงพบว่าผู้ป่วยเบาหวานส่วน โครงการพัฒนานักวิจัยเชิงระบบ. กองทุนภูมิ ใหญ่ไม่เคยใช้บริการแพทย์แผนไทยที่สถานี ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย์ แ ผ น ไ ท ย ที่ ส นั บ ส นุ น ง บ อนามยั ถงึ ร้อยละ 45.7 ทงั้ ที่สถานีอนามยั แทบ ประมาณ. นายแพทย์วันชัย เหล่าเสถียรกิจ ผู้ ทุกแห่งในอำเภอกันทรลักษ์มีการจัดบริการ อำนวยการโรงพยาบาลกันทรลักษ์ นายปัญญา แพทย์แผนไทยและในทางตรงกันข้ามพบว่ามีผู้ พละศกั ด์ิ สาธารณสุขอำเภอกันทรลักษ ์ หวั หน้า ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมคลินิกเบาหวานที่สถานี สถานีอนามัยทุกแห่งและทีมงานแพทย์แผนไทย อนามัยอยู่เป็นประจำร้อยละ 56.21 ท้ังนี้อาจ คปสอ.กันทรลักษ์ ท่ีได้ช่วยเหลือสนับสนุนการ เป็นได้ว่าการจัดบริการแพทย์แผนไทยในสถานี เก็บข้อมูลและคุณประคองศิลป์ โพทะเลศ และ อนามัยยังไม่ตอบสนองความต้องการของผู้ป่วย ทีมงานที่ช่วยทำการวิเคราะห์ข้อมูล จนสำเร็จ เบาหวาน ดังน้ันจึงควรที่จะมีการศึกษาเพ่ิมเติม ลลุ ่วงไปด้วยดี ถึงการนำระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการ เอกสารอา้ งอิง แพทย์แผนไทยและการบำบัดรักษาแบบองค์รวม เข้ามาในระบวนการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน 1. กลุ่มงานวิชาการ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ เพื่อประโยชน์ต่อผู้ป่วยในการเปล่ียนแปลง การแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการ พฤติกรรมสุขภาพให้แข็งแรงท้ังทางร่างกาย และ ดำเนินงานในศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย จติ ใจ การแพทย์แผนไทยและการอบรมทางเลือก 8 อ. พิมพ์คร้ัง สรุป โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพด้วย ที่ 1. กรุงเทพมหานคร; 2552. การแพทย์แผนไทยชุดหลักธรรมานามัย สามารถ 2. จันทร์จรัส จันทร์จารุพงศ์. ผลการส่งเสริมการดูแลสุขภาพ เป็นทางเลือกหน่ึงในการเพ่ิมคุณภาพชีวิตของผู้ แบบองค์รวมต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมี ป่วยเบาหวานได้ โดยเฉพาะการดูแลด้านจิตใจ บำบัด. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา ด้านการสร้างสัมพันธภาพทางสังคมและสิ่ง สุขศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพมหานคร; แวดลอ้ ม 2547. 3. จิณณพัต ธีรอภิศักด์ิกุล. คุณภาพชีวิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลินในโรงพยาบาลสมเด็จ พระพทุ ธเลิศหล้า จังหวดั สมุทรสงคราม; 2551. 4. จีรนุช สมโชค. คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรม์ หาบัณฑติ สาขาวชิ าการ พยาบาลผู้ใหญ่. กรุงเทพมหานคร; มหาวิทยาลัยมหิดล. ; 2540.

50 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปที ี่ 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 5. ฉตั รณรงค์ พฒุ ทอง, เชดิ เกยี รติ แกลว้ กสกิ จิ , พกิ ลุ แกลว้ กสกิ จิ . 12. วัลลา ตันตโยทัย, อดิสัย สงดี. โรคเบาหวานและการรักษา ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมารับบริการแพทย์แผนไทยในหน่วย เล่ม 1 กรงุ เทพมหานคร: พทิ กั ษ์การพิมพ;์ 2538. บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ จังหวัดพิษณุโลก. การศึกษา 13. ศลาฆนันท์ หงส์สวัสด์ิ. คุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเบาหวาน ค้นคว้าด้วยตนเอง ส.ม. สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชจอมบึง จังหวัดราชบุรี. มหาวทิ ยาลัยนเรศวร; 2551. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกบริหาร 6. เทพ หิมะทองคำ และคณะ. ความรู้เรื่องเบาหวานฉบับ สาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2551. สมบูรณ์. พิมพ์ครั้งท่ี 7. กรุงเทพฯ: จูนพับลิซซิ่ง 14. สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวง จำกดั ; 2548. หนา้ 19-51 ; 85-6 ; 92-7 ; 198-201. สาธารณสุข . คู่มืออบรมการนวดไทย. กัญจนา ดีวิเศษ 7. ปัณสุข สาลิตุล. กายบริหารฤา ษีดัดตนกับการส่งเสริมสุขภาพ บรรณาธิการ. พิมพ์ครั้งท่ี 1 กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ ในผูป้ ่วยเบาหวาน โรงพยาบาลกันทรลกั ษ์ จงั หวัดศรสี ะเกษ; ทหารผ่านศกึ ; 2544. หนา้ 271-303. 2552. 15. สปุ ราณี แตงวงษ.์ การสนบั สนนุ ทางสังคมกับคุณภาพชีวิตของ 8. ผกากรอง พันธ์ุไพโรจน์ และคณะ. คุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรค ผู้สูงอายุในเขตทวีวัฒนา. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร เบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลสงขลา. โรงพยาบาล มหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่ บัณฑิตวิทยาลัย สงขลา จงั หวดั สงขลา; 2550. กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลยั คริสเตียน;2545. 9. พันทิตา เฉลิมพนาพันธ์ . คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยแผนกการ 16. สุวัฒน์ มหันนิรันดร์กุล, วิระวรรณ ตันตินิวัฒนากุล, แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกโรงพยาบาลเจ้าพระยา วนิดา พุ่มไพศาลชัย, กรองจิตต์ วงศ์สุวรรณ, รานี พรมานะ อภัยภูเบศร. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จิรังกุล. เปรียบเทียบแบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัย (จิตวิทยาชุมชน) บัณฑิตวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร: โลกชดุ 300 ตวั ชว้ี ดั และ 26 ตัวชี้วดั . เชียงใหม่; 2545. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ; 2550. 17. อารีวรรณ คุณเจตน์. คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดจันทบุรี 10. เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ, ภัทราพร ต้ังสุขฤทัย. ภูมิปัญญาไทย วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการพยาบาล “ แ พ ท ย์ แ ผ น ไ ท ย กั บ ก า ร ดู แ ล ผู้ ป่ ว ย เ บ า ห ว า น ” . ชุมชน คณะพยาบาลศาสตร์ ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา www.moph.go.th/ops/doctor/drAugust43/ ; 2541. tradition101.htm. 18. อุมาพร ห่านรุ่งชโรทร. ปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับคุณภาพชีวิตของ 11. วรรณา สามารถ. คณุ ภาพชวี ิตที่เสียไปของผปู้ ่วยโรคเบาหวาน ผปู้ ว่ ยเบาหวานชนดิ ที่ 2. ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต ชนิดไม่พ่ึงอินซูลิน. ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา สาขาพยาบาลอนามยั ชมุ ชน บณั ฑติ วทิ ยาลยั กรงุ เทพมหานคร: วิทยาการระบาด บัณฑิตวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล; 2545. มหาวิทยาลยั มหิดล; 2540.

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 51 Abstract pP Trrhooevgairnsascmoec iaantidonqubaetliwtyeeonfTlihfeaiiTnrdaidaibtieotneaslpMateidenictisneinDKhaamntmhaarnaalmakaidHisetarlitcht,PSrioSmaotKioent Prapa Pithaksa and Pannasuk Salitool Kantharalak Hospital, Kantharalak District, Si Sa Ket Province This is a quasi-experimental study designed to assess the quality of life (QOL) of 676 of diabetes patients receiving the dhammanamai health promotion program. Of all the patients, 385 were in the intervention group receiving the health promotion program twice, 2 months apart. The control group was comprised of 291 patients receiving the usual care. The quality of life of the subjects was assessed using the WHO Quality of Life-BREF. The percentage, paired samples t-test, and independent t-test were used for data analysis. The paired t-test showed moderate quality of life in both groups. The intervention group had significantly greater quality of life than the control group in terms of emotional, social, and environmental well-being (p<0.05). The effect of dhammanamai health promotion program on the increase in the QOL of diabetes patients was not clearly observed as the QOL scores of both pre- and post-study observations were also moderate.   In conclusion, the dhammanamai health promotion program can be an alternative for improving the QOL in terms of emotional, social, and environmental well-being of diabetes patients. Keywords: diabetes patients, quality of life, traditional Thai medicine, dhammanamai health promotion program

วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine ปีที่ 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 Vol. 10 No. 1 January-April 2012 ปกิณกะ ต้นร่างอ้างอิงสมุนไพรไทย : ไพล (PHLAI) คณะอนุกรรมการจดั ทำตำราอา้ งอิงยาสมนุ ไพรไทย* ในคณะกรรมการคุ้มครองและสง่ เสรมิ ภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย บทความน้ีนำเสนอยาสมุนไพรแต่ละชนิด ท่ีคณะอนุกรรมการฯ จัดทำขึ้นก่อนรวบรวมจัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม “ตำราอ้างอิง สมนุ ไพร” เพอ่ื เปน็ เวทีประชาพิจารณ.์ Rhizoma Zingiberis Montani Cassumunar Ginger ไ พ ล เ ป็ น เ ห ง้ า แ ห้ ง ข อ ง พื ช ท่ี มี ชื่ อ วิทยาศาสตร์ว่า Zingiber montanum (Koenig) Link ex Dietr. ในวงศ์ Zingiberaceae 1-3 ช่ือพ้อง Amomum montanum *ประธานอนุกรรการ นายวิชัย โชควิวัฒน พ.บ., M.P.H. รอง ประธานอนุกรรมการ รองศาสตราจารย์ ชยันต์ พิเชียรสุนทร ราชบัณฑิต ภ.บ.,Ph.D. อนุกรรมการ ศาสตราจารย์พเยาว์ เหมือนวงษ์ญาติ,M.Sc. in Pham. รองศาสตราจารย์กัลยา ภรา Koenig, Zingiber cassumunar Roxb., ไดย ภ.บ., วศ.บ.รองศาสตราจารย์วันดี กฤษณพันธ์ ภ.บ.(เกียรติ Zingiber purpureum Rosc.3-5 นิยม), ภ.ม.,Ph.D.รองศาสตราจารย์รพีพล ภโววาท ภ.บ.,ภ.ม., ชอ่ื อ่ืน ปลู อย ปเู ลย วา่ นปอบ วา่ นไฟ1-3, Bengal Ph.D. นายปราโมทย์ เสถียรรัตน์ พ.บ. นางกอ่ งกานดา ชยามฤต ginger4, vanaardraka, banada5 วท.บ. วท.ม. D.Sc. นางจารีย์ บันสทิ ธิ์ วท.บ. วท.ม. นางสาวนันท ลักษณะพืช ไม้ล้มลุกอายุหลายปี เหง้าอวบหนา นา สทิ ธิชัย ภ.บ., น.บ. นายวนิ ิต อัศวกจิ วิรี ภ.บ., น.บ. นางนยั นา ผิวนอกสีน้ำตาลอ่อน เน้ือในสีเหลืองอมสีส้ม มี วราอศั วปติ วท.บ., วท.ม. นางเยน็ จิตร เตชะดำรงสนิ วท.บ.,B.S. กลิ่นเฉพาะ กาบใบเรียงสลับโอบกันแน่นชูเหนือ Phar., บ.ภ. Post Cert. นางอภิญญา เวชพงศา ภ.บ. นายวุฒิ 52 ดินเป็นลำต้นเทียม สูง 1.2-1.8 เมตร แตกกอ วุฒธิ รรมเวช น.บ., ก.จ.ม., บ.ภ., บ.ว. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจายร์ ร.ต.อ. กาบใบเกล้ียงหรือมีขนตามขอบ ใบ เป็นใบเด่ียว หญิง สุชาดา สขุ หรอ่ ง, ภ.บ., Ph.D. นายยอดวทิ ย์ กาญจนการณุ เรียงสลับระนาบเดียว รูปแถบ กว้าง 2-4 ภ.บ., บ.ภ., บ.ผ., บ.ว นางพรทพิ ย์ เตมิ วิเศษ พบ., ส.บ. นางสาว เซนติเมตร ยาว 20-35 เซนติเมตร ปลายเรียว อญั ชลี จฑู ะพทุ ธิ ภ.บ. (เกยี รตนิ ยิ มอนั ดบั 1), M.S., Ph.D. นางสาว ยาว โคนสอบ ผวิ ใบด้านลา่ งมีขนนุ่ม กา้ นใบยาว สารนิ ี เลนะพันธ์ ภ.บ., ภ.ม. นางสาวบษุ ราภรณ์ ธนสลี ังกรู วทบ., ประมาณ 3 มิลลิเมตร ล้ินใบเป็นสองแฉกตื้น บธ.บ.,สม., บ.ป., บ.ง.ว, บ.., บ.ผ., พท.น. นางสาวจิราภรณ์ ยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร มีขน ชอ่ ดอก แบบชอ่ บุญมาก พท.บ., บ.ว., บ.ผ., พท.ว., พท.น. ว่าที่ร้อยตรีทวิช ศิริ เชิงลด ออกจากเหง้า ก้านช่อต้ังตรงขึ้นเหนือดิน มสุ ิกะ วท.บ., ส.บ.

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 53 รูปท่ี 1 ภาพลายเส้นไพล (Zingiber montanum (Koenig) Link ex Dietr.)

54 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปที ี่ 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 รูปท่ี 2 ดอกไพล 2 รปู ที่ 3 เหงา้ แห้ง รูปท่ี 4 ไพลในสภาพธรรมชาต ิ 3 4

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 55 ยาว 20–25 เซนติเมตร รูปกระสวยถึงรูปไข่ องคป์ ระกอบทางเคมี ไพลมอี งคป์ ระกอบเคมเี ปน็ กว้าง 3-4 เซนตเิ มตร ยาว 10-15 เซนติเมตร ใบ น้ำมันระเหยง่ายไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.87,8 โดย ประดับเรียงซ้อนกันแน่น สีน้ำตาลขอบสีเขียว องค์ประกอบเคมีของน้ำมันระเหยง่ายอาจแตก อ่อน รูปไข่ ยาว 3-3.5 เซนติเมตร ผิวมีขนนุ่ม ต่างกันไปตามแหล่งที่มา แต่โดยทั่วไปมักมีสาร ปลายแหลม ใบประดับย่อยยาว 1-1.5 กลุ่มมอโนเทอร์พีน (monoterpene) เป็นหลัก เซนติเมตร กลีบเล้ียงโคนติดกันเป็นหลอด สีขาว เช่น แอลฟา-ไพนีน ( -pinene), ซาบินีน ยาวประมาณ 1.2 เซนติเมตร กลีบดอกสีเหลือง (sabinene), แอลฟา-เทอร์พินีน ( -terpinene), อ่อน โคนติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 6 แกมมา-เทอร์พินีน ( -terpinene), เทอร์พีน- เซนติเมตร ปลายแยกเป็นสามแฉก เกสรเพศผู้ 4-ออล (terpenen-4-ol) นอกจากน้ันไพลยังมี เป็นหมันทเี่ ปล่ยี นไปเป็นกลีบปากยาวประมาณ 6 ส า ร สี เ ห ลื อ ง เ ค อ ร์ คู มิ น ( c u r c u m i n ) , เซนตเิ มตร รูปเกือบกลม สีขาว ปลายแยกเป็น 2 อนุพันธ์แนฟโทควิโนน (naphthoquinone แฉก และจะแยกออกลึกข้ึนเม่ือดอกใกล้โรย derivatives), อนุพันธ์บิวทานอยด์ (butanoid เกสรเพศผู้เป็นหมันท่ีเหลือรูปขอบขนาน สีเดียว derivatives) หลายชนิด ท่ีสำคัญได้แก่ กบั กลีบปาก ขนาบสองข้างของโคนกลบี ปากและ (อี)-4-(3,4-ดีเมทอกซีเฟนิล)บิว-3-อีน-1-ออล เช่ือมเป็นแผ่นเดียวกัน เกสรเพศผู้ท่ีสมบูรณ์มี 1 [(E)-4-(3,4-dimethoxyphenyl)but-3-en-1-ol อนั กา้ นเกสรเพศผ้สู ั้นมาก อบั เรณูเป็นหงอนยาว หรือสารดี (D)], (อี)-1-(3,4-ดีเมทิลเฟนิล) และโค้งหุ้มก้านยอดเกสรเพศเมีย ที่ยาวข้ึนไป บิวทาไดอีน [(E)-1-(3,4-dimethylphenyl) เหนืออับเรณู รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ ยาวประมาณ 2 butadiene หรือ สารดีเอ็มพีบีดี (DMPBD)], มิลลเิ มตร มี 3 ช่อง แต่ละช่องมอี อวลุ จำนวนมาก อ นุ พั น ธ์ ไซ โ ค ล เ ฮ ก ซี น ( c y c l o h e x e n e ผล แบบผลแห้งแตก รปู กลม1, 3-6 derivatives) เช่น ซีส-3-(3,4-ไดเมทอกซีเฟนิล) ถิ่นกำเนิดและการกระจายพันธุ์ พืชชนิดน้ีมีเขต -4-[(อี)-3,4-ไดเมทอกซีสไตริล]ไซโคลเฮก-1- การกระจายพันธุ์ท่ัวไปในแถบเอเซียตะวันออก อีน [cis-3-(3,4)-dimethoxyphenyl)-4-[(E)-3, เฉียงใต้ 5, 6 อาจเป็นพืชพื้นเมืองของอินเดีย6 ใน 4-dimethoxystyryl]cyclohex-1-ene] 3, 8 ประเทศไทยพบได้ท่ัวไป มีปลูกตามบ้านทั่วไป ขอ้ บง่ ใช้ ใช้ภายนอกแกอ้ าการฟกชำ้ บวม เคล็ด สำหรบั ใชท้ ำยา ขดั ยอก8 ลักษณะเคร่ืองยา เหง้าแห้งรูปร่างไม่แน่นอน ตำราสรรพคุณยาไทยว่าไพลมีรสฝาดข่ืน คอ่ นขา้ งแบน แตกแขนงเปน็ แงง่ คลา้ ยนิ้วมอื ยาว เอียน สรรพคุณขับลม ขับระดู แก้ลำไส้อักเสบ 3-7 เซนติเมตร หนา 1-2 เซนติเมตร ผิวนอกสี ขับเลือดร้าย แก้ระดขู าว เป็นตน้ ใช้ภายนอกโดย เหลืองแกมสีเทา หรือสีน้ำตาลอ่อนแกมสีเทา ไม่ การทาถูนวดแก้เคล็ดขัดยอก สมานแผล แก้ปวด เรียบ มีรอยย่นตามยาว และมีข้อปีเห็นได้ชัดเจน เม่ือยกลา้ มเน้ือ 1, 2, 8 แง่งมักมีส่วนใบท่ีลดรูปเป็นเกล็ดเหลืออยู่ ส่วน ขอ้ มลู จากการศกึ ษาวจิ ยั พรคี ลนิ กิ และคลนิ กิ บนอาจพบรอยแผลเป็นจากต้นหรือตา เน้ือแน่น พบวา่ สารสกดั ไพลมฤี ทธต์ิ า้ นการอกั เสบ10-13 รอยหักสขี าวแกมสีเหลอื งอมส้ม มเี มด็ ละเอยี ด มี ข้อห้ามใช้ ห้ามทาบริเวณขอบตาหรือบริเวณท่ี เน้ือเย่ือช้ันในสุดของคอร์เทกซ์เป็นวงชัดเจน มี เป็นเนื้อเย่ืออ่อน หรือบริเวณท่ีมีบาดแผลหรือ มัดท่อลำเลียงและเซลล์น้ำมันสีเหลืองกระจายอยู่ เป็นแผลเปดิ 8 ทั่วไป ในบางคร้ังอาจพบเป็นแว่น หั่นตามยาว คำเตือน ไพลอาจทำให้เกิดการระคายเคือง หรือเฉียง หนา 2-5 มิลลิเมตร สีเหลืองอมเขียว ผิวหนงั และเกิดอาการแพ้ท่ผี ิวหนังได้ 8 ผิวนอกสีน้ำตาลอ่อน3

56 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ปีท่ี 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 ขอ้ ควรระวงั ไม่มี 5. Faculty of Pharmacy, Mahidol University. ขนาดและวธิ ีใช ้ Specification of Thai Medicinal Plants. Volume 1. ใช้เหงา้ 1 เหงา้ ตำแลว้ คั้นเอาน้ำทาถู 1. Bangkok: Aksornsampan Press. 1986. p. 108-11. นวดบริเวณท่ีมีอาการ หรือตำให้ละเอียด ผสม 6. Theilade I. A synopsis of the genus Zingiber เกลือเล็กน้อย คลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วนำมาห่อ (Zingiberaceae) in Thailand. Nord J Bot. เป็นลูกประคบ อังไอน้ำร้อนให้ร้อน สำหรับ 1999;19(4):389-410. ประคบบริเวณทม่ี อี าการ 7 7. สำนักงานคณะกรรมการสาธารณสุขมูลฐาน กระทรวง 2. ใช้น้ำมันไพลทาถูนวดบริเวณท่ีมี สาธารณสุข. ยาสมุนไพรสำหรับงานสาธารณสุขมูลฐาน. อาการ วิธีการเตรียมน้ำมันไพลทำได้โดยการใช้ กรงุ เทพ ฯ : โรงพมิ พ์องค์การทหารผา่ นศกึ . หน้า 120-1. ไพลสดหนัก 2 กิโลกรัม ห่ันเป็นชิ้นบาง ๆ ทอด 8. คณะกรรมการแห่งชาติด้านยา. บัญชียาจากสมุนไพร ในนำ้ มันพืช 1 กโิ ลกรัม ดว้ ยไฟออ่ น ๆ จนน้ำมนั พ.ศ. 2549 ตามประการคณะกรรมการแห่งชาติด้านยา เหลืองดีแล้ว จึงเอาไพลออก ใส่กานพลูผง 4 (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2549 เรอ่ื ง บญั ชียาหลกั แห่งชาติ พ.ศ. 2547 ช้อนชา แล้วทอดตอ่ ดว้ ยไฟออ่ น ๆ ราว 10 นาที (ฉบับที่ 4). กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร กรองด้วยผ้าขาวบาง รอจนน้ำมันอุ่น ๆ แล้วใส่ แห่งประเทศไทย. 2549. หน้า 66-71. การบูรลงไป 4 ช้อนชา เก็บในภาชนะปิดมิดชิด 9. วุฒิ วุฒิธรรมเวช. สารานุกรมสมุนไพร. กรุงเทพมหานคร: รอจนเย็นจงึ เขย่าหรอื คนใหก้ ารบูร7 โอ.เอส พร้นิ ติง้ เฮาส.์ 2540. หน้า 327. 3. ในรูปครีมที่มีน้ำมันไพลร้อยละ 14 10. Panthong A, Kanjanapothi D, Niwatomanum V, โดยการทาถูเบา ๆ บริเวณที่มีอาการวันละ 2-3 Tuntiwachwuttikul T, Ruetrakul V. Anti-inflammatory ครัง้ 8 activities of compounds isolated from Zingiber หมายเหต ุ cassumunar. Planta Med. 1990;56:655. 1. ไพลท่ใี ชท้ ำยาจะตอ้ งมอี ายุ 2 ปี จงึ จะ 11. Ozaki Y, Kawahara N, Harada M. Anti-inflammatory มสี ารสำคัญและสรรพคณุ ทีต่ อ้ งการ 14 effect of Zingiber cassumunar Roxb. and its active 2. ไพลใช้เป็นเคร่ืองยาในตำรับยาไทยได้ principles. Chem Pharm Bull. 1991;39(9):2353-6. โดยขนาดท่ีใช้ข้ึนอยู่กับตำรับยา เช่น ยาประสะ 12. Soontornsaratune P, Wasuwat S, Sematong T. ไพล Anti-inflammatory effects of a topical preparation of Phlai oil/Plygesal on carrageenan-induced footpad เอกสารอา้ งองิ swelling in rats. TISTR 1990; Research Project No. 30-22/Report No 3:1-7. 1. ชยันต์ พิเชียรสุนทร, แม้นมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส์. 13. วิรุฬห์ เหล่าภัทรเกษม และคณะ. ความสัมฤทธิ์ผลของครีม คำอธิบายตำราพระโอสถพระนารายณ์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ สมนุ ไพรไทย (ไพลจีซาล) ในการรกั ษาขอ้ เทา้ แพลงในนักกีฬา. 72 พรรษา มหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. ศรีนครนิ ทร์เวชสาร. 2536;8(3) พิมพ์คร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อมรินทร์และมูลนิธิ 14. ทรงเกียรติ วิสุทธิพิทักษ์กุล, ยศวดี อ้ึงวิเชียร, อิทธิฤทธ ิ์ ภูมปิ ัญญา, 2548. หนา้ 511-2. อง้ึ วเิ ชียร, อนิ สน คล่องการงาน. รายงานการวจิ ัย “การวิจยั วิธ ี 2. ชยนั ต์ พิเชียรสุนทร, วเิ ชียร จรี วงส.์ คมู่ ือเภสชั กรรมแผนไทย การเขตกรรมเพื่อพัฒนาผลผลิตและคุณภาพของไพล” เสนอ เลม่ 2 เครื่องยาพฤกษวัตถ.ุ พมิ พค์ ร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนัก ต่อ สำนักงานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ. 2540; 49 หนา้ พิมพอ์ มรินทร์. 2547. หนา้ 227-31. 3. Thai Herbal Pharmacopoeia. 4. GRIN http://www.ars-grin.gov/cgi-bin/npgs/html/ taxon.pl?413101

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 57 ปกิณกะ พจนานกุ รมศพั ทแ์ พทยแ์ ละเภสชั กรรมแผนไทย (13) คณะอนุกรรมการจดั ทำพจนานุกรมศัพท์แพทย์และเภสชั กรรมแผนไทย ในคณะกรรมการคุม้ ครองและสง่ เสริมภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ซึ่งเป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวง สาธารณสุข ท่รี บั ผดิ ชอบในการถ่ายทอดองคค์ วามรู้และเทคโนโลยดี ้านการแพทยแ์ ผนไทย ในระบบบริการ สุขภาพ ได้ร่วมมือกับสำนักวิทยาศาสตร์ราชบัณฑิตยสถาน จัดทำพจนานุกรมศัพท์และเภสัชกรรมแผน ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถานข้ึน โดยมีเป้าหมายท่ีจัดทำพจนานุกรมศัพท์แพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย อย่างน้อย 1000 คำ เพ่ือใช้เป็นเอกสารอ้างอิงด้านการแพทย์แผนไทย. บทความนี้จึงนำศัพท์จากผลการ พิจารณาของคณะอนุกรรมการทั้ง 2 คณะมาทยอยลงพิมพ์ในวารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก เพื่อรับฟังความคิดเห็นของผู้ท่ีเกี่ยวข้องในวิชาชีพแพทย์แผนไทย ซึ่งหากมีข้อคิดเห็น ที่แตก ต่างจะได้นำเสนอต่อคณะอนุกรรมการใหพ้ ิจารณาปรับปรุงแก้ไขต่อไป ไข้ 1. น. ความเจ็บป่วยทางกายหรือทางจิต ปวดเม่ือย, โดยทั่วไปหมายถึงอาการท่ีมี เชน่ ไขพ้ ษิ ไขก้ าฬ ไขเ้ หนอื ไขห้ วดั นอกจากน ้ี อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้นผิดจากระดับ ในทางการแพทย์แผนไทยยังมีไข้ตัวเย็น ปรกติเนื่องจากความเจบ็ ป่วย. อันเกิดจากธาตุไฟพิการ. 2. ก. อาการ ไข้จับสั่น ดู ไข้ป่า. (โบราณเรียกเช่นน้ ี ครั่นเนื้อคร่ันตัว สะบัดร้อนสะท้านหนาว เนือ่ งจากผ้ปู ว่ ยโรคนีม้ กั มีอาการหนาวสัน่ ). ศค.ณดระ.กกรารญมจกนาารทนปี่ ารคกึ สษกาลุ ,: ศป.ดระร.ธกาฤนษณนพา.วชิชุตยั มิ าโช, คศว.(ิวพฒั เิ ศนษ, )รอชงลปธรริ ะาธ าสนัตรยศาว.ดฒั รน.ชาย,นั ศต.์ดพริเ.ชนยีพร.ปสุนณทตร,มอิคนะเกุ สรนร,มศกา.ดรร.ศน.พดร.ส.กมำชจยั ร บมวนรญุ กปิตติจิ,ุ, นางนัยนา วราอัศวปติ, นพ.ปราโมทย์ เสถียรรัตน์, ผู้อำนวยการกองประกอบโรคศิลปะหรือผู้แทน, นายสุพจน์ แจ้งเร็ว, นายปวิต ว่อง วศกีรรกะ,ุน,น ต านนงาาเคยย็น,สนมจติาบงรตั กิ เันพตทลชิมาะยาดนำสรอ้ ิทงยธส,ธิินนญั ,ากอยจินป กุนิ่ รแรกมว้ กตารันแนลวะลเ,ลนขาายนบุกุญารมี ดทรอ.องศญั รชี,ลน ี า จยฑูปะระพกุทอธบิ, ออนบุ ุกลรขรามวก, านราแยลมะนผาู้ชว่วธุ ย เผลดุ ขผาานดกุ ,านรายนยางงยสทุาวธสตมรทนี รุชง ญคณาตะิ,กพรรญม.สกมารบจรู ดัณท์ เำกฯียร: ตปนิ รันะทธานน,์ นนาพง.นวิชยั ัยนาโชวครวาวิอฒัศั วนป, ตร,ิอ ง ปนรพะ.ธปารนาโรมศท.ดย์รเ.สชถยยีันรตร์ ัตพนิเช,์ ยี รร.ตส.นุหทญริง, ศอิรนพิ ุกงรษรม์ แกพาทรยศา.นดนร.ทพ์,เยนาาวย์ สเหมมศือกั นดวิ์ หงษล์ ์ี ละเมยี ร, พ.ท. อม้ แสงปัญหา, นายวุฒิ วฒุ ิธรรมเวช, นายสวุ ัฒน์ ตัง้ จิตรเจรญิ , ประธานกรรมการวชิ าชีพสาขาแพทยแ์ ผนประยุกต ์ หรือ ผฉเลมิู้แขแทาพนน ,กุ นา  รางนกาัญงจสนาวาสมดทีวิเรศงษส,กนุนาตงนพารคท, ิพนยา์งเกตันิมทวมิ ิเศาษส,ิทอธนิธญัุกรกริจม, กนาารงแมาลละาเล ขสารน้อุกยสาำรโรดงร, .อนัญางชสลาีวจจูิรฑชั ะยพาุทแธกิ, ว้ อสนนุกธรยราม, กนาารงสแาลวะธผนู้ชา่วธปิย

58 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 ไขด้ อกบวบ ดู ไข้ป่า. ในทางการแพทย์แผนไทยอาจแบ่งโรคน้ี ไข้ดอกสัก ดู ไข้ป่า. (โบราณเรียกเช่นนี ้ ตามฤดูกาลเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ไข้ใน เน่ืองจากผู้ป่วยมักเป็นโรคน้ีในช่วงฤดูฝน ซ่ึง ฤดูร้อน ไข้ในฤดูฝน และไข้ในฤดูหนาว เป็นชว่ งท่ีดอกสกั บาน). ดังคัมภีร์ตักกศิลา [15/356] ตอนหนึ่งว่า ไข่ดัน น. ต่อมน้ำเหลืองที่อยู่ใต้ผิวหนังของ “... พระอาจารย์เจ้าจะแสดงซึ่งไข้ทั้งสาม บริเวณขาหนีบท้ัง 2 ข้าง ซ่ึงเป็นแนว สบื ตอ่ ไป แลไขใ้ นคิมหนั ตฤดูนนั้ คือ เดอื น 5, ต่อระหว่าง ลำตัวกับต้นขา ทำหน้าท่ีกักและ เดือน 6, เดือน 7, เดอื น 8 เป็นไข้เพือ่ โลหติ ทำลายเชื้อโรคที่อาจผ่านเข้ามาในร่างกาย เป็นใหญก่ วา่ ลม กว่าเสมหะทั้งปวง ทอ่ นบน, ฟองดัน กเ็ รยี ก. ทุกประการ ไข้ในวัสสานะฤดูน้ันคือ เดือน 9, ไข้ตรีโทษ น. ความเจ็บป่วยอันเกิดจาก เดือน 10, เดือน 11, เดือน 12 นี้ ไข้เพ่ือ กองสมุฏฐานปิตตะ วาตะ และเสมหะ ร่วม ลมเป็นใหญ่กว่าเลือด และเสมหะทั้งปวง กนั กระทำใหเ้ กดิ โทษ. ท้ังสองประการ ไข้ในเหมันตฤดูนั้นคือ ไขต้ ามฤดู ดู ไข้เปล่ียนฤด.ู เดือน 1-2-3-4 น้ีไข้เพื่อกำเดา แลเพื่อดีพลุ่ง ไข้ป่า น. โรคชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมีอาการไข้สูง เป็นใหญ่กว่าเสมหะ แลลมท้ังสองประการ มากเป็นเวลา ส่วนใหญ่มักมีอาการหนาวส่ัน อาการมีต่างๆ ให้นอนละเมอฝันร้ายแล ร่วมด้วย นอกจากน้ัน ยังอาจมีอาการ เพ้อไป ย่อมเป็นหวัด มองคร่อหิวหาแรงมิได้ ปวดศีรษะ มือและเท้าเย็น มีเหง่ือออกมาก ใหเ้ จบ็ ปาก ให้เท้าเยน็ , มอื เย็นแลนำ้ ลายมาก กระหายน้ำ ปัสสาวะบ่อย หากเป็นติดต่อกัน แลกระหายน้ำเนืองๆ แลให้อยากเนื้อพล่า หลายวันไม่หาย ผู้ป่วยจะซีด เบ่ืออาหาร ปลายำสดคาว ให้อยากกินหวาน, กินคาว ตับโต ม้ามโต เป็นต้น โบราณเรียก ไข้ป่า มักให้บิดขี้เกียจคร้าน มักเป็นฝีพุพองเจ็บ เน่ืองจากผู้ป่วยมักเป็นโรคน้ีหลังกลับออกมา ข้อเท้าข้อมือ ย่อมสะท้านหนาวดังน้ี ท่านให้ จากป่า, ไข้จับส่ัน ไข้ดอกสัก หรือ วางยาอันร้อนจึงชอบโรคนั้นแล ... ”, ไขด้ อกบวบ ก็เรยี ก. ไข้ตามฤดู ไข้สามฤดู ไข้หัวลม หรือ ไขป้ า้ ง ดู ป้าง. อุตปุ ริณามชาอาพาธา กเ็ รียก. ป้าง น. อาการมา้ มโต มักเกิดในเดก็ อาจเกิดจาก ไขส้ ามฤดู ดู ไขเ้ ปลีย่ นฤดู. สาเหตุต่าง ๆ ได้หลายอย่าง เช่น ไข้จับส่ัน ไขเสนียด ดู น้ำครำ. เร้ือรัง โรคทาลัสซีเมีย ผู้ป่วยมักมีไข ้ นำ้ ไขเสนยี ด ดู นำ้ ครำ. คลมุ เครือเร้อื รังรว่ มดว้ ย จงึ มักเรียก ไขป้ ้าง. น้ำครำ น. 1. น้ำกระสายยาชนิดหน่ึง ได้จาก ไข้เปลี่ยนฤดู น. โรคชนิดหนึ่ง มักเกิดข้ึนในช่วง น้ำเสียที่ขังอยู่ในพ้ืนดินท่ีเป็นแอ่ง เช่น ร อ ย ต่ อ ข อ ง แ ต่ ล ะ ฤ ดู ผู้ ป่ ว ย มั ก มี ไข้ ใต้ถุนครัว แพทย์โบราณมักเตรียมได้โดยการ สะบัดร้อนสะท้านหนาว กระหายน้ำ เป็นต้น ปักไม้หลักห่างจากแอ่งน้ำเสียนั้นประมาณ

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 59 1 ศอก เม่ือยกไม้หลักออกจะมีน้ำใส ๆ เน้ือเน่าเป่ือย เช่น งูกะปะ. (มาจากคำ ปูติ ซึมออกมาในหลุมปัก ตักน้ำใส ๆ นั้นออก แปลวา่ เน่า, มขุ แปลว่า ปาก). มาใช้ โดยทั่วไปก่อนใช้มักใช้เหล็กสรรพคุณ จตกุ าลเตโช [จะตกุ าละเตโช] น. ธาตไุ ฟ 4 ประการ เผาไฟให้ร้อนแดง จุ่มลงไปในน้ำนั้น เอาข้ึน ได้แก่ ไฟยอ่ ยอาหาร (ปรณิ ามัคค)ี ไฟทีท่ ำให้ ทันที แล้วจงึ นำน้ำนั้นไปใช้เป็นน้ำกระสายยา ร้อนภายใน (ปริทัยหัคคี) ไฟท่ีเผาร่างกายให้ ดังคัมภีร์ประถมจินดา [1/348] ตอนหนึ่ง แกค่ รำ่ ครา่ (ชริ ณคั คี) และไฟที่ทำให้ร่างกาย ว่า “... ถา้ จะแกล้ ะอองพระบาทสีฃาวละลาย อบอุ่น (สนั ตัปปัคค)ี . (มาจากคำ จตุ แปลวา่ น้ำดอกไม้กวาด ถ้าจะแก้ละอองพระบาทสี ส,ี่ กาล แปลวา่ เวลา กับ เตโช แปลว่า ไฟ). เฃยี ว ละลายน้ำครำแลสุรากวาด ฯ ถา้ จะแก้ จะโปง ดู จับโปง. ละอองพระบาทสีแดง ละลายน้ำหัวหอม จับโปง น. โรคชนิดหน่ึง ทำให้มีอาการปวดบวม กวาด ถ้าจะแก้ละอองพระบาทสีเหลือง ตามข้อ มีน้ำใสในข้อ โดยเฉพาะข้อเข่า และ ละลายน้ำขม้ินอ้อยกวาดหายดีนัก ...”. 2. ข้อเท้าแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ จับโปงน้ำ นํ้าเสียท่ีขังอยู่ในพ้ืนดินท่ีเป็นแอ่ง เช่น ใต้ถุน และจับโปงแห้ง ดังคัมภีร์ตักกศิลา [2/96] ครัว ในท่อระบายน้ำเสีย, ไขเสนยี ด หรือ นำ้ ตอนหนึ่งว่า “... ถ้าแลให้เจบท่ัวสารพางค์ ไขเสนยี ด ก็เรียก. แลให้ท้องแขงเปนดานให้แก้รอบสดือ ช่ือว่า ไข้หัวลม ดู ไข้เปลี่ยนฤดู. (โบราณมักใช้เรียก ลมอันตคุณกว็ า่ ถา้ แลให้เสียดเข่าช่อื ว่าลมจะ ไข้เปล่ียนฤดูท่ีเกิดในช่วงปลายฤดูฝน ต้นฤดู โปงสะคริวก็ว่า ...”, จะโปง ลมจับโปง หรือ หนาว). ลมจะโปง กเ็ รยี ก. งัดเสน้ ดู ดงึ เส้น. ลมจับโปง ดู จับโปง. ดึงเส้น ก. ใช้น้ิวมือกดลงบนกล้ามเน้ือหรือ จับโปงน้ำ น. จับโปงชนิดหน่ึง มีการอักเสบ เส้นเอ็นตามร่างกายแล้วดึงขึ้น, งัดเส้น จก รุนแรงของข้อเข่า หรือข้อเท้า ทำให้มีอาการ หรอื จกงดั ก็เรยี ก. ปวด บวม แดง ร้อน และอาจมีไข้ร่วมด้วย จก, จกงดั ดู ดงึ เส้น. จงึ มักเรียกว่า ไข้จับโปง. ดู จบั โปง ประกอบ. งูทับทางขาว ดู งูทบั สมิงคลา. จับโปงแห้ง น. จับโปงชนิดหน่ึง มีการอักเสบ งูทับสมิงคลา [-ทับสะหฺมิงคฺลา] น. งูพิษชนิด เรื้อรังของข้อเข่า หรือข้อเท้า ทำให้มีอาการ Bungarus candidus (Linnaeus) ในวงศ์ บวมบรเิ วณขอ้ เล็กนอ้ ย. ดู จับโปง ประกอบ. Elapidae หัวสีดํา ตัวมีลายเป็นปล้องสีดํา จักรท์ ราสูนย์ ดูใน นาภี. สลับขาว เขี้ยวพิษผนึกแน่นกับขากรรไกรบน จักราศูนย,์ จักราสรู ย์ ดใู น นาภ.ี ขยับหรือพับเขี้ยวไม่ได้ ตัวยาวประมาณ 1 นาภี น. 1. สะดอื . 2. ทอ้ ง, อทุ ร กเ็ รยี ก. 3. บรเิ วณ เมตร, งูทบั ทางขาว กเ็ รยี ก. รอบสะดือ (ตามหลักวิชานวดไทย), จักรา งูปูติมุข น. งูจำพวกหนึ่งท่ีเม่ือกัดแล้วทำให้ ศนู ย์ จักราสรู ย์ หรอื จักร์ทราสนู ย์ ก็เรียก.

60 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ปีท่ี 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 จักรวาลฟ้าครอบ, จักระวาฬฟ้าครอบ น. ยา ภาค สาระพัดดี เปนนำ้ กระสายบดปั้นแทง่ ไว้ แผนไทยขนานหน่ึง ใช้แก้ไข้กาฬต่าง ๆ แก้ แก้กาล 700 จำพวก แกไ้ ดท้ ุกประการ น้ำกก พิษต่าง ๆ มีตัวยา วิธีปรุง วิธีใช้ และ ระสายยักใช้ตามแต่ชอบโรคนั้นเถิด แก้ในวะ สรรพคุณ ดังคัมภีร์ธาตุวิภังค์ [1/136-7] สนั ตะระดูแล …”, เขียนวา่ จักรวาลฟ้าครอบ ตอนหนึ่งว่า “… ยาช่ือว่าจักระวาฬฟ้าครอบ ก็มี. แก้พิศม์ไข้กาลท้ังปวงสาระพิศม์อันใด ๆ ก็ดี จักษุโรโค น. กลุ่มโรคหรืออาการซึ่งเกิดข้ึนที่ตา พิศม์กาลภายในภายนอกให้กลุ้มในใจก็ดี แล ที่เรียกตามสมุฏฐานเบญจอินทรีย์ เช่น พศิ ม์กาลท้งั ปวง 700 จำพวก ทีม่ ไิ ดข้ น้ึ มาทำ ตาแดง ตาแฉะ ริดสีดวงตา, จักขุโรโค ก็ พศิ ม์คดุ อยูใ่ นหวั ใจ แลตับแลปอดท้ังภายในก็ เรียก. (มาจากคำ จกั ษุ หรอื จกั ขุ แปลวา่ ตา ดี แลหลบอยู่ตามผวิ หนงั ภายในก็ดี แลพิศมฝ์ ี และ โรโค แปลวา่ โรค). ดาษฝีศศี ะเดยี วก็ดตี านทรางก็ดี ท่านให้ทำยา จกั ขโุ รโค ดู จกั ษุโรโค. ขนานใหญ่นี้ไว้แก้ เว้นไว้แต่บุราณกรรม์ จันทกระลา, จันทกลา น. ลมประจำเส้นอิทา, น้ันแล แต่ประจุบันกรรม์หายส้ินแล ท่าน จันทะกาลา ก็เรียก. แพทย์ทั้งปวงจงเร่งทำยาขนานนี้ขึ้นไว้ใช้เถิด จนั ทะกาลา ดู จนั ทกระลา, จันทกลา. ถึงจะส้กู ันกบั กาล 700 จำพวกได้ ทา่ นให้เอา จันทน์ทั้ง 2 น. จุลพิกัดประเภทต่างสีพวกหน่ึง เขี้ยวเสือ 1 เข้ยี วหมู 1 เข้ยี วหมี 1 เง่ียงปลา ประกอบด้วยแก่นจันทน์ขาว ซึ่งได้จากพืชที่ ฉนาก 1 เงย่ี งปลากะเบน 1 นอแรด 1 งาชา้ ง มีช่ือวิทยาศาสตร์ว่า Santalum album L. 1 เขากวาง 1 เขากยุ 1 เขาแพะ 1 เขาแกะ 1 ในวงศ์ Santalaceae และแก่นจันทน์แดง ทง้ั นีข้ ั้วใหเ้ กรยี ม หวายตะค้า 1 หวายตะมอย ซึ่ ง ไ ด้ จ า ก พื ช ท่ี มี ชื่ อ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ว่ า 1 เจตภังคี 1 สังกะระนี 1 ดอกสตั บตุ 1 สตั Pterocarpus santalinus L.f. ในวงศ์ ตบงกช 1 สัตบัน 1 บวั หลวง 1 บัวขม 1 บัว Leguminosae ในปริมาณเท่ากันโดยน้ำ เผอื่ น 1 จงกลนี 1 พิกลุ 1 บุนนาค 1 สาระพี หนัก พกิ ดั นี้มีรสขมหวานเยน็ สรรพคณุ แกไ้ ข้ 1 มะลซิ อ้ น 1 มะลลิ า 1 ดอกจำปา 1 ดอก ตวั รอ้ นดว้ ยพษิ ไข้ เจรญิ ไฟธาตุใหส้ มบรู ณ์. กะดังงา 1 กฤษณา 1 กะลำภัก 1 ขอนดอก จับ ก. ใช้มือหรือนิ้วมือสัมผัสหรือกำยึดส่วน 1 ใบภิมเสน 1 ภิมเสนเกลด 1 การะบรู 1 นำ้ ตา่ ง ๆ ของร่างกาย. ประสานทอง 1 โกฏทั้ง 5 เทียนทั้ง 5 ผล จับชีพจร ก. ใช้น้ิวมือแตะและกดเบา ๆ ลงบน จนั ทน์ 1 ดอกจันทน์ 1 กระวาน 1 กานพลู 1 เสน้ เลอื ดแดงบางเสน้ เช่น เส้นเลือดแดงทขี่ อ้ สมุลแว้ง 1 เหดกะถนิ ขาว 1 เหดกะถินพมิ าน มือ ข้อพับ ลำคอ ข้อเท้า เพ่ือประเมินกำลัง 1 เหดมะพร้าว 1 เหดตาล 1 เหดงเู ห่า 1 เห ของเลือดลมหรือวนิ ิจฉยั โรคหรอื อาการ. ดมะขาม 1 เหดไมร้ ัง 1 เหดไมแ้ ดง 1 เหดตับ จับเส้น ก. กด คลึง ดึงกล้ามเน้ือหรือเส้นเอ็น เต่า 1 ศีศะมะหากาลทั้ง 5 ยาท้ังนี้เอาเสมอ ในกลา้ มเนอื้ .

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 61 จารกึ ตำรายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร น. 1. พร้อมสรรพคุณทางยา พิกัดสมุนไพร วิธีปรุง ตำราการแพทย์แผนไทยประเภทท่ีสลักลงบน เคร่ืองยา และวิธีใช้ยา เป็นต้น กับได้ทำ แผ่นหินอ่อนสีเทา รูปสี่เหล่ียมจัตุรัส ขนาด ดรรชนีรวมเร่ืองไว้ท้ายเล่มด้วย ส่วนการจัด กว้างยาวด้านละ 33 เซนติเมตร เท่ากันทุก ลำดับเร่ืองน้ัน ยังคงจัดตามลำดับแผ่นจารึก แผ่น แต่ละแผ่นมีอักษรสลักด้านเดียว จัด ซึ่งติดประดับอยู่ที่ผนัง โดยเร่ิมจากศาลาราย เรียงบรรทัดตามมุมแหลม จำนวน 17 หน้าพระอุโบสถด้านซ้ายไปขวานับเป็นจารึก บรรทัด เหมือนกันทุกแผ่น มีเน้ือหาว่าด้วย แผน่ ท่ี 1 ถงึ แผ่นที่ 8 ตอ่ ไปเร่มิ แผ่นที่ 9 ที่ แผนนวด แผนปลิง โรคท่ีพบบ่อย ๆ พร้อม ระเบียงมุมซ้ายด้านหน้าพระวิหารพระพุทธ ตำรับยาแก้ เป็นต้น ตำราน้ี จัดทำข้ึน ไสยาสน์ เรียงไปทางขวา วนรอบพระวิหาร ประมาณ พ.ศ. 2364 โดยพระบาทสมเด็จ ถงึ แผน่ ท่ี 50 ...”. พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือครั้งดำรงพระ จำหระ น. แถบ ซีก (ใช้กับร่างกาย) เช่น อิสริยยศเป็นพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหม่ืน จำหระเบือ้ งซา้ ย จำหระเบื้องขวา, ตำหระ ก็ เจษฎาบดนิ ทร์ โปรดเกล้าฯ ให้จัดทำไว้ แล้ว เรียก. ติดประดับอยู่ท่ีผนังด้านนอกของระเบียงพระ ตำหระ ดู จำหระ. วิหารพระพุทธไสยาสน์ และที่ผนังศาลาราย จิตรมหาวงษ์ [จิดมะหาวง] น. ยาแผนไทย หน้าพระอุโบสถ เดิมมี 92 แผ่น ปัจจุบัน ขนานหน่ึง ใช้แก้ปากเป่ือย ล้ินเปื่อย คอ เหลอื เพยี ง 50 แผน่ . 2. หนงั สือเกย่ี วกับการ เปอ่ื ย มีตัวยา วธิ ปี รงุ วธิ ใี ช้ และสรรพคณุ ดงั แพทย์แผนไทยฉบบั หน่ึง มี 452 หนา้ พิมพ์ที่ คัมภีร์ธาตวุ ภิ ังค์ [1/141] ตอนหนง่ึ วา่ “… ยา บรษิ ัทอาทติ ย์ โพรดักส์ กรุ๊ป จำกัด โดยกรม ช่ือจิตรมหาวงษ์ แก้ฅอเป่ือย ลิ้นเป่ือย ปาก ศิลปากรได้จัดพิมพ์เผยแพร่เม่ือ พ.ศ. 2545 เปื่อย แลแก้ไอ ท่านให้เอารากมะกล่ำต้น 1 เพื่อเฉลิมพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระ รากมะกลำ่ เครอื 1 รากมะขามปอ้ ม 1 เนระ นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และอนุรักษ์ ฟื้นฟูตำรา ภสู ี 1 เขากวาง 1 เขากุย 1 นอแรด 1 งาชา้ ง การแพทย์แผนไทยให้แพร่หลาย ท้ังนี้ใน 1 จนั ทนท์ งั้ 2 น้ำประสารทองสตุ 1 ยาทัง้ น้ี หนังสือเล่มน้ีมีเนื้อหาสำคัญดังท่ีอธิบายใน เสมอภาคทำแทง่ ไว้ ละลายนำ้ ผง้ึ ทา หาย แล ความนำตอนหนึ่งว่า “... การจัดพิมพ์ได้ทำ …”. ตามวิธีการอ่านจารึก โดยวิธีการคัดถ่ายถอด จกุ อก น. อาการเจบ็ แนน่ ในทรวงอก. อักษรเป็นคำจารึกด้วยอักษรไทยปัจจุบัน จุนสีสะตุ น. จุนสีที่ปราศจากน้ำผลึกใน และทำคำอ่านจารึกพร้อมด้วยคำอธิบาย โมเลกุล มีสีขาว โบราณเตรียมโดยนำไปตาก ศัพท์ในจารึก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นศัพท์เฉพาะ แดดไวจ้ นสีซีดและขาวในที่สดุ . ด้านการแพทย์แผนไทย เก่ียวกับชื่อโรค ช่ือ จุลพิกัด น. พิกัดตัวยาน้อยอย่าง เรียกช่ือตรง สมุฏฐาน และอาการของโรค ช่ือสมุนไพร ตามตัวยาน้ัน มักเป็นตัวยาเดียวกัน แต่แตก

62 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ปีท่ี 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 ต่างกันที่แหล่งกำเนิด สี ขนาด รูปร่าง ชะลุกะ, ชลั ลุกะ, ชลั ลกุ า น. ปลิง. ลักษณะ และรส เชน่ ขเี้ หล็กท้งั 2 จนั ทน์ทงั้ ชะโลม ดู ชโลม. 2 เปล้าท้งั 2 เกลือทั้ง 2 รากมะปรางท้งั 2. ชนั น. ยางไม้ ชันที่ใช้เป็นยา เช่น ชันตะ เจอื ก. นำสว่ นน้อยประสมลงไปในส่วนมาก เคียนตาแมว. (อ. resin). ให้ระคนปนกัน, ตามปรกติใช้กับของเหลว ชันน้ำมัน น. ยางไม้ท่ีมีส่วนผสมของน้ำมัน เชน่ ใช้น้ำเย็นเจอื น้ำรอ้ น, เจอื แทรก กเ็ รยี ก. หอมหรือน้ำมันระเหยง่าย เช่น ยางสน เจอื แทรก ดู เจือ. (turpentine), กำยาน (benzoin). (อ. ฉกาลวาโย [ฉะกาละวาโย] น. ธาตลุ ม 6 ประการ oleoresin). ได้แก่ ลมพัดต้ังแต่ปลายเท้าถึงศีรษะ (อุท ชำระ ก. ชะลา้ ง ลา้ ง ดงั คมั ภรี ธ์ าตวุ ภิ งั ค์ [1/130] ธังคมาวาตา) ลมพัดตั้งแต่ศีรษะถึงปลายเท้า ตอนหน่ึงว่า “… ถ้าจะแก้ให้เอารังมดแดงรัง (อโธคมาวาตา) ลมพัดในท้องแต่พดั นอกลำไส้ 1 ใบมัดกา 1 เทียนดำ 1 สมอเทศ 1 ราก (กุจฉิสยาวาตา) ลมพัดในลำไส้และกระเพาะ ตองแตก 1 ยาทั้งนีเ้ อาส่ิง 1 ตำลึง ศีศะหอม อาหาร (โกฏฐาสยาวาตา) ลมพัดท่ัวสรีระ 1 ตำลึง 1 บาท ขม้นิ อ้อยยาวองคุลี 1 ต้ม 3 กาย (อังคมังคานุสารีวาตา) และลมหายใจ เอา 1 แทรกดีเกลอื ตามธาตหุ นกั เบา ชำระ เขา้ ออก (อสั สาสะปัสสาสะวาตา). (มาจากคำ บุพโพรา้ ยเสยี กอ่ น ...”. ฉ แปลว่า หก, กาล แปลว่า เวลา กบั วาโย ช้ำรั่ว น. โรคทางเดินปัสสาวะและอวัยวะ แปลว่า ลม). สืบพันธ์ุกลุ่มหนึ่ง เกิดกับผู้หญิง ผู้ป่วยมี ชลาพุช, ชลาพุชะ [ชะลาพุชะ] น. สัตว์ท่ี อาการปวดแสบปวดร้อนภายในช่องคลอด เกิดในครรภ์ และคลอดออกมาเป็นตัว เช่น และช่องทวารเบา กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ เจ็บ คน โค ช้าง, เขียนว่าชลามพุช หรือ และขัดถึงบริเวณหัวหน่าว ตำราการแพทย์ ชลามพชุ ะ ก็มี. แผนไทยว่า อาจเกิดจากสาเหตุ 4 ประการ ชลามพุช, ชลามพุชะ [ชะลามพุชะ] ดู ได้แก่ 1) เกิดจากการคลอดบุตร แล้วอยู่ไฟ ชลาพุช, ชลาพชุ ะ. ไม่ได้ ทำให้เสมหะ โลหิตเดินไม่สะดวก ชโลม ก. ทำให้เปียกชุ่ม ในทางการแพทย์ มดลูกเน่า 2) เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์มาก แผนไทย ใช้ผ้าชุบน้ำยาแล้วเช็ดตัวให้เปียก เกินไป 3) เกิดจากฝีในมดลูก ทำให้มีหนอง เช่น ชโลมยา ชโลมน้ำ ดงั คัมภรี ป์ ระถมจินดา หรอื นำ้ เหลอื งไหลออกมา และ 4) นำ้ เหลอื ง [1/181] ตอนหนง่ึ วา่ “... ถา้ ให้รอ้ นยาขนาน ที่เกิดจากทางเดินปัสสาวะอักเสบไหลออกมา นี้ท่านให้เอา ใบไซรยอ้ ย ใบญ่าแพรก ใบพรม ทำให้เกิดแผลเปื่อยลามท่ีทวารเบา ปัสสาวะ มิ ใบตำลึง ดินประสิวขาว ศริยา 5 ส่ิงน้ีบด ไหลกะปริบกะปรอย ปวดแสบ ขัดหัวหน่าว ละลายน้ำซาวเข้าชะโลมหาย กินก็ได้ใช้มา ตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมล- มากแล้ว ...”, เขยี นว่า ชะโลม ก็มี. มังคลาราม ว่าสาเหตุหลังน้ีเกิดจาก

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 63 “กิมิชาติ” ดังคัมภีร์มุจฉาปักขันทิกา [2/ หงระทด ให้จับตัวร้อนเป็นเปลว เท้าเย็นมือ 305] ตอนหน่ึงว่า “... จะว่าด้วยโรคอันเกิด เย็น ให้เชื่อมมัว ไม่มีสติสมปฤดี ให้หอบให้ สำหรับสัตรีท่ีเรียกว่าช้ำรั่วมีอยู่ 4 ประการ สอึก ...” หรือดังคัมภีร์ประถมจินดา [2/68] คือเกิดเพราะคลอดบุตรมดลูกเน่า 1 คือเกิด ตอนหนึ่งว่า “... กาลเกิดข้ึนแต่หทัยลงไป 4 เพราะส้องเสพย์กับด้วยบุรุศเกินประมาณ 1 5 เวลา 9 10 เวลา ก็ดี ใหล้ งเปนโลหติ สดสด คือเปนฝีในมดลกู แลเปนบุพโพจาง ๆ เปนน้ำ ออกมาก่อนแลว้ จึ่งลามลงมาถึงหัวตับ แลหวั เหลืองดังน้ำคาวปลา 1 คือเปนเพราะน้ำ ตับนั้นขาดออกมาเปนล่ิม แท่งให้ดำดังถ่าน เหลืองน้ันร้ายจ่ึงกัดทวารเบานั้นเปื่อยไป ไฟอุจาระดังขี้เทา ให้ระสำระสาย บางทีให้ แล้วให้ปัศสาวะนั้นหยด ๆ ย้อย ๆ ให้ปวด เชื่อมมึนให้มือเท้าเยนให้เคลิบเคลิ้มหาสติมิ แสบนัก ให้ขัดหัวเหน่า 1 รวมเปน 4 ได้ แลคนสมมุติว่าผีเข้าอยู่น้ันหามิได้เลย คือ ประการ …”. ไขห้ มู่นี้เองกระทำดจุ ผตี ะกละเข้าสิง ...” หรอื ชิรณัคคี [ชิระนักคี] น. ไฟเผาร่างกายให้แก่ คัมภีร์โรคนิทาน [2/330] ตอนหนึ่งว่า “... คร่ำคร่า ทำให้ร่างกายเห่ียวแห้งทรุดโทรม โลหิตพิการให้คล่ังเพ้อพก ให้ร้อน เห่ือพิการ ชราภาพ ทุพพลภาพไป เปน็ องคป์ ระกอบ 1 มักให้เช่ือมซมึ มันข้นพกิ ารมักใหต้ วั ชาสากไป ใน 4 ชนิดของธาตุไฟ. ...”. ชิวหาโรโค [ชิวหาโรโค] น. กลุ่มโรคหรือ เช่ือมซึม ดูใน เช่อื ม. อาการซ่ึงเกิดขึ้นท่ีลิ้น ท่ีเรียกตามสมุฏฐาน เชอื่ มมวั ดูใน เชือ่ ม. เบญจอินทรีย์ เช่น ลิ้นแตก ล้ินเปื่อย. (มา เชอื่ มมึน ดใู น เช่อื ม. จากคำ ชิวหา แปลว่า ล้ิน และ โรโค แปลวา่ โชน ว. ไหมท้ ่วั เตม็ ที่ เช่น ไฟลุกโชน. โรค). ไชยเพท, ไชยเภท [ไชยะเพด] น. รูปที่เริ่ม เชื่อม 1. น. อาการอย่างหนึ่งของผู้ป่วยท่ี กำเนิดข้ึนภายในครรภ์มารดา นับตั้งแต่วันท่ี เป็นโรคบางชนิด มีลักษณะอาการหน้าหมอง 7 หลังจากวันปฏิสนธิดังคัมภีร์ประถมจินดา ซึม มึนงง ตาปรือ คล้ายจะเป็นไข้ หรือเป็น [1/173] ตอนหนงึ่ วา่ “... คร้ันโลหติ ตงั้ ข้ึนได้ อาการที่เกิดจากพิษไข้หรือพิษของโรคบาง แล้วอยู่ 7 วันก็บังเกิดเปนปฐมังกะละกะลม ชนิด. 2. ว.มีอาการเง่ืองหงอยมึนซึมคล้าย นน้ั ก็เรียกวา่ ไชยเพท คอื มีรดูล้างน้าที่ 1 ถ้ามิ เป็นไข้ ตำราการแพทย์แผนไทยมักใช้คำนี้ ดังนั้นก็ให้มารดา ฝันเหนวิปริต ก็รู้ว่าครรภ ร่วมกับคำอื่นที่มีความหมายเก่ียวข้องกับ ตง้ั แลครรภตง้ั ขน้ึ แลว้ ...”. อาการที่แสดงออกใหเ้ ห็นเด่นชดั ไดแ้ ก่ เชือ่ ม ซ่วง ดู ส้วง. ซึม เชือ่ มมนึ และเชือ่ มมัว ดงั คมั ภีรต์ กั กศิลา ส้วง น. ช่อง, โพรง, (โดยมากมักใช้กับทวาร [14/514] ตอนหน่ึงว่า “... ทีนี้จะว่าด้วยไข้ หนัก), เขียนว่า ซ่วง, ทรว่ ง ก็มี.

64 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ปที ่ี 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 ทร่วง ดู ส้วง. เอา 1 หมายถึง ต้มให้เดือด แล้วเคี่ยวจนน้ำ ไซท้ อ้ ง ก. ปวดมวนทอ้ ง. งวดไป 2 สว่ น เหลอื เพยี ง 1 ส่วน ดังคมั ภรี ์ ดอกไม้ น. 1. ฟันน้ำนม ดังคัมภีร์ประถม ประถมจินดา [1/161] ตอนหน่ึงว่า “... จนิ ดา [15/100] ตอนหน่งึ วา่ “... เมือ่ ดอกไม้ ขนานหนึ่งเอาใบพลวง 1 รากกล้วยแดง 1 (คอื ฟนั ) ขนึ้ ซางจงึ พลอยทำโทษคร้ัง 1 ...”. รากกล้วยตีบหอม 1 รากกล้วยหอม 1 ราก 2. ส่วนหนึ่งของพรรณไม้ท่ีผลิออกจากต้น ตาเสือ 1 เอาเสมอภาค ต้ม 3 เอา 1 กินหาย หรือกิ่ง มีหน้าท่ีทำให้เกิดผลและเมล็ดเพื่อ แล ๚ ...”. สบื พันธ์ุ มเี กสรและเรณเู ปน็ เครอ่ื งสบื พนั ธ.์ุ ต้ม ก. เอาของเหลว เช่น น้ำ ใส่ภาชนะ แล้ว ดัด ก. ทำส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่คด โค้ง ทำให้รอ้ น ให้เดือด หรือใหส้ กุ เช่น ต้มยา ดัง งอ หรือติดขดั ใหต้ รง หรอื เขา้ ท่ี เพอ่ื ป้องกัน คัมภรี ป์ ระถมจนิ ดา [1/161] ตอนหน่ึงว่า “... หรือบำบัดโรคหรืออาการบางอย่าง หรือ ขนานหนึ่งเอาใบพลวง 1 รากกล้วยแดง 1 ฟื้นฟสู มรรถภาพของรา่ งกาย. รากกล้วยตีบหอม 1 รากกล้วยหอม 1 ราก ดีงูเหลือม น. ถุงน้ำดีของงูเหลือมที่แห้งสนิท ตาเสือ 1 เอาเสมอภาค ตม้ 3 เอา 1 กินหาย ตำราสรรพคุณยาโบราณวา่ มรี สขม ใช้บดปรุง แล ๚ ...”. เป็นกระสายยา ช่วยให้ตัวยาแล่นเร็ว ดับพิษ ตรีกฏุก, ตรีกะฏุก, ตรีกระฏุก น. พิกัดยา ตานทรางในเด็กใช้ฝนกับยาหยอดตาแก้ตา ชนิดหนึ่ง จำกัดของเผ็ดร้อน 3 อย่าง ได้แก่ แฉะ ตามวั ตาฟาง ตาแดง และแกป้ วดตา. ขิงแหง้ พรกิ ไทย และดปี ลี ในปรมิ าณเท่ากนั ดึง ก. เหนี่ยว ฉุด และรั้ง เพื่อยืดเส้นเอ็น โดยน้ำหนัก พิกัดนี้มีรสเผ็ดร้อน สรรพคุณ กล้ามเนื้อ หรือพังผืด ของข้อต่อที่ยึดติดกัน แก้วาตะ เสมหะ ปิตตะ ในกองธาตุ ฤดู อายุ ใหค้ ลายออก หรือใหเ้ ขา้ ท่.ี และกองสมฏุ ฐาน. ดึงกระดูก ก. เหนี่ยว ฉุด และรั้ง เพ่ือให ้ ตรีชะวาสังข์ น. ยาแผนไทยขนานหน่ึง ใช้แก้ กระดกู เข้าที่. ปถวีธาตุพิการ มีตัวยา วิธีปรุง วิธีใช้ และ ตโจ น. หนัง เป็นองค์ประกอบ 1 ใน 20 สรรพคุณ ดังคัมภีร์ธาตุวิภังค์ [1/119] ตอน สิง่ ของธาตุดนิ , เขยี นวา่ ตะโจ กม็ .ี หนึ่งว่า “… ยาช่ือตรีชะวาสังข์ แก้ปัถวีธาตุ ตะโจ ดู ตโจ. พกิ ารคือสมองกระดกู มา้ ม ใหเ้ อากระเทียม 1 ตม้ 3 เอา 1 ดใู น ยาต้ม. ใบสะเดา 1 ใบคนทีสอ 1 เปลือกต้นตีนเปด ยาต้ม น. ยาแผนโบราณไทยรูปแบบหนึ่ง 1 เบญจกูล 1 จันทน์ทั้ง 2 สมอทั้ง 3 ผล เตรียมได้โดยการเอาตัวยาผสมกันตามตำรับ จนั ทน์ 1 ดอกจนั ทน์ 1 กระวาน 1 กานพลู 1 ยา ใส่หม้อขนาดพอเหมาะ เติมน้ำให้ท่วมตัว ตรีกะฏุก 1 ยาทั้งนี้เอาส่ิงละส่วน เปลือกกัน ยา แล้วต้มให้เดือดตามกำหนด เช่น ต้ม 3 เกรา 2 ส่วน เปลือกสมุลแว้ง 3 ส่วน ตำผง

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 65 ละลายน้ำผึ้งกินแก้ปัถวีธาตุ 20 ประการแล ตะคาก ดู หวั ตะคาก. …”. ตาน น. โรคเด็กประเภทหน่ึง มักเกิดในเด็ก ตรีโทษ ว. อันเกิดจากกองสมุฏฐานปิตตะ วาตะ อายุตั้งแต่ 5-12 ขวบ แบ่งเป็น 2 ประเภท และเสมหะ ทั้ง 3 กองสมุฏฐานร่วมกัน คอื ตานโจรและตานจร. กระทำให้เกิดโทษ. ตานขโมย ดู ตานโจร. ตรีผลา [-ผะลา] น. พิกัดยาชนิดหนึ่ง จำกัด ตานโจร น. ตานท่ีเกิดกับเด็กท่ีมีอายุต้ังแต่ ผลไม้ 3 อย่าง ได้แก่ สมอพิเภก สมอไทย 5-6 ขวบ เป็นต้นไป จนถึง 7 ขวบ แพทย์ และมะขามป้อม ในปริมาณเท่ากันโดยน้ำ แผนไทยเช่ือว่ามักเกิดจากการกินอาหารอัน หนัก อย่างไรกต็ าม ในตำราสรรพคณุ ยาฉบบั ทำให้เกดิ พยาธใิ นร่างกายมอี าการหลายอยา่ ง กรมหลวงวงษาธิราชสนทิ ระบชุ นดิ ของผลไม้ เช่น ลงท้อง ธาตุวิปริต ชอบกินของสด 3 อย่างแตกต่างกันไป คือ มีสมอเทศ แทน ของคาว กนิ อาหารไดน้ อ้ ย อจุ จาระเหมน็ คาว มะขามป้อม พกิ ดั นี้มรี สเปรยี้ วฝาด สรรพคุณ จัด อุจจาระกะปริบกะปรอยหรือเป็นมูก แก้ปิตตะ วาตะ เสมหะในกองธาตุ ฤดู อายุ เลือด บางทีเลือดออกสด ๆ ทำให้เด็กซูบซีด และกองสมุฏฐาน (คำนี้แพทย์แผนไทยนิยม เมื่อเป็นนานประมาณ 3 เดือน จะมีอาการ อา่ นว่า ตรีผะหลา). ลงท้อง ตกเลือดด่ังน้ำล้างเนื้อ ปวดมวนเป็น ตรีสันฑฆาต, ตรีสันทฆาต, ตรีสันทะฆาฎ มูกเลือด ดากออก ตวั ผอมเหลอื ง, ตานขโมย [ตรีสันทะคาด] น. โรคชนิดหน่ึงที่เกิดจาก กเ็ รยี ก. การกระทบกระแทกอยา่ งแรงจนชอกชำ้ เปน็ ตานจร น. โรคตานชนิดหน่ึง เกิดขึ้นกับเด็กท ่ี อาการต่อเนื่องจากเอกสันฑฆาตหรือโทสันฑ เกิดในวันใดก็ได้ มีชื่อแตกต่างกันไป เช่น ฆาต เกิดเป็นเม็ดผุดข้ึนภายในบริเวณดี ตับ กะระ พรหมกิจ สนั ตกุ มิต สาระพะกะระ ซึ่ง หรอื ลำไส้ ทำใหเ้ ปน็ ไข้ จกุ เสยี ด ทอ้ งพอง มี ตานจรแต่ละประเภทน้ีมีสาเหตุและอาการ อาการเพ้อ คล่ัง ประดุจผีเข้าสิง ถ้าเป็นนาน ตา่ งกนั . 7–9 วัน โลหิตจะแตกออกตามทวารทงั้ 9. ตาปลา น. เน้ือซึ่งด้านเป็นไตแข็งคล้ายตา ตรีสาร น. พิกัดยาชนิดหน่ึง จำกัดตัวยา 3 ของปลา มักเป็นทฝี่ า่ เทา้ หรือนิ้วเท้า. อย่าง ได้แก่ รากเจตมูลเพลิง เถาสะค้าน ตาย ก. 1. สิ้นใจ สิ้นชีวิต ไม่เป็นอยู่ต่อไป. 2. และรากช้าพลู ในปริมาณเท่ากันโดยน้ำหนัก ส้ินสภาพของการมีชีวิต เช่น สภาวะสมอง พิกดั นรี้ สเผ็ดรอ้ น สรรพคณุ แก้เสมหะ ปติ ตะ ตาย เนื้อตาย. 3. เคล่ือนไหวไม่ได้ เช่น มือ วาตะในกองธาตุ ฤดู อายุ และกองสมุฏฐาน. ตาย ตนี ตาย. 4. รับความรสู้ กึ ไมไ่ ด้. ตะเกียบ น. ส่วนล่างของกระดูกเชิงกรานท่ี ตาระสกะโรค, ตาระสะกะโรค น. ริดสีดวง แตะพื้นในเวลานั่ง. ประเภทหน่ึง เกิดขึ้นในหัวหน่าวและท้อง

66 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 น้อย ผู้ป่วยจะมีอาการปวดท้องน้อยมาก คำ ถนั แปลวา่ เต้านม และ ปโยธร แปลว่า ปัสสาวะขัด หยดย้อย แสบร้อนในท่อ อวยั วะอนั ทรงไวซ้ งึ่ นำ้ , นม). ปัสสาวะมาก ดังตำรายาศิลาจารึกในวัด ทวดึงษาการ, ทวดึงสาการ, ทวัตดึงสาการ, พระเชตุพนวิมลมังคลาราม [4/272] ตอน ทวัตติงสาการ ดู อาการ 32. หน่ึงว่า “… ลำดับนี้จะกล่าวด้วยนัยหนึ่งใหม่ อาการ 32 น. ส่วนที่ประกอบเป็นร่างกายท่ี ว่าด้วยลักษณะหฤศโรค อันช่ือว่าตาระสกะ มองเห็นและจับต้องได้ 32 อย่าง มีธาตุดิน กล่าวคือโรคริดสีดวง อันบังเกิดขึ้นในเหน่า 20 อยา่ ง (ได้แก่ ผม ขน เลบ็ ฟัน หนัง เนื้อ และท้องน้อยน้ันเป็นคำรบ 10 มีอาการ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ไตหรือพุง หัวใจ กระทำใหป้ วดท้องนอ้ ยเป็นกำลงั บางทใี หข้ ัด ตับ พงั ผดื ม้าม ปอด ไสใ้ หญ่ ไสน้ อ้ ย อาหาร ปัสสาวะ บางทีให้ปัสสาวะบ่อย ๆ และหยด ใหม่ อาหารเก่า และสมองศีรษะ) และธาตุ ย้อย มิสะดวก ให้แสบร้อนในลำปัสสาวะยิ่ง น้ำ 12 อย่าง (ได้แก่ น้ำดี เสมหะหรือเสลด นัก ฯ ...”. ดู ริดสีดวง ประกอบ. หนอง เลือด เหง่ือ มันข้นหรือไขมัน น้ำตา ตาแหก น. อาการที่ลืมตาเปิดได้ไม่เต็มท่ี มันเหลวหรือน้ำเหลือง น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ และหลับตาไม่สนทิ . และปสั สาวะ) เม่ือมีส่วนประกอบเหลา่ น้คี รบ ตุ่ม น. เม็ดท่ีข้ึนตามร่างกาย เช่น ผิวหนัง สมบูรณ์ มักเรียกว่า อาการครบ 32, ทวัต ฝา่ มือ ฝ่าเทา้ ในปาก ในคอ. ดงึ สาการ ทวดึงสาการ ทวดงึ ษาการ หรอื ท ถัน น. 1. เต้านม. 2. น้ำนม. วตั ตงิ สาการ ก็เรียก. ถันประโยธร น. เต้านมของสตรี อันมีต่อม ทวาทศอาโป [ทะวาทดสะอาโป] น. ธาตุน้ำ สร้างน้ำนมสำหรับเลี้ยงลูก ดังคัมภีร์มหาโชต 12 ประการ ได้แก่ นำ้ ดี (ปติ ตัง) เสมหะหรือ รัต [2/263] ตอนหน่งึ วา่ “... อนั วา่ กูมารีทั้ง เสลด (เสมหัง) หนอง (บุพโพ) เลือด (โลหิตงั ) หลายเมื่อยังเยาวยัง เล็ก อยู่น้ัน กำเนิดตา เหง่ือ (เสโท) มันข้นหรือไขมัน (เมโท) น้ำตา นทรางก็เหมือนกันกะกูมารผู้ชาย ต่อเมื่อได้ (อัสสุ) มันเหลวหรือน้ำเหลือง (วสา) น้ำลาย อายุล่วงกำหนดตานทราง ถึงกำหนดท่ีจะมี (เขโฬ) น้ำมูก (สิงฆานิกา) ไขข้อ (ลสกิ า) และ ระดูแล้ว จ่ึงมีประเภทต่างกันกับผู้ชาย 4 ปสั สาวะ (มุตตัง). (มาจากคำ ทวาทศะ แปล ประการ ที่จะให้สัตวปะฏิสนธิ จะเกิดโรคก็ วา่ สบิ สอง กบั อาโป แปลวา่ น้ำ). เกิดด้วยโลหิตน้ันมากกว่าโรคอ่ืน มีประเภท ทันตา น. ฟัน เป็นองค์ประกอบ 1 ใน 20 แปลกันกับชาย 4 ประการนั้น คือถันประโย สงิ่ ของธาตุดิน. ธรประการ 1 คือ จริตกิริยาน้ันประการ 1 ทับหม้อเกลือ ก. เอาหม้อเกลือที่ต้ังไฟให้ร้อน คือประเวณปี ระการ 1 คือตอ่ มโลหิตประการ วางบนใบพลับพลึงหรือใบละหุ่ง ซึ่งวางบน 1 เปน 4 ประการด้วยกนั ดงั นี้ ...”. (มาจาก ผ้าดิบ แล้วห่อรวบชายผ้าทำเป็นกระจุก

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 67 สำหรับถือ นาบบนหน้าท้อง หัวหน่าว เอว ของนำ้ ปสั สาวะพวกหนึ่ง เกิดกบั ผูช้ าย ผปู้ ว่ ย สะโพก ขาหนีบ และตามตัวของหญิงหลังค มีอาการปวดหัวหน่าว เจ็บขัด แสบองคชาต ลอด เพื่อเร่งให้มดลูกเข้าอู่ ขับน้ำคาวปลา เวลาถ่ายปัสสาวะ น้ำปัสสาวะอาจมีสีและ และลดความตึงตัวของกล้ามเนื้อ, นาบหม้อ ลกั ษณะต่างกันได้ 4 แบบ คอื สขี าวขนุ่ คลา้ ย เกลอื ก็เรยี ก. น้ำข้าวเช็ด สีเหลืองคล้ายน้ำขม้ินสด สีแดง นาบหม้อเกลอื ดู ทับหมอ้ เกลอื . คล้ายน้ำฝาง และสีดำคล้ายน้ำครำ ดังคัมภีร์ ท้ายทอย น. สว่ นสุดของกะโหลกศีรษะด้านหลงั . มุจฉาปักขันทิกา [2/294] ตอนหน่ึงว่า “... ทุ่ม น. วิธีนับเวลาตามประเพณีสำหรับ 6 ทีนี้จะวา่ ด้วยทุลาวะสา 4 ประการ คือวา่ ดว้ ย ชั่วโมงแรกของกลางคืน ต้ังแต่ 19 นาฬิกา น้ำปัศสาวะ 4 ประการ คือน้ำมูตรเม่ือออก ถงึ 24 นาฬิกา เรยี กวา่ 1 ทมุ่ ถึง 6 ทมุ่ , แต่ มาน้ันขาวข้นดังน้ำเข้าเชด ถ้าเหลืองดังน้ำ 6 ทุ่ม นยิ มเรียกว่า สองยาม. ขม้ินสด ถ้าเปนโลหติ สด ๆ กด็ แี ดงดังน้ำฝาง ทุราวสา 12, ทุลาวะสา 12 น. ความผิดปรกติ ตม้ กด็ ี ดำดงั น้ำครามก็ดี ย่อมให้ปวดหัวเหน่า ของน้ำปัสสาวะ 3 จำพวก คือ ความผิด ให้แสบองคชาติ ให้สบัดร้อนสะบัดหนาวเปน ปรกติของน้ำปัสสาวะท่ีเกิดเฉพาะในผู้ชาย เวลา มปี ระการตา่ ง ๆ ...”, เขยี นว่า ทรุ าวสา ซ่ึงมี 4 ประเภท (น้ำปัสสาวะสีขาวขุ่นคล้าย หรือ ทรุ าวะสา กม็ ี. น้ำข้าวเช็ด สีเหลืองคล้ายน้ำขมิ้นสด สีแดง ทุวรรณโทษ, ทุวันโทษ [ทุวันโทด] ว. อัน คล้ายน้ำฝาง และสีดำคล้ายน้ำครำ) จำพวก เกิดจากกองสมุฏฐานปิตตะ วาตะ หรือ หนึ่ง, ที่เกิดได้ท้ังผู้ชายและผู้หญิงอีก 4 เสมหะ 2 ใน 3 กองสมุฏฐานร่วมกันกระทำ ประเภท (มตุ ฆาต 4) จำพวกหนง่ึ , และท่ีเกิด ให้เกดิ โทษ เช่น ไขท้ ุวันโทษวาตะและเสมหะ เฉพาะในผู้หญิง 4 ประเภท (มุตกิต 4) อีก เกิดจากกองสมุฏฐานวาตะและเสมหะกระทำ จำพวกหน่ึง, ดังตำรายาศิลาจารึกในวัด รว่ มกัน. พระเชตพุ นวิมลมังคลาราม [4/37] ตอนหน่ึง โทษ [โทด, โทดสะ] น. ความผิดปรกติอัน ว่า “... ทุราวสา 12 นั้น คือน้ำปัสสาวะ 4 เกิดจากการเสียสมดุลของกองสมุฏฐาน มุตคาด 4 มุตกิด 4 เป็น 12 ประการดังนี้ ปติ ตะ วาตะ และเสมหะ. ...”. 2. คัมภีร์การแพทย์แผนไทยฉบับหน่ึง โทสันฑฆาต, โทสันทฆาต, โทสันทะฆาฎ ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง มีเน้ือหาสำคัญว่าด้วย [โทสันทะคาด] น. โรคชนดิ หน่ึงที่เกิดจากการ ความผิดปรกติของน้ำปัสสาวะ และยาที่ใช้ กระทบกระแทกอย่างแรงจนชอกช้ำ เป็น แก้. อาการต่อเนื่องจากเอกสันฑฆาต เกิดอาการ ทรุ าวสา, ทรุ าวะสา 4 ดู ทลุ าวะสา, ทลุ าวะสา 4. ท้องผูกจนเป็นพรรดึก เกิดเป็นกองลมเข้าไป ทุลาวะสา, ทุลาวะสา 4 น. 1. ความผิดปรกต ิ อยู่ในท้อง ทำให้เจ็บปวดไปท้ังตัว มีอาการ

68 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 เม่ือยบ้ันเอว ขัดตะโพก เวียนศีรษะ สะบัด จันทน์เทศ 1 เปลือกคนทา 1 โกฎสอ 1 ใบ ร้อนสะท้านหนาว เปน็ ตน้ . สมี 1 ผลผักชี 1 ขิง 1 เอาเสมอภาค ตำผง นขา น. เล็บ, เล็บมือ, เล็บเท้า, เป็น นัดแก้ปวดศีศะเพ่ือเยื่อในสมองพิการ หาย องคป์ ระกอบ 1 ใน 20 ส่งิ ของธาตดุ นิ . แล ...”. นวด ก. บีบ กด คลึง จับ ดัด ดึง บิด ทุบ นตั ถ์ุ น. จมูก. สับ ตบ ตี เป็นต้น ด้วยมือหรือส่วนของมือ นาคบาท [นากคะบาด] น. บริเวณแนวเส้น แขน ศอก เข่า เท้าหรือส่วนของเท้า หรือ ชิดสันหน้าแข้งด้านนอกท่ีใช้ในการนวดแบบ อวัยวะอื่นใด รวมทั้งวัสดุอุปกรณ์อื่น เพื่อส่ง ราชสำนักและเช่ือมโยงไปยังจุดหรือตำแหน่ง เสริมสุขภาพ บำบัดโรคหรืออาการบางอย่าง บริเวณใต้สะดือบนเส้นท่ีแล่นไปยังอวัยวะ ฟ้ืนฟูสมรรถภาพของร่างกาย หรือบางกรณี เพศ ใช้นวดแก้โรคกามตายด้าน ดังตำราโรค เพอ่ื การตรวจวนิ จิ ฉัยโรค. นิทานคำฉันท์ 11 [35/64] ตอนหน่ึงว่า “… นหารู น. เส้นเอ็น, เอ็น, เป็นองค์ประกอบ แพทย์ใดเม่อื ได้เหน็ โรคกลอ่ นเส้นซ่ึงขดั ขวาง 1 ใน 20 สิง่ ของธาตดุ ิน. ให้นวดแต่เบื้องล่าง เหนือตาตุ่มข้างท้องน่อง นหารู ชาโต ดใู น โลหติ ปกติโทษ 1. แก้องคะชาติตาย เพ่ือกล่อนร้ายมิลำพอง น่งั ถ่าน ก. น่ังครอ่ มบนท่ีน่งั ซ่ึงเจาะช่อง เอาถา่ น หนึ่งเส้นน่าแข้งสอง รวมทำนองกล่อนปัตะ ท่ีคุหรือโชนแล้วใส่ในภาชนะ เช่น กะลา ฆาฏ ... บางทีเปนใส้เลื่อน แปลแชเชือนโทษ มะพร้าว หรือกระโถนขนาดเล็ก วางไว้ใต้ท่ี กาลี เส้นกล่อนในคัมภีร์ พึงขยายเส้นใต้สูนย์ น่ังให้ตรงกับช่องที่เจาะ ใช้สมุนไพรบางชนิด ใต้สะดือสักนิ้วก่ึง ประจงคลึงตลอดจูน เคียง เชน่ ผิวมะกรดู วา่ นน้ำ วา่ นนางคำ ไพล ขม้ิน เรียงเส้นสูนย์พูล ชื่อนาคบาทบอกให้รู้ ...”, อ้อย หั่นให้ละเอียด ตากแดดให้แห้ง บด เขียนวา่ นาคบาศ กม็ .ี หยาบ ๆ โรยทีละหยิบมือ ลงบนถ่านให้พลุ่ง นาคบาศ ดู นาคบาท. เป็นควันผ่านช่องท่ีเจาะข้ึนสู่ฝีเย็บของผู้นั่ง หรืออาจใช้วิธีการนั่งคร่อมบนกระโถน หรือ โอ่งขนาดพอเหมาะ ที่ใส่ถา่ นท่ีคุหรอื โชนและ โรยสมุนไพรต่าง ๆ นั้นแล้ว โบราณว่า เปน็ การสมานแผลทเี่ กดิ จากการคลอดบตุ ร. นัด ก. เป่าหรือสูดผงยาท่ีบรรจุในหลอดโค้ง เข้าในจมูก เช่น นัดยานัตถุ์ ดังคัมภีร์ประถม จินดา [1/122] ตอนหน่ึงวา่ “... ปวดศศี ะเอา ชะเอมทง้ั 2 ชะมด 1 ภมิ เสน 1 อบเชยเทศ 1

วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine ปที ี่ 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 Vol. 10 No. 1 January-April 2012 วารสารสโมสร ธงชยั สขุ เศวต** การจัดทำคอลัมน์วารสารสโมรสรการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอ เอกสารส่ิงพิมพ์ท่ีเก่ียวข้องของนักวิชาการไทย แล้วรวบรวมไปจัดพิมพ์เป็นเล่มสารสนเทศของข่ายงาน ซึ่งหวงั วา่ จะเปน็ ประโยชน์ในการค้นเอกสารอา้ งอิง และในการวางแผนวิจยั ไมซ่ ำ้ ซอ้ น. เจลแคปไซซินจากพริกช่วยบรรเทา ชาติ โดยสารสำคญั ทอี่ อกฤทธ์ิ คอื สารแคปไซซนิ อ วีราะชกัยาโครวขสุวอ้ รรเณข,า่ วเินสัย ือ่ ศิรมิชา*ต ิวาปี, ทวีโชค วิษณุโยธิน, พล (capsaicin) แต่ขนาดทีใ่ ช้ 0.075% and 0.05% ของแคปไซซินมีผลข้างเคียงสำคัญ คือ เกิด ศกั ดิ์ จริ ะวพิ ูลวรรณ, วิรุฬห์ เหล่าภทั รเกษม อาการผิวหนังแดง ปวด และแสบร้อน ผู้วิจัยจึง ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น ทำการวิจัยหาประสิทธิผลของเจลแคปไซซิน ขนาด 0.125% ในผู้ป่วยที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมท่ ี Journal of the Medical Association of Thailand, 2553, แสดงอาการ โดยทำการศึกษาคุมแบบสุ่มเปรียบ 93(10): 1188-1195. เทียบ ปกปิด 2 ทาง และไขว้กลุ่มในผู้ป่วย 100 คน ที่มีอาการข้อเข่าเสื่อมน้อยถึงปานกลาง แบ่ง ผู้ป่วยเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มทาเจลแคปไซซิน กับ พริกเป็นเคร่ืองปรุงรสมีรสชาติเผ็ดร้อน กลุ่มทาเจลไม่มีตัวยา โดยให้ทาเจลแคปไซซินบริ เป็นทีน่ ยิ มในประเทศไทย และมกี ารใช้ในทางการ เวณข้อเข่าท่ีเสื่อมวันละ 3 ครั้ง เป็นเวลา 4 แพทย์แผนไทยมานาน ซ่ึงการใช้เป็นยาทาเฉพาะ สัปดาห์ จากน้ันเว้น 1 สัปดาห์แล้วไขว้กลุ่มทา ที่ พบว่ามีฤทธ์ิช่วยในการลดอาการปวดข้อ ปวด เจลแคปไซซินและเจลไม่มีตัวยาบริเวณข้อเข่าที่ กล้ามเน้ือ และได้บรรจุอยู่ในบัญชียาหลักแห่ง เส่ือมวันละ 3 คร้ัง เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ผลการ ศึกษาพบว่า ผู้ป่วยที่ทาเจลแคปไซซินมีความ * Kosuwon W., Sirichatiwapee W., Wisanuyotin T., รุนแรงของอาการข้อเข่าเส่ือมลดลง อาการปวด Jeeravipoolvarn P., Laupattarakasem W. (2010) ข้อยึด และการเคล่ือนไหวของข้อดีข้ึน เม่ือเทียบ Efficacy of symptomatic control of knee osteoarthritis with 0.0125% of capsaicin versus placebo. Journal of the Medical Association of Thailand. 93(10): 1188- 1195. **คณะเภสชั ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 69

70 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ปที ่ี 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 กบั การทาเจลที่ไม่มตี วั ยา โดยพบอาการข้างเคียง หวาน 170 คน ที่มารักษาท่ีภาควิชาศัลยศาสตร์ สำคัญ คือ อาการแสบร้อนบริเวณผิวหนังท่ีทา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เจลแคปไซซินในผู้ป่วย 67% แต่ไม่มีผู้ป่วยถอน โดยแบ่งผู้ป่วยเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มให้ยาหลอก ตัวจากการศึกษาด้วยเหตุดังกล่าว จึงสรุปได้ว่า และกลุ่มท่ีให้แคปซูลสารสกัดบัวบกขนาด 50 เจลแคปไซซิน ขนาด 0.125% มีประสิทธิผลใน มิลลิกรัมของสารสกัดเอเซียทิโคไซด์ ครั้งละ 2 การบรรเทาอาการข้อเข่าเส่ือม ในผู้ป่วยที่มีความ แคปซลู วนั ละ 3 คร้งั หลังอาหาร เป็นเวลา 21 วนั รุนแรงของโรคน้อยถึงปานกลาง โดยอาการแสบ ทั้ง 2 กลุ่มได้รับการรักษาเบาหวานและแผลเช่น ร้อนที่ผิวหนังบริเวณที่ทาก็น้อยกว่าการศึกษา เดยี วกนั โดยตรวจรา่ งกายและแผลในวันท่ี 7, 14 ก่อนหน้านี ้ และ 21 ผลการศึกษาพบว่าแผลในกลุ่มที่ได้รับ สารสกัดบัวบกจะหายเร็วกว่ากลุ่มยาหลอก โดย ไม่พบอาการข้างเคียงท่ีไม่พึงประสงค์ ในทั้ง 2 สารสกัดจากบัวบกช่วยทำให้แผลหาย กลุ่ม ผูว้ ิจยั จงึ สรุปวา่ สารสกัดบวั บกชว่ ยให้แผลใน เ ร็วขนึ้ ในผู้ปว่ ยเบาหวาน** ผู้ป่วยเบาหวานหายเร็วข้ึนและเกิดแผลเป็นชนิด นูนลดลง โดยไม่พบผลข้างเคียงหรืออาการที่ไม่ วรี ยะ เภาเจริญ พึงประสงค ์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ Journal of the Medical Association of Thailand. 2553, ประสิทธิผลของสารสกัดเถาวัลย์ 93 Suppl 7: S166-170. เ ป รี ย ง ใ น ก า ร รั ก ษ า ผู้ ป่ ว ย ข้ อ เ ข่ า เส่อื ม*** บัวบกเป็นพืชสมุนไพรท่ีนำมาใช้เป็น วิไล คุปต์นิรัติศัยกุล1, ธีระวุธ ปิ่นทอง2, มาลี บรรจบ2, สุนี ธน เคร่ืองดื่ม อาหาร และใช้ในการรักษาโรคต่างๆ กำธร3, พรสิริ ชินสว่างวัฒนกลุ 3, วษิ ณุ ธรรมลขิ ิตกลุ 4 ตามการแพทย์แผนไทยมาเป็นเวลานาน โดยมี สารสำคัญตัวหนึ่งท่ีออกฤทธิ์ คือ เอเซียทิโคไซด์ 1 ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล และได้บรรจุอยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ซึ่งพบมี มหาวิทยาลัยมหิดล ฤทธิ์สมานแผล ลดการอักเสบ ผู้วิจัยจึงทำการ 2 สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง ศึกษาประสิทธิผลและอาการข้างเคียงของสาร สาธารณสุข สกัดบัวบกในการรักษาแผลในผู้ป่วยเบาหวาน 3 สำนักงานวิจัยและพัฒนา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล โดยเป็นการศึกษาควบคุมแบบสุ่ม ในผู้ป่วยเบา มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 4 ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล **Paocharoen V. (2010) The efficacy and side effects มหาวิทยาลัยมหดิ ล of oral Centella asiatica extract for wound healing Journal of Alternative and Complementary promotion in diabetic wound patients. Journal of the Medicine. 2554, 17(2):147-153. Medical Association of Thailand. 93 Suppl 7: S166-170.

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 71 เถาวัลย์เปรียง พืชสมุนไพรท่ีใช้มานานใน ความคิดเห็นของบุคลากรสาธารณสุข ทางการแพทย์แผนไทย ได้รับการบรรจุในบัญชี ต่อยาจากสมุนไพรและนโยบายการ ยาหลักแห่งชาติ ในการบรรเทาอาการปวดกล้าม ส่งเสริมการใช้ยาจากสมุนไพรใน เนื้อและลดการอักเสบของกล้ามเนื้อ ผู้วิจัยจึง สถานบริการสาธารณสขุ * ทำการวิจัยประสิทธิผลและอาการข้างเคียงของ สารสกัดเถาวัลย์เปรียงในการรักษาผู้ป่วยโรคข้อ เข่าเส่ือม โดยทำการศึกษาควบคุมแบบสุ่ม โดย คคั นางค์ โตสงวน1, ณัฏฐญิ า ค้าผล2, มนทรัตม์ ถาวรเจรญิ ทรัพย3์ , ปดิ ทางเดยี วไมใ่ ห้ผูต้ รวจรักษาทราบ ณ ภาควชิ า เนติ สขุ สมบูรณ3์ , วนั ทนยี ์ กุลเพ็ง1, ศรเี พ็ญ ตันติเวสส1, ยศ ตีระ เวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ศิริราช วฒั นานนท1์ พยาบาล ในผู้ป่วย 107 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลมุ่ ทีไ่ ดร้ ับสารสกัดเถาวัลยเ์ ปรยี ง 800 มลิ ลกิ รัม 1 โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายสุขภาพ กรมอนามัย ต่อวัน และกลุ่มที่ได้รับยาต้านการอักเสบนาโปร กระทรวงสาธารณสุข เซน 500 มิลลิกรัมต่อวัน เป็นเวลา 4 สัปดาห์ 2 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร โดยทำการวัดผลการรักษาที่สัปดาห์ท่ี 0, 2 และ 3 คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล 4 ซ่ึงพบว่าผู้ป่วยมีอาการข้อเข่าเส่ือมดีขึ้นไม่แตก วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 5, 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2554) : ต่างกนั ทงั้ 2 กล่มุ โดยพบอาการระคายเคอื งทาง เดนิ อาหาร และดสี เปปเซยี (dyspepsia) ในกลุ่ม 513-521 ท่ีได้รับนาโปรเซนมากกว่ากลุ่มท่ีได้รับสารสกัด การส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรเพื่อมา เถาวัลย์เปรียง ผู้วิจัยจึงสรุปว่า สารสกัดเถาวัลย์ ทดแทนยาแผนปัจจุบันเป็นนโยบายที่สำคัญและ เปรียงสามารถใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคข้อเข่า ดำเนินการมานานแต่ก็ยังไม่ประสบผลเท่าท่ีควร เสื่อมได้โดยมผี ลข้างเคียงนอ้ ย ตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้ ผู้วิจัยจึงทำการศึกษาความ คิดเห็นของบุคลากรสาธารณสุขท้ังต่อยาจากสมุน ไพรและต่อนโยบายส่งเสริมการใช้ยาจากสมุน ไพร โดยใช้การวจิ ัยเชงิ คุณภาพ ซึง่ พบวา่ บคุ ลากร สาธารณสุขให้ความเช่ือมั่นในด้านประสิทธิผล และความปลอดภยั ของยาจากสมนุ ไพรน้อย สมนุ ไพรมีรูปลักษณ์ที่ไม่ดึงดูดให้ใช้และมีราคาแพง การกำหนดเป้าหมายให้ใช้ยาจากสมุนไพรเพิ่มขึ้น เป็นร้อยละ 25 ของมลู คา่ การใช้ยาท้งั หมดเปน็ ไป ได้ยาก การขาดการเตรียมการสนับสนุนรองรับ ***Kuptniratsaikul V., Pinthong T., Bunjob M., ***คัคนางค์ โตสงวน, ณัฏฐิญา ค้าผล, มนทรัตม์ ถาวร Thanakhumtorn S., Chinswangwatanakul P., เจริญทรัพย์, เนติ สุขสมบูรณ์, วันทนีย์ กุลเพ็ง, ศรีเพ็ญ ตันติ Thamlikitkul V. (2011) Efficacy and safety of Derris เวสส, ยศ ตีระวัฒนานนท์ (2554) ความคิดเห็นของบุคลากร scandens Benth extracts in patients with knee สาธารณสุขต่อยาจากสมุนไพรและนโยบายการส่งเสริมการใช้ยา osteoarthritis. Journal of Alternative and จากสมุนไพรในสถานบริการสาธารณสุข. วารสารวิจัยระบบ Complementary Medicine. 17(2):147-53. สาธารณสุข. 5, 4: 513-521.

72 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ปีที่ 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 นโยบายส่งเสริมการใช้ยาจากสมุนไพรอย่าง ผลติ ยาสมนุ ไพรใหไ้ ดม้ าตรฐาน การประชาสมั พนั ธ์ ชัดเจน อุปสรรคสำคัญคือเกณฑ์การเบิกจ่ายใน ยาสมุนไพรท่ีทันสมัยมากขึ้น ควรมีการสร้าง โรงพยาบาล และความเชื่อม่ันในมาตรฐานของ เจตคติที่ดีจากการใช้ยาจากสมุนไพรโดยผ่าน การผลิตยา สำหรับปัจจัยส่งเสริมท่ีสำคัญคือการ บุคคลท่ีมีบทบาทสำคัญในโรงพยาบาลและ สนับสนุนจากผู้อำนวยการหรือบุคคลท่ีมีบทบาท พัฒนาบุคคลเหล่าน้ีให้เป็นแกนนำในการส่งเสริม สำคัญในโรงพยาบาล จากผลการศึกษานี้ผู้วิจัย การใช้ยาจากสมุนไพร การให้ความรู้เกี่ยวกับการ ได้ให้ข้อเสนอแนะท่ีสำคัญเพื่อให้นโยบายส่งเสริม ใช้ยาจากสมุนไพรแก่แพทย์ใหม่ท่ีมาประจำโรง การใช้ยาจากสมุนไพรประสบความสำเร็จใน พยาบาล การบรรจุเนื้อหาหรือวิชายาจากสมุน อนาคต ได้แก่ มีหน่วยงานกลางรวบรวมทบทวน ไพรในหลักสูตรของนักศึกษาแพทย์เพ่ือให้แพทย์ องค์ความรู้สมุนไพรให้สืบค้นและต่อยอดองค์ มีความคุ้นชินกับการใช้ยาจากสมุนไพรในการ ความรู้ง่าย การปรับปรุงระบบเบิกจ่ายยาสมุน ดูแลรักษาผู้มารับบริการ และนโยบายภาคบังคับ ไพรให้ไม่เกิดข้อจำกัด การวางแผนกำลังคน การ จากภาครัฐในการตัดรายการยาแผนปัจจุบันที่มี ปรับระบบการข้ึนทะเบียนยาจากสมุนไพร ข้อบ่งใช้เดียวกันกับยาจากสมุนไพรท่ีมีการใช้มาก พัฒนารูปแบบยาสมุนไพรให้น่าใช้ ส่งเสริมการ ในโรงพยาบาลออกจากบญั ชยี าโรงพยาบาล

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine ปีท่ี 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 Vol. 10 No. 1 January-April 2012 คำแนะนำสำหรบั ผู้นพิ นธ ์ (ฉบับปรับปรงุ ) การเตรียมและสง่ ตน้ ฉบบั (preliminary report) หรอื รายงานสงั เขป (short communication) ซงึ่ เปน็ การนำเสนอรายงานผล การศึกษาวิจัยที่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ต้องศึกษาต่อ 1. ประเภทหวั ข้อและเนอื้ หาในวารสาร 1.1 บรรณาธิการแถลง เป็นการส่ือสาร เพื่อเก็บข้อมลู เพมิ่ เตมิ และรายงานผปู้ ่วย (case ระหว่างบรรณาธิการกับผู้อ่านให้ทราบว่าข่าวสาร report)/บันทึกเวชกรรม (clinical note) เป็น บทความ รายงานการศึกษาและอ่ืนๆ ท่ีกอง การรายงานผปู้ ว่ ยทไี่ มธ่ รรมดา หรอื ทเี่ ปน็ โรค หรอื บรรณาธิการได้นำเสนอในวารสาร หรือเป็นการ กลุ่มอาการโรคใหม่ ท่ีไม่เคยรายงานมาก่อน แสดงความคิดเห็น ความในใจ ความรู้สึกต่าง ๆ หรือพบไม่บ่อย และมหี ลกั ฐานอย่างครบถว้ น ท่ีเกี่ยวข้องกับสถานการณ์วิชาการ บทความ 1.3 บทปริทัศน์ (review article) เป็น ความรู้ หรอื อนื่ ๆ ท่บี รรณาธิการต้องการส่ือถงึ ผู้ บทความท่ีรวบรวมความรู้เรื่องใดเรื่องหน่ึง จาก วารสารหรือหนังสือตา่ ง ๆ ท้งั ในและตา่ งประเทศ อา่ นใหผ้ อู้ ่านไดร้ บั รหู้ รอื เข้าใจ 1.2 จดหมายถงึ บรรณาธิการ (letter to ประกอบดว้ ย บทนำ วธิ กี ารสืบค้นขอ้ มูล เน้อื หา the editor) หรอื จดหมายโต้ตอบ (correspon- ที่ทบทวน บทวิจารณ์ และเอกสารอ้างอิงหรือ dence) เปน็ เวทใี ชต้ ดิ ตอ่ ตอบโตร้ ะหวา่ งนกั วชิ าการ บรรณานุกรม ความยาวของเร่ืองไม่ควรเกิน ผู้อ่านกับเจ้าของบทความท่ีตีพิมพ์ในวารสารใน 15 หนา้ พมิ พ์ กระดาษ เอ 4 กรณีผู้อ่านมีข้อคิดเห็นแตกต่าง ต้องการชี้ให้เห็น 1.4 นิพนธ์ต้นฉบับ (original article) ความไมส่ มบรู ณห์ รอื ขอ้ ผดิ พลาดของรายงาน และ เป็นรายงานผลการศกึ ษา ค้นควา้ วจิ ยั ประกอบ บางคร้ังบรรณาธิการอาจวิพากษ์สนับสนุนหรือโต้ ด้วยลำดับเนื้อเรอื่ งดงั ต่อไปนี้ ชอื่ เร่อื ง ชอ่ื ผนู้ พิ นธ์ แย้ง นอกจากนี้ ยังเป็นเวทีการรายงานเบื้องต้น บทคัดย่อท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ คำ 73

74 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ปีท่ี 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 สำคัญ บทนำ ระเบียบวิธีศึกษา ผลการศึกษา 2. การเตรียมนิพนธ์ต้นฉบับ ชอ่ื บทความ วิจารณ์ ข้อสรุป กิตตกิ รรมประกาศ และเอกสาร ประกอบด้วย - ชอื่ เร่ือง ควรส้ัน กะทัดรดั และสื่อเป้า อ้างอิง ความยาวของเรื่องไม่ควรเกิน 15 หน้า หมายหลักของการศึกษา ไมใ่ ช้คำย่อ ความยาวไม่ ควรเกิน 100 ตัวอักษร พร้อมช่องไฟ ถ้าช่ือยาว พิมพ์กระดาษ เอ 4 มากตัดเป็นชื่อรอง ช่ือเร่ืองต้องมีภาษาไทยและ 1.5 ปกิณกะ (miscellaneous) เป็น ภาษาอังกฤษ ไม่ใส่วลีท่ีน่าเบ่ือ เช่น “การ บทความขนาดเล็กที่เนื้อหาอาจเข้าข่าย หรือไม่ ศกึ ษา...” “การสังเกต...” - ช่ือผู้นิพนธ์ให้มีทั้งภาษาไทย และ เข้าข่ายบทความต่าง ๆ ท่ีกล่าวมาข้างต้น เช่น ภาษาองั กฤษ (ไมใ่ ช้คำย่อ) บทความพเิ ศษ (special article) เป็นบทความ - หน่วยงานหรือสถาบันท่ีผู้นิพนธ์ ประเภทกึ่งบทบรรณนิทัศน์ กับบทความฟ้ืนวิชา ทำงาน ให้มีท้ังภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (ไม่ ใช้คำย่อ) ที่ไม่สมบูรณ์พอที่จะบรรจุเข้าเป็นบทความชนิด - ชอื่ ท่ีอยู่ และ E-mail address ของ ใดชนิดหน่ึง หรือเป็นบทความแสดงข้อคิดเห็น ผู้นิพนธ์ ท่ีใช้ติดต่อเกี่ยวกับต้นฉบับและบทความ เกี่ยวโยงกับเหตุการณ์ปัจจุบันท่ีอยู่ในความ ทตี่ พี ิมพ์แล้ว สนใจของมวลชนเป็นพิเศษ ข่าว หรือการ - แหล่งทนุ สนับสนุนการศึกษา จัดการความรู้ท่ีเก่ียวข้องกับการแพทย์แผนไทย บทคดั ย่อ การแพทยพ์ ้นื บา้ น และการแพทยท์ างเลือก เป็นเนื้อความย่อตามลำดับโครงสร้างของ 1.6 วารสารสโมสร (journal club) บทความ ได้แก่ บทความ วัสดุและระเบียบวิธี เป็นบทแนะนำ บทความวิชาการและงานวิจัยที่ดี การศกึ ษา ผลการศึกษา และวิจารณไ์ ม่เกิน 250 คำ หรือ 15 บรรทัด ใช้ภาษารัดกุมเป็นประโยค ท่ีน่าสนใจ พร้อมบทวิเคราะห์และวิจารณ์โดยผู้ สมบูรณ์มีความหมายในตัวเองไม่ต้องหาความ หมายต่อ ต้องเป็นประโยคอดีต (เฉพาะภาษา เขียน เพื่อให้ผู้อ่านได้รับทราบและนำไปใช้เป็น อังกฤษ) ไม่ควรมีคำย่อ ต้องเขียนท้ังภาษาไทย ประโยชนห์ รือศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเติม 1.7 คำแนะนำสำหรบั ผ้นู พิ นธ์ (Instruc- tions to Authors) เป็นบทแนะนำวารสารฯ และการเขียนนิพนธ์ต้นฉบับให้แก่ผู้ที่มีความ ประสงค์จะส่งบทความ “นพิ นธ์ตน้ ฉบับ” มาพมิ พ์ ในวารสารกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการ แพทยท์ างเลือก

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 75 และภาษาอังกฤษ และวิธกี ารศึกษา บทคัดย่อภาษาไทยของบทความภาษา หัวข้อวัสดุให้บอกรายละเอียดของส่ิงนำ อังกฤษให้ใส่ ช่ือเรื่อง ชื่อ-สกุลของผู้นิพนธ์เป็น มาศึกษา เช่น ผู้ป่วย คนปรกติ สัตว์ พชื รวมถงึ ภาษาไทยไว้เหนือเน้ือความย่อ สำหรับบทคัดย่อ จำนวน และลักษณะเฉพาะของตัวอย่างที่ศึกษา ภาษาอังกฤษของบทความภาษาไทยก็เช่น เช่น เพศ อายุ น้ำหนัก ต้องบอกถึงการอนุญาต เดียวกัน ให้ใส่ชื่อเร่ือง ช่ือ-สกุลของผู้นิพนธ์เป็น จากผู้ท่ีเข้ารับการศึกษา และการยอมรับจาก ภาษาอังกฤษไวเ้ หนือเนอ้ื ความยอ่ คณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมในการศึกษาสิ่ง มีชวี ติ ตลอดจนอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา คำสำคัญ (key words) หัวข้อระเบียบวิธีการศึกษา เร่ิมด้วยรูป ใส่ไว้ท้ายบทคัดย่อ เป็นหัวข้อเร่ืองสำหรับ แบบ แผนการศึกษา (study design) เช่น ทำดัชนีคำสำคัญ (keyword index) ของปี randomized, double blind, descriptive วารสาร (volume) และดชั นี เรอื่ งสำหรับ Index หรือ quasi-experimental การสุ่มตัวอย่าง Medicus โดยใช้ Medical Subject Headings (randomization) เช่น การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (MeSH) terms ของ U.S. National Library of แบบหลายขั้นตอน วิธีหรือมาตรการที่ใช้ศึกษา Medicine เปน็ แนวทางการให้คำสำคญั (interventions) เช่น รูปแบบการศึกษา การ รักษาชนิดและขนาดของยาที่ใช้ ถ้าเป็นมาตรการ ภูมิหลงั และเหตุผล ท่ีรู้จักทั่วไปให้ระบุในเอกสารอ้างอิง ถ้าเป็นวิธี เปน็ สว่ นของบทความท่ีบอกเหตผุ ล นำไป ใหม่ อธิบายให้ผู้อ่านเข้าใจแล้วนำไปใช้ต่อได้ วิธี สู่การศึกษา แต่ต้องไม่ทบทวนวรรณกรรม หรือ การเก็บข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล และสถิติที่ ภูมิหลัง และเหตุผลมากมายท่ีไม่เก่ียวกับจุดมุ่ง ใช ้ หมายของการศึกษา เปน็ สว่ นท่อี ธบิ ายให้ผอู้ า่ นรู้ ว่าจะตอบคำถามอะไร และให้รวมวัตถุประสงค์ ผลการศกึ ษา (results) ของการศึกษาเป็นร้อยแก้วในส่วนท้ายของ แจ้งผลที่พบตามลำดับหัวข้อของแผนการ บทนำ ไม่นยิ มใส่ผลการศึกษาและสรุป ศึกษาอย่างชัดเจน ดูได้ง่าย ถ้าผลไม่ซับซ้อนไม่มี ตวั เลขมากอาจบรรยายเป็นรอ้ ยแก้ว แตถ่ า้ ตวั เลข ระเบยี บวธิ ศี ึกษา มาก ตวั แปรมาก ควรใช้ตาราง หรอื แผนภาพโดย เขียนช้แี จงแยกเปน็ 2 หัวข้อใหญ่ คอื วัสดุ ไม่ต้องอธิบายตัวเลขในตารางซ้ำอีกในเน้ือเร่ือง

76 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ปีท่ี 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 แปลความหมายของผลที่ค้นพบหรือวิเคราะห์ รับการช่วยเหลือท่ีสำคัญจากที่ใดบ้าง เช่น ผู้ และสรุปเปรยี บเทยี บกับสมมตฐิ านทวี่ างไว้ บริหาร ผู้ช่วยเหลือทางเทคนิคบางอย่าง และผู้ สนับสนุนทุนการวิจัย การใส่ช่ือคนช่วยมาก ๆ วจิ ารณ์ (discussion) อาจทำใหบ้ ทความดอ้ ยความภมู ฐิ าน เพราะผอู้ า่ น เริ่มด้วยการวิจารณ์ผลการศึกษาตรงกับ จะอนมุ านวา่ งานส่วนใหญ่มคี นช่วยทงั้ หมด วัตถุประสงค์ สมมติฐานของการวิจัย หรือแตก ต่างไปจากผลงานที่มีผู้รายงานไว้ก่อนหรือไม่ เอกสารอ้างอิง (references) อย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นน้ัน วิจารณ์ผลที่ ดูในหวั ขอ้ การเขียนเอกสารอ้างอิง ไม่ตรงตามท่ีคาดหวัง อย่างไม่ปิดบัง แล้วจบ บทความด้วยข้อสรุป บางวารสารแยกข้อสรุป 3. การเขียนเอกสารอา้ งอิง เปน็ หวั ข้อต่างหาก การอ้างอิงเอกสารใช้ระบบเวนคูเวอร์ (Vancouver style) โดยใส่ตัวเลขลอยอยู่ ขอ้ สรปุ (conclusions) (superscript) หลังข้อความ หรือหลังช่ือบุคคล ผลทไี่ ดต้ รงกบั วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั หรอื ไม่ เจ้าของข้อความที่อ้างถึง โดยใช้หมายเลข 1 ให้ข้อเสนอแนะที่นำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ สำหรับเอกสารอ้างอิงอันดับแรกและเรียงต่อไป หรือให้ประเด็นคำถามการวิจัยสำหรับการวิจัย ตามลำดับ ถ้าต้องการอ้างอิงซ้ำให้ใช้หมายเลข ต่อไป เดิม ห้ามใช้คำย่อในเอกสารอ้างอิงยกเว้นชื่อต้น และชื่อวารสาร บทความที่บรรณาธิการรบั ตพี มิ พ์ ตาราง รูป และแผนภาพ แล้วแต่ยังไม่เผยแพร่ ให้ระบุ “กำลังพิมพ์” ควรแยกพิมพ์ต่างหากไม่ควรสอดแทรกไว้ บทความท่ีไม่ได้ตีพิมพ์ให้แจ้ง “ไม่ได้ตีพิมพ์” ในเน้ือเรื่อง แต่ควรเว้นที่วา่ งไวใ้ นเนื้อเร่ืองพอเป็น หลกี เลี่ยง “ติดตอ่ สว่ นตัว” มาใช้อา้ งองิ เว้นแต่มี ท่ีเขา้ ใจ พรอ้ มกบั เขียนแจ้งไวใ้ นกรอบว่า ข้อมูลสำคัญมากท่ีหาไม่ได้ทั่ว ๆ ไป ให้ระบุช่ือ และวันท่ีติดตอ่ ในวงเล็บท้ายชือ่ เร่อื งที่อา้ งอิง ใ ส ต่ า ร า ง ท ี่ 1 หรือ ใส่รปู ที่ 1 ช่ือวารสารในการอ้างอิง ให้ใช้ช่ือย่อตาม รูปแบบของ U.S. National Library of กติ ตกิ รรมประกาศ (acknowledgments) Medicine ที่ตีพิมพ์ใน Index Medicus ทุกปี ควรมเี พียงย่อหนา้ เดยี ว แจง้ ให้ทราบวา่ ได้ หรอื ในเวบ็ ไซต์ http://www.nlm.nih.gov/tsd/

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 77 serials/liji.html Chernobyl: 5-year follow-up. Br J Cancer การเขียนเอกสารอ้างอิงในวารสารวิชาการ 1996;73:1006-12. มหี ลักเกณฑ์ ดงั น้ ี 3.1.2 องคก์ รเปน็ ผู้นพิ นธ์ 1.) คณะผู้เช่ียวชาญจากสมาคมอุร 3.1 วารสารวิชาการ เวชแห่งประเทศไทย. เกณฑ์การวินิจฉัยและ ลำดับท่ี. ชื่อผู้นิพนธ์. ช่ือเร่ือง. ชื่อ แนวทางการประเมินการสูญเสียสมรรถภาพทาง วารสาร. ปีที่พิมพ์; ปีท่ี: หน้าแรก – หน้า กายของโรคระบบการหายใจเน่ืองจากการ สุดท้าย. วารสารภาษาไทย ช่ือผู้นิพนธ์ให้ใส่ชื่อ ประกอบอาชีพ. แพทยสภาสาร 2538;24:190- เต็มท้งั ช่ือและชื่อสกลุ ชอื่ วารสารเปน็ ช่อื เตม็ ปีที่ 204. พิมพ์เป็นปีพุทธศักราช วารสารภาษาอังกฤษ ใช้ 3.1.3 ไมม่ ีช่ือผ้นู ิพนธ ์ ชื่อสกุลก่อน ตามด้วยอักษรย่อตัวหน้าตัวเดียว 1.) Cancer in South Africa ของช่ือตวั และชอ่ื รอง ถา้ มีผูน้ ิพนธ์มากกวา่ 6 คน (editorial). S. Afr Med J 1994;84:15. ให้ใส่ชือ่ เพียง 6 คนแรก แล้วตามดว้ ย และคณะ 3.1.4 บทความในฉบบั แทรก หรือ et al. ช่ือวารสารใช้ชื่อย่อตามแบบของ 1.) วิชัย ตันไพจิตร, ส่ิงแวดล้อม Index Medicus หรือตามแบบที่ใช้ในวารสารน้นั โภชนาการกับสุขภาพ. ใน : สมชัย บวรกิตติ, ๆ เลขหน้าสุดทา้ ยใส่เฉพาะเลขท้าย ตามตวั อยา่ ง จอห์น พี ลอฟทัส, (บรรณาธิการ). เวชศาสตร์ส่งิ ดงั น้ี แวดล้อม. สารศิริราช 2539;48 (ฉบับ 3.1.1 เอกสารจากวารสารวิชาการ ผนวก):153-61. 1.) วิทยา สวัสดิวุฒิพงศ์, พัชรี เงิน 3.1.5 ระบปุ ระเภทของบทความ ตรา, ปราณี มหาศักดิ์พันธ์, ฉวีวรรณ เชาวกีรติ 1.) บุญเรือง นิยมพร, ดำรง เพ็ชร พงศ์, ยุวดี ตาทิพย์, การสำรวจความครอบคลุม พลาย, นันทวนั พรหมผลิน, ทวี บญุ โชติ, สมชยั และการใช้บริหารตรวจหามะเร็งปากมดลูกใน บวรกิตติ, ประหยัด ทัศนาภรณ์. แอลกอฮอล์กับ สตรี อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ปี 2540. อุบัติเหตุบนท้องถนน (บทบรรณาธิการ). สาร วารสารวชิ าการสาธารณสขุ 2541;7:20-6. ศริ ริ าช 2539;48:616-20. 2.) Parkin DM, Clayton D, Black 2.) Enzenseberger W, Fischer RJ, Masuyer E, Friedl HP, Ivanov E, et al. PA. Metronome in Parkinson’s disease Childhood leukaemia in Europe after (letter). Lancet 1996;347:1337.

78 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ปีท่ี 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 3.2 หนงั สอื ตำรา หรอื รายงาน (หนา้ แรก – หนา้ สดุ ทา้ ย). 3.2.1 หนังสือหรือตำราผู้นิพนธ์ 1.) เกรียงศักด์ิ จีระแพทย์. การให้ เขยี นทัง้ เลม่ สารน้ำและเกลือแร่. ใน : มนตรี ตู้จินดา, วินัย ลำดบั ท่.ี ชือ่ ผนู้ ิพนธ์. ช่อื หนงั สอื . ครัง้ สุวัตถี, อรุณ วงษ์จิราษฎร์, ประอร ชวลิตธำรง, ทพี่ ิมพ์. เมืองที่พมิ พ์: สำนักพิมพ;์ ปที ่ีพิมพ์. พิภพ จริ ภญิ โญ (บรรณาธิการ). กมุ ารเวชศาสตร์. - หนังสือแต่งโดยผู้นพิ นธ ์ พิมพ์คร้ังท่ี 2. กรุงเทพมหานคร: เรือนแก้วการ 1.) ธงชัย สันติวงษ์. องค์การและ พมิ พ;์ 2540. หน้า 424-7. การบริหาร ฉบับแก้ไขปรับปรุง. พิมพ์คร้ังท่ี 7. 2.) Philpps SJ, Whisnant JP. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช; 2535. Hypertension and stroke. In: Laragh JH, (จำนวนหนา้ ) Brenner BM, editors. Hypertension: 2.) Ringsven MK, Bond D. pathophysiology, diagnosis, and Gerontology and leadership skills for management. 2 nd ed. New York: Raven nurses. 2 nd ed. Albany (NY): Delmer Press; 1995. p. 465-78. Publishers; 1996. (pages) - หนงั สอื มีบรรณาธิการ 3.3 รายงานการประชมุ สัมมนา 1.) วชิ าญ วทิ ยาศยั , ประคอง วิทยา ลำดบั ท.ี่ ชอ่ื บรรณาธกิ าร(บรรณาธกิ าร). ศัย (บรรณาธกิ าร). เวชปฏบิ ตั ิในผปู้ ่วยติดเช้อื เอช ชื่อเรื่อง. ชื่อการประชุม; วัน เดือน ปีประชุม; ไอวี. พิมพ์ครง้ั ท่ี 1. กรุงเทพมหานคร: มลู นิธเิ ด็ก; สถานท่ีประชุม. เมืองที่พิมพ์: สำนักพิมพ์; 2535. ปีท่ีพิมพ.์ 2.) Norman IJ, Redfern SJ, 1.) อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล, งามจิตต์ editors. Mental health care for elderly จันทรสาธิต (บรรณาธิการ). นโยบายสาธารณะ people. New York: Churchill Livingstone; เพื่อสุขภาพ. เอกสารประกอบการประชุมวิชา 1996. การสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ครั้งที่ 2 เร่ือง 3.2.2 บทหน่ึงในหนังสือหรือตำรา ส่งเสริมสุขภาพ : บทบาทใหม่แห่งยุคของทุกคน; ลำดับท่.ี ช่อื ผ้นู พิ นธ.์ ช่ือเร่ือง. ใน: ชื่อ 6-8 พฤษภาคม 2541; ณ โรงแรมโบ๊เบ้ทาวเวอร์. บรรณาธิการ (บรรณาธิการ). ช่ือหนังสือ. ครั้งที่ กรุงเทพมหานคร: ดไี ซร์; 2541. พิมพ์. เมืองท่ีพิมพ์: สำนักพิมพ์; ปีท่ีพิมพ์. หน้า

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 79 2.) Kimura J, Shibasaki H, 2. Smith P, Golladay K. editors. Recent advances in clinical Payment for durable medical equipment neurophysiology. Proceedings of the 10th billed during skilled-nursing facility stays. International Congress of EMG and Final report (US), Office of Evaluation and Clinical Neurophysiology; Oct 15-19, Inspections; 1994. Report No. : 1995; Kyoto, Japan. Amsterdam: Elsevier; HHSIGOEI69200860. 1996. p. --. 3.5 วิทยานิพนธ ์ 3.) Bengtsson S, Solheim BG. ลำดับที่. ช่ือผู้นิพนธ์. ช่ือเรื่อง Enforcement of data protection, privacy (ประเภทปริญญา). ภาควิชา, คณะ. เมือง: and security in medical informatics. In: มหาวทิ ยาลัย; ปีท่ีไดป้ รญิ ญา. Lun KC, Degoulet P, Piemme TE, Rienhoff 1. ชยมัย ชาลี. ต้นทุนในการรักษา O, editors. MEDINFO 92 Proceedings of พยาบาลของโรงพยาบาลรัฐบาล : ศึกษาเฉพาะ the 7th World Congress on Medical กรณตี วั อยา่ ง4โรงพยาบาลในเขตกรงุ เทพมหานคร. Informatics; Sep 6-10, 1992; Geneva, วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต. Switzerland. Amsterdam: North-Holland; ภาควิชาเศรษฐศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย. 1992. p. 1561-5. กรุงเทพมหานคร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2530. (จำนวนหนา้ ) 3.4 รายงานการวจิ ัย พมิ พโ์ ดยผใู้ ห้ทนุ 2. Kaplan SJ. Post-hospital ลำดบั ท่ี. ชือ่ ผ้นู ิพนธ.์ ชือ่ เร่อื ง. เมือง home health care: the elderly’s access ที่พิมพ์: หน่วยงานท่ีพิมพ์/แหล่งทุน; ปีท่ีพิมพ์. and utilization (dissertation). St. Louis เลขทีร่ ายงาน. (MO): Washington Univ.; 1995. pages. 1. ศภุ ชัย คุณารตั นพฤกษ์, ศภุ สทิ ธ์ิ พรรณนารุโณทัย. การพัฒนากลไกการจ่ายเงินที่ 3.6 สิ่งพมิ พ์อนื่ ๆ มีประสิทธิภาพ ในระบบสาธารณสุขด้วยกลุ่ม 3.6.1 บทความในหนงั สอื พิมพ์ วินิจฉัยโรคร่วม. กรุงเทพมหานคร: กองโรง ลำดับที่. ช่ือผู้เขียน. ชื่อเร่ือง. ชื่อ พยาบาลภูมิภาค/ สถาบันวิจัยสาธารณสุขไทย/ หนังสือพิมพ์ วันเดือนปีท่ีพิมพ์; ส่วนท่ี: เลข องคก์ ารอนามัยโลก; 2540. (จำนวนหนา้ ) หน้า (เลขคอลมั น์).

80 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ปีท่ี 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 1.) เพลิงมรกต. หมอ. หนังสือพิมพ์ the future (video - cassette). St. Louis ไทยรฐั วันท่ี 30 สิงหาคม 2539; 23 (คอลัมน์ 5). (MO): Mosby – Yearbook; 1995. 2.) Lee G. Hospitalizations tied to ozone pollution: study estimates 3.8 สือ่ อิเล็กทรอนกิ ส์ 50,000 admissions annually. The 3.8.1 บทความวชิ าการ Washington Post 1996 Jun 21; Sect. A:3 ลำดับท่ี. ชื่อผู้นิพนธ์. ช่ือเรื่อง. ช่ือ (col.5). วารสาร (ชนดิ ของสอื่ ) ปที พ่ี ิมพ์ [วัน เดอื น ปี ท่ี 3.6.2 กฎหมาย ค้นข้อมูล]; ปีท่ี (เล่มที่): [จำนวนภาพ]. แหล่ง 1.) พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง ขอ้ มลู 2532. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบับที่ 37 1.) Morse SS. Factors in the พ.ศ. 2532, ราชกจิ จานุเบกษาเลม่ ท่ี 106, ตอนท่ี emergence of infectious diseases. Emerg 129. (ลงวันท่ี 15 สงิ หาคม 2532). Infect Dis (serial online) 1995 Jan-Mar 2.) Preventive Health Amend- [cited 1996 Jun 5]; 1(1):[24 screens]. ments of 1993, Pub L No. 103 – 183, 107 Available from: URL: http://www.cdc.gov/ Stat. 2226. (Dec, 1993). ncidod/EID/eid.htm 3.6.3 พจนานกุ รม 3.8.2 ร า ย ง า น วิ จั ย ใ น รู ป แ บ บ 1.) พจนานุกรมราชบัณฑิตสถาน อเิ ลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2542. พิมพ์คร้ังที่ 1. กรุงเทพมหานคร: 1.) CDI, clinical dermatology นานมีบ๊คุ พับลเิ คชัน่ ส์; 2546. หนา้ 545. illustrated (monograph on CD-ROM). 2.) Stedman’s medical Reeves JRT, Maibach H. CMEA Multimedia dictionary. 26th ed. Baltimore: Williams & Group, producer. 2nd ed. Version 2.0 San Wilkins; 1995. Apraxia; p. 119 – 20. Diego: CMEA; 1995. 3.8.3 แฟ้มข้อมูลคอมพวิ เตอร ์ 3.7 วดี ทิ ศั น ์ 1.) Hemodynamics III: the ups ลำดับท่ี. ช่ือเร่ือง (วีดิทัศน์). เมืองที่ and down of hemodynamics (computer ผลิต: แหล่งผลติ ; ปีท่ีผลติ program). Version 2.2. Orlando (FL): 1.) HIV ±/AIDS: the facts and Computerized Educational Systems; 1993.

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 81 4. ตาราง รูป และแผนภาพ เข้าใจได้สมบูรณ์ โดยไม่ต้องหาความหมายเพ่ิม ตาราง รูป และแผนภาพที่จัดทำและนำ เติมในบทความ ดังนั้น ชื่อตารางควรสั้น ได้ใจ เสนอได้ครบถ้วน จะกระตุ้นความสนใจผู้อ่าน ความ คอลัมน์เรียงลำดับความสำคัญ (เวลาที่ บทความและทำให้เข้าใจเน้ือหาบทความได้ ศึกษา, การดำเนินโรค) จากซ้ายไปขวา เรียง รวดเร็ว ส่วนมากผู้อ่านจะอ่านช่ือเร่ือง บทคัดย่อ ลำดับของแถวจากบนลงล่าง พิจารณาตารางและรูป ก่อนจะตัดสินใจว่าจะ - บทความหน่ึงเร่ืองควรมีตาราง อา่ นบทความต่อไปหรอื ไม่ ไมเ่ กนิ 3 - 5 ตาราง หรือเนือ้ หา 1,000 คำต่อ 1 4.1 ตาราง ตาราง ถ้าผู้นิพนธ์มีข้อมูลมากให้เลือกเฉพาะ ตารางเน้นการจัดระเบียบของคำพูด ขอ้ มูลที่สำคญั นำเสนอเปน็ ตารางในบทความ ตัวเลข และเครื่องหมายต่างๆ บรรจุในคอลัมน์ - ต้องขออนุญาต และแสดงความ เพื่อแสดง ข้อมูล และความสัมพันธ์ของข้อมูล ขอบคุณ กรณีนำข้อมูลในตารางมาจากบทความ แนวทางการจดั ทำตาราง มีดงั น ี้ ของผ้อู ่นื - แยกแต่ละตารางออกจากเน้ือหา 4.2 รูปและแผนภาพ บทความ ตารางละหน่ึงหน้ากระดาษ และไม่ควร รูปและแผนภาพประกอบ จะส่ือ เสนอตาราง เปน็ ภาพถ่าย ความหมายได้ชัดเจน เน้นจุดสำคัญ และมี - หัวคอลัมน์ เป็นตัวแทนอธิบาย ประสทิ ธภิ าพมแี นวทางดงั น้ี ขอ้ มูลในคอลมั น์ ควรจะสน้ั หรือยอ่ ๆ และอธิบาย - รูปหรือแผนภาพ ต้องคมชัด รายละเอยี ดในเชงิ อรรถใต้ตาราง เปน็ ภาพขาว – ดำ ภาพสใี ชเ้ ม่ือจำเปน็ - แถวเป็นข้อมูลที่สัมพันธ์กับ - ขนาดโดยทัว่ ไปใช้ 5 × 7 นว้ิ ไม่ คอลัมน์ หัวแถว (row heading) ใช้ตัวเข้มจะ ควรใหญ่ เกิน 8 × 10 นิว้ ไมต่ ดั ขอบ ไมต่ ิดกบั ทำให้เด่นขนึ้ กระดาษรอง ไม่เขยี นรายละเอียดหลงั รูปภาพ ไม่ - เชิงอรรถ จะเป็นคำอธิบายราย ม้วนรูปภาพ ควรทำเคร่ืองหมายเล็ก ๆ ไว้ที่ขอบ ละเอียดที่บรรจุในตารางได้ไม่หมด ไม่ควรใช้เลข รู ป ภ า พ แ ล ะ เขี ย น ค ำ อ ธิ บ า ย ไว้ ต่ า ง ห า ก กำกับเพราะอาจสับสนกับเลขกำกับของเอกสาร บรรณาธิการจะเป็นผู้เขียนชื่อเจ้าของเรื่อง ชื่อ อ้างอิง ใหใ้ ชเ้ คร่ืองหมายตามลำดบั นี้ * † ‡ § ¶ เร่ืองไว้หลังรูปภาพทันทีท่ีได้รับต้นฉบับ เพื่อ # ** ป้องกนั การสบั สน, ไมแ่ นะนำให้เจา้ ของเรือ่ งเขียน - เม่ือผู้อ่าน อ่านตารางแล้วควร หลังภาพ เพราะอาจจะเขียนหนักมือเกินไป

82 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ปที ี่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 ทำให้รอยเขียนปรากฏทางด้านหน้าภาพ และ ต้นฉบับให้พิมพ์ด้วยโปรแกรมไมโคร คณุ ภาพของรูปภาพเสยี ไป ซอฟทเ์ วิรด์ ดว้ ยรปู แบบอักษร TH SarabanPSK ตัวอักษรขนาด 16 5. การสง่ ตน้ ฉบับ ส่งต้นฉบับจริงและสำเนา 3 ชุด รวม 4 ต้นฉบบั ทีส่ ่งให้บรรณาธกิ าร ตอ้ งเป็นฉบับ ชุด พร้อม CD (เขียนชอ่ื แฟม้ ขอ้ มูลบนแผน่ ดสิ ก)์ จริงพร้อมด้วยต้นฉบับสำเนา 3 ชุด ต้นฉบับที่ส่ง ไปท่ี ไปไม่ควรเย็บติดกัน ควรใช้คลิบหนีบกระดาษไว้, ไม่ควรม้วนหรือพับต้นฉบับ ควรใส่ในซองหนา บรรณาธิการ และใหญ่พอเหมาะกับแผ่นกระดาษต้นฉบับ การ วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ส่งต้นฉบับควรส่งจดหมายแนบไปด้วย แจ้งราย ทางเลอื ก ละเอียดบางประการ เช่น สถานท่ีทำงานอยู่, อาคารสวนกฬี า ชนั้ 2 กระทรวงสาธารณสขุ E-mail address, และหมายเลขโทรศัพท์ของ ถ.ตวิ านนท์ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 ผู้นิพนธ์ที่กองบรรณาธิการจะติดต่อได้, จำนวน โทรศพั ท์/ โทรสาร 0 2591 8567 สำเนาต้นฉบับที่ส่งไป ความต้องการการพิสูจน์ โทรศัพท์มอื ถอื 08 9777 6729 อักษรของผู้นิพนธ์ เม่ือผู้เขียนย้ายที่อยู่หรือเดิน ทางไปจากสถานที่ทำงานอยู่เดิม เป็นเวลานาน ควรแจง้ ให้บรรณาธกิ ารทราบด้วย