93 คาช้ีแจง 1.3 ใหผ้ ู้เรยี นเขียนแผนภาพความคดิ (Mind Mapping) กจิ การลกู เสอื ไทยแตล่ ะยคุ 3. พระราชทานพระราโชวาท 3.จัดตง้ั กองเสอื ปา่ เม่ือวนั ที่ 3 3. จัดงานชุมนมุ ลูกเสือ ใ น พิ ธี ป ฏิ ญ า ณ ต น แ ล ะ ส ว น พ.ค. 2454 และจดั ต้ังกอง แหง่ ชาติ คร้ังท่ี 1 ณ สนาม เนื่องในวันคล้ายวัน ลูกเสือไทยในประเทศไทยเป็น พระราชอุทยาน สราญรมย์ สถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ คร้งั แรก เม่ือวันที่ 3 ก.ค. 2454 2. ส่งผแู้ ทนไปร่วมชุมนุม เมื่อวันท่ี 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2. พระราชทานตรา ลกู เสือโลกครั้งที่ 3 ณ 2543 เครื่องหมายประจากองเปน็ รูป ประเทศอังกฤษ 2. ทรงมีพระบรมราโชบาย ช้างเผือกบนพื้นธงสีแดง ดา้ นการศึกษาและความมัน่ คง รัชกาลท่ี 6 รัชกาลท่ี 30 กจิ การลกู เสอื ไทย รัชกาลท่ี 7 รชั กาลท่ี 9 รชั กาลท่ี 8 3. ออกพระราชบัญญัตลิ กู เสือ 3. จดั ทาตราสญั ลักษณล์ ูกเสือ พทุ ธศักราช 2490 แหง่ ชาติข้นึ เพื่อให้มีความเป็นสากล 2. จัดประชุมสภาลกู เสือ 2. จดั ตัง้ “ยวุ ชนทหาร” แห่งชาติ คร้ังที่ 1
94 กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 2 ความรู้ท่ัวไปเกีย่ วกบั คณะลกู เสือแห่งชาติ คาช้แี จง 2.3 ให้ผู้เรยี นอธิบายการบริหารงานของคณะลกู เสอื แห่งชาติ ตอบ การบริหารงานของคณะลกู เสอื แห่งชาติ ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ สภาลูกเสือไทย คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ คณะกรรมการลูกเสือจังหวัด และคณะกรรมการลูกเสือ เขตพื้นที่ เป็นหน่วยประสานงานระหว่างสภาลูกเสือไทยกับคณะกรรมการต่าง ๆ เพ่ือนามติ ทปี่ ระชุมมากาหนดเปน็ นโยบาย แผนปฏบิ ัติงานและแผนการใชง้ บประมาณ คาช้ีแจง 2.2 ให้ผู้เรยี นโยงเสน้ การบรหิ ารงานของคณะลูกเสอื แหง่ ชาตติ ามทก่ี าหนด คณะกรรมการลกู เสอื จังหวัด - พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข - ประกอบด้วยบรรดาลกู เสือทั้งปวง และบุคลากรทางการลกู เสือ คณะกรรมการ บริหารลูกเสือแหง่ ชาติ - นายกรฐั มนตรเี ปน็ “สภานายก” และรองรฐั มนตรีเป็น “อปุ นายก” - มกี รรมการโดยตาแหน่ง และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนไมเ่ กิน 80 คน ซ่งึ พระมหากษตั รยิ ์ ทรงโปรดเกล้าฯ แตง่ ตงั้ ตามพระราชอธั ยาศัย - หน้าทส่ี าคัญคือ “วางนโยบายเพอ่ื ความมน่ั คงและความเจรญิ กา้ วหน้าของ คณะลูกเสือแห่งชาติ” คณะกรรมการลูกเสือ - ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั เปน็ ประธานกรรมการ เขตพืน้ ท่กี ารศึกษา - รองผู้ว่าราชการจงั หวัด เป็นรองประธานกรรมการ - ผู้อานวยการสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา เขต 3 เป็นกรรมการและ เลขานกุ าร คณะลกู เสอื แหง่ ชาติ - รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ เป็นประธานกรรมการ สภาลกู เสอื ไทย - ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร และปลัดกระทรวงมหาดไทย เปน็ รองประธาน กรรมการ - เลขาธกิ ารสานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ เป็นกรรมการและเลขานกุ าร - ผู้อานวยการสานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา เปน็ ประธานกรรมการ - รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร
95 การลูกเสือในสถานศึกษา คาชแี้ จง 2.3.3 ใหผ้ ู้เรียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 3. การจัดหน่วยลกู เสอื ประกอบด้วยอะไรบ้าง ตอบ การจัดหนว่ ยลกู เสือประกอบด้วย กลุ่มลูกเสือ กองลูกเสอื หมลู่ กู เสือ 2. กลมุ่ ลูกเสือประกอบด้วยลกู เสือก่ีประเภท อะไรบ้าง ตอบ กล่มุ ลูกเสอื ประกอบดว้ ยลูกเสอื 4 ประเภท คือ กองลูกเสือสารอง กองลกู เสือสามัญ กองลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่ และกองลูกเสอื วิสามัญ
96 คาช้แี จง 2.3.2 ให้ผู้เรียนศึกษาแผนภูมกิ ารบรหิ ารงานของการลูกเสอื ในสถานศกึ ษา และตอบ คาถามตามท่กี าหนด แผนภูมิแสดงการบรหิ ารงานของการลูกเสอื ในสถานศึกษา ผอู้ านวยการลกู เสอื โรงเรียน รองผู้อานวยการลูกเสอื โรงเรียน ผู้กากบั กลมุ่ ลูกเสือ รองผู้กากับกลมุ่ ลกู เสอื ผู้กากบั กองลูกเสอื ผ้กู ากบั กองลกู เสือ ผ้กู ากบั กองลูกเสอื กองท่ี 3 กองท่ี 2 กองท่ี 6 รองผกู้ ากบั กองลูกเสือ รองผูก้ ากบั กองลูกเสือ รองผู้กากับกองลูกเสือ กองท่ี 3 กองที่ 2 กองที่ 6 จานวนหมลู่ ูกเสอื ในแตล่ ะกอง จานวนหมลู่ กู เสอื ในแตล่ ะกอง จานวนหมลู่ ูกเสอื ในแตล่ ะกอง มจี านวน 2 – 6 หมู่ แตล่ ะหมมู่ ี มีจานวน 2 – 6 หมู่ แตล่ ะหมมู่ ี มจี านวน 2 – 6 หมู่ แตล่ ะหมมู่ ี นายหมู่ และรองนายหมู่ นายหมู่ และรองนายหมู่ นายหมู่ และรองนายหมู่ เป็นผ้ดู ูแลหมูน่ ้นั ๆ เป็นผ้ดู ูแลหมู่น้นั ๆ เปน็ ผู้ดแู ลหมู่น้ัน ๆ ให้ผู้เรียนตอบคาถามตอ่ ไปนี้ ตอบ 3. ผู้อานวยการลกู เสือสถานศึกษาของเรา คอื ผู้อานวยการ กศน. อาเภอ 2. ผกู้ ากับกองลูกเสือในกองลกู เสอื ของเรา คือ ครู กศน.ตาบล 3. นายหมูล่ กู เสอื ในหมูล่ กู เสือของเรา คือ หัวหนา้ นักศกึ ษาในหมู่ลูกเสอื
97 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 การลูกเสือโลก กิจกรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 1 ประวัติผใู้ ห้กาเนิดลูกเสือโลก คาชีแ้ จง ใหผ้ ูเ้ รียนตอบคาถาม ดงั ต่อไปนี้ 3. ใครเปน็ ผใู้ หก้ าเนิดลูกการเสือโลก 2. การลูกเสือโลก เกิดข้นึ เมอื่ ปี พ.ศ. ใด 3. เขียนแผนภาพความคิด (Mind Mapping) ประวัติ ลอร์ด เบเดน โพเอลล์ 3. ใครเป็นผใู้ หก้ าเนิดลกู เสอื โลก ตอบ พลโทโรเบิร์ต สตีเฟนสัน สมิท เบเดน โพเอลล์ (Robert Stephenson Smyth Baden Powell โดยท่วั ไปจะเรียกท่านว่า บี.พ.ี เป็นชาวองั กฤษ 2. การลูกเสือโลก เกิดข้นึ เม่อื ปี พ.ศ. ใด ตอบ การลูกเสอื โลก เกิดขน้ึ เมอื่ ปี พ.ศ. 2450 3. เขยี นแผนภาพความคิด (Mind Mapping) ประวัติ ลอร์ด เบเดน โพเอลล์ สนใจเรยี นเรื่อง เกดิ ท่ปี ระเทศองั กฤษ ก่อตั้งลูกเสือครั้งแรก ธรรมชาติศกึ ษา พ.ศ. 2400 พ.ศ. 2453 ฉายาผปู้ อ้ งกนั มาฟคิ งิ ลอรด์ เบเดน โพเอลล์ เขียนหนังสือ การลูกเสอื ถงึ แก่กรรม พ.ศ. 2484 สาหรับเด็กชาย
98 กจิ กรรมท้ายเรื่องท่ี 2 องคก์ ารลกู เสือโลก คาช้แี จง ให้ผู้เรยี นอธิบายความสาคญั ขององคก์ ารลกู เสือโลก ตอบ องค์การลูกเสือโลกมีความสาคัญต่อการลูกเสือของทุกประเทศทั่วโลก คือ เป็น องค์กรที่ทาหนา้ ท่ีรกั ษา และดารงไวซ้ ่งึ ความเป็นเอกภาพของขบวนการลูกเสือแห่งโลก และทา หน้าท่ีส่งเสริมกิจการลูกเสือท่ัวโลก ให้มีการพัฒนา และก้าวหน้าอย่างต่อเน่ืองตลอดไป โดยมี ธรรมนญู ลกู เสือโลกเป็นกฎหมายสาหรับยดึ ถอื ปฏบิ ัติเหมือนกันทกุ ประเทศทวั่ โลก กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 3 ความสัมพันธ์ระหวา่ งลูกเสอื ไทยกับลูกเสอื โลก คาชแ้ี จง ให้ผ้เู รียนตอบคาถาม ดังตอ่ ไปน้ี 1. การลูกเสอื ไทยโดยคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ได้จดทะเบยี นเปน็ สมาชิกองค์การลูกเสือโลก โดยใช้ คติพจน์ว่า “เสียชีพอย่าเสียสัตย์” นั้น จงอธิบายความหมายของคาว่า “เสียชีพอย่าเสีย สัตย”์ ตามความเขา้ ใจ 2. การลูกเสือของทุกประเทศทั่วโลก มุ่งพัฒนาเยาวชนด้วยรากฐานของอุดมการณ์ลูกเสือท่ี เหมือนกัน ภายใต้พื้นฐานความเป็นพลเมืองดีเดียวกัน จงอธิบายว่า “พ้ืนฐานความเป็น พลเมอื งดี” มีอะไรบา้ ง 1. การลูกเสือไทยโดยคณะลูกเสือแห่งชาติ ได้จดทะเบียนเป็นสมาชิกองค์การลูกเสือโลก โดยใช้คติพจน์ว่า “เสียชีพอย่าเสียสัตย์” น้ัน จงอธิบายความหมายของคาว่า “เสียชีพอย่า เสยี สัตย์”ตามความเข้าใจ ตอบ “เสียชีพอย่าเสียสัตย์” เป็นคุณธรรมที่สาคัญท่ีสุดในชีวิตของการเป็นลูกเสือ เพราะลกู เสอื มีเกยี รติเช่อื ถอื ได้ ลูกเสอื ประพฤติชอบดว้ ยกาย วาจา ใจ มีความซอื่ สตั ย์สุจริตเป็น ท่ีตั้งแห่งคุณงามความดี และศักดิ์ศรีแห่งตน ไม่มีผู้ใดทาลายล้างคุณธรรมน้ีได้ หากมีเหตุการณ์ คับขันวิกฤตรุนแรงที่ส่งผลให้ต้องเสียสัตย์ ควรยอมตายดีกว่าที่จะสูญเสียความสัตย์ เกียรติภูมิ แห่งตน ซง่ึ ส่งผลให้เสยี หาย กอ่ ความไมส่ งบสุขตอ่ ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม
99 2. การลูกเสือของทุกประเทศท่ัวโลก มุ่งพัฒนาเยาวชนด้วยรากฐานของอุดมการณ์ลูกเสือ ที่เหมือนกัน ภายใต้พื้นฐานความเป็นพลเมืองดีเดียวกัน จงอธิบายว่า “พ้ืนฐานความเป็น พลเมืองดี” มอี ะไรบ้าง ตอบ “พ้ืนฐานความเป็นพลเมืองดี” ที่การลูกเสือของทุกประเทศทั่วโลกยึดม่ันคือ ลูกเสือทั่วโลกมีความสมัครใจ ต้ังใจ จริงใจ มุ่งมั่นพัฒนาบุคลิกภาพแห่งตน พัฒนาสังคมท่ีเน้น การทากิจกรรมโดยการใช้ระบบหมู่ลูกเสือ มีคาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ขอลูกเสือเป็นส่ิง ยึดเหน่ียวจิตใจในการสร้างพลังใจ พลังสติปัญญา นาสู่การประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นพลเมืองดี มคี วามเป็นพี่นอ้ งกนั ระหวา่ งลกู เสอื ทวั่ โลก ภายใตพ้ น้ื ฐาน มีดังน้ี 1. มหี นา้ ท่ตี ่อศาสนาทีต่ นเคารพนบั ถอื 2. มคี วามจงรักภักดตี อ่ ชาตบิ า้ นเมือง 3. มคี วามรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง 4. เขา้ รว่ มในการพัฒนาสังคมดว้ ยการยกย่องและเคารพในเกียรตขิ องบคุ คลอืน่ 5. ชว่ ยเสริมสรา้ งสนั ติภาพความเขา้ ใจอันดี เพอ่ื ความมนั่ คงเปน็ อนั หนึ่งอนั เดียวกนั ทัว่ โลก
100 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4 คณุ ธรรม จรยิ ธรรมของลูกเสอื กิจกรรมท้ายเร่ืองที่ 1 คาปฏิญาณ และกฎของลกู เสือ คาชี้แจง 3.3 ใหผ้ ูเ้ รียนอธิบายความหมายของคาปฏิญาณของลกู เสอื ดังต่อไปน้ี ขอ้ คาปฏิญาณของลูกเสือ ความหมายของคาปฏญิ าณของลกู เสอื 3. ขา้ จะจงรักภักดตี ่อชาติ ศาสนา ลกู เสือจะต้องศรัทธา มคี วามเชือ่ ม่นั ในสถาบันชาติ พระมหากษตั ริย์ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ โดยประพฤตติ นเป็น พลเมอื งดี รกั และหวงแหน ป้องกันและเสียสละ 2. ขา้ จะชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืนทุกเมื่อ ปฏิบัตติ ามคาสอนศาสนา แสดงความเคารพตอ่ 3. ขา้ จะปฏบิ ัติตามกฎของลกู เสอื สถาบันพระมหากษัตริย์ ลกู เสอื ตอ้ งบาเพ็ญตนใหเ้ ป็นประโยชน์ ช่วยเหลือ ดูแล มีใจเมตตา กรณุ า เอ้ือเฟ้ือ ทกุ ครั้งทีม่ ีโอกาส ลกู เสือต้องประพฤติและปฏิบัตติ นตามกฎของ ลูกเสือท้งั 30 ขอ้ โดยอยู่ในกฎ ระเบยี บ รกั ษา เกียรติ สภุ าพเรียบรอ้ ย มัธยัสถ์ ประพฤตชิ อบดว้ ย กาย วาจา ใจ เพ่ือให้เป็นผู้มีเกียรติเชอ่ื ถือได้ 3.2 ใหผ้ ูเ้ รียนเขียนคติพจน์และกฎของลกู เสือ ดังต่อไปน้ี 3.2.3 คติพจนท์ วั่ ไปของลูกเสอื คอื เสียชีพอย่าเสยี สัตย์ 3.2.2 คติพจน์ของลกู เสอื แต่ละประเภท (3) คตพิ จนข์ องลกู เสอื สารอง คอื ทาดีท่ีสดุ (2) คติพจนข์ องลูกเสอื สามญั คอื จงเตรียมพรอ้ ม (3) คตพิ จนข์ องลกู เสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ คือ มองไกล (4) คตพิ จน์ของลกู เสือวิสามัญ คือ บรกิ าร
101 3.2.3 กฎของลูกเสอื คืออะไร และประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง จงอธิบายมาพอเข้าใจ ตอบ กฎของลกู เสอื คือ ขอ้ 3 ลูกเสือมเี กยี รติเชอื่ ถอื ได้ ข้อ 2 ลูกเสือมคี วามจงรกั ภักดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ และซื่อตรงต่อผมู้ ีพระคณุ ขอ้ 3 ลูกเสือมีหน้าที่กระทาตนให้เปน็ ประโยชน์และชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ ขอ้ 4 ลูกเสือเป็นมิตรของคนทุกคน และเปน็ พ่นี อ้ งกับลูกเสืออนื่ ทว่ั โลก ขอ้ 5 ลกู เสอื เปน็ ผู้สภุ าพเรยี บรอ้ ย ขอ้ 6 ลกู เสอื มีความเมตตากรณุ าต่อสตั ว์ ขอ้ 7 ลกู เสือเชอื่ ฟงั คาส่ังของบิดามารดา และผู้บังคับบัญชาดว้ ยความเคารพ ขอ้ 8 ลูกเสอื มีใจรา่ เรงิ และไม่ย่อทอ้ ต่อความยากลาบาก ขอ้ 9 ลกู เสอื เปน็ ผูม้ ัธยัสถ์ ข้อ 30 ลกู เสอื ประพฤตชิ อบดว้ ยกาย วาจา ใจ กจิ กรรมท้ายเรือ่ งที่ 2 คณุ ธรรม จริยธรรม จากคาปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ คาชีแ้ จง ให้ผ้เู รียนจับคคู่ าอธบิ ายความหมายของคุณธรรม จริยธรรมจากคาปฏญิ าณ และกฎของลูกเสือ ท่ีมคี วามหมายตรงกัน ข้อ คุณธรรม จรยิ ธรรม ข้อ ความหมายของคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 3. ความจงรักภกั ดตี อ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ ก. ความรักใคร่ กลมเกลียวกันดว้ ย (ขอ้ จ.) ความจริงใจ 2. ความรับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ ข. ละเว้นพฤตกิ รรมชั่วรา้ ย (ข้อ ฉ.) ค. ปฏบิ ตั ติ นทางกาย วาจา จิตใจ 3. ความมรี ะเบยี บวินยั ท่ตี รงไปตรงมา (ข้อ ง.) ง. เป็นผรู้ ู้และปฏิบตั ติ ามแบบแผน 4. ความซอ่ื สตั ย์ จ. ซื่อสัตยต์ อ่ ชาติ ทานบุ ารงุ ศาสนา (ข้อ ค.) เทิดทนู พระมหากษตั รยิ ์ 5. ความเสียสละ (ข้อ ช.)
102 ข้อ คณุ ธรรม จริยธรรม ข้อ ความหมายของคุณธรรม จรยิ ธรรม 6. ความอดทน ฉ. ปฏบิ ตั กิ จิ การงานของตนเอง (ขอ้ ซ.) ด้วยความมานะพยายาม 7. การไม่ทาบาป ช. ปฏบิ ัติตนโดยการอุทศิ กาลังกาย (ขอ้ ข.) กาลงั ทรพั ย์ กาลังปญั ญา 8. ความสามัคคี ซ. ปฏบิ ัติตนเปน็ ผ้ทู ่มี ีจิตใจเข้มแข็ง (ข้อ ก.) กจิ กรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 3 การนาคาปฏิญาณและกฎของลูกเสอื ที่ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน คาช้ีแจง ให้ผู้เรียนยกตวั อย่างการนาคาปฏิญาณและกฎของลกู เสือ มาใช้ในชวี ิตประจาวัน ในประเดน็ ต่อไปน้ี คาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ยกตัวอย่างการนาคาปฏิญาณและกฎของ ลูกเสือ มาใชใ้ นชวี ิตประจาวัน ข้าจะชว่ ยเหลือผ้อู น่ื ทุกเมื่อ ชว่ ยทางานบ้าน ชว่ ยทางานกลุม่ ช่วยเหลอื ผู้สูงอายุ หรอื ร่วมกจิ กรรมต่าง ๆ ในครอบครัว ชุมชน สังคม ลูกเสอื เป็นมติ รกบั คนทุกคนและเป็นพนี่ อ้ งกบั มีมนุษยสัมพนั ธ์ทีด่ ี ยม้ิ แย้มแจ่มใส เอาใจใส่ ลกู เสือท่ัวโลก ผู้อ่ืน เอ้ืออาทร ลูกเสือเป็นผู้สุภาพเรียบร้อย แตง่ กายสภุ าพเรียบรอ้ ย เหมาะกบั กาลเทศะ ลูกเสอื มคี วามเมตตากรณุ าตอ่ สตั ว์ ไมท่ ารณุ สัตว์ ไมร่ ังแกสตั ว์ ไมฆ่ า่ สัตว์ ลกู เสอื มีใจร่าเริง และไม่ย่อท้อตอ่ ความลาบาก คิดเชงิ บวก สามารถปรับตัวได้เรว็ นาวิกฤต เป็นโอกาส ลกู เสอื เป็นผมู้ ธั ยัสถ์ ไมฟ่ งุ้ เฟอ้ รู้จักการประหยัดและการออม ใช้จา่ ยดว้ ยความระมัดระวงั รอบคอบ ลูกเสอื ประพฤตชิ อบด้วยกาย วาจา ใจ ประพฤติปฏบิ ัตติ นด้วยการสารวมกาย วาจา ใจ ป้องกนั การกระทบกระทั่ง ก่อให้เกดิ ความสุขในชีวติ ตนเอง ครอบครวั ชุมชน และสังคม
103 กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 4 ความสัมพันธ์ระหว่างคณุ ธรรม จริยธรรมในคาปฏญิ าณและ กฎของลูกเสอื กบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คาช้ีแจง ใหผ้ เู้ รยี นวิเคราะหค์ าปฏิญาณ และกฎของลกู เสอื ว่ามคี วามสมั พนั ธ์กับการปฏิบตั ิตน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในประเด็นตอ่ ไปน้ี คุณธรรม จรยิ ธรรมในคาปฏิญาณและกฎของลูกเสอื การปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ขอ้ 3 ลกู เสือมีเกียรติเชื่อถอื ได้ ความซ่ือสัตย์สจุ ริต ขอ้ 2 ลูกเสอื มคี วามจงรกั ภักดีต่อชาติ ศาสนา ความกตัญญูกตเวที พระมหากษัตริย์ และซื่อตรงตอ่ ผมู้ พี ระคณุ ข้อ 3 ลูกเสือมหี น้าท่ีกระทาตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์และ ความมนี ้าใจและมจี ติ อาสา ชว่ ยเหลือผู้อ่นื ข้อ 4 ลกู เสอื เป็นมติ รของคนทกุ คนและเป็นพ่นี อ้ งกับ ความสามคั คี ลูกเสอื อน่ื ท่ัวโลก ข้อ 5 ลกู เสือเปน็ ผู้สภุ าพเรียบรอ้ ย ความสภุ าพ ข้อ 6 ลกู เสือมคี วามเมตตากรุณาต่อสตั ว์ ความมนี า้ ใจและมจี ิตอาสา ข้อ 7 ลูกเสือเช่อื ฟงั คาส่ังของบดิ ามารดา และ ความมีน้าใจและมีจติ อาสา ผบู้ ังคับบัญชาดว้ ยความเคารพ ข้อ 8 ลูกเสือมใี จร่าเริง และไมย่ ่อท้อต่อความ ความขยนั ความอดทน ยากลาบาก ข้อ 9 ลูกเสือเป็นผูม้ ัธยสั ถ์ ความประหยัด ขอ้ 30 ลกู เสอื ประพฤติชอบดว้ ยกาย วาจา ใจ ความมีวินัย ความสะอาด
104 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 วนิ ยั และความเป็นระเบียบเรยี บร้อย กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 1 วนิ ยั และความเป็นระเบยี บเรยี บร้อย คาชแ้ี จง ให้ผู้เรยี นตอบคาถาม ดังต่อไปน้ี 3. วินัย หมายความว่าอะไร 2. วนิ ัยมคี วามสาคญั อยา่ งไร 3. ความเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ยหมายความว่าอยา่ งไร 3. วนิ ัย หมายความว่าอะไร ตอบ วินยั หมายถึง การอยู่ในระเบียบแบบแผนและขอ้ บังคบั ขอ้ ปฏบิ ตั ทิ ี่วางไว้เพ่อื ให้ บคุ คลปฏิบตั ิตาม 2. วนิ ัยมีความสาคญั อยา่ งไร ตอบ ความสาคัญของวินัย คอื เมอ่ื มีการกาหนดระเบยี บ ข้อบงั คับ ข้อปฏิบัตแิ ลว้ และ ทกุ คนมกี ารปฏบิ ัตติ ามตนเอง และสังคมกจ็ ะเกดิ ความสงบสุข 3. ความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย หมายความวา่ อย่างไร ตอบ เปน็ ความสามารถของบคุ คลในการควบคุมอารมณแ์ ละพฤติกรรมของตนเองให้อยู่ ในแบบแผนที่มุ่งหวัง เพื่อให้สามารถอยู่น่วมกันได้ด้วยความสงบสุข อันเป็นคุณสมบัติที่สาคัญ ในการดาเนนิ ชวี ติ
105 กจิ กรรมท้ายเรื่องที่ 2 ผลกระทบจากการขาดวนิ ัย และการขาดความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย คาชี้แจง ใหผ้ ู้เรยี นอธบิ ายผลกระทบจากการขาดวินยั และขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อย ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี ประเด็น คาอธิบายผลกระทบ ขาดวนิ ยั และขาดความเป็นระเบียบเรยี บร้อย จะสง่ ผลใหส้ ังคม เกิดความวุ่นวาย แก่งแยง่ เอารดั เอาเปรียบ นาไปสูก่ ารขาดความสงบ เรียบร้อย เชน่ การเข้าแถวรบั สิง่ ของ การเขา้ แถวชาระสนิ คา้ กจิ กรรมทา้ ยเรือ่ งท่ี 3 แนวทางการเสรมิ สรา้ งวินยั และความเป็นระเบยี บเรียบร้อย คาช้ีแจง ใหผ้ ู้เรียนยกตัวอยา่ งแนวทางการเสรมิ สร้างวินยั และความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย ลงในตารางตอ่ ไปน้ี แนวทางการเสริมสร้างวนิ ัย ยกตวั อยา่ งวิธกี ารปฏิบัตติ น และความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย การสรา้ งวินยั ในตนเอง 1. การทางานให้แลว้ เสรจ็ ตามเวลาท่ีกาหนด 2. การรกั ษาความสะอาดทกุ ครง้ั เมอื่ เขา้ หอ้ งน้า การสร้างวนิ ัย โดยใช้ปัจจัยอน่ื 1. เห็นคนอ่ืนทาความดี ก็ปฏิบตั ิตาม ชว่ ยเสรมิ 2. ทางานด้วยความขยัน อดทน จนประสบความสาเรจ็ การสรา้ งวินัย โดยใชก้ ฎเกณฑบ์ งั คบั 3. ปฏบิ ตั ติ นตามกฎจราจร 2. การใช้อุปกรณท์ ถี่ กู ตอ้ งตามกฎหมาย ในการจบั สัตว์น้า
106 กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 4 ระบบหมู่ คาช้ีแจง ให้ผู้เรยี นอธิบายหนา้ ที่ของตาแหนง่ ลูกเสอื ภายในหมู่ลูกเสือ ลงในตารางตอ่ ไปนี้ ลาดบั ตาแหน่งลูกเสอื หนา้ ทีข่ องตาแหน่งลกู เสอื ภายในหมู่ลกู เสือ 3. นายหมู่ลูกเสือ ทาหน้าทีเ่ ป็นผนู้ าของหมู่ แบง่ งานใหส้ มาชิก 2. รองนายหมูล่ กู เสือ ดแู ลสมาชกิ ในหมู่ลูกเสือ เปน็ ประธานการประชมุ ตดั สินใจแก้ปญั หาต่าง ๆ 3. พลาธิการ ทาหน้าที่ช่วยนายหมลู่ กู เสือดแู ลสมาชิกในหมู่ ลูกเสือ ทาหนา้ ทแ่ี ทนนายหมู่ ตามทไ่ี ด้รับ 4. คนครัว มอบหมาย ประสานสมาชิกในหมู่ ใหเ้ ป็นไปใน 5. ผชู้ ว่ ยคนครวั ทางเดยี วกัน 6. คนหาน้า ทาหนา้ ที่ดูแลการเงิน บัญชี พสั ดุ และสถานท่ี 7. คนหาฟนื ในหมลู่ กู เสือ เช่น จัดหา วัสดุ อปุ กรณ์ จัดทาบญั ชี 8. ผ้ชู ว่ ยเหลอื ทัว่ ไป ต่าง ๆ ทีต่ ้องใช้ในการอยูค่ ่ายพักแรม ไดแ้ ก่ บญั ชี วสั ดุ อปุ กรณ์ บัญชกี ารเงินและ ดแู ลความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อยในทหี่ มู่และในคา่ ยพักแรม ทาหน้าทแ่ี ม่ครวั ปรงุ อาหาร จดั ทาเตา หลมุ เปียก หลมุ แห้ง ท่ีคว่าจาน ที่เก็บอาหาร ทาหน้าทช่ี ่วยแมค่ รัวจัดเตรียมอาหาร ประกอบ อาหาร ช่วยทาเตา หลุมเปียก หลุมแห้ง ที่คว่าจาน ทเี่ ก็บอาหาร ทาหนา้ ที่จดั หานา้ สาหรับประกอบอาหาร นา้ ดม่ื นา้ ใช้ ทาหนา้ ท่จี ดั หาเชื้อเพลิง หาฟนื เกบ็ ฟนื ไม่ให้ เปยี กฝน ทาหน้าทช่ี ่วยงานคนอ่ืน ๆ พัฒนาท่ีพกั ภายในคา่ ย ชว่ ยกาจัดขยะมูลฝอย ทาราวตากผ้า ทาร้ัวก้ันขอบเขตหมูร่ ะหว่างหมลู่ ูกเสอื ในการ อยูค่ ่ายพกั แรม
107 กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 5 การพฒั นาภาวะผนู้ า – ผู้ตาม คาชีแ้ จง ใหผ้ ู้เรียนอธิบายคุณลกั ษณะของผู้นาทดี่ ี ในประเด็นต่อไปนี้ คณุ ลักษณะของผู้นาทดี่ ี คาอธิบาย มีความเช่อื มั่นในตนเอง มีความรอบรู้ มีความแนบเนียนในการสรา้ ง ความสัมพันธ์กบั ผู้อื่น มคี วามเด็ดขาด มีบุคลิกลกั ษณะการเปน็ ผู้นา มคี วามกลา้ หาญ มีความเสียสละเพือ่ ประโยชน์ส่วนรวม มที า่ ทางสภุ าพ มีการใชค้ าพดู ทไ่ี พเราะเหมาะสม มีความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์ มีการแตง่ กายทถี่ ูกกาลเทศะ มคี วามอดทน อดกล้ัน ไมเหน็ แกต่ ัว มีความซอ่ื สัตย์ สุจรติ มีความยบั ยง้ั มคี วามรักในการทางานร่วมกับผอู้ นื่ ชง่ั ใจ มีความเห็นใจผู้อื่น กลา้ แสดงความคิดเหน็ และสามารถพดู นา้ วโน้มใหส้ มาชกิ เข้าใจ และรว่ มมอื กัน ปฏบิ ตั ิงานเป็นกล่มุ มีความต่ืนตวั สขุ มุ รอบคอบ มีความกระตอื รอื้ ร้น จดจ่อ เอาใจใสต่ ่อหน้าทหี่ รือ ภารกจิ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย มคี วามสงบเสงยี ม ไมห่ ยง่ิ ยโส มมี ารยาทสังคม มีการบงั คบั จติ ใจและ อารมณข์ องตนเอง
108 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 ลูกเสอื กศน. กบั การพัฒนา กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 1 ลูกเสอื กศน. คาช้แี จง ใหผ้ ้เู รียนอธิบายความเป็นมา และความสาคัญของลกู เสือ กศน. ดงั ต่อไปนี้ 3. ความเปน็ มาของลูกเสือ กศน. 2. ความสาคัญของลกู เสือ กศน. 3. ความเปน็ มาของลูกเสอื กศน. ตอบ การลูกเสือไทย ได้ถือกาเนิดขึ้นโดยองค์พระมหากษัตริย์ไทย และมีความเจริญ รุดหน้าสืบมากว่า 307 ปี อย่างทรงคุณค่า ซึ่งเป็นพระราชมรดกอันล้าค่าย่ิงท่ีพระบาทสมเด็จ พระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 ได้พระราชทานไว้ให้แก่ ปวงชนชาวไทย ต่อมาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลท่ี 30 มีพระบรมราโชบายด้านการศึกษากับความม่ันคง มีพระราชประสงค์เห็นคนไทยมีวินัย รู้หนา้ ที่มีความรบั ผิดชอบ สร้างวินยั โดยกิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี 2. ความสาคัญของลกู เสอื กศน. ตอบ ลูกเสือ กศน. ยึดม่ันในอุดมการณ์ร่วมกัน มีวัตถุประสงค์ หลักการ วิธีการ ของ การลูกเสอื เปน็ ขบวนการเรียนรู้รว่ มกัน การฝกึ อบรมรว่ มกนั การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การมี ความพร้อมในการประพฤติปฏิบัตติ น ตามคติพจนข์ องลูกเสือวิสามัญ คือ “บรกิ าร”
109 กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 2 ลกู เสอื กศน. กับการพัฒนา คาช้ีแจง ใหผ้ เู้ รยี นยกตัวอยา่ งกจิ กรรมของลกู เสอื กศน. กบั การลงในตารางต่อไปนี้ ลูกเสอื กศน. กบั การพฒั นา ยกตัวอยา่ งกิจกรรมท่คี าดวา่ จะพัฒนา ตนเอง 3. การประหยดั อดออม 2. การมรี ะเบียบวินัย การตรงตอ่ เวลา สภุ าพเรียบร้อย ครอบครัว 3. การทาความสะอาดบ้านเรอื น 2. ดูแลบพุ การเี มือ่ เกิดอาการเจบ็ ป่วย ชมุ ชนและสังคม 3. การเกบ็ ขยะมูลฝอย 2. การอา่ นหนงั สอื ใหผ้ ูม้ ปี ัญหาทางสายตาฟงั กิจกรรมท้ายเร่อื งท่ี 3 บทบาทหน้าที่ของลูกเสือ กศน. ท่ีมีต่อตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน คาชี้แจง ให้ผู้เรยี นยกตัวอยา่ งกจิ กรรมเกยี่ วกับบทบาทหน้าที่ของลกู เสอื กศน. ท่ีมตี ่อตนเอง ครอบครัว ชมุ ชนและสังคม ลงในตารางตอ่ ไปนี้ บทบาทหน้าทขี่ องลูกเสือ กศน. ยกตวั อย่างกจิ กรรมทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ทมี่ ีต่อตนเอง เผยแพร่ความรู้ประชาธิปไตย ทม่ี ีต่อครอบครวั เชอื่ ฟังคาส่งั ของบิดา มารดา ดว้ ยความเคารพและ ยอมรบั ไปปฏิบัติ ที่มีต่อชุมชนและสงั คม ช่วยดแู ล ปอ้ งกัน อนรุ ักษ์ปา่ ไม้ กิจกรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 4 บทบาทของลกู เสือ กศน. ทม่ี ตี ่อสถาบนั หลกั ของชาติ คาช้แี จง ให้ผู้เรียนยกตัวอยา่ งกิจกรรมที่เกี่ยวขอ้ งกับบทบาทของลกู เสือ กศน. ที่มตี ่อสถาบันหลัก ของชาติ บทบาทของลกู เสือ กศน. ยกตวั อย่างกิจกรรมทเ่ี ก่ียวข้อง ทม่ี ตี อ่ สถาบันหลกั ของชาติ ชาติ การเป็นพลเมืองดี การเสริมสร้างค่านิยม ความซ่อื สัตย์ สุจริต ศาสนา การประพฤติปฏบิ ตั ิตนตามหลักศาสนา การไม่ลบหลู่ศาสนาหรอื ลัทธิความเช่อื อ่ืน พระมหากษัตรยิ ์ การประพฤติปฏบิ ัตติ นตามรอยพระยคุ ลบาท
110 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 7 ลูกเสือ กศน. กบั จิตอาสา และการบรกิ าร กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 1 จติ อาสา และการบริการ คาชแ้ี จง ใหผ้ ้เู รียนอธิบายความหมาย ความสาคญั ของจิตอาสา และการบรกิ าร ดังตอ่ ไปน้ี 1. ความหมายและความสาคัญของจิตอาสา 2. ความหมายและความสาคัญของการบริการ 1. ความหมายและความสาคญั ของจิตอาสา ตอบ จิตอาสา หมายถึง จิตสานึกเพ่ือส่วนรวมของตนท่ีรู้จักความเสียสละ เอาใจใส่ เป็นธุระ ให้ความร่วมมือร่วมใจ การกระทาประโยชน์เพ่ือส่วนรวม เพื่อช่วยกันพัฒนาคุณภาพ ชวี ติ และปรารถนาที่จะช่วยลดปัญหาทเ่ี กิดขนึ้ ในสังคม จิตอาสามีความสาคัญ เพราะเป็นการทาประโยชนเ์ พื่อสังคม โดยใช้คุณธรรมเป็นหลัก เร่ิมจากตนเอง ครอบครัวและสังคม 2. ความหมายและความสาคัญของการบริการ ตอบ การบริการ หมายถงึ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื หรือการบาเพ็ญประโยชนต์ อ่ ตนเอง ตอ่ ผู้อ่นื และต่อชุมชน มีการลงมอื ปฏิบัตอิ ยา่ งจริงจงั การบริการมีความสาคัญ เพราะ เป็นการพัฒนาจิตใจให้อยู่ในศีลธรรม ไม่เอารัด เอาเปรยี บผู้อื่น รูจ้ กั การเสียสละ เพอื่ บาเพญ็ ประโยชนแ์ ก่ผอู้ ่ืน โดยมุ่งหมายใหส้ งั คมสามารถ ดารงอยู่ไดโ้ ดยปกติ
111 กจิ กรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 2 หลกั การของจิตอาสา และการบริการ คาชแ้ี จง ใหผ้ ูเ้ รยี นอธิบายหลักการของจิตอาสา และการบริการ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. หลกั การของจิตอาสา 2. หลกั การของการบรกิ าร 1. หลกั การของจิตอาสา ตอบ หลกั การของจิตอาสา ประกอบดว้ ย 3. การกระทาของตนเองที่มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ในการป้องกันไม่ให้เกิด ผลกระทบและความเสียหายต่อส่วนรวม ได้แก่ การมีวินัยในตนเอง การควบคุมอารมณ์และ พฤติกรรม การเช่อื ฟงั คาสง่ั 2. การกระทาของตนเองที่มีต่อสังคม ในการรักษาประโยชน์ของส่วนรวม เพ่ือแก้ปัญหา สร้างสรรค์สังคม ถือเป็นความรับผิดชอบต่อสังคม ได้แก่ การเคารพสิทธิผู้อ่ืน การรับฟังความคิดเหน็ ของผูอ้ ่นื การชว่ ยเหลอื ผู้อืน่ 2. หลกั การของการบรกิ าร ตอบ หลักการของการบริการ ประกอบดว้ ย 3. ใหบ้ ริการอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ หรอื มที กั ษะในการบรกิ าร เชน่ การปฐมพยาบาล 2. ให้บริการด้วยความสมัครใจ เต็มใจ 3. ใหบ้ รกิ ารแกผ่ ูท้ ต่ี ้องการรบั บรกิ าร ผถู้ ูกทอดทง้ิ คนปว่ ย คนชรา 4. ให้บริการดว้ ยความองอาจ ตง้ั ใจ มน่ั ใจ มีความรับผิดชอบ กิจกรรมท้ายเร่อื งท่ี 3 กิจกรรมจติ อาสา และการบริการของลูกเสือ กศน. คาชแี้ จง ให้ผูเ้ รียนไปสารวจสภาพความเป็นอยูข่ องชมุ ชน พรอ้ มทงั้ วิเคราะห์ว่ามสี ภาพ ความเป็นอยใู่ ดบา้ งท่ีลกู เสอื กศน. สามารถลงมือทากจิ กรรมจติ อาสาและการบรกิ าร ในชมุ ชนน้นั พร้อมยกตวั อยา่ งกจิ กรรมจิตอาสา และการบริการ สภาพความเปน็ อยทู่ ส่ี ารวจได้ ตัวอยา่ งกิจกรรมจติ อาสาและการบริการ บริเวณลานวดั มีใบไม้แหง้ และมูลสัตว์ กวาดลานวัด ทาความสะอาดลานวดั อยมู่ ากมาย หอ้ งนา้ โรงเรียนไมส่ ะอาดและผพุ งั ทาความสะอาดและซ่อมบารงุ
112 สภาพความเป็นอยู่ทสี่ ารวจได้ ตัวอย่างกิจกรรมจิตอาสาและการบรกิ าร มีผสู้ ูงอายุเฝา้ บ้านตามลาพัง จัดทากจิ กรรมนนั ทนาการใหผ้ ู้สงู อายุให้มี ความสขุ เชน่ การออกกาลงั กาย รอ้ งเพลง มงี านประเพณีในหมู่บ้าน บรกิ ารน้าดืม่ บรกิ ารจราจร บริการยกของหนัก กจิ กรรมท้ายเรือ่ งที่ 4 การปฏบิ ัตติ นในฐานะลกู เสอื กศน. เพอื่ เป็นจิตอาสา และการบริการ คาชแ้ี จง ใหผ้ เู้ รียนอธิบายการปฏิบตั ติ นในฐานะลกู เสือ กศน. เพื่อเป็นจติ อาสา และการบริการ ในประเด็นตอ่ ไปน้ี ประเด็น การปฏบิ ตั ติ นในฐานะลกู เสือ กศน. 3. การเป็นจิตอาสา การปฏิบัติตนเพอื่ เปน็ จติ อาสา มีดังนี้ 2. การบรกิ าร 3. มีความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง เชน่ ตั้งใจ ใฝห่ าความรู้ ออกกาลังกาย เพื่อสุขภาพแข็งแรง ประพฤติตัวให้เหมาะสม ทางานท่ีรบั มอบหมาย ให้สาเร็จ มีความรบั ผิดชอบ ตรงเวลา 2. มีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม เชน่ 2.1 เช่ือฟงั พ่อแม่ ไมท่ าใหพ้ ่อแม่เสียใจ ชว่ ยเหลืองานบา้ น 2.2 หากเป็นผู้เรียนจะตอ้ งตัง้ ใจเลา่ เรียน เช่ือฟงั คาสัง่ สอนของครบู าอาจารย์ ปฏบิ ัติ ตามกฎ ระเบยี บวินัยของสถานศกึ ษา 2.3 ชว่ ยเหลอื ใหค้ าแนะนา ไม่เอาเปรียบ ผอู้ ่ืน เคารพสทิ ธซิ ง่ึ กนั และกัน 2.4 ปฏบิ ัตติ ามกฎ ระเบียบของสงั คม ตามกฎหมาย การปฏิบตั ติ นเพื่อการบริการ มีดงั นี้ 3. เตรียมตนเองให้พรอ้ มท่ีจะให้บริการแก่ผู้อื่น 2. ให้บริการแก่หมู่คณะ 3. ให้บริการแก่ชุมชน สังคม
113 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 8 การเขียนโครงการเพ่อื พฒั นาชุมชนและสงั คม กิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 1 โครงการเพ่อื พัฒนาชุมชนและสังคม คาชแ้ี จง ให้ผ้เู รียนตอบคาถามต่อไปนี้ 3. โครงการ คืออะไร 2. โครงการมีความสาคญั อย่างไร 3. โครงการ คืออะไร ตอบ โครงการ คอื การดาเนินงานหรอื กิจกรรมท่ีไม่เป็นงานประจา มกี ารดาเนนิ งานใน เวลาใดเวลาหน่ึง มีการกาหนดระยะเวลา งบประมาณ ทรัพยากร การบริหารงาน มีการ ออกแบบแนวทางการดาเนนิ งานทเ่ี ฉพาะเจาะจง มุ่งตอบสนองต่อความต้องการของกลุ่มบุคคล ชมุ ชน และสังคม 2. โครงการมีความสาคญั อยา่ งไร ตอบ โครงการมคี วามสาคญั ดังนี้ 1. ช่วยให้การดาเนินงานสอดคล้องกับงานท่ีจะทา 2. ช่วยให้การดาเนินงานมีทิศทางทชี่ ัดเจน มปี ระสิทธิภาพ 3. ชว่ ยชี้ให้เหน็ ถงึ สภาพปญั หาการทางานทีผ่ ่านมา 4. เสรมิ สรา้ งความเข้าใจอันดแี ละรบั ผิดชอบรว่ มกนั 5. ชว่ ยใหง้ านดาเนินไปสู่เป้าหมายไดส้ มบูรณ์ กจิ กรรมท้ายเรื่องท่ี 2 ลักษณะของโครงการ คาชแ้ี จง ให้ผู้เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี โครงการท่ีดีควรมีลกั ษณะอยา่ งไร ตอบ โครงการท่ีดีควรมลี กั ษณะ ดังนี้ 1. ตอบโจทยห์ รอื ปัญหาได้ถกู ต้องชดั เจน 2. ครอบคลมุ งานทจ่ี ะดาเนนิ การ 3. มีผรู้ บั ผิดชอบชัดเจน 4. มีวตั ถปุ ระสงค์ชัดเจน
114 5. มีระยะเวลา เรมิ่ โครงการและสน้ิ สดุ โครงการแน่นอน 6. สรปุ ผลไดต้ ามประเด็นปญั หา 7. นาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการดาเนนิ การทค่ี ล้ายกนั กจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 3 องคป์ ระกอบของโครงการ คาชี้แจง ให้ผ้เู รียนตอบคาถามตอ่ ไปนี้ องค์ประกอบของโครงการมอี ะไรบ้าง ตอบ องคป์ ระกอบของโครงการ มดี ังนี้ 1. ชือ่ โครงการ 2. หลักการและเหตผุ ล 3. วัตถุประสงค์ 4. เป้าหมาย 5. วิธีดาเนินการ 6. ระยะเวลาดาเนินการ 7. สถานทดี่ าเนินงาน 8. งบประมาณ 9. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ 30. หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 33. การประเมินผลโครงการ 32. ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั 33. ผู้ประสานงานโครงการ
115 กจิ กรรมท้ายเรอื่ งที่ 4 ขน้ั ตอนการเขยี นโครงการ คาชแ้ี จง ใหผ้ เู้ รยี นดาเนินการ ดังน้ี 1. ใหผ้ ู้เรียนโยงเส้นข้นั ตอนการเขยี นโครงการกับความหมายของขั้นตอนทีก่ าหนด 1.ชื่อโครงการ ก. แสดงยอดรวมคา่ ใช้จ่าย 2. หลักการและเหตุผล ข. ผู้ที่ทาโครงการ 3. วัตถุประสงค์ ค. เหมาะสม ชัดเจน ดงึ ดูดความสนใจ 4. วิธดี าเนินการ เฉพาะเจาะจง ง. ปญั หา ความจาเปน็ 5. ระยะเวลาและสถานที่ จ. การตดิ ตามดแู ล หลงั จากดาเนนิ โครงการแลว้ ดาเนนิ การ ฉ. ความต้องการทจี่ ะกระทาส่ิงใดสงิ่ หน่ึง 6. งบประมาณ 7. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ ช. แสดงข้นั ตอนของงานท่จี ะตอ้ งทา 8. ผลที่คาดวา่ จะได้รับ ซ. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากความสาเร็จ 9. การประเมินผลโครงการ เมอ่ื ส้ินสดุ โครงการ ฌ. การระบุเวลาทีเ่ รม่ิ ต้นและสน้ิ สุดโครงการ กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 5 การดาเนินงานตามโครงการ คาช้ีแจง ให้ผเู้ รยี นฝึกปฏิบตั เิ ขยี นโครงการ เพือ่ พฒั นาชมุ ชน และสังคม และนาสู่การปฏบิ ัติ ตามโครงการ (ใหผ้ ูเ้ รียนเขยี นโครงการพร้อมตรวจสอบเนื้อหากับชุดวิชาลูกเสอื กศน.) กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 6 การสรุปรายงานผลการดาเนนิ งานตามโครงการเพ่ือเสนอตอ่ ทป่ี ระชมุ คาชี้แจง ให้ผู้เรยี นสรุปรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการ (ใหผ้ เู้ รียนสรุปรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการ พร้อมตรวจสอบเนอื้ หากับ ชดุ วชิ าลกู เสอื กศน.)
116 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 9 ทกั ษะลูกเสอื กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 1 แผนที่ - เขม็ ทิศ คาชี้แจง ใหผ้ ู้เรยี นตอบคาถาม ดงั ตอ่ ไปน้ี 3. ความหมาย และความสาคัญของแผนท่ี 2. ความหมาย และความสาคญั ของเข็มทศิ 3. ความหมาย และความสาคัญของแผนที่ ตอบ แผนที่ หมายถึง เครื่องมือที่แสดงให้เห็นถึงรายละเอียดต่าง ๆ ของภูมิประเทศที่ อยู่บนผิวโลก โดยการจาลองย่อส่วนลงบนแผ่นวัตถุพ้ืนราบ รายละเอียดอาจแสดงด้วยลายเส้น สี หรือสญั ลักษณต์ ่าง ๆ ความสาคญั ของแผนท่ี มีดังน้ี 3. ใชเ้ ปน็ เครือ่ งมือประกอบกิจกรรมการเดินทางไกลของลูกเสอื 2. ช่วยใหเ้ ข้าใจถึงข้อมูลพนื้ ฐานของสภาพลกั ษณะภูมปิ ระเทศเบื้องต้น 3. เนอื่ งจากแผนที่มหี ลายชนิด ทาใหส้ ามารถเลือกใชป้ ระโยชนจ์ ากแผนท่ีได้ อยา่ งถูกตอ้ ง 2. ความหมาย และความสาคัญของเข็มทศิ ตอบ เข็มทิศ หมายถึง เคร่ืองมือสาหรับใช้หาทิศทางหรือบอกทิศทางในแผนท่ี มีเข็ม แม่เหล็กที่แกว่งไกวได้อิสระในแนวนอนทอดตัวในแนวเหนือ - ใต้ ตามแรงดึงดูดของแม่เหล็ก โลก และท่ีหน้าปดั มสี ่วนแบ่งสาหรบั หาทศิ ทางโดยรอบ เขม็ ทิศจงึ มปี ลายชี้ไปทางทิศเหนอื เสมอ ความสาคัญของเขม็ ทิศ ใชป้ ระกอบแผนที่และหาทิศทางที่ถูกตอ้ ง
117 กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 2 วธิ กี ารใช้แผนท่ี – เขม็ ทิศ คาชี้แจง ให้ผ้เู รยี นตอบคาถาม ดงั ตอ่ ไปนี้ 3. วิธีการใชแ้ ผนท่ี 2. วิธีการใช้เขม็ ทิศ 3. วิธีการใช้แผนท่ี ตอบ การใช้แผนที่ มวี ธิ กี ารดงั นี้ วางแผนที่ในแนวระนาบบนพนื้ ให้ได้ระดับ ทศิ เหนอื ของแผนที่ชไ้ี ปทางทศิ เหนือ จดั ใหแ้ นวตา่ ง ๆ ในแผนที่ขนานกับแนวทเี่ ป็นจรงิ ในภมู ิประเทศ ทกุ แนว 2. วิธีการใช้เข็มทิศ ตอบ การใชเ้ ข็มทิศ มีวธิ ีการดงั นี้ 3. ยกเขม็ ทิศใหไ้ ดร้ ะดบั 2. ปรับมมุ อะซิมุทใหเ้ ท่ากับมุมทกี่ าหนดในแผนที่ 3. เลง็ ตามแนวลูกศรชที้ ศิ ทาง เป็นเสน้ ทางที่จะเดนิ ไป 4. เดนิ ไปเท่ากับระยะทางท่กี าหนดในแผนท่ี กจิ กรรมทา้ ยเรื่องท่ี 3 การใช้ Google Map และ Google Earth คาช้แี จง ใหผ้ ู้เรียนฝกึ ทกั ษะการคน้ หาเปา้ หมายทก่ี าหนดจากโปรแกรม Google Map หรอื Google Earth ในจอสมาร์ทโฟน หรือโทรศัพท์มือถือ โดยการพิมพ์ชื่อสถานที่สาคัญ แหล่งท่องเท่ียว ร้านอาหาร วัด มัสยิด โบสถ์คริสต์ ในจังหวัดของผู้เรียน และให้บันทึก ผลการค้นหา ลงในสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ (ให้ผู้เรียนค้นหาเป้าหมายท่ีกาหนดจากโปรแกรม Google Map หรือ Google Earth โดยบันทึก ผลการคน้ หาลงในสมดุ บนั ทึกกิจกรรมการเรียนร)ู้
118 กจิ กรรมทา้ ยเรื่องที่ 4 เงือ่ นเชอื กและการผกู แน่น คาชีแ้ จง ใหผ้ เู้ รยี นตอบคาถามดงั ตอ่ ไปน้ี 3. ความหมายและความสาคัญของเงอ่ื นเชือก 2. ให้ผู้เรียนฝึกผูกเง่ือนเชือกแลว้ บอกประโยชน์ของเง่อื นเชือกทก่ี าหนด ลงในตารางต่อไปนี้ 2.3 เงื่อนพิรอด 2.2 เงอื่ นขัดสมาธิ 2.3 เงอ่ื นตะกรดุ เบด็ 3. ความหมายและความสาคญั ของเง่ือนเชือก ตอบ เง่อื นเชอื ก หมายถึง การนาปลายเชือกเสน้ หน่ึง ผูกกับปลายเชือกอีกเส้นหนึ่ง เพื่อเป็นการต่อเชือก หรือนาเชือกไปผูกกับวัตถุ หรือผูกเป็นบ่วงคล้องวัตถุ การผูกเงื่อนแต่ละ ชนดิ มีความยากง่ายแตกตา่ งกันออกไป ความสาคัญของเง่ือนเชือก ใช้เพื่อการต่อเชือก หรือผูกวัตถุตามแต่ละชนิดของ เชือก และเม่ือลากจงู ส่ิงของและใชช้ ว่ ยชีวิต 2. ใหผ้ เู้ รียนฝึกผูกเงอ่ื นเชือกแล้วบอกประโยชน์ของเง่อื นเชอื กที่กาหนด ลงในตารางต่อไปนี้ 2.3 เงอ่ื นพิรอด 2.2 เงื่อนขัดสมาธิ 2.3 เงือ่ นตะกรดุ เบด็ เง่อื นเชือกและประโยชนข์ องเง่ือนเชือก เงอื่ นเชือก ประโยชน์ของเงอ่ื นเชอื ก 1. เง่อื นพริ อด 3. ใช้ต่อเชือก 2 เสน้ ที่มีขนาดเทา่ กนั 2. ใช้ผกู ปลายเชอื กเสน้ เดียวกนั เพ่ือผกู มัดสง่ิ ของ และวัตถุตา่ ง ๆ 3. ใช้ผกู เชอื กรองเทา้ (ผูกเงอ่ื นพิรอดกระตุกปลาย 2 ขา้ ง) 4 ใช้ผกู โบ ผูกชายผ้าพนั แผล ผกู ชายผ้าทาสลงิ คล้องคอ
เง่อื นเชือก 119 2. เงอื่ นขดั สมาธิ ประโยชน์ของเงื่อนเชอื ก 3. เง่อื นตะกรดุ เบ็ด 3. ใชต้ อ่ เชอื กทมี่ ีขนาดเดยี วกัน หรอื ตา่ งกัน 2. ใชต้ อ่ เชือกออ่ นกบั เชือกแขง็ 3. ใชผ้ กู กบั ขอ หรือบว่ ง 3. ใชผ้ กู เชอื กกับเสาหรอื สง่ิ อน่ื ๆ ปมเชือกจะไม่คลาย 2. ใชท้ าบันไดเชือก บันไดลิง 3. ใช้ในการผูกเง่ือนแน่น ประกบ กากบาท 4. ใชผ้ ูกปากถุงขยะ
120 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 10 ความปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกิจกรรมลูกเสือ กจิ กรรมท้ายเรื่องท่ี 1 ความความปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลกู เสอื คาชแ้ี จง ใหผ้ เู้ รียนตอบคาถาม ดังตอ่ ไปนี้ ความหมายและความสาคัญของความปลอดภยั ในการเข้าร่วมกจิ กรรมลกู เสอื ความหมายและความสาคัญของความปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกิจกรรมลูกเสือ ตอบ ความปลอดภัย หมายถึง การที่ร่างกายปราศจากอุบัติภัย อยู่ในสภาวะที่ปราศจาก อันตราย หรือสภาวะที่ปราศจากการบาดเจ็บ เจ็บปวด เจ็บป่วย จะมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับ การปฏบิ ัติหรอื การกระทาของตนเอง ความสาคัญของความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ เป็นความจาเป็น พ้ืนฐานสาหรับการป้องกันหรือช่วยเหลืออย่างทันท่วงที หรือการสร้างความปลอดภัยในกิจกรรม ต่าง ๆ กอ่ นท่ีจะมภี ัยเกิดขึน้ บางประการหรือเตรียมการรองรับในเบ้ืองตน้ เพอ่ื ปอ้ งกันการสญู เสยี กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 2 หลักการ วธิ กี ารในการเฝ้าระวังเบื้องต้นในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสอื คาช้ีแจง ให้ผู้เรียนยกตวั อยา่ งการเฝา้ ระวงั เบ้อื งต้นในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสือ กจิ กรรมลกู เสอื ตัวอย่างการเฝา้ ระวงั เบ้ืองต้น กจิ กรรมบกุ เบกิ ตรวจสอบอุปกรณ์ เครอ่ื งมือ เคร่อื งใช้ สาหรับการ แผว้ ถางทาง บกุ เบิกเสน้ ทาง เพอื่ อานวยความสะดวก กิจกรรมผจญภัย และความปลอดภยั ใหแ้ กผ่ ้เู ดนิ ตามมาภายหลัง ตรวจสอบ คุณลักษณะและคุณภาพของวสั ดุ ไม้ เชอื ก หรือลวดท่นี าไปใช้ในการสรา้ งฐานผจญภยั
121 กจิ กรรมท้ายเร่อื งท่ี 3 การช่วยเหลือเมอ่ื เกิดเหตคุ วามไม่ปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกิจกรรม คาช้ีแจง ให้ผเู้ รียนอธิบายวิธกี ารช่วยเหลือ เมื่อเกดิ เหตคุ วามไมป่ ลอดภยั ในการเขา้ รว่ ม กิจกรรมลกู เสือ กรณตี ่อไปน้ี กรณอี บุ ัติเหตุ การช่วยเหลอื อบุ ัตเิ หตทุ างนา้ 1. จัดใหน้ อนตะแคงกงึ่ ควา่ 2. ตรวจสอบการหายใจ ถา้ ไม่มกี ารหายใจให้ช่วยกู้ชพี อุบตั เิ หตุทางรถยนตห์ รอื ทางถนน ทันที 3. ให้ความอบอนุ่ กบั รา่ งกายผู้จมน้า โดยถอดเสือ้ ผ้า อบุ ัติเหตทุ ่วั ไป เปยี กออกและใชผ้ ้าแหง้ คลุมตัว 3. ตกจากที่สงู 3. การใช้เครื่องหมายบอกสัญญาณ เพอ่ื ส่งสญั ญาณ 2. หกล้ม เตอื นในการเพิม่ ความระมดั ระวงั โดยสญั ญาณฉุกเฉิน 3. ไฟไหม้ 2. ประเมนิ สถานการณจ์ ากสภาพแวดล้อมและสภาพ 4. น้าร้อนลวก จราจร 3. โทรศัพทแ์ จง้ หน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เช่น หนว่ ยแพทยฉ์ กุ เฉนิ มลู นธิ ิ โรงพยาบาล ควรเคลอื่ นย้ายดว้ ยความระมดั ระวงั
122 กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 4 การปฏิบัติตนตามหลกั ความปลอดภัย คาช้แี จง ให้ผเู้ รียนยกตวั อย่างการปฏบิ ตั ิตนตามหลักความปลอดภยั หลกั ความปลอดภัย ตวั อย่างการปฏบิ ัติตนตามหลัก 1. ด้านรา่ งกาย ความปลอดภัย 2. ด้านจติ ใจ 3. เตรียมร่างกาย การออกกาลังกาย รักษาร่างกาย ไมใ่ ห้เจบ็ ป่วย 2. หาความรู้ในกิจกรรมลูกเสอื กศน. เป็นการ เตรยี มพร้อมในการปฏบิ ัติตนเอง และใหค้ วาม ช่วยเหลอื ผู้อน่ื ตามความเหมาะสม
123 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 11 การปฐมพยาบาล กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 1 การปฐมพยาบาล คาช้แี จง ให้ผู้เรียนตอบคาถาม ดงั ตอ่ ไปนี้ 3. ความหมายของการปฐมพยาบาล 2. ความสาคญั ของการปฐมพยาบาล 3. หลกั การของการปฐมพยาบาล 3. ความหมายของการปฐมพยาบาล ตอบ การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือผู้บาดเจ็บเบ้ืองต้น โดยใช้ เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ที่หาได้ในบริเวณนั้น ๆ เพื่อช่วยบรรเทาอาการและช่วยให้ผู้บาดเจ็บ ได้รบั อนั ตรายนอ้ ยลงกอ่ นที่จะสง่ โรงพยาบาล เพื่อใหแ้ พทย์ทาการรกั ษา 2. ความสาคญั ของการปฐมพยาบาล ตอบ การปฐมพยาบาล มีความสาคัญ ดังน้ี 3. เพ่อื ชว่ ยเหลือผบู้ าดเจ็บ 2. เพ่ือปอ้ งกันและลดความพิการที่อาจเกดิ ขึ้น 3. เพื่อบรรเทาความเจ็บปวดและปอ้ งกันอนั ตราย 3. หลกั การของการปฐมพยาบาล ตอบ หลกั การของการปฐมพยาบาล มีดังน้ี 1. การมอง สารวจความปลอดภยั รวมท้ังสารวจระบบสาคญั ของร่างกาย อย่างรวดเร็ว และวางแผนใหก้ ารช่วยเหลอื อยา่ งมสี ติ ไม่ตน่ื เตน้ ตกใจ 2.-ห้ามเคลื่อนย้าย หรือไม่ควรเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บจนกว่าจะแน่ใจว่าเคลื่อนย้าย ได้อย่างรวดเร็ว ยกเว้นกรณีท่ีเกิดการบาดเจ็บในสถานท่ีท่ีไม่สะดวกต่อการปฐมพยาบาลหรือ อาจเกิดอันตรายมากขึ้นทัง้ ผู้บาดเจบ็ และผู้ช่วยเหลอื จาเปน็ ตอ้ งเคล่ือนย้ายไปที่ทป่ี ลอดภัยกอ่ น
124 3.-ช่วยเหลือด้วยความนุ่มนวลและระมัดระวัง ให้การช่วยเหลือตามลาดับ ความสาคญั ของการมีชวี ติ หรือตามความรนุ แรงท่ผี ู้บาดเจบ็ ได้รบั ดงั นี้ 3.1 กลุ่มอาการช่วยเหลือด่วน ได้แก่ หยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น หมดสติ และเสียเลอื ด 3.2-กลุ่มอาการช่วยเหลือรอง ได้แก่ ความเจ็บปวด การบาดเจ็บของกระดูก และข้ออมั พาต กิจกรรมท้ายเร่อื งที่ 2 วธิ กี ารปฐมพยาบาลกรณีตา่ ง ๆ คาชแี้ จง ใหผ้ เู้ รียนอธิบายวธิ กี ารปฐมพยาบาล กรณีตอ่ ไปนี้ กรณีผ้ปู ่วย วธิ กี ารปฐมพยาบาล เป็นลมวิงเวียนศรี ษะ 3. พาเข้าที่ร่มอากาศถา่ ยเทสะดวก 2. นอนราบไม่หนนุ หมอน หรือยกปลายเทา้ ใหส้ ูงเลก็ น้อย เป็นลมแดด 3. คลายเสื้อผ้าให้หลวม 4. พดั หรอื ใช้ผา้ ชุบน้าเชด็ เหงื่อตามหน้า มอื และเท้า เลือดกาเดาไหล 5. ใหด้ มแอมโมเนยี 6. ถ้ารู้สกึ ตัวดีใหด้ ่มื นา้ 7. ถา้ อาการดีข้นึ นาส่งแพทย์ต่อไป 3. นาผ้ทู ี่มีอาการเขา้ ในทีร่ ่ม 2. นอนราบ ยกเท้าสงู 3. คลายเส้อื ผ้าให้หลวม 4. ใชผ้ ้าชุบนา้ ประคบบริเวณใบหนา้ ข้อพับ ขาหนีบ เชด็ ตวั เพ่ือระบายความร้อน 5. ถา้ รู้สึกตัวหรอื มอี าการดขี ึ้น ให้จบิ นา้ เย็น 6. ถ้าอาการดขี น้ึ นาส่งแพทย์ 1. ใหผ้ ปู้ ่วยนง่ั นิง่ ๆ เอนตวั ไปขา้ งหน้าเลก็ นอ้ ย 2. ใช้มือบีบปลายจมูก ร่วมกับกาสรประคบเย็น 3. ถา้ มีเลือดออกมาก ใหผ้ ู้ป่วยบว้ นเลือดหรอื นา้ ลาย ลงในอา่ ง
125 กรณีผู้ปว่ ย วิธีการปฐมพยาบาล 4. เมื่อเลอื ดหยดุ แลว้ ใช้ผ้าสะอาดเช็ดบริเวณจมกู และปาก 5. หา้ มสั่งน้ามกู หรือล้วงแคะ ขยจ้ี มูก กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 3 การวัดสัญญาณชีพและการประเมนิ เบ้อื งตน้ คาชแ้ี จง ให้ผูเ้ รียนอธิบายวธิ กี ารวดั สัญญาณชีพ และการประเมินเบ้ืองต้น การวดั สัญญาณชพี วธิ กี ารวดั การประเมินเบ้ืองต้น 3. การวดั สญั ญาณชพี ใช้นิว้ มือ 3 นิ้ว (นวิ้ ชี้ นว้ิ กลาง คนปกติ การบบี หัวใจ ประมาณ นวิ้ นาง) ด้านขวา แตะท่ขี อ้ มือ 60 -300 คร้งั ตอ่ นาที ผปู้ ว่ ยและสังเกตการเต้นของชีพจร 2. การวัดอตั รา สังเกตจากาการหายใจนาเอา การขยายตัวของชอ่ งอก คนปกติ การหายใจ ออกซเิ จนเข้าสรู่ ่างกาย โดยดจู าก 32 – 20 ครง้ั ตอ่ นาที การขยายตัวของชอ่ งอก 3. การวดั อุณหภูมิ เปน็ การวดั ความร้อนของร่างกาย คนปกติ อุณหภมู ิ 37 องศา รา่ งกาย โดยใช้ปรอท เซลเซยี ส +/- 0.5 องศาเซลเซยี ส 4. การวดั ความดัน ใชเ้ ครือ่ งวดั ความดนั วัดที่ตน้ แขน คนปกติมีความดันโลหิต โลหติ แลว้ บีบ ประมาณ 90/60 320/80 มลิ ลิเมตรปรอท กจิ กรรมทา้ ยเร่อื งที่ 4 วธิ กี ารช่วยชีวติ ขัน้ พ้ืนฐาน คาชี้แจง ให้ผ้เู รยี นไปฝึกทักษะกับผ้รู เู้ รื่องวธิ กี ารชว่ ยชวี ติ ขั้นพ้ืนฐาน กรณีผ้ปู ว่ ยหมดสติ หยดุ หายใจ หรือมกี ารหายใจผดิ ปกติ และฝกึ ทกั ษะวิธกี ารชว่ ยชีวติ ข้นั พนื้ ฐาน (CPR) จนมีความชานาญ พรอ้ มทจ่ี ะใหค้ วามช่วยเหลอื ผ้ปู ่วยได้อยา่ งถูกวิธี โดยใหผ้ ูร้ ทู้ ่เี ปน็ ผสู้ อนลงลายมือช่ือรบั รองผลการฝึกทกั ษะ และให้ขอ้ เสนอแนะผลการปฏบิ ัติดังตอ่ ไปนี้ (ให้ผู้เรียนฝกึ ทกั ษะวธิ กี ารชว่ ยชีวติ ขน้ั พืน้ ฐาน (CPR) พร้อมใหผ้ สู้ อนลงลายมือชอื่ รับรอง ผลการฝึกทกั ษะและขอ้ เสนอแนะ)
126 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 12 การเดินทางไกล อยูค่ ่ายพกั แรม และชีวติ ชาวคา่ ย กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 1 การเดนิ ทางไกล คาช้แี จง 3.3 ให้ผเู้ รียนอธิบายเกย่ี วกับการเดินทางไกล ดังตอ่ ไปน้ี 1. ความหมายของการเดินทางไกล 2. วตั ถปุ ระสงค์ของการเดินทางไกล 3. หลักการของการเดินทางไกล 3. ความหมายของการเดินทางไกล ตอบ การเดินทางไกล หมายถึง การเดินทางของลูกเสือจากกอง หรือกลุ่มลูกเสือ เพื่อไปทา กิจกรรมที่ใดท่ีหนึ่ง โดยมีผู้กากับและนายหมู่ลูกเสือเป็นผู้กาหนดร่วมกัน เพื่อนาลูกเสือไปฝึก ทักษะวิชาการลูกเสือเพิ่มเติม ให้รู้จักการใช้ชีวิตกลางแจ้งและสัมผัสกับธรรมชาติอย่างใกล้ชิด โดยลูกเสือได้ใช้ความสามารถของตนเอง การเดินทางไกล การเดินทางด้วยเท้า เรือ หรือจักรยาน และรถยนต์ 2. วตั ถุประสงค์ของการเดนิ ทางไกล ตอบ 3. เพือ่ ฝึกความอดทน ความมรี ะเบยี บวินยั และเสรมิ สรา้ งสุขภาพอนามยั ให้แกล่ ูกเสือ 2. เพ่อื ให้ลกู เสอื มีเจตนารมณ์ และเจตคติทดี่ ี ร้จู กั ช่วยตนเอง และรูจ้ ักทางานร่วมกบั ผอู้ ืน่ 3. เพื่อใหม้ โี อกาสปฏิบัตติ ามคตพิ จนข์ องลกู เสอื และมโี อกาสบรกิ ารต่อชุมชนท่ไี ปอยู่ คา่ ยพักแรม 4. เพื่อเป็นการฝึกและปฏบิ ัตติ ามกฎของลูกเสือ 3. หลักการของการเดินทางไกล ตอบ การเดินทางไกล ใช้ระบบหมู่ เพ่ือฝึกความอดทน ความสามัคคี ความมีระเบียบวินัย การช่วยเหลือซึ่งกันและกันรู้จักการระมัดระวังตัวจากอุบัติเหตุขณะเดินทาง และการเตรียมตัว ในการเดินทางให้ได้ใช้ชีวิตกลางแจ้งโดยมีการเตรียมอุปกรณ์เฉพาะบุคคลลงในเครื่องหลังสาหรับ เดินทางไกล และเตรียมอุปกรณ์สาหรับหมู่หรือกอง สาหรับสร้างค่ายพักแรมและการใช้ชีวิต ชาวคา่ ย
127 การบรรจุเคร่อื งหลัง สาหรบั การเดนิ ทางไกล คาชแี้ จง 1.2 ใหผ้ เู้ รียนระบกุ ารเตรยี มอุปกรณ์ส่วนตัว สาหรับการบรรจุเครื่องหลังในการเดิน ทางไกล ลงในตารางตอ่ ไปนี้ ประเดน็ อุปกรณ์ที่ตอ้ งเตรยี ม การเตรียมอุปกรณ์ส่วนตัว 1. เคร่ืองแตง่ กาย ไดแ้ ก่ เครื่องแบบลูกเสอื และ สาหรับการบรรจุเคร่ืองหลัง เครอ่ื งหมายประกอบเคร่อื งแบบ คือ หมวก ผา้ ผกู คอ ในการเดินทางไกล เสอ้ื กางเกงหรอื กระโปรง เข็มขดั ถุงเท้า รองเทา้ หรือ ชุดลาลองหรอื ชุดสภุ าพ ชุดกีฬา ชดุ นอน 2. เครื่องใชป้ ระจาตัว ไดแ้ ก่ สบู่ แปรงสฟี ัน ยาสีฟัน ผา้ เชด็ ตวั ผ้าขาวม้า ผา้ ถงุ ไฟฉาย ขนั นา้ รองเท้าแตะ จาน ชาม ช้อน ยากนั ยงุ ยาขดั โลหะ เชือก หรือยาง สาหรับผูกหรือรดั อุปกรณ์เลก็ ๆ น้อย ๆ ถุงพลาสติก สาหรับใสเ่ สอื้ ผ้าท่ีใชแ้ ลว้ หรอื เปียกช้ืน 3. ยาประจาตัว หรอื อุปกรณ์ปฐมพยาบาล 4. อุปกรณ์ประกอบการเรียนรู้ และการจดบันทึก กิจกรรม เช่น สมดุ ปากกา ดินสอ แผนที่ เข็มทิศ 5. อปุ กรณท์ จี่ าเปน็ ตามฤดูกาล เช่น เสอ้ื กนั ฝน เสอ้ื กนั หนาว 6. อุปกรณ์เครอ่ื งนอน เช่น ผ้าห่ม ถงุ นอน 7. อปุ กรณ์ที่ประจากายลูกเสือ เช่น ไมง้ ่าม กระติกน้า เชือกลกู เสอื
128 กจิ กรรมทา้ ยเรือ่ งท่ี 2 การอยูค่ า่ ยพักแรม คาชี้แจง ให้ผู้เรียนอธบิ ายความหมาย วัตถุประสงค์ และหลักการของการอยู่คา่ ยพักแรม ขอ้ ประเด็นคาถาม คาอธิบาย 3. ความหมายของการอยูค่ ่ายพักแรม องคร์ วมของการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบัติ โดยมีนวตั กรรมและขบวนการถา่ ยทอด การทดสอบ การเสริมสร้างพัฒนาการให้แกล่ ูกเสอื โดยการนา ลูกเสอื ออกจากท่ตี ง้ั ปกตไิ ปพักแรมคืนในสภาพที่ เหมาะสม โดยจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับการเรียน 2. วตั ถปุ ระสงค์ของการอย่คู ่ายพกั แรม 3. เพ่อื ให้ลูกเสือทบทวนสิ่งที่ไดเ้ รยี นรู้จากทฤษฎี และการฝกึ ปฏบิ ัติ 2. เพอื่ เปน็ การฝกึ ทักษะทางลกู เสอื ให้มีระเบียบวินัย มีเจตคติ มีค่านยิ มทด่ี ีงาม 3. เพอ่ื ให้ลูกเสือปฏบิ ตั ิตามคาปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื 3. หลักการของการอยคู่ ่ายพักแรม 3. ยดึ หลักการมีสว่ นร่วม โดยใหผ้ ู้บงั คบั บญั ชาลูกเสือ และชุมชน มีส่วนรว่ ม ในการจัดกจิ กรรม 2. ใช้กระบวนการเรียนรู้ท่ีเนน้ ใหล้ ูกเสือมีทกั ษะในการ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรยี นร้ใู นชมุ ชน 3. ใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการจดั ประสบการณ์การ เรยี นรู้ ฝึกให้คดิ วเิ คราะห์ สร้างสรรค์ ท่เี ปน็ ประโยชน์ และสัมพนั ธก์ บั วิถชี ีวติ 4. มกี ิจกรรมวิชาการและกิจกรรมนนั ทนาการทีใ่ ห้ ลูกเสอื ได้รบั ความรู้ และความสนกุ สนาน ทางาน ร่วมกันเปน็ กล่มุ เพื่อเสรมิ สรา้ ง ความสามัคคี มนษุ ยสัมพนั ธ์ ความเปน็ ผู้นา 5. ตอ้ งคานงึ ถึงความปลอดภัยในดา้ นตา่ ง ๆ ระหวา่ ง การทากจิ กรรม
129 กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองที่ 3 ชวี ิตชาวคา่ ย คาชแ้ี จง 3.3 ใหผ้ เู้ รยี นอธิบายความหมายของคาวา่ ชวี ิตชาวคา่ ย ตอบ ชวี ิตชาวคา่ ย หมายถึง การทีบ่ ุคคลหลาย ๆ คน มาอยรู่ วมกนั ทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยกนั นอน กนิ เรยี นรู้ ฝกึ ทกั ษะ เดนิ ทางไกล ผจญภัย โดยพักคา้ งในค่ายด้วยกัน คาชแี้ จง 3.2 ใหผ้ ้เู รียนระบเุ หตผุ ลของการเตรยี มอุปกรณ์ส่วนรวมของหมู่หรือของกองลูกเสอื ในการอย่คู ่ายพักแรม ที่ระบุในตารางตอ่ ไปนี้ พรอ้ มทั้งให้เหตุผลประกอบ อุปกรณส์ ่วนรวมทต่ี ้องเตรียม เหตุผลของการเตรียมอปุ กรณส์ ว่ นรวม 3. มดี พร้า พลว่ั สนาม จอบ เสียม ไมก้ วาดทางมะพร้าว เพื่อเตรียมความพร้อมในการอยคู่ ่ายพกั แรม เพื่อใช้เปน็ อุปกรณก์ ารจดั การคา่ ยและฐาน 2. มดี ทาครวั หม้อ ทพั พี กระทะ เขยี ง กจิ กรรมบกุ เบกิ จาน ชาม กะละมงั ถงั นา้ นา้ ยาล้างจาน 3. เครอื่ งปรุงสาหรับการประกอบอาหาร เพอ่ื เตรียมความพรอ้ มสาหรับการอยคู่ ่ายพักแรม น้ามัน นา้ ปลา น้าตาล ฯลฯ ในกจิ กรรมการทาครัว ชวี ิตชาวคา่ ย 4. เต็นท์ เชือก ลวด ยาง ถงุ ดา ตะเกียง ไฟฉาย แผนที่ เข็มทิศ เพ่ือเตรยี มสาหรับการปรุงอาหาร ในการอยู่ 5. อุปกรณป์ ระกอบจงั หวะชดุ การแสดง ค่ายพกั แรม 6. กระเป๋ายา และอปุ กรณก์ ารปฐม เพื่อเตรยี มความพรอ้ มสาหรับการอยู่ค่ายพักแรม พยาบาลเบ้ืองต้น และใชใ้ นกิจกรรมชวี ิตชาวคา่ ย เพ่อื ใชป้ ระกอบการจดั กิจกรรมประกอบการแสดง ในการอยูค่ ่ายพักแรม เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มและสาหรบั ป้องกนั ในยาม ฉกุ เฉิน การอยู่คา่ ยพักแรม และเดนิ ทางไกล
130 คาชแ้ี จง 3.3 ใหผ้ ู้เรียนยกตัวอย่างตามประเด็นชีวติ ชาวคา่ ยมาพอสงั เขป กจิ กรรมชีวติ ชาวคา่ ย ตวั อยา่ งอุปกรณท์ ใ่ี ช้ในชีวิตชาวค่าย การสรา้ งค่ายพกั แรม 1. มีด ไว้ตัด เฉอื น สับ ห่ัน ปาด 2. ขวาน ใชต้ ัดไม้ ฟันไม้ ผา่ ไม้ ตอกไม้ การสร้างครัวชาวค่าย 3. เลื่อย ใชส้ าหรับงานทว่ั ไป การสรา้ งเตาประเภทตา่ ง ๆ 4. จอบ ใช้สาหรบั ขดุ ดนิ ทาหลมุ ถากหญา้ 5. เสียม ใชข้ ุดดนิ ขุดลอก การประกอบอาหารแบบชาวค่าย 6. พลวั่ ใช้ตกั ดิน ตักทราย 7. คอ้ น ใช้ตอก ทบุ ทาลาย 1. ทีท่ าครวั มีเขตทาครัวโดยเฉพาะ มคี วามเหมาะสม 2. เตาไฟ เลือกแบบท่เี หมาะกับพ้นื ที่ทาครัว 3. กองฟืน กองเป็นระเบยี บ อยูไ่ ม่หา่ งจากเตาไฟ 4. เครื่องใช้ต่าง ๆ หม้อ กระทะ มดี เขียง พร้อมที่เก็บ 5. หลุมเปยี ก หลุมแห้ง 1. เตาสามเสา้ นาก้อนหินสามกอ้ นมาวางบนพื้น จัดระยะหา่ งใหพ้ อดีกับก้นหม้อเปน็ สามมมุ ใหอ้ ากาศ ถ่ายเทสะดวก 2. เตาหลมุ ขดุ หลมุ ให้มีขนาดกว้างพอเท่ากับ หมอ้ ลกึ พอประมาณ แลว้ เจาะรู เพอ่ื ใส่ฟนื ด้านหน้า แลว้ รูระบายอากาศ ดา้ นข้างเพอื่ ใหค้ วันออก 3. เตาลอย ขดุ หลมุ สีม่ มุ แลว้ นาท่อนไมแ้ ข็งแรงสตี่ น้ ทาเป็นเสาสม่ี มุ นามาวางพาดผกู เป็นสีเ่ หลีย่ มและวาง คานใหเ้ ตม็ พืน้ ท่ี ใช้ใบไมป้ ใู หร้ าบ เอาดินปพู ื้นใหห้ น พอสมควร ใชก้ ้อนหินทาเปน็ เตาสามเส้า 1. การหุงข้าวดว้ ยหมอ้ หู แบบเชด็ น้า และไมเ่ ช็ดนา้ 2. การตม้ โดยใส่ของลงไปพร้อมน้าแล้วตม้ และใส่ขอ หลงั จากต้มน้าเดอื ดแลว้
131 กิจกรรมชวี ิตชาวคา่ ย ตัวอย่างอุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นชีวิตชาวคา่ ย การกางเต็นท์ และการเก็บเต็นท์ 3. การผดั ใชน้ ้ามนั หรือกะทิ ใสข่ องที่จะผัดลงไป ทาให้ สกุ และปรุงรส 4. การทอด ใสน่ า้ มันในภาชนะใหท้ ่วมของท่ีทอด โดยให้น้ามันร้อนจัดก่อน 1. เต็นทส์ าเรจ็ รูป ประกอบเสาเตน็ ทแ์ ลว้ สอดเข้าตัว เต็นทต์ ามรูปโคง้ ใหท้ ะลถุ ึงกนั เปน็ สะพานไขว้ เสาเต็นท์จะโผลท่ มี่ มุ ทัง้ 4 ดา้ น ให้นาขอยดึ หว่ ง ทง้ั 4 ดา้ น ตอกกับพืน้ เพ่ือยึดใหแ้ น่น 2. การเกบ็ เตน็ ท์ กอ่ นพับเกบ็ เต็นท์ ควรผึ่งแดดใหแ้ ห้ง และถอดขอทีย่ ึดทัง้ 4 มมุ ถอดเสาเต็นท์และพบั เกบ็ ตามเดมิ พบั ผ้าเต็นท์ โดยไลล่ มออก กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 4 วิธกี ารจัดการค่ายพกั แรม คาชแ้ี จง ใหผ้ ูเ้ รียนตอบคาถาม ดงั ต่อไปนี้ 3. ค่ายพักแรม หมายความวา่ อยา่ งไร 2. อธิบายการสุขาภิบาล (การทาหลุมเปียก) ในค่ายพกั แรมมาพอเขา้ ใจ 3. คา่ ยพักแรม หมายความว่าอย่างไร ตอบ ค่ายพกั แรม หมายถึง การท่ีกลุ่มบุคคลไปใช้ชีวิตร่วมกันในบริเวณแห่งใดแห่งหนึ่ง อาจเป็นทีโ่ ลง่ แจง้ หรือนอกเมือง หรือสถานท่ีท่ีเหมาะสมอ่ืน ๆ ในระยะเวลาหน่ึง เพ่ือกิจกรรม อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ หรือพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ ภายใตค้ าแนะนาของผู้นาค่ายทีด่ รี บั การฝึกมาแลว้ 2. อธิบายการสขุ าภบิ าล (การทาหลุมเปียก) ในค่ายพักแรมมาพอเข้าใจ ตอบ การทาหลุมเปียกในค่ายพักแรม มีดังนี้ ขุดหลุมขนาดใหญ่ และลึกพอสมควร ทป่ี ากหลุมใชก้ งิ่ ไม้ ใบไม้ สานเปน็ แผงปิดไว้ แลว้ หาหญ้าโรยข้างบนแผงกิ่งไม้อกี ช้นั หลมุ เปียกน้ี มไี ว้สาหรบั เทนา้ ท่ไี ม่ใชแ้ ลว้ ลงไปในหลุม เช่น นา้ ปนไขมนั นา้ ปนเศษอาหาร ซึ่งเมื่อเทลงไปแล้ว
132 ไขมันและเศษอาหารต่าง ๆ จะติดอยู่ท่ีหญ้า มีแต่น้าเท่าน้ันที่ไหลลงไปในหลุม ต้องเปล่ียนแผง กง่ิ ไม้ ใบไม้ทีป่ ากหลมุ ทกุ วัน และนาแผงท่ใี ชแ้ ลว้ ไปเผาทกุ วันเช่นกนั 3. ให้ผู้เรียนอธิบายสภาพความเหมาะสมของการเลือกพ้ืนท่ตี ัง้ ค่ายพกั แรม ตอบ การเลอื กพนื้ ที่ทเ่ี หมาะสมสาหรับต้ังคา่ ยพักแรม ดงั นี้ 3. อยูบ่ นที่สูง หรือเชิงเขา เวลาฝนตกมที างระบายน้าออกอย่างรวดเร็ว ทาให้ไม่มีน้าขัง ในบริเวณค่าย หรือมิฉะน้ันควรต้ังค่ายบริเวณท่ีเน้ือดินเป็นดินปนทราย เพ่ือให้น้าดูดซึมได้โดย รวดเรว็ 2. ไม่ควรอย่ใู กล้สถานท่ที ี่มีคนพลกุ พล่าน เชน่ สถานที่ตากอากาศ 3. ไมค่ วรอยใู่ กล้ถนนหรือทางรถไฟ เพราะอาจเกิดอบุ ตั เิ หตกุ บั ลูกเสือได้ 4. ไม่ควรอยู่ใกลต้ ้นไมใ่ หญ่ เพราะเม่ือเกดิ ลมพายุอาจหักโค่นลงมาทาให้เกิดอันตรายได้ 5. สถานที่ตั้งค่าย ควรมีน้าด่ืมน้าใช้เพียงพอ แต่ไม่ควรอยู่ใกล้แม่น้า ลาคลอง หนอง หรือบึง เพราะอาจเกิดอบุ ัติเหตุกบั ลกู เสือได้ 6. สถานที่ต้ังค่าย ไม่ควรอยู่ไกลจากตลาดมากนัก ทั้งน้ี เพ่ือสะดวกแก่การไปซ้ือ กับข้าว และไม่ควรอยู่ไกลจากสถานีอนามัยมากนัก เพ่ือว่าเกิดการเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุ รา้ ยแรง จะได้ช่วยเหลอื ไดท้ นั ท่วงที 7. ควรอยใู่ นสถานทที่ ป่ี ลอดภัยจากผู้กอ่ การรา้ ย
133 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 13 การฝึกปฏบิ ัตกิ ารเดินทางไกล อยคู่ า่ ยพกั แรม และชวี ติ ชาวค่าย กจิ กรรมท้ายเร่อื งที่ 1 การวางแผนและปฏิบตั ิกิจกรรมการเดินทางไกล อยคู่ ่ายพกั แรม และชีวิตชาวค่าย คาช้ีแจง ใหผ้ ู้เรียนวางแผนการแสดงในกจิ กรรมนันทนาการและชมุ นมุ รอบกองไฟ ในประเดน็ ตอ่ ไปนี้ (ใหผ้ ู้เรียนวางแผนการแสดงในกิจกรรมนันทนาการและชุมนุมรอบกองไฟตามประเดน็ ท่กี าหนด) กิจกรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 2 การใช้ชวี ิตชาวคา่ ยรว่ มกบั ผู้อน่ื ในค่ายพกั แรม คาชแ้ี จง ให้ผู้เรียนเข้ารว่ มกจิ กรรมทุกกจิ กรรมที่กาหนด พรอ้ มทง้ั แสดงความคิดเหน็ และ สะท้อนความรสู้ ึกของการใชช้ ีวิตชาวค่ายร่วมกบั ผู้อ่ืนในคา่ ยพกั แรม ในช่ัวโมงสุดทา้ ย ก่อนปดิ การฝึกปฏบิ ัติ (ให้ผ้เู รียนเข้าร่วมกิจกรรมและแสดงความคิดเห็น และสะท้อนความรู้สึกของการใช้ชีวิตชาวค่าย ร่วมกับผอู้ นื่ ในค่ายพักแรม ก่อนปดิ การฝึกปฏิบัติ)
134 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน 3. ก 33. ค 21. ง 2. ง 12. ค 22. ข 3. ง 13. ง 23. ง 4. ง 14. ก 24. ก 5. ก 15. ก 25. ก 6. ง 16. ก 26. ค 7. ก 17. ก 27. ง 8. ข 18. ง 28. ง 9. ง 19. ง 29. ก 30. ง 20. ข 30. ง
135 รายชอ่ื ผเู้ ขา้ รว่ มประชุมปฏบิ ตั กิ ารจัดทาตน้ ฉบบั ชดุ วิชา รายวิชาเลือกบังคับ และสมุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ รายวชิ าลกู เสือ กศน. ท้ัง 3 ระดบั การศึกษา ระหวา่ งวนั ท่ี 5 – 9 กุมภาพันธ์ 2561 ณ โรงแรมนนทบรุ พี าเลซ จงั หวัดนนทบรุ ี 3. นายกฤตชัย อรุณรัตน์ เลขาธกิ าร กศน. 2. นางสาววิเลขา ลสี ุวรรณ์ รองเลขาธิการ กศน. 3. นางสุรวี ัลย์ ลม้ิ พิพัฒนกลุ ผู้เช่ยี วชาญเฉพาะดา้ นมาตรฐานการศกึ ษา 4. นางรงุ่ อรุณ ไสยโสภณ ผอู้ านวยการกล่มุ พฒั นาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 5. นางสาววราภรณ์ ศริ ิวรรณ ข้าราชการบานาญ 6. นางสาวเนาวเรศ นอ้ ยพานิชย์ ขา้ ราชการบานาญ 7. นายไพฑูรย์ ลิศนนั ท์ ขา้ ราชการบานาญ 8. นายเจริญศักดิ์ ดีแสน ผอู้ านวยการศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษาลาปาง 9. นายอนันต์ คงชมุ รองผู้อานวยการสานักงาน กศน. จงั หวัดสโุ ขทยั 30. นายวรวุฒิ หุนมาตรา ผอู้ านวยการ กศน.เขตคลองสาน กทม. 33. นางสาววมิ ลรตั น์ ภูริคุปต์ ผู้อานวยการ กศน.เขตบางเขน กทม. 12. นางอบุ ลรตั น์ ชนุ หพันธ์ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเมอื ง จังหวดั จนั ทบุรี 33. นายไพโรจน์ กนั ทพงศ์ ผอู้ านวยการโรงเรียนลามหาเมฆ (ประชาราตรีอนุสรณ)์ จังหวดั ปทุมธานี 34. ว่าที่ร้อยตรี สเุ มธ สจุ ริยวงศ์ รองผู้อานวยการโรงเรียนงามมานะ (แผน – ทบั อุทศิ ) 35. นายบวรวทิ ย์ เลศิ ไกร รองผูอ้ านวยการโรงเรยี นศุภกรณ์วทิ ยา 36. นายบนั เทิง จนั ทร์นเิ วศน์ โรงเรียนบางมดวิทยา“สีสุกหวาดจวนอุปถมั ภ์” 37. นางสาวสโรชา บรุ ีศรี เลขานกุ ารฯ สานักงาน ก.ค.ศ. 38. นายกฤตพัฒน์ นิชยั วรตุ มะ สานักการลกู เสือ ยุวกาชาด และกจิ การนักเรยี น 39. นางกนกวรรณ น่ิมเจรญิ สานกั การลกู เสือ ยุวกาชาด และกจิ การนักเรียน 20. นายเอกสิทธิ์ สวัสดิ์วงค์ สานักงานลกู เสือแห่งชาติ 23. นายเอกชัย ลาเหลอื สานักงานลกู เสอื แหง่ ชาติ 22. นายศรัณยพงศ์ ขตั ิยะนนท์ กศน.อาเภอเมอื ง จังหวัดจันทบุรี
23. นายขวัญชยั เนียมหอม 136 24. นางสาววรรณพร ปัทมานนท์ 25. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาไพศรี กศน.อาเภอบา้ นนา จังหวัดนครนายก 26. นางเยาวรัตน์ ปนิ่ มณีวงศ์ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 27. นางสาวฐิติมา วงศ์บัณฑวรรณ ตามอัธยาศัย 28. นางกมลทิพย์ ช่วยแก้ว กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา 29. นางสาวสุจรยิ า พุ่มไสล ตามอัธยาศัย 30. นายจตุรงค์ ทองดารา กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา 33. นางสกุ ญั ญา กุลเลิศพิทยา ตามอัธยาศัย 32. นายชัยวชิ ติ สารัญ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลุม่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย
137 รายชื่อผเู้ ข้าร่วมประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารบรรณาธิการตน้ ฉบับชดุ วิชา รายวชิ าเลือกบงั คับ และสมุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ รายวชิ าลกู เสอื กศน. ท้ัง 3 ระดบั การศึกษา ครง้ั ท่ี 1 วนั ที่ 12 – 16 มนี าคม 2561 ณ หอั งประชมุ อารยี ์ กุลตัณฑ์ อาคาร กศน.ชน้ั 6 นางรุง่ อรุณ ไสยโสภณ ผอู้ านวยการกลุม่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย นางสาววราภรณ์ ศริ ิวรรณ ขา้ ราชการบานาญ นางสาวเนาวเรศ น้อยพานชิ ข้าราชการบานาญ นายเจรญิ ศักดิ์ ดีแสน ผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาลาปาง นายบันเทงิ จันทร์นเิ วศน์ โรงเรยี นบางมดวทิ ยา “สีสกุ หวาดอปุ ถัมภ์” นายขวญั ชยั เนยี มหอม กศน.อาเภอบา้ นนา จงั หวัดนครนายก นายชยั วชิ ิต สารัญ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั
138 รายชอ่ื ผูเ้ ขา้ ร่วมประชมุ ปฏบิ ตั ิการบรรณาธกิ ารตน้ ฉบบั ชุดวชิ า รายวิชาเลอื กบงั คับ และสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ รายวิชาลูกเสอื กศน. ท้งั 3 ระดบั การศึกษา ครัง้ ที่ 2 วนั ที่ 26 – 30 มนี าคม 2561 ณ โรงแรมชลพฤกษ์ รีสอรท์ จงั หวัดนครนายก นางรงุ่ อรุณ ไสยโสภณ ผ้อู านวยการกลุม่ พฒั นาการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย นางสาววราภรณ์ ศริ ิวรรณ ขา้ ราชการบานาญ นางสาวเนาวเรศ น้อยพานิช ขา้ ราชการบานาญ นายเจรญิ ศกั ดิ์ ดีแสน ผู้อานวยการศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษาลาปาง นายบันเทิง จันทร์นเิ วศน์ โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สสี ุกหวาดอุปถมั ภ์” นายขวญั ชัย เนียมหอม กศน.อาเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก นายชัยวชิ ิต สารญั กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย
139 รายชอ่ื ผู้เข้าร่วมประชมุ ปฏิบัตกิ ารบรรณาธิการต้นฉบบั ชดุ วชิ า รายวิชาเลือกบังคับ และสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ รายวชิ าลกู เสอื กศน. ท้งั 3 ระดับการศึกษา คร้งั ท่ี 3 วันที่ 7 – 9 พฤษภาคม 2561 ณ โรงแรมนนทบรุ ี พาเลซ นนทบุรี นางรงุ่ อรุณ ไสยโสภณ ผ้อู านวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย นางสาววราภรณ์ ศริ ิวรรณ ขา้ ราชการบานาญ นางสาวเนาวเรศ นอ้ ยพานชิ ขา้ ราชการบานาญ นางนพรตั น์ เวโรจน์เสรีวงศ์ ข้าราชการบานาญ
140 คณะผ้จู ดั ทา ท่ีปรกึ ษา เลขาธิการ กศน. นายกฤตชัย อรุณรตั น์ รองเลขาธิการ กศน. นางสาววเิ ลขา ลสี ุวรรณ์ ข้าราชการบานาญ นางสาววราภรณ์ ศริ ิวรรณ ผู้อานวยการกลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ นางรงุ่ อรณุ ไสยโสภณ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย คณะทางาน หวั หน้ากลุ่มงานพัฒนาสื่อการเรยี นรู้ นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสาวทิพวรรณ วงคเ์ รอื น กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสาวชมพูนท สังขพ์ ชิ ัย กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ผู้พิมพต์ ้นฉบับ กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสาวทิพวรรณ วงค์เรอื น กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสาววิยะดา ทองดี กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางวรรณี ศรีศริ วิ รรณกุล กลุม่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั นางสาวชาลนิ ี ธรรมธิษา กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย นางสาวชมพนู ท สังขพ์ ิชัย นางสาวขวัญฤดี ลิวรรโณ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ผอู้ อกแบบปก นายศภุ โชค ศรีรตั นศิลป์
141
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149