ห น า | 51 3. แจงถงึ กจิ กรรมหรอื การแสดงท่ีจะจดั ขน้ึ วา มอี ะไร มีข้ันตอนอยางไร 4. กลา วเชิญประธานเปดงาน เชิญผูกลา วรายงาน (ถา มี) และกลาวขอบคุณเม่ือประธานกลา ว จบ 5. แจงรายการที่จะดําเนินในลําดับตอ ไป ถา มีการอภิปรายก็เชิญคณะผูอ ภิปรายเพ่ือดําเนินการ อภิปราย ถาหากงานนัน้ มกี ารแสดงก็แจง รายการแสดง เชน 6. พูดเชอ่ื มรายการหากมีการแสดงหลายชดุ กจ็ ะตอ งมกี ารพูดเชอ่ื มรายการ 7. เม่ือทุกรายการจบสิ้นลง พิธีกรก็จะกลา วขอบคุณแขกผูมีเกียรติ ผูฟง และผูช ม ผูที่ใหการช วยเหลอื สนบั สนนุ งาน หากมีพธิ ีปด พธิ กี รก็จะตอ งดาํ เนนิ การจนพธิ ีปดเสรจ็ เรยี บรอย กจิ กรรมท่ี 9 1. ใหผ ูเ รียนดูและฟง การพูดของพิธีกรในรายการตางๆ ทางโทรทัศนแ ละวิทยุเพ่ือสังเกต ขั้นตอนวิธีการและเทคนิคตา งๆ ของพิธีกรเพื่อเปนตัวอยา ง จะไดนําสวนดีมาฝกและใชเ มื่อไดท ําหนาท่ี พิธีกร 2. ในโอกาสตา งๆ ที่กลุม หรือสถานศึกษาจัดงานใหผ ูเรียนใชโ อกาสฝกทําหนาท่ี พิธีกร เพ่ือจะไดฝ กทักษะ การพูดเปนพิธีกร หากจะใหเ พื่อนไดชว ยวิจารณแ ละใหครูประจํากลุม ใหค ํา แนะนาํ ก็จะทําใหพัฒนาการพูดเปนพธิ ีกรไดด ี ผมู ีมารยาทดใี นการพดู การมีมารยาทในการพูดกจ็ ะคลายคลึงกับลักษณะการพูดทดี่ ีดงั ทไี่ ดก ลา วในตอนตน แลว ซึ่งอาจ ประมวลไดด งั น้ี 1. ผพู ูด เปน ผูทีถ่ ายทอดความรูส ึก ความคดิ เหน็ ขอเท็จจริง ตลอดจนทัศนคติของตนไปสูผ ูฟง โดยสื่อทางภาษา เสียง อากัปกิริยา และบุคลิกภาพ ใหม ีประสิทธิภาพทีส่ ุด ผูพ ูดจะตอ งมีมารยาทและ คุณธรรมในการพูด และผูพ ูดเองตองมีการเตรียมตัว มีความรู และประสบการณในเรื่องท่ีจะพูดอยางดี และตองรวบรวมเรยี บเรยี งความรูเ หลาน้ันใหเปน ระบบและถา ยทอดใหผ ูฟง เขา ใจงาย และชัดเจน ผูพูด
52 | ห น า เองตอ งมีทักษะในการพูดมีความสนใจท่ีจะพัฒนาบุคลิกภาพอยูเ สมอ เปนการสรางความม่ันใจใหผูพ ูด เอง 2. เรื่องและสาระท่ีพูดตองมีประโยชนต อผูฟ ง ควรเปนเรื่องทันสมัย เนื้อหาชัดเจน ผูพ ูดตอ ง ขยายความคิดและยกตัวอยา งใหช ดั เจน 3. ผพู ูดตอ งรูจ กั กลุม ผูฟงกอนลวงหนา ทง้ั อาชีพ วยั เพศ ความสนใจของผูฟ ง ฯลฯ รวมทั้งจุดมุ งหมายในการพดู เพอื่ จะไดเตรยี มตัวและเน้ือหาไดถูกตอ งนา สนใจ 4. ผูพ ดู ตองคน ควา หาความรู และประมวลความคิดทั้งหมด แยกแยะใหไดวา ความคิดหลักคือ อะไร ความคิดรองคืออะไร และควรหาส่ิงสนับสนุนมาประกอบความคิดน้ันๆ เชนเหตุการณท่ีรับรูก ัน ไดท่ัวไป หรือบุคคลที่มีชื่อเสียง ฯลฯ พรอ มกันน้ันถามีการอางอิงเรื่องที่มาประกอบการพูดท่ีผูพ ูดตอ ง บอกแหลงที่มาดวย 5. การจัดระเบียบ และวางโครงเรือ่ ง ตอ งเตรียมใหด ีเพ่ือจะไดไ มพูดวกวน เพราะมิฉะน้ันจะ ทาํ ใหก ารพดู ไมน า สนใจ และอยาลมื วา ในการพูดแตละครงั้ ตองใหค รอบคลุมจดุ มุง หมายใหค รบถวน 6. ผูพ ูดตอ งเราความสนใจของผูฟง ดว ยการใชภ าษา เสียง กิริยาทา ทาง และบุคลิกภาพสว นตน เขาชว ยใหผ ฟู ง ฟง อยา งตง้ั ใจ และผูพ ูดตองพรอ มในการแกป ญ หาเฉพาะหนาท่อี าจเกดิ ข้นึ ดว ย กจิ กรรมท่ี 10 ผูเ รียนลองประเมินตนเองวา ทา นสามารถเปนนักพูดระดับใด ถา กําหนดระดับ A B C และ D โดยทานเปน ผูต้ังมาตรฐานเองดว ย และถาไดระดับ C ลงมา ทา นคิดจะปรับปรุงตนเองอยา งไรบางหรือ ไม
ห น า | 53 บทท่ี 3 การอา น สาระสาํ คญั การอานเปนการแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเปนความคิดและนําไปใชตัดสินใจ แกปญหา และสรา งวสิ ัยทศั นในการดาํ เนนิ ชวี ิตและมีนสิ ยั รกั การอาน ผลการเรยี นรูท ่ีคาดหวงั ผเู รยี นสามารถ 1. จบั ใจความสรุปความ ตีความ แปลความและขยายความเรอ่ื งทอี่ าน 2. วิเคราะห วจิ ารณค วามสมเหตุสมผล ความเปน ไปไดและลาํ ดบั ความคิด ของเรอ่ื งท่อี านได 3. เขา ใจความหมายของภาษาถิน่ สาํ นวน สุภาษติ ในวรรณกรรมทองถน่ิ 4. เลอื กอานหนงั สอื จากแหลง ความรู เปนผมู มี ารยาทในการอา นและรกั การอา น ขอบขายเนือ้ หา เรอ่ื ง 1 ความสําคญั ของการอา น เรอ่ื ง 2 วจิ ารณญาณในการอา น เรอ่ื ง 3 การอา นแปลความ ตีความ ขยายความ จบั ใจความหรอื สรุปความ เรอ่ื ง 4 วรรณคดี เรอ่ื ง 5 หลักการวจิ ารณวรรณกรรม เรอ่ื ง 6 ภาษาถนิ่ เรอ่ื ง 7 สาํ นวน, สภาษติ เรอ่ื ง 8 วรรณกรรมทอ งถ่ิน
54 | ห น า เร่อื งที่ 1 ความสําคญั ของการอาน 1 การอา นชว ยพัฒนาคุณภาพชีวิต ทําใหผูอ านไดร ับสาระความรูเ พิ่มขึ้น เปน คนทันสมัย ทัน เหตกุ ารณแ ละความเคลอ่ื นไหวของเหตุการณบานเมือง ตลอดจนสังคมและวิทยาการใหมๆ เปนตน ผูอ านเม่ือไดร ับความรูจ ากการอา นแลว จะสามารถนําสาระตา งๆ มาสรา งสรรคใ หเกิดประโยชนต อ ชีวิต สังคมและประเทศชาติในโอกาสตอไปได 2. การอา นชว ยใหเ กดิ ความเพลดิ เพลนิ หนงั สอื หลายประเภทนอกจากจะใหความรู ความคิดแล วยังใหความเพลิดเพลินอีกดว ย ผูอ า นหนังสือจะไดร ับความเพลิดเพลิน ไดรับความสุข อีกท้ังยังสรา ง ความฝนจติ นาการแกผ ูอา น ตลอดจนเปน การพกั ผอนและคลายเครยี ดไดเปนอยา งดี 3. การอานมผี ลตอ การดาํ เนนิ ชีวิตที่สุขสมบูรณข องมนุษย ผลที่ไดร ับจากการอาน นอกจากจะ เปนพื้นฐานของการศึกษา ศิลปวิทยาการ และชวยในการพัฒนาอาชีพแลว ยังมีผลชว ยใหผูอานได แนวคิดและประสบการณจ ําลองจากการอานอีกดว ย ซึ่งความคิดและประสบการณจะทําใหผูอ า นมีโลก ทัศนก วางขน้ึ เขา ใจตนเอง เขาใจผูอ่นื และเขา ใจสังคมเปนอยา งดี อันจะมีผลตอการดําเนินชีวิตและการ ดาํ รงตนอยูในสังคมไดอยางมีความสุข
ห น า | 55 เรอื่ งท่ี 2 วิจารณญาณในการอาน วิจารณญาณในการอาน คือการรับสารจากการอานใหเขา ใจเนื้อหาสาระแลวใชสติปญญาใคร ครวญหรือไตรต รอง โดยอาศัยความรู ความคิด ประสบการณม าเปน เหตุผลประกอบและสามารถนํา ไปใชใ นชีวติ ไดอ ยา งถกู ตอ งเหมาะสม การใชว ิจารณญาณในการอาน จะเร่ิมตน ที่การอานดวยความตัง้ ใจและพยายามทําความเขา ใจ เนอ้ื หาสาระของเรอ่ื งทอ่ี า นแลวใชค วามรู ความคิด เหตุผลและประสบการณประกอบการคิด ใครค รวญ ใหสามารถรับสารไดถ ูกตอ ง ถองแท การอานโดยใชวิจารณญาณประกอบดว ยการเขา ใจของเรื่อง การรู จกั เขยี น การเขา ใจความสมั พนั ธข องสารและการนําไปใช การอานอยา งมีวิจารณญาณจะตอ งใชความคิด วิเคราะห ใครค รวญและตัดสินใจวา ขอความทไ่ี ดอ า นนน้ั สิ่งใดเปน ความสําคญั สง่ิ ใดเปน ใจความประกอบหรือพลความ สามารถแยกขอเท็จ จรงิ จากขอ คิดเหน็ ได ตลอดจนวินิจฉยั ไดว าขอ ความทอ่ี านนั้นควรเชื่อถอื ไดห รือไมเพียงใด และการอาน ประเมินคา วา ขอ ความที่ไดอานมีเนื้อหาสาระหรือมีแงค ิดท่ีดีหรือไม อาจนําไปใชป ระโยชนไ ดเ พียงไร รวมท้ังการประเมินคางานเขียนในดานตา งๆ เชน ความรู ความสามารถ ความจริงใจและกลวิธีในการ เขยี น ขัน้ ตอนของวิจารณญาณในการอาน มีดงั น้ี 1. อา นใหเ ขา ใจตลอดเรอ่ื ง เปนการอา นสารดวยความต้ังใจใหเ ขา ใจรายละเอียดตลอดเรอ่ื ง 2. วิเคราะหเรื่อง เมื่ออา นและเขา ใจเรื่องแลว จะตอ งนํามาวิเคราะหสาระสําคัญใหร ูเ รื่องที่อาน เปน เรื่องประเภทใด อะไรเปน ขอเท็จจริง อะไรเปนขอ คิดเห็น และอะไรเปน ประโยชน ลักษณะของตัว ละครเปนอยา งไร เปนเร่ืองประเภทรอยแกว รอยกรอง บทความ ขาว หรือละคร ฯลฯ ผูเขียนมีเจตนาอยาง ไรในการเขยี นเรอ่ื งน้ี ใชก ลวิธีในการนาํ เสนออยางไร ซงึ่ ผอู านตองพิจารณาแยกแยะใหได
56 | ห น า 3. ประเมินคาของเรอ่ื ง เม่อื อา นและวิเคราะหแยกแยะเรื่องแลว นํามาประเมินคา วาสิ่งใดเท็จ สิ่ง ใดจรงิ สิง่ ใดมคี า ไมมีคา มีประโยชนใ นดา นใด นาํ ไปใชกับใครเมอ่ื ไรและอยา งไร 4. นําเรื่องท่ีอานไปใช หลังจากผานขั้นตอนของการอาน ทําความเขาใจ วิเคราะหแ ละประ เมินคาแลว ตอ งนําไปใชไ ดท้ังในการถา ยทอดใหผูอ ่ืน และนําไปใชในการดําเนินชีวิตไดอ ยา งเหมาะสม กบั กาลเทศะและบุคคล หลกั การอานอยา งใชวิจารณญาณ 1. พิจารณาความถูกตอ งของภาษาที่อา น เชน ดานความหมาย การวางตําแหนง คํา การเวน วรรค ตอน ความผดิ พลาดดงั กลาวจะทําใหการสือ่ ความหมายผดิ ไป 2. พิจารณาความตอ เนื่องของประโยควา มีเหตุผลรับกันดีหรือไม โดยอาศัยความรูด า น ตรรกวทิ ยาเขา ชวย ขอความจากประโยคจะตองไมขัดแยงกัน หรือเรียงลําดับไมส ับสนวุนวายจนอา นไมร ู เรอ่ื งหรอื อา นเสยี เวลาเปลา 3. พิจารณาดูความตอ เนือ่ งของเรื่องราวระหวา งเร่ืองที่เปนแกนหลักหรือแกนนํากับแกนรอง และสวนประกอบอื่น ๆ กลมกลืนกนั ดีหรอื เปลา 4. รจู กั แยกแยะขอเทจ็ จรงิ ออกจากเร่อื งการแสดงความรแู ละขอคิดเห็นของผูแ ตง เพ่ือจะไดนํามา พจิ ารณาภายหลังไดถูกตอ งใกลเคยี งความเปนจรงิ ยิ่งข้นึ 5. พจิ ารณาความรู เนอ้ื หา ตวั อยา งที่ได วา มสี ว นสมั พนั ธกนั อยา งเหมาะสมหรอื ไมเพยี งใด เปน ความรูความคิด ตัวอยา งท่ีแปลกใหมห รืออางอิงมาจากไหน นา สนใจเพียงใด จากน้ันควรทําการ ประเมินผลโดยท่ัวไปวาผลจากการอานจะทําใหเกิดความรูค วามคิดมากนอยเพียงใด โดยเฉพาะอยา งยิง่ ความคิดสรา งสรรคท ีผ่ ูอ า นประสงคหรอื ปรารถนาจะไดจ ากการอานนน้ั ๆ อยเู สมอ การอา นอยางมีวิจารณญาณไมใ ชส ิ่งที่ทําไดง า ยๆ ผูกระทําจะตอ งหม่ันฝก หัด สังเกต จํา และ ปรับปรุงการอา นอยูเสมอ แรกๆ อาจรูสึกเปนภาระหนักและนาเบื่อหนา ย แตถา ไดกระทําเปน ประจําเป นนิสยั แลวจะทาํ ใหความลาํ บากดงั กลาวหายไป ผลรบั ท่ีเกิดขึน้ นัน้ คุม คา ย่งิ กจิ กรรมท่ี 1 ใหผูเ รียนอานขา ว บทความ หรือขอความ และใชว ิจารณญาณในการอา นตามขั้นตอนท้ัง 4 ขั้นตอน และประเมินตนเองวา สามารถทําไดครบทุกขั้นตอนหรือไม และเม่ือประเมินแลวรูสึกสนใจ เรอ่ื งของการอานเพิ่มขน้ึ หรือไม
ห น า | 57 เรื่องท่ี 3 การอานแปลความ ตีความ ขยายความ จบั ใจความหรอื สรปุ ความ การอานแปลความ หมายถึงการแปลเรอ่ื งราวเดมิ ใหอ อกมาเปนคําใหม ภาษาใหมห รือแบบใหม ความมุง หมายของการแปลความอยูท ่ีความแมนยําของภาษาใหมวา ยังคงรักษาเนื้อหาและความสําคัญ ของเรอ่ื งราวเดมิ ไวค รบถวนหรอื ไม สาํ หรับการแปลความบทรอยกรองเปนรอยแกวหรือการถอดคําประพันธรอ ยกรองเปน รอ ยแกว น้ัน ควรอา นขอ ความและหาความหมายของศัพทแลวเรียบเรียงเน้ือเร่ืองหรือเน้ือหาเปนรอยแกว ให สละสลวย โดยท่เี นอ้ื เรอ่ื งหรอื เนอ้ื หาน้ันยงั คงเดิมและครบถว น เชน พฤษภกาสร อกี กญุ ชรอนั ปลดปลง โททนตเ สนงคง สําคัญหมายในกายมี นรชาติวางวาย มลายส้ินท้ังอินทรยี สถิตท่ัวแตช ว่ั ดี ประดบั ไวใ นโลกา (สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระปรมานชุ ิตชโิ นรส : กฤษณาสอนนองคาํ ฉนั ท) ความหมายของศพั ท พฤษภ = ววั กาสร = ควาย กญุ ชร = ชา ง ปลดปลง = ตาย โท = สอง ทนต = ฟน เสนง = เขา นรชาติ = มนษุ ย วางวาย = ตาย มลาย = ส้นิ ไป อนิ ทรีย = รา งกาย สถิต = คงอยู ประดบั = ตกแตง โลกา = โลก แปลความเปน รอ ยแกว ก็คือ ววั ควายและชาง เมื่อตายแลวยังมีฟนและเขาทัง้ สองขา งเหลอื อยู สว นมนษุ ยเ ม่ือตายไปรางกายก็ สิ้นไป คงเหลอื แตค วามชวั่ หรอื ความดีที่ไดท ําไวเ ทานนั้ ที่ยงั คงอยูในโลกน้ี การอานตีความ การอา นตีความหรือการอานวินิจสารเปนการอานอยางพิจารณาถี่ถวนดว ยความเขาใจเพื่อใหได ประโยชน หรือเปนไปตามวัตถุประสงคข องผูเขียน จะเปนการอานออกเสียงหรืออานในใจก็ได แตจ ุด สําคัญอยูท ่กี ารใชส ตปิ ญญาตีความหมายของคําและขอ ความ ทั้งหมดรวมทง้ั สิง่ แวดลอ มทกุ อยางท่ีเกี่ยวข
58 | ห น า องกับขอ ความท่ีอา น ดังน้ันจึงตอ งอาศัยการใชเหตุผลและความรอบคอบในการพิจารณาทั้งถอ ยคําและ สิ่งแวดลอ มทั้งหมดท่ีผูอา นจะตีความสารใดๆ ไดกวางหรือแคบ ลึกหรือต้ืนขนาดไหน ยอมขึ้นอยูก ับ ประสบการณส วนตัวและความเฉียบแหลมของวิจารณญาณ เปนการอา นท่ีผูอ า นพยายามเขาใจความ หมายในสงิ่ ทผ่ี เู ขยี นมิไดก ลาวไวโดยตรง ผอู า นพยายามสรปุ ลงความเห็นจากรายละเอียดของเรอ่ื งทอ่ี า น การอา นตีความน้ัน ผูอ านจะตอ งคิดหาเหตุผล เขาใจผูเขียน รูว ัตถุประสงครูภาษา ทีผ่ ูเขยี นใชท ้งั ความหมายตรงและความหมายแฝง อน่ึงขอความท้ังรอยแกวและรอ ยกรองบางบท มิไดมี ความหมายตรงอยา งเดียวแตมีความหมายแฝงซอ นเรน อยู ผูอ า นตองแปลความกอนแลว จึงตีความใหเขา ใจความหมายที่แฝงอยู สารท่ีเราอานอยูน้ีมี 2 ประเภท คือ ประเภทรอยแกวและประเภทรอ งกรอง ดังน้ัน การตีความจึง มกี ารตีความท้ังสารประเภทรอยแกวและประเภทรอยกรอง ตวั อยางการตีความสารประเภทรอ ยกรอง “นาคมี ีพิษเพี้ยง สรุ โิ ย เลอ้ื ยบท าํ เดโช แชม ชา พิษนอ ยหยงิ่ ยโส แมลงปอ ง ชแู ตหางเองอา อวดอางฤทธี” (โคลงโลกนติ )ิ โคลงบทน้ีกลา วถึงสัตว 2 ชนิด ท่ีมีลักษณะแตกตางกัน เปรียบเสมือนคน 2 จําพวก พวกแรกมอี ํานาจหรอื มีความสามารถแตไ มแ สดงออกเมื่อยังไมถ ึงเวลาอันสมควร สวนพวกท่ี 2 มีอํานาจ หรอื ความสามารถนอยแตอ วดดี กวียกยอง จาํ พวกแรก เหยยี ดหยามคนจําพวกหลัง โดยสังเกตจากการใช ถอยคํา เชน ชูหางบา ง พิษนอ ยบา ง ฉะน้ัน ควรเอาอยางคนจําพวกแรก คือมีอํานาจมีความสามารถแตไม แสดงออกเมอ่ื ยงั ไมถ ึงเวลาอนั สมควร ขอปฏิบัติในการอานตีความ 1. อา นเรอ่ื งใหละเอยี ดแลวพยายามจบั ประเดน็ สาํ คัญของขอเขยี นใหไ ด 2. ขณะอานพยายามคิดหาเหตุผล และใครค รวญอยางรอบคอบ แลว นํามาประมวลเขา กับ ความคิดของตนวา ขอ ความนน้ั ๆ หมายถึงสิง่ ใด 3. พยายามทําความเขาใจกับถอยคําบางคําที่เห็นวา มีความสําคัญรวมทั้งสภาพแวดลอ มหรือ บริบทเพื่อกําหนดความหมายใหชดั เจนยิ่งขน้ึ 4. การเรยี บเรยี งถอยคาํ ทไี่ ดมาจากการตีความ จะตองมีความหมายชดั เจน 5. พึงระลึกวาการตีความมิใชก ารถอดคําประพันธ ซ่ึงตอ งเก็บความหมายของ บทประพันธน ้ันๆ มาเรียบเรียงเปน รอ ยแกวใหค รบท้ังคํา และขอ ความ การตีความน้ันเปนการจับเอาแต ใจความสําคญั การตีความจะตอ งใชความรูค วามคิดอนั มีเหตผุ ลเปนประการสาํ คัญ
ห น า | 59 ขอควรคาํ นงึ ในการตีความ 1. ศึกษาประวตั ิและพืน้ ฐานความรูของผูเขยี น 2. ศึกษาสภาพสังคมในสมัยที่งานเขียนน้ันเกิดขึน้ วา เปน สังคมชนิดใด เปนประชาธิปไตยหรือ เผดจ็ การเปน สังคมเกษตร พาณิชยห รอื อตุ สาหกรรม เปนสังคมท่ีเครงศาสนาหรอื ไม 3. อา นหลายๆ ครง้ั และพจิ ารณาในรายละเอียด จะทาํ ใหเ หน็ แนวทางเพ่ิมขน้ึ 4. ไมยึดถอื สิ่งทต่ี นตีความน้นั ถูกตอง อาจมีผูอ่ืนเห็นแยงก็ได ไมค วรยึดมัน่ ในกรณีท่ีไมต รงกับ ผูอื่นวาของเราถกู ตอ งทีส่ ดุ การอา นขยายความ การอานขยายความ คือ การอธิบายเพิ่มเติมใหล ะเอียดข้ึนภายหลังจากไดต ีความแลว ซึ่งอาจใช วธิ ียกตัวอยางประกอบหรือมีการอางอิงเปรียบเทียบเนือ้ ความใหก วางขวางออกไปจนเปน ท่ีเขาใจชัดเจน ยิ่งข้ึน ตัวอยา ง ความโศกเกดิ จากความรกั ความกลัวเกดิ จากความรกั ผูทลี่ ะความรกั เสยี ไดก ็ไมโศกไมกลัว (พุทธภาษติ ) ขอ ความน้ีใหข อคดิ วา ความรกั เปน ตน เหตใุ หเกดิ ความโศก และความกลัวถา ตัดหรือละความรัก ได ทั้งความโศก ความกลวั ก็ไมมี ขยายความ เม่ือบุคคลมีความรักในสิ่งใดหรือคนใด เขาก็ตองการใหส่ิงน้ันคนน้ันคงอยูใ หเ ขารักตลอดไป มนุษยสว นมากกลัววาคนหรือสิ่งที่ตนรักจะแตกสลายหรือสูญสิ้นจากไป แตเ มื่อถึงคราวทุกอยางยอ ม เปลีย่ นไปไมอ าจคงอยูได ยอ มมีการแตกทําลายสูญสลายไปตามสภาพ ถารูค วามจริงดังน้ีและรูจ ักละ ความรกั ความผกู พนั นั้นเสยี เขาจะไมต องกลัวและไมต องโศกเศรา เสยี ใจอกี ตอไป การขยายความน้ีใชในกรณีท่ขี อความบางขอความ อาจมีใจความไมสมบูรณจึงตอ งมีการอธิบาย หรือขยายความเพื่อใหเ กิดความเขา ใจยิง่ ขึน้ การขยายความอาจขยายความเกี่ยวกับคําศัพทห รือการให เหตุผลเพิ่มเตมิ เชน สาํ นวน สภุ าษติ โคลง กลอนตางๆ เปน ตน การอา นจับใจความหรือสรุปความ
60 | ห น า การอานจับใจความหรือสรุปความ คือ การอานท่ีมุงคนหาสาระของเรื่องหรือของหนังสือแตล ะ เลมทีเ่ ปน สว นใจความสาํ คัญและสวนขยายใจความสาํ คัญของเรอ่ื ง ใจความสําคัญ คือ ขอ ความท่ีมีสาระคลุมขอ ความอ่ืนๆ ในยอหนาน้ันหรือเรื่องน้ันทัง้ หมด ข อความอ่ืนๆ เปนเพียงสว นขยายใจความสําคัญเทาน้ัน ขอความหน่ึงหรือตอนหน่ึงจะมีใจความสําคัญ ที่สุดเพียงหน่ึงเดียว นอกน้ันเปน ใจความรอง คําวา ใจความสําคัญน้ี บางทีเรียกเปน หลายอยาง เชน แกน หรอื หวั ใจของเรอ่ื ง แกน ของเรอ่ื งหรอื ความคดิ หลกั ของเรอ่ื ง แตจ ะอยา งไรก็ตามใจความสําคัญคือสิ่งที่เป นสาระท่ีสําคญั ท่ีสดุ ของเร่อื ง นน่ั เอง ใจความสาํ คญั สวนมากจะมีลักษณะเปน ประโยค ซึ่งอาจจะปรากฏอยูในสว นใดสว นหนึง่ ของย อหนาก็ได จุดที่พบใจความสําคัญของเรื่องแตล ะยอ หนา มากที่สุดคือ ประโยคที่อยูตอนตนยอ หนา เพราะผูเขียนมักจะบอกประเด็นสําคัญไวกอน แลว จึงขยายรายละเอียดใหชัดเจน รองลงมาคือประโยค ตอนทา ยยอ หนา โดยผูเขียนจะบอกรายละเอียดหรือประเด็นยอ ๆ กอ น แลว จึงสรุปดวยประโยคท่ีเปน ประเด็นไวภายหลัง สําหรับจุดที่พบใจความสําคัญยากข้ึนก็คือประโยคตอนกลางยอ หนา ซ่ึงผูอานจะต องใชค วามพยายามสังเกตใหด ี สว นจุดท่ีหาใจความสําคัญยากทีส่ ุด คือ ยอ หนาที่ไมม ีประโยคสําคัญ ปรากฏชดั เจน อาจมีหลายประโยคหรอื อาจจะอยูรวมๆ กนั ในยอหนาก็ได ซ่ึงผูอ า นตองสรปุ ออกมาเอง การอา นและพจิ ารณานวนิยาย คําวา “นวนยิ าย” (Novel) จดั เปนวรรณกรรมประเภทหนง่ึ หมายถึง หนังสือท่ีเขียนเปน รอ ยแกว เลาถึงชวี ิตในดา นตางๆ ของมนษุ ย เชน ดา นความคิด ความประพฤติ และเหตุการณตา งๆ ที่เกิดขึน้ ใน ชีวิตจริงของมนษุ ย ชื่อคน หรอื พฤตกิ รรมท่ีแสดงออกเปนเรอ่ื งสมมุตทิ ัง้ สนิ้ นวนิยายแบงเปน 6 ประเภท ดงั น้ี 1. นวนิยายอิงประวัติศาสตร เชน ผูชนะสิบทิศ (อิงประวัติศาสตรมอญ) ชูซีไทเฮา (อิงประวัติศาสตรจ ีน) สี่แผน ดิน (อิงประวัติศาสตรไทยสมัยรัตนโกสินทร แผนดินรัชกาลที่ 5 -8) กระทอมนอ ยของลุงทอม(องิ ประวตั ิศาสตรอเมรกิ า) 2. นวนยิ ายวิทยาศาสตร คอื นวนยิ ายท่ีนําความมหัศจรรยท างวิทยาศาสตรแขนงตางๆ มาเขียน เปน เรอ่ื งราวที่นาตื่นเตน เชน กาเหวา ท่ีบางเพลง สตารว อร( Star war) มนุษยพ ระจันทร มนุษยลองหน เปน ตน 3. นวนยิ ายลึกลับ ฆาตกรรม นกั สบื สายลบั เชน เร่อื งเชอรลอกโฮม มฤตยยู อดรกั 4. นวนยิ ายเก่ยี วกบั ภูตผปี ศาจ เชน แมนาคพระโขนง กระสือ ศรี ษะมาร เปน ตน 5. นวนยิ ายการเมอื ง คือ นวนนยิ ายท่ีนําความรูทางการเมืองการปกครองมาเขียนเปน เนื้อเรื่อง เชน ไผแ ดง ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เปาบุนจน้ิ สามกก สารวตั รใหญ เปน ตน
ห น า | 61 6. นวนิยายดานสังคมศาสตร คือ นวนิยายที่สะทอนสภาพสังคม เชน เร่ืองเมียนอย เสียดาย เพลงิ บญุ เกมเกียรติยศ นางมาส เปนตน องคป ระกอบของนวนยิ าย นวนยิ ายแตล ะเรอ่ื งมอี งคประกอบทีส่ ําคญั ดงั น้ี 1. โครงเรื่อง (Plot) หมายถึง ของขายหรือโครงเรือ่ งราวหรือเหตุการณตางๆ ท่ีตอเนื่องเปน เหตุ เปนผลตอ กัน 2. เนือ้ เรื่อง (Story) หมายถึง เรือ่ งราวตา งๆ ท่ีผูเ ขียนถา ยทอดยกมาทําใหผูอา นทราบวา เรื่องท่ี อานนนั้ เปน เรอ่ื งราวของใคร เกดิ ข้ึนที่ไหน อยา งไร เมื่อใด มีเหตุการณหรือความเห่ียวของกันระหวา ง ตวั ละครอยา งไร 3. ฉาก (Setting) คือสถานทีเ่ กิดเหตุการณในเร่ืองอาจเปน ประเทศ เมือง หมูบ า น ทุงนา ในโรง ภาพยนตร ฯลฯ 4. แนวคดิ (Theme) ผแู ตง จะสอดแทรกแนวคดิ ไวอ ยางชัดแจนในคําพูด นิสัย พฤติกรรม หรือ บทบาทของตวั ละคร หรอื พบไดใ นการบรรยายเรอ่ื ง 5. ตวั ละคร (Characters) ผูแตงเปน ผูส รา งตัวละครข้ึนมา โดยตัง้ ชือ่ ให แลวกําหนดรูปรางหน าตา เพศ วัย นิสัยใจคอ บุคลิกภาพ ตลอดจนกําหนดบทบาทและโชคชะตาของตัวละคร เหลา นัน้ ดวย หลักการอา นและพิจารณานวนยิ ายมีดงั น้ี 1. โครงเรอ่ื งและเนือ้ เรอื่ ง การแสดงเนื้อเรื่อง คือการเลา เรื่องนั่นเอง ทําใหผูอา นทราบวา เปน เร่ืองราวของใคร เกิดขึน้ ท่ีไหน อยางไร เม่ือใด มีเหตุการณอ ะไร สว นโครงเร่ืองน้ันคือสวนที่เนน ความเกีย่ วขอ งระหวา งตวั ละครในชวงเวลาหนงึ่ ซ่ึงเปน เหตผุ ลตอเนอ่ื งกนั โครงเรอ่ื งท่ีดีมลี กั ษณะดงั น้ี 1.1 มีความสัมพันธกันระหวางเหตุการณตางๆ ในเรื่องและระหวางบุคคลในเรื่องอยาง เกี่ยวเนื่องกันไปโดยตลอด 1.2 มีขดั แยง หรือปมของเร่ืองท่นี า สนใจ เชน ความขัดแยง ของมนษุ ย กบั สงิ่ แวดลอ ม การต อสูร ะหวางอาํ นาจอยางสูงกบั อาํ นาจอยางตา่ํ ภายในจติ ใจ การชิงรกั หกั สวาท ฯลฯ ขัดแยง เหลา นเ้ี ปน สง สาํ คัญท่ที าํ ใหต วั ละครแสดงพฤตกิ รรมตา งๆ ออกมาอยา งนาสนใจ 1.3 มีการสรางความสนใจใครรตู ลอดไป (Suspense) คือการสรางเรอื่ งใหผ อู านสนใจใครร ูอย างตอเนอ่ื งโดยตลอด อาจทาํ ไดหลายวธิ ี เชน การปดเรื่องทผ่ี อู านตองการทราบไวก อน การบอกใหผูอ า น
62 | ห น า ทราบวาจะมีเหตุการณสําคัญเกิดขึน้ ในตอนตอ ไป การจบเรื่องแตล ะตอนท้ิงปญหาไวใ หผ ูอา นอยากรู อยากเหน็ เรอ่ื งราวตอไปน้ี 1.4 มีความสมจรงิ (Realistic) คอื เร่ืองราวที่เกิดขนึ้ เปนไปอยางสมเหตสุ มผล มิใชเ หตุ ประจวบหรอื เหตบุ งั เอิญท่มี ีนาํ้ หนกั เบาเกนิ ไป เชน คนกาํ ลงั เดอื ดรอนเรอ่ื งเงนิ หาทางออกหลายอยา งแต ไมสําเร็จ บังเอิญถกู สลากกนิ แบง รฐั บาลจงึ พน ความเดอื ดรอ นไปได 2. กลวิธีในการดําเนินเรือ่ ง จะชวยใหเ รื่องนา สนใจและเกิดความประทับใจซึ่งอาจทําไดห ลาย วธิ ี เชน 2.1 ดาํ เนนิ เรอ่ื งตามลําดับปฏิทิน คือเร่ิมต้ังแตละครเกิด เติบโตเปนเด็ก เปนหนุม สาว แก แลว ถึงแกกรรม 2.2 ดําเนินเรื่องยอนตน เปน การเลาแบบกลา วถึงเหตุการณในตอนทายกอนแลว ไปเลา ต้ัง แตจ นกระท่งั จบ 2.3 ดําเนินเรื่องสลับไปมา คือ การเร่ิมเรื่องในตอนใดตอนหน่ึงกอ นก็ได เชน อาจกลาว ถึงอดตี แลวกลบั มาปจ จบุ นั อกี หรอื การเลา เหตกุ ารณท่ีเกดิ ตา งสถานที่สลับไปมา ผอู า นควรพจิ ารณาวากลวิธีในการดาํ เนนิ เรอ่ื งของผเู ขยี นแตล ะแบบมีผลตอเรื่องน้ันอยา ง ไร ทาํ ใหเรอ่ื งนา สนใจชวนตดิ ตามและกอ ใหเ กดิ ความประทับใจหรือไม หรือวา กอใหเ กิดความสับสน ยากตอ การตดิ ตามอา น 3. ตวั ละคร ผูอานสามารถพิจารณาตวั ละครในนวนยิ ายในดานตอไปน้ี 3.1 ลกั ษณะนสิ ยั ของตวั ละคร 3.1.1 มีความสมจรงิ เหมอื นคนธรรมดาท่ัวไป คือ มีท้ังดีและไมด ีอยูในตัวเอง ไมใช วาดีจนหาทห่ี นึง่ หรอื เลวจนหาที่ชมไมพ บ 3.1.2 มีการกระทําหรือพฤติกรรมที่สดคลอ งกับลักษณะนิสัยตนเอง ไมป ระพฤติ ปฏบิ ตั ใิ นที่หนึ่งอยางหนง่ึ และอหี นง่ึ อยา งหนง่ึ 3.1.3 การเปล่ียนลกั ษณะนสิ ยั ของตวั ละครตอ งเปนไปอยางสมเหตสุ มผล 3.2 บทสนทนาของตวั ละคร บทสนทนาท่ดี ี ควรพิจารณาดงั น้ี 3.2.1 มีความสมจรงิ คือ สรางบทสนทนาใหสอดคลองกับฐานะและลักษณะนิสัยของ ตวั ละครในเรอ่ื ง 3.2.2 มีสว นชวยใหเรอ่ื งดาํ เนนิ ตอไปได 3.2.3 มีสวนชวยใหรูจ กั ตวั ละครในดา นรปู รางและนสิ ยั ใจคอ 4. ฉาก หมายถงึ สถานทแี่ ละเวลาทีเ่ รอ่ื งนน้ั ๆ เกิดขน้ึ มีหลักการพจิ ารณาดงั น้ี
ห น า | 63 4.1 สอดคลองกบั เนอ้ื เรอ่ื ง และชว ยสรางบรรยากาศ เชน บานรางมีใยแมงมุมจับอยูตามห อง ฯลฯ นา จะเปนบา นท่ีมีผสี ิง คืนทมี่ ีพายุฝนตกหนกั จะเปน ฉากสาํ หรับฆาตกรรม 4.2 ถูกตองตามสภาพความเปนจริง ฉากท่ีมีความถูกตอ งตามสภาพภูมิศาสตรแ ละเหตุ การณในประวตั ิศาสตร จะชว ยเสรมิ ใหน วนยิ ายเรอ่ื งน้นั มคี ณุ คาเพม่ิ ขึ้น 5. สารัตถะ หรือสารของเรื่อง หมายถึง แนวคิด จุดมุง หมายหรือทัศนะของผูแ ตง ท่ีตองการส่ือ มาถึงผูอ า น ผูแ ตง อาจจะบอกผูอ า นตรงๆ หรือใหต ัวละครเปน ผูบอกหรืออาจปรากฏท่ีชื่อเรื่อง แตโดย มากแลว ผูแ ตง จะไมบอกตรงๆ ผูอา นตอ งคน หาสาระของเร่ือง เชน เร่ืองผูดีของดอกไมสด ตองการจะแสดงวา ผูดีน้ันมีความหมายอยางไร เรื่องจดหมายจากเมืองไทยของโบต๋ันตองการแสดงให เหน็ ขอ ดีขอเสยี ของคนไทย โดยเฉพาะนํา้ ใจซึง่ คนชาตอิ ื่นไมมีเหมอื น นวนิยายท่ีดีจะตอ งมีสารัตถะของเรื่องและมีคุณคาตอผูอา นไมทางใดก็ทางหน่ึง หลักสําคัญใน การเลอื กวรรณกรรมในการอานตอ งเลอื กใหตรงกับความสนใจ มีเนื้อหาสาระตรงตามความตองการ เป นวรรณกรรมทด่ี ีใหค ณุ คา แกช วี ติ ดงั น้ี 1. เน้ือหาความคดิ เหน็ มีจดุ มุง หมายทด่ี ี มีความคิดสรา งสรรค 2. กลวิธีในการแตง ดี ไดแ กภาษาท่ีใช และองคป ระกอบอ่ืนๆ สื่อความหมายไดต รงตามความ ตองการ อา นเขาใจงายและสลวย 3. มีคุณประโยชน
64 | ห น า เรือ่ งท่ี 4 วรรณคดี วรรณคดี คือ หนังสือที่ไดร ับการยกยองวา แตงดีมีลักษณะเดนในเชิงประพันธ มีคุณคา สูง ในดา นความคิด อารมณและความเพลิดเพลิน ทําใหผ ูอานเห็นความงาม ความไพเราะ เกิดความซาบซึ้งกินใจ วรรณคดีจึงมีความงดงามดานวรรณศิลป ชว ยยกระดับจิตใจ ความรูสึก และภมู ปิ ญ ญาของผอู านใหส งู ขนึ้ วรรณคดีจงึ เปน มรดกทางวฒั นธรรมอยางหนง่ึ ความสาํ คญั ของวรรณคดี วรรณคดีเปน ส่ิงสรางสรรคอ ันล้ําคา ของมนุษย มนุษยสรางและสื่อสารเรื่องราวของชีวิต วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ อ า ร ม ณ ค ว า ม รู ส ึ ก ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง ห รื อ ส ะ ท อ น ค ว า ม เ ป น ม นุ ษ ย ด ว ย ก ล วิ ธี การใชถ อยคาํ สาํ นวนภาษา ซึง่ มีความเหมอื นหรอื แตกตา งกนั ไปในแตล ะยุคสมัย พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) ไดกลาวถึงความสําคัญของวรรณคดีไวใ นหนังสือแง คดิ จากวรรณคดีวา โลกจะเจริญกาวหนา มาไดไ กลก็เพราะวิทยาศาสตร แตลําพังวิทยาศาสตรเ ทาน้ันไมครอบคลุม ไ ป ถึ ง ค ว า ม เ ป น ไ ป ใ น ชี วิ ต ท่ี มี อ า ร ย ธ ร ร ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม สู ง เ ร า ต อ ง มี ศ า ส น า เราตอ งมีปรัชญา เราตอ งมีศิลปะ และเราตอ งมีวรรณคดีดวย สิ่งเหลาน้ียอมนํามาแตความดีงาม นาํ ความบันเทิงมาใหแกจ ิตใจ ใหเราคิดงาม เห็นงาม ประพฤติงาม มีความงามเปนเจาเรือน แนบสนิทอยู ในสันดาน ศิลปะและวรรณคดีน้ีแหละคือแดนแหง ความเพลิดเพลินใจ ทําใหมีใจสูงเหนือใจแข็ง กระดา ง เปน แดนท่ีทําใหค วามแข็งกระดา งตองละลายสูญหาย กลายเปนมีใจงาม ละมุนละมอ ม เพียบพรอมไปดว ยคณุ งามความดี วรรณคดีมีความสําคัญทางดานการใชภาษาสะทอนใหเห็นวิถีชีวิตของคน การสืบทอดและ อนุรักษวัฒนธรรม กฎระเบียบคําสอน และเปนเครือ่ งมือสรา งความสามัคคีใหเกิดในกลุมชน และให ความจรรโลงใจ นอกจากจะใหค ณุ คา ในดา นอรรถรสของถอ ยคาํ ใหผูอ า นเห็นความงดงามของภาษาแลว ยังมคี ณุ คา ทางสตปิ ญ ญาและศลี ธรรมอกี ดวย วรรณคดีจงึ มคี ณุ คาแกผอู าน 2 ประการคือ 1. คุณคาทางสุนทรียภาพหรือความงาม สุนทรียภาพหรือความงามทางภาษาเปน หัวใจของ วรรณคดี เชน ศิลปะของการแตงทั้งการบรรยาย การเปรียบเทียบ การเลือกสรรถอยคําใหมีความหมาย เหมาะสม กระทบอารมณผูอ า น มีสัมผสั ใหเ กดิ เสยี งไพเราะเปนตน 2. คุณคาทางสารประโยชน เปน คุณคา ทางสติปญ ญาและสังคมตามปกติวรรณคดีจะเขียนตาม ความเปน จริงของชีวิต ใหคติสอนใจแกผูอ า น สอดแทรกสภาพของสังคม วัฒนธรรมประเพณี ทําให ผอู านมีโลกทัศนเขาใจโลกไดกวางขนึ้
ห น า | 65 ลักษณะของหนังสอื ที่เปนวรรณคดี 1. มีโครงเรอ่ื งดี ชวนอา น มีคณุ คา สาระและมีประโยชน 2. ใชสาํ นวนภาษาท่ีประณีต มีความไพเราะ 3. แตงไดถูกตองตามลักษณะคาํ ประพนั ธ 4. มีรสแหงวรรณคดีทีผ่ อู า นคลอยตาม “วรรณคดีมรดก” หมายถึง วรรณคดีที่บรรพบุรุษหรือกวีสมัยกอ นแตง เอาไว และเปนท่ีนิยมอา นกันอยางแพรหลาย ความนิยมน้ันตกทอดเรื่อยมาจนถึงปจ จุบัน ซึ่ง เปรียบเสมือนมรดกอันลํ้าคาของชาติที่บรรพบุรุษมอบไวแ กอ นุชนรุนหลังใหเ ห็นความสําคัญของ วรรณคดีมรดก วรรณคดีมรดกมักจะแสดงภาพชีวิตของคนในสมัยกอ นที่มีการประพันธว รรณคดี เรือ่ งนัน้ ๆ โดยไมป ด บงั สวนทบี่ กพรอ ง ทั้งยังแทรกแนวคดิ ปรัชญาชวี ิตของกวีไวด ว ย วรรณคดีมรดกมีคุณคา ในดานประวัติศาสตร สังคม อารมณ วรรณศิลป ตลอดจนใหคติสอนใจ นบั เปนมรดกทางปญ ญาของคนในชาติ ขนบของการแตง วรรณคดีมรดก ขนบการแตงวรรณคดีมรดก ขนบ หมายถึง ธรรมเนียมนิยม “ขนบวรรณคดี” หมายถึงธรรมเนียมนิยมใน การแตง วรรณคดีทน่ี ยิ มปฏบิ ตั กิ นั ไดแก 1. รูปแบบและเนื้อหา รูปแบบท่ีนิยมไดแก ลิลิต นิราศ เพลงยาว บทละคร โคลง ฉันท กาพย กลอน และราย รูปแบบและเนื้อหาจะตอ งเหมาะสมกันเชน ถาเปน การสดุดี วีรกรรมของกษัตริย หรือ วรี บุรุษ จะแตงเปนนริ าศหรอื เพลงยาว เปน ตน 2. เนอ้ื เรอ่ื งจะเก่ยี วกับศาสนาเพ่อื ส่งั สอน สดดุ ีวรี กรรมของวรี บุรุษหรอื เพือ่ ระบายอารมณ 3. ลักษณะการเขียนจะเร่ิมดวยบทไหวค รู สดุดีกษัตริย กลาวชมบา นเมือง แลวดําเนินเรื่อง หากเปน วรรณคดีท่มี ีการทําสงครามจะมบี ทจดั ทัพดว ย 4. การใชถ อ ยคํา จะเลือกใชถ อยคําท่ีสละสลวยมีความหมายที่ทําใหผ ูอานเกิดความซาบซึ้งและ ประทบั ใจ หลักการพินจิ และวจิ ารณว รรณคดี การวจิ ารณ หมายถึง การพจิ ารณาเพื่อเปนแนวในการตัดสนิ วาสิ่งใดดหี รอื สง่ิ ใดไมดี การวิจารณ วรรณคดีจะตอ งพิจารณาทุกขั้นตอน ทุกองคป ระกอบของงานเขียนมีการแยกแยะต้ังแตการใชถ อ ยคํา สํานวน ภาษา รูปประโยค เน้ือเรื่อง แนวคิด การนําเสนอเนื้อหา และคุณคาท้ังดา นวรรณศิลปแ ละคุณคา ทางดา นสังคม
66 | ห น า คณุ คา ทางวรรณศลิ ปไดแ ก การพิจารณาศิลปะและรูปแบบงานประพันธโดยพิจารณาจากศิลปะ ในการแตงท้ังบทรอ ยแกวและบทรอ ยกรอง มีกลวิธีในการแตง มีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสมกับ เนื้อหา มีความนา สนใจและมีความคิดอยางสรา งสรรค ใชสํานวนในการแตงมีรูปแบบการนําเสนอท่ี เหมาะสมกับเนื้อหา มีความนา สนใจและมีความคิดอยางสรางสรรค ใชสํานวนภาษาสละสลวย สื่อ ความหมายไดช ดั เจน คุณคา ดานสังคม เปนการพิจารณาจากการท่ีผูประพันธมักแสดงภูมิปญญาของตน คานิยม และ จริยธรรมที่สะทอนใหเห็นสภาพสังคมไดมากนอยเพียงใด หรือเกี่ยวของสัมพันธก ับสังคมอยางไร มีส วนชวยพัฒนาสังคมหรือประเทืองปญ ญาของตนในสังคมชวยอนุรักษส่ิงท่ีมีคุณคา ของชาติ บานเมือง และมีสว นชว ยสนบั สนนุ คา นยิ มอนั ดีงาม เปนตน การพิจารณาวรรณคดี คอื การแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับวรรณคดีเลมใดเลม หน่ึงอยางส้ันๆ โดย มเี จตนานาํ วรรณคดีน้ันใหผูอ า นรูจักวา มีเนื้อเรื่อง มีประโยชนและมีคุณคา อยา งไร ผูพินิจมีความคิดเห็น อยางไรตอวรรณคดีเรอ่ื งนน้ั ๆ ชอบหรอื ไมชอบ เพราะเหตุใด ในการพินิจหรือวิจารณวรรณคดีมีหลักการ ดงั น้ี 1. แยกองคป ระกอบของหนงั สอื หรอื วรรณคดีท่วี จิ ารณใ หได 2. ทําความเขา ใจกับองคประกอบทแี่ ยกออกมาใหแจมแจง ชดั เจน 3. พจิ ารณาหรอื วจิ ารณวรรณคดีในหวั ขอ ตอ ไปน้ี 3.1 ประวตั ิความเปนมา 3.2 ลักษณะของการประพนั ธ 3.3 เรอ่ื งยอ 3.4 การวิเคราะหเ รอ่ื ง 3.5 แนวคดิ และจดุ มงุ หมายในการแตง ฉาก ตวั ละคร และการใชภ าษา 3.6 คุณคา ดา นตา งๆ การอานวรรณคดเี พอ่ื การวิเคราะหว จิ ารณ การอานวรรณคดี ผูอ านควรมีจุดประสงคใ นการอาน เชน การอานเพ่ือฆา เวลาเปน การอา นที่ไม ตองวิเคราะหว าหนงั สอื น้นั ดีเลวอยา งไร การอา นเพื่อความเจริญทางจิตใจ เปนการอา นเพื่อใหรูเ นื้อเรื่อง ไดรับรสแหงวรรณคดี การอา นเพ่ือหาความรูเ ปนการอานเพ่ือเพงเล็งเนื้อเรื่อง คน หาความหมาย และ หวั ขอความรูจากหนงั สอื ที่อา น การอา นเพื่อพินิจวรรณคดี จะตองอานเพื่อหาความรูแ ละเพื่อความเจริญ ทางจติ ใจ จะตอ งอานดว ยความรอบคอบ สงั เกตและพิจารณาตัวอักษรที่อาน และตองสามารถทราบวา วรรณคดีท่ีอา นเปนวรรณคดีประเภทใด เชน คําสอน สรรเสริญวีรบุรุษของชาติ การแสดงอารมณ บท ละคร นิทาน และยังตองพิจารณาเน้ือเรื่องและตัวละครวาเน้ือเรื่องน้ันเปน เน้ือเรื่องเกี่ยวกับอะไร มี
ห น า | 67 แนวคิดอยางไร ตัวละครมีลักษณะนิสัยอยางไร สุนทรียภาพแหงบทรอยกรองเปน อยา งไร เชน การใชถ อยคําเหมาะสม มีความไพเราะ และสรา งมโนภาพแจม ชัดมากนอ ยเพียงใด เปนตน ในการอานวรรณคดี ประเภทรอ ยกรองจะไดร ับรสเต็มท่ี บางครัง้ ผูอ า นจะตองอานออกเสียงอยางชา ๆ หากเปน บทรอยกรอง และอา นเปนทํานองเสนาะดวยแลว จะทําใหผูอา นไดรับรสแหง ถอ ยคํา ทําใหเกิดจินตภาพไดรับความ ไพเราะแหงเสยี งไปดวย ในการวิเคราะหว ิจารณว รรณคดีน้ัน ตอ งฝกตีความหมายของบทรอ ยกรอง ในชั้นแรก จะตองศึกษาตัวอยา งการวิเคราะหว ิจารณจ ากการตีความหรืออา นจากหนังสือที่วิเคราะหวิจารณและ ตีความวรรณคดี จากน้ันจึงตอ งฝก วิเคราะหว ิจารณ ฝก พิจารณาอยา งรอบคอบ การตีความแนวคิดใน เรอ่ื งวรรณคดีนั้นไมจาํ เปนตองเหมอื นกนั ขน้ึ อยกู บั การมองและประสบการณของผตู ีความ ตวั อยา งการวิเคราะหว รรณคดี รายยาวมหาเวสสันดรชาดก มหาเวสสันดรชาดกเปนชาติหน่ึงของพระโพธิสัตวกอ นท่ีจะเสวยพระชาติเปนพุทธองค เนอ้ื ความโดยยอมีดงั น้ี ครั้งหน่ึงกษัตริยแ หง กรุงสีวีราษฎรทรงพระนามวา พระเจา สญชัย มีพระมเหสี ทรงพระนาม พระนางผสุ ดีและพระราชโอรสองคหนง่ึ ทรงพระนามวา เวสสนั ดร พระเวสสนั ดรมีพระทยั ฝก ใฝการทําทานมาแตย ังทรงพระเยาว เมื่อมีพระชนมายุพอสมควรที่จะ อภิเษกสมรสไดก็ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางมัทรี พระเวสสันดรทรงบําเพ็ญทานบารมีทุกวันมี พราหมณจากเมอื งกลิงคราษฎรแ ปดคนไดม าขอชางปจ จัยนาคซึ่งเปนชางคูบา นคูเมือง พระเวสสันดรได ประทานชางแกพ ราหมณเพราะทรงทราบวา เมืองกลิงคราษฎรเ กิดทุพภิกขภัยทําใหบ รรดาชาวเมืองสีวี ราษฎรโกรธแคน ขับไลพระองคออกจากเมอื ง พระเวสสันดรไดเ สด็จออกจากเมืองพรอมดวยพระนางมัทรีพระโอรสและธิดา ตลอดทางที่เสด็จผ านไดบริจาคของตา งๆ แกผ ูท ม่ี าขอจนหมดสิ้น แลว ทรงพระดําเนินโดยพระบาทจนถึงเขาวงกต ประทับ อยู ณ ที่นนั้ ทรงผนวชเปนฤาษี พระนางมัทรีก็ทรงรักษาศีล กลาวถึงพราหมณชูชกไดภริยาสาวสวยคนหนึ่งมีชื่ออมิตตาดา นางไดยุใหชูชกไปขอสอง กุมารจากพระเวสสันดร ชูชกก็เดินทางไปยังเขาวงกตไดพ บพระเวสสันดรพระองคไ ดป ระทานสอง กุมารใหแกช ูชก ชูชกฉุดกระชากลากสองกุมารไปจนพน ประตูปา สว นนางมัทรีเสด็จออกไปหาอาหาร ไปประสบลางรา ยตางๆ ทําใหท รงเปนหวงพระโอรสและพระธิดาจึงเสด็จกลับอาศรม พอทราบความจริง เรอื่ งพระโอรสและธดิ าก็ทรงอนโุ มทนาดว ย
68 | ห น า ฝายชูชกพาสองกุมารหลงเขา ไปในเมืองสีวีราษฎร พระเจาสญชัยทอดพระเนตรแลวทรง ทราบวาพระกุมารน้ันคือ พระนัดดาก็ทรงไถตัวสองกุมาร สวนชูชกน้ันกินอาหารมากจนทอ งแตกตาย พระเจาสหญชัยและพระนางผสุดีใหสองกุมารพาไปยังอาศรมเพื่อรับพระเวสสันดรและพระนางมัทรี กลับเมือง เมื่อทั้งหกกษัตริยพบกันก็ถึงแกว ิสัญญีภาพ (สลบ) ไปทุกองค เทวดาจึงบันดาลใหเกิดฝน โบกขรพรรษตกลงมาใหช มุ ช่นื ท้ังหกองคจ งึ ฟน คนื ชวี ิตและเสดจ็ กลบั พระนคร ตัวอยา งการพิจารณาคณุ คา วรรณคดี การวจิ ารณว รรณคดีทก่ี ลาวมาแลว จะพจิ ารณาตั้งแตป ระวัติความเปนมา ประวัติผูแตง ลักษณะ คําประ พันธ เรื่องย อ ในก ารวิเคราะ หคุณคา วรรณคดีน้ันจะตองพิจารณา การเขียน ลักษณะการเขียน สํานวนภาษาที่ใช แมกระท่ังคติเตือนใจ คําคม พฤติกรรมและนิสัยของตัว ละครในวรรณคดีเรอ่ื งนน้ั ๆ ก็เปนองคประกอบสําคัญที่สง ผลใหวรรณคดีเรื่องน้ันมีคุณคา ซ่ึงจะนําเสนอ ตวั อยา งวรรณคดี รายยาวมหาเวสสนั ดรชาดกกณั ฑ ทานกณั ฑแ ละวรรณคดีสามัคคีเภทคาํ ฉนั ท ดงั น้ี 1. ทานกณั ฑ ผแู ตง “สํานักวดั ถนน เนื้อเรื่องกลาวถึงกอนที่พระเวสสันดรจะเสด็จออกไปอยูปา ไดท รงทําทานครัง้ ยิ่งใหญเ รียกวา สัตตสดกมหาทาน แลวทูลลาพระเจาสญชัยและพระนางผุสดี รุงขึ้น พระเวสสันดรใหเจาหนาที่เบิกเงินทองบรรทุกรถทรง เสด็จออกจากเมืองพรอมพระนางมัทรีและสอง กุมาร ขณะเสดจ็ ทรงโปรยเงินทองเหลาน้ันเปนทาน กอนจะถึงปา มีพราหมณมาทูลขอรถทรงบริจาคให พระเวสสนั ดรทรงอุมพระชาลี พระนางมัทรีทรงอุม พระกัณหา เสดจ็ มุงสปู า ดวยพระบาท” พินิจตัวละครในกัณฑท านกัณฑ ซึ่งจะพินิจเปนตัวอยางเพียง 1 ตัว เทา น้ัน คือ พระเวสสันดร เพราะถอื วาเปน ตวั เอกของเรอ่ื ง พระเวสสันดรคือ พระโพธิสัตวชาติสุดทา ยกอนจะมาเปนพระพุทธเจา พฤตกิ รรมของพระองคจงึ เปนแนวท่เี หนอื บุคคลธรรมดา ซึ่งบคุ คลธรรมดายากที่จะปฏิบัติไดดังพระองค อาทิ 1.1 ใฝใ จที่จะทําทาน ซ่ึงเปนลักษณะนิสัยที่มีมาแตยังทรงพระเยาว ครัง้ เสด็จข้ึนครองรา ชยก็ทรงบริจาคทานทุกวันเปน ประจํา แมช างปจ จัยนาค ซ่ึงเปน ชา งคูบานคูเ มืองก็ประทานใหแ กผูท ี่ เดือนรอนจนเปนเหตุใหถูกเนรเทศ กอ นออกจากเมืองยังไดบริจาคทานอันยิ่งใหญที่เรียกวา สัตตสดก มหาทาน ดังขอความ “พระพักตรเธอผองแผว เพื่อจะบําเพ็ญพระโพธิญาณเสด็จออกยังโรงทานทอ ง สนาม...เธอก็ใหพ ระราชทานสิน้ ทุกประการ ประจงจดั สตั ตสดกมหาทาน เปนตน วา คชสารเจ็ดรอย...ให จดั โคนมนบั รอ ยมไิ ดขาด ท้ังทาสทาสกี ็สนิ้ เสรจ็ ...เธอหยิบยกสตั ตสดกมหาทานแลว พระทัยทาวเธอผอง แผวชืน่ บานตอทานบารมี...” นอกจากนี้พระเวสสันดรไดท รงบําเพ็ญทานอันย่ิงใหญ คือ บุตรทานและ ประทานพระชายาใหแกพ ราหมณ (พระอนิ ทร ปลอมมา) การใหทานทัง้ สองครัง้ นี้เปนยอดแหง ทานหามีผู ใดกระทําไดเชน พระองค
ห น า | 69 1.2 ทรงม่ันในอุเบกขา ทรงมีพระทัยที่เด็ดเด่ียวมั่นคงไมห วั่นไหวตอการกระทําใดๆ ที่จะ ทาํ ใหพ ระองคท รงเกดิ กเิ ลส 1.3 ทรงเปน ผูร อบคอบ เห็นไดจากการทํากําหนดคาตัวสองกุมาร ซึ่งเปน พระโอรสและ พระธดิ าท่พี ระองคประทานแกชูชก เพ่ือมิใหสองกุมารตอ งไรร บั ความลําบากและไดรบั ความเสอ่ื มเสยี คณุ คาของกัณฑทานกัณฑ 1. คณุ คาดานวรรณศลิ ป (ความงามทางภาษา) ทานกัณฑน้ีดีเดนในเชิงพรรณนาโวหาร มีการใชโ วหารที่ไพเราะและทําใหเ กิดจินตภาพแกผ ูอาน เชน ตอนทพี่ ระนางผุสดีพดู กับพระเวสสนั ดรใชถอยคาํ ทอ่ี านแลวซาบซง้ึ กินใจ “วาโอพอฉัตรพิชัยเชตเวสสันดรของแมเอย ต้ังแตน้ีพระชนนีจะเสวยพระอัสสุชนธารา แมไปทูลพระบิดาเธอก็ไมโปรด แมวอนขอโทษเธอก็ไมให. ..พระลูกเอย...แตน้ีจะชุม ช่ืนไปดว ยน้าํ คาง ในกลางปา พอจะเสวยแตมลู ผลาตา งเครอ่ื งสาธุโภชนทุกเชาคา่ํ ถงึ ขมขื่นก็จะกลนื กลํา้ จาํ ใจเสวย...” 2. คณุ คา ดา นสงั คม 2.1 ดานการปกครอง ในเรื่องพระเวสสันดรจะเห็นวากษัตริยท รงฟงเสียงประชาชนเม่ือ ประชาชนลงมติใหเ นรเทศพระเวสสันดร เพราะเจา สญชัยก็ยอมเนรเทศแสดงใหเ ห็นถึงความเปน ประชาธิปไตย 2.2 สภาพสังคมที่ไมย อมรับหญิงมา ย หญิงใดเปนมายก็จะถูกดูหมิน่ เหยียดหยาม จากสังคมและไมมีใครอยากไดเ ปน คคู รอง 3. ดานคานยิ ม 3.1 คานยิ มเกี่ยวกบั การทํางาน โดยการทําทานเปน การเสียสละเพื่อเพอ่ื นมนุษยและหวังใน ผลบุญน้ันจะสงใหตนสบายในชาติตอ ไป ความคิดน้ียังฝง อยูในใจคนไทยมาทุกสมัย จึงนิยมทําบุญ บริจาคทาน 3.2 ความเชื่อเกี่ยวกับเร่ืองชา งเผือก ชางเผือกถือวาเปน ชา งคูบ ารมีพระมหากษัตริย และความเชือ่ นน้ั ยังปรากฏมาจนถงึ ปจ จบุ นั น้ี 4. ดานความรู ใหค วามรูเกยี่ วกับการสตั ตสดกมหาทาน ซ่ึงในสมัยอยุธยาก็ปรากฏการทําทานลักษณะน้ีใน สมยั พระเจา ปราสาททองและประเทศท่ีเปนเมืองขึ้นประเทศอืน่ ตอ งสงเครอ่ื งบรรณาการมาถวาย
70 | ห น า เร่อื งท่ี 5 หลกั การวจิ ารณวรรณกรรม เมอื่ กลาวถงึ วรรณกรรมยอ มเปนท่ีเขา ใจกันท่ัวไปวา หมายถึงงานเขียนดานตางๆ ในรูปของบท ละคร สารคดี เร่ืองสั้น นวนยิ าย และกวนี พิ นธซ ง่ึ มีมาตงั้ แตโ บราณแลว ทง้ั ท่ีเปน รอ ยแกวและรอ ยกรอง ลกั ษณะของวรรณกรรม 1. วรรณกรรมเปนงานประพันธที่แสดงความรูสึกนึกคิด โดยท่ัวไปมนุษยจ ะพูดหรือเขียนแลว จะสงความรูสึกนึกคิด อยา งใดอยางหน่ึง เชน ฝนตก ตน ไมส ีเขียว ความรูสึก จะสัมผัสไดท างกายและใจ เชน รูสึกหนาว รูส ึกรอน เปน ตน สว นความคิดคือสิ่งที่เกิดจากใชสติปญญา ใครครวญเกี่ยวกบั สิง่ ใดส่งิ หนง่ึ มากระทบอารมณ 2. วรรณกรรมเปนงานประพนั ธท ี่เกดิ จากจนิ ตนาการ เปนการสรา งภาพขนึ้ ในจติ ใจ จากสิ่งที่เคย พบเคยเหน็ ในชวี ติ สงิ่ ทสี่ รางสรรคข น้ึ มาจากจนิ ตนาการออกจะมีเคาความจรงิ อยบู าง 3. วรรณกรรมเปน งานประพันธใ ชภาษาวรรณศิลป เชน คําวา ใจกวางเหมือนแมน ํ้า หรือ หิมะ ขาวเหมอื นสําลี เปน ตน ประเภทของวรรณกรรม ในปจ จุบันวรรณกรรมแบงประเภทโดยดูจากรูปแบบการแตง และการแบงตามเน้ือหาออกเปน 4 ประเภท คือ 1. ประเภทรอยแกว คือ วรรณกรรมท่ีไมม ีลักษณะบังคับ ไมบ ังคับจํานวนคํา สัมผัส หรือเสียง หนกั เบาวรรณกรรมทีแ่ ตงดว ยรอยแกว ไดแก นิทาน นยิ าย นวนยิ าย เร่ืองสั้น สารคดี บทความ ขาว 2. ประเภทรอยกรอง คือ วรรณกรรมท่ีมีลักษณะบังคับในการแตง ซึ่งเรียกวา ฉันทลักษณ เชน โคลง ฉนั ท กาพย กลอน รา ย ลิลิต วรรณกรรมที่แตงดว ยคําประเภทรอ ยกรอง ไดแ ก บทละคร นิยาย บท พรรณนา บทสดดุ ี บทอาเศียรวาท
ห น า | 71 3. ประเภทสารคดี คือ วรรณกรรมที่มเี นอ้ื หาสาระใหค วามรู ความคิดและอาจใหความบันเทิงด วย เชน สารคดีทองเทยี่ ว ชวี ประวตั ิ บันทกึ จดหมายเหตุ หนงั สอื คตธิ รรม บทความ เปนตน 4. ประเภทบันเทิงคดี คอื วรรณกรรมที่แตงขึน้ โดยอาศัยเคา ความจริงของชีวิตหรือจินตนาการ โดยมุง ใหค วามบันเทิงแกผูอานเปน ลําดับ ไดแ ก เรื่องส้ัน นิทาน นวนิยาย บทละครพดู เปนตน วรรณกรรมท่ีไดร บั การยกยอง ในการอา นหนงั สอื แตละเลม โดยเฉพาะหนงั สอื ประเภทวรรณคดี ผอู า นยอมไดร ับประสบการณ ทางอารมณบ า ง ไดรับคุณคาทางปญญาบาง หรืออาจไดร ับทัง้ สองประการบาง สวนวรรณกรรมบางเรื่อง แมม ไิ ดเ ปนวรรณคดีก็อาจใหท ั้งประสบการณท างอารมณแ ละใหค ุณคา ทางปญ ญา ท้ังน้ีขึ้นอยูกับผูอ านวา จะสามารถเขาถึงวรรณกรรมนัน้ ไดพียงไร วรรณกรรมบางเรอ่ื งแตง ไดด ีจนไดรบั การยกยอ ง ซ่ึงมีลักษณะ ดงั น้ี งานประพันธท ้ังปวงยอ มแฝงไวซ ึ่งแนวคิดและคา นิยมบางประการ อันจะกอใหเกิดความงอกงาม ทางสตปิ ญ ญาและพัฒนาการสมรรถภาพการพจิ ารณาความประณีตความละเอียดออนทางภาษาไดอยางดี ยิ่ง แนวคิดท่ีปรากฏในวรรณกรรมน้ัน อาจหมายถึงความคิดสําคัญของเรื่องหรืออาจเปน ความคิดอ่ืนๆ สอดแทรกอยูในเรอ่ื งก็ได ยกตัวอยา งนิทานเร่ืองปลาปูทองใหแ นวคิดวา ความอิจฉาริษยา ของแมเ ล้ียงเปน สาเหตุให ลูกเลี้ยงถูกทําทารณุ กรรมอยางแสนสาหสั บทรอยกรองเร่ือง น้าํ ตา ใหแ นวคิดสําคัญวา น้าํ ตาเปน เพื่อนของมนุษยท ั้งในยามทุกข และยามสขุ สวนคา นิยมจากวรรณกรรมน้ัน หมายถึงความรูส ึก ความคิด หรือความเชื่อของมนุษย รวมถึง ความเช่ือม่ัน การยึดถือปฏิบัติในเรื่องตา งๆ ในการดําเนินชีวิต คานิยมจึงเปน ตัวกําหนดพฤติกรรมของ มนษุ ยในการเลอื กกระทําหรอื เวนกระทําสงิ่ ใดสง่ิ หนง่ึ ซง่ึ ถือวาทําหรือคิดเชนตามกาลเวลา ยกตัวอยางเช
72 | ห น า น คา นิยมเรื่องการมีคูค รอง ดังคํากลอนตอนหน่ึงจากเรื่องเสภาขุนชา งขุนแผน ตอนที่นางพิมพิลาไลย ยงั เปนสาวไดพดู กับนางสานทองผูเ ปนพ่ีเลี่ยงวา ธรรมดาเกดิ เปนสตรี ชั่วดคี งไดคูม าสสู อง มารดายอมอตุ สาหป ระดบั ประคอง หมายปองวา จะปลูกใหเปนเรอื น อนั หนง่ึ เราเขาก็วา เปนผูด ี มั่งมีแมมิใหลูกอายเพอ่ื น จากคําประพันธน ้ี สะทอ นใหเห็นคานิยมของสตรีสมัยกอ นวา เปน ผูหญิงตองรักนวลสงวนตัว อยูใ นโอวาทของมารดา เมื่อจะมคี ูควรใหมารดาตกแตง ใหไมช ิงสกุ กอ นหา ม สรุปวรรณกรรมทัง้ ปวงยอ ม แฝงไวซึ่งแนวคิดและคานิยมบางประการ อันจะกอ ใหเ กิดความงอกงามทางสติปญ ญา และพัฒนา สมรรถภาพการพิจารณาความละเอยี ดออนทางภาษาลกั ษณะการใชถ อ ยคาํ ภาษาทด่ี ีในวรรณกรรม วรรณกรรมท่ีดียอ มมีความประณีตในการใชภาษา อันจะทําใหผ ูอานพัฒนาสมรรถภาพในการ พจิ ารณาความประณตี ละเอยี ดออนของภาษาไดดีขนึ้ วรรณกรรมท่ีดีเปน ศิลปะแขนงที่อาศัยภาษาเปนสื่อถา ยทอดความไพเราะความประทับใจหรือ อารมณค วามรูสึก ซ่ึงมีหลกั พจิ ารณา 3 ประการใหญๆ ดงั น้ี 1. การใชถอยคาํ เสยี ง ความหมาย การเลอื กใชถ อ ยคาํ ชดั เจน ตรงตามความหมายมีเสยี งไพเราะ 2. การเรยี บเรยี งถอ ยคาํ การเรยี บเรยี งถอ ยคาํ ใหอยูตาํ แหนง ทถี่ ูกตองถูกแบบแผนของภาษายอม ทําใหภ าษามคี วามไพเราะมคี วามชดั เจน ทําใหผรู ับสารเขา ใจความคิดของผูส ่ือสารไดถกู ตอ ง 3. ศิลปะการประพนั ธ การมีศิลปะในการประพนั ธ หมายความวาผูแ ตงตองรูจ ักเลือกใชถอ ยคํา ท่ีเหมาะสมเพื่อจะทําใหเ กิดความไพเราะทางภาษา การใชกวีโวหาร หรือสํานวนโวหารจะชวยใหผ ูอ าน มองเห็นภาพชัดเจน และเกิดความไพเราะทางภาษามากข้ึน ตอไปน้ีจะกลาวถึงศิลปะการประพันธพ อ สังเขป 3.1 ไวพจน หมายถึง การใชค ําที่มีความหมายอยางเดียวกัน ซ่ึงตอ งพิถีพิถันเลือกใชใ ห เหมาะสมกับเนอ้ื หา เชน พอสบเนตรวนดิ ามารศรี แรงฤดดี าลเลหเสนห า ดงั ตอ งศรซา นพษิ ดวยฤทธิย์ า เขา ตรงึ ตราตรอมตรมระทมทรวง ตะลงึ เลง็ เพงแลชะแงพ กั ตร จนลงลักษณหลกี ไปควรโลลว ง ใหเ สียวปลาบวาบไหวใจระลวง ปะหนง่ึ ดวงจติ ดบั เพราะลบั นาง (จากคาํ ประพนั ธบ างเรื่อง ของพระยาอปุ กิตศิลปสาร) คําที่มีความหมายวาผูหญิง ในท่ีน้ีมี 4 คํา คือ วนิดา มารศรี นงลักษณ บางกวีสามารถเลือกใชได เหมาะสมกบั เนอ้ื ความในเรอ่ื ง
ห น า | 73 3.2 การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติและเสียงตางๆการนําเสียงที่ไดยินจากะรรมชาติมาร อยกรองพรรณนาใหเกดิ ความรูสกึ เหมอื นไดย นิ ภาพทําใหเกิดความไพเราะนา ฟง และสะเทือนอารมณ เช น ครนื ครนื ใชฟา รอง เรยี มครวญ หงึ่ ห่งึ ใชล มหวน พใี่ ห ฝนตกใชฝนนวล พีท่ อด ใจนา รอนใชร อนไฟไหม ที่รอ นกลกาม (ตํานานศรปี ราชญ ของพระยาปรยิ ัติธรรมธาดา) คําวา “ครนื ครนื ” เปนการเลยี นเสยี งฟา รอง คําวา “หึ่งหึ่ง” เปน การเลยี นเสยี งลมพัด 3.3 การเลนคาํ หมายถึง การนาํ คําพอ งรปู พองเสยี งมาเรยี บเรยี งหรือรอยกรองเขา ดว ยกันจะ ทําใหเ กดิ เสยี งไพเราะและเพ่ิมความงดงามทางภาษาเชน ปลาสรอยลอยลองชล วา ยเวยี นวนปนกนั ไป เหมอื นสรอยทรงทรามวัย ไมเ หน็ เจาเศราบวาย คําวา “สรอย” คําแรกเปนช่อี ปลา คาํ วา “สรอย” คาํ หลงั หมายถึงสรอ ยคอ 3.4 การใชคําอัพภาส หมายถึง คําซํ้าชนิดหน่ึง โดยใชพ ยัญชนะซ้ําเขาไปขา งหนาคํา เชน รกิ เปน ระรกิ ยม้ิ เปน ยะยิม้ แยม เปน ยะแยม การใชค ําอัพภาสหลายๆ คําในท่ีใกลกัน ทําใหแ ลเห็นภาพและเกิดความรูสึกสะเทือนอารมณ ตามไปดวย เชน สาดเปน ไฟยะแยง แผลงเปนพิษยะยงุ พุงหอกใหญ คะควา งขวา งหอกซดั คะไขว (ลิลิตตะเลงพาย) 3.5 การใชโวหารภาพพจน โวหารภาพพจน หมายถึง ถอ ยคําที่เรียบเรียงโดยไมก ลาวอยา ง ตรงไปตรงมา ผูป ระพันธม ีเจตนาจะใหผ ูอ า นเขาใจ และประทับใจยิ่งขึ้นกวาการชําคําบอกเลาธรรมดา การใชโ วหารภาพพจนอาจทําไดห ลายวธิ ี เชน 3.5.1 เปรยี บส่งิ หนง่ึ วาเหมอื นอกี สง่ิ หน่ึง ในการเปรียบเทียบน้ีจะมีคําแสดงความหมาย อยางเดียวกับคําวา เหมอื น ปรากฏอยดู วย ไดแ กค ําวา เปรียบเหมือน เสมือน ดุจ ประดุจ ดุจดัง ราวเพียง เช น คณุ แมหนาหนกั เพี้ยง พสุธา (เพย้ี ง-โทโทษ มาจากคาํ วา เพยี ง) คุณบดิ รดจุ อา กาศกวาง
74 | ห น า 3.5.2 เปรยี บสง่ิ หนง่ึ เปน อกี สิ่งหนง่ึ บางตาํ ราเรียกวาอุปลักษณ เชน พอ แมค ือ รม โพธิ์ ร มไทร ของลกู ราชาธิราชนอม ใจสตั ย อํามาตยเ ปน บรรทดั ถองแท 3.5.3 สมมุติส่ิงตา งๆ ใหมีกิรยิ าอาการเหมอื นมนษุ ย หรอื ทเ่ี รียกวา บุคลาธิษฐาน เชน นํ้า เซาะหนิ รนิ รนิ หลากไหล ไมห ลบั เลยชั่วฟาดนิ สลาย 3.5.4 การใชคาํ สญั ลักษณหรอื สิ่งแทนสัญลกั ษณ หมายถึง สง่ิ หนง่ึ ใชแ ทนอกี ส่งิ หน่ึง เช น แมน เปน บัวตวั พ่เี ปน ภมุ รา เชยผกาโกสมุ ประทุมทอง 3.6 การกลา วเกินจริง หรือท่ีเรียกวา อติพจน (อธิพจน) การกลา วเกินจริงน้ีปรากฏอยูใ น ชีวิตตามปกติ เชน เม่ือเราตองการจะเนนความรูสึกบางอยา ง เชน กลา ว “เหนื่อยสายตัวจะขาด” หรือ “ร อนแทบสกุ ” การกลาวเกนิ จริง ทําใหเ กดิ ความแปลกและเรียกรอ งความสนใจไดด ี 3.7 การเลนเสียงวรรณยุกต กวีใชคําท่ีประกบดว ยสระ พยัญชนะ และตัวสะกดอยา ง เดยี วกนั ตางกันแตวรรณยกุ ต โดยนํามาเรยี งไวในท่ใี กลกันทําใหเกดิ เสยี งไพเราะดจุ เสยี งดนตรี เชน “สละสละสมร เสมอชอ่ื ไมน า นกึ ระกํานามไม แมน แมน ทรวงเรยี ม” หรอื “จะจบั จองจอ งส่งิ ใดนนั้ ดูสําคญั ค่นั ค้ันอยา งงันฉงน อยา ลามลวงลวงดแู ลศกล คอ ยแคะคนขน คนใหควรการ” 3.8 สัมผัสอกั ษร กวีจะใชค าํ ท่ีมีเสยี งพยญั ชนะเดียวกนั เชน โคลงกลบอกั ษรลวน ชายชาญชยั ชาติเช้อื เชงิ ชาญ สเู ศกิ สุดเศกิ สาร สงสรอ ง ราวรามรทุ รแรงราญ รอนราพณ เกรกิ เกียรติไกรกึกกอ ง กอกูก รงุ ไกร (พระราชนพิ นธพ ระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา เจาอยูหวั ) 3.9 สัมผัสสระ กวีจะใชคําทมี่ ีเสียงสระคลองจองกนั เชน เขา ทางตรอกออกทางประตู คางคกขน้ึ วอแมงปอใสตงุ ต้ิง
ห น า | 75 น้ํารอ นปลาเปนนา้ํ เย็นปลาตาย เพือ่ นกนิ หางา ยเพอ่ื นตายหายาก 3.10 การใชค ําปฎิพฤกษ หมายถึง ความขัดแยง ที่กวีนํามากลาวคูกันเพ่ือแสดงคุณสมบัติ 2 อย างทแี่ ยงกนั อนั อยูในส่งิ เดยี วกนั เชน ความหวานชน่ื ในความขมขื่น ความเงียบเหงาในความวุนวาย กิจกรรมท่ี 1 ใหผูเรยี นตอบคําถาม และรวมกจิ กรรมตอไปน้ี 1. วรรณคดี คอื อะไร 2. วรรณคดีกับวรรณกรรมแตกตางกันอยางไร 3. ใหผ ูเ รยี นรวมรวมรายชอ่ื หนงั สอื ทเี่ ปนวรรณคดีและวรรณกรรมประเภทละ 3 เลม 4. ใหสรปุ คณุ คา ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีรวบรวมมาไดจ ากขอ 3 เรอ่ื งท่ี 6 ภาษาถิ่น ความหมายของภาษาถิ่น ภาษาถิน่ หมายถึง ภาษาท่ีใชส่ือความหมายตามทองถิ่นตา งๆ ซ่ึงจะแตกตางกันในถอยคํา สําเนียงแตก ็สามารถจะติดตอสือ่ สารกันได และถือวาเปน ภาษาเดียวกัน เพียงแตแตกตางกันตามทอ งถิน่ เทาน้นั ภาษาถิน่ บางที่มักจะเรียกกันวา ภาษาพ้ืนเมืองท้ังนี้เพราะไมไ ดใ ชเ ปนภาษามาตรฐานหรือ ภาษากลางของประเทศ สาเหตทุ ่ีทาํ ใหเ กดิ ภาษาถิ่น
76 | ห น า ภาษาถิน่ เกิดจากสาเหตุการยายถิน่ ฐาน เมื่อกลุมชนที่ใชภ าษาเดียวกันยา ยถิ่นฐานไปต้ังแหลง ใหม เนือ่ งจากเกิดภัยธรรมชาติ มีการรุกรานของศัตรู เม่ือแยกยายไปอยูค นละถ่ินนานาๆ ภาษาที่ใชจ ะคอย เปลย่ี นแปลงไปเชน เสยี งเปลยี่ นไป คําและความหมายเปลี่ยนไป ทําใหเกดิ ภาษาถิน่ ข้นึ คณุ คาและความสาํ คญั ของภาษาถิ่น 1. ภาษาถ่นิ เปน วฒั นธรรมทางภาษาและเปน เอกลักษณข องแตละทอ งถน่ิ 2. ภาษาถิ่นเปน สัญลักษณท่ีใชสื่อสารทําความเขาใจและแสดงความเปน ญาติ เปน พวกเดยี วกนั ของเจา ของภาษา 3. ภาษาถิ่นตนกําเนิดและเปนสวนหนึ่งของภาษาไทยและวรรณคดีไทย การศึกษาภาษาถิ่น จะชวยใหก ารส่ือสารและการศึกษาวรรณคดีไดเ ขา ใจลึกซ่ึงย่ิงขน้ึ 4. การศึกษาและการใชภาษาถิ่น จะชวยใหการสื่อสารไดมีประสิทธิภาพและสรา งความเป นหนง่ึ ของคนในชาติ ลักษณะของภาษาถิ่น 1. มีการออกเสยี งตา งๆ ถิ่น เพราะสภาพทางภูมิศาสตร ความหา งไกลขาดการติดตอสือ่ สารกัน เปนเวลานานมากๆยอ มทําใหออกเสยี งตางกันไป 2. การผสมกันทางเช้ือชาติเพราะอยูใกลเคียงกันทําใหม ีภาษาอ่ืนมาปน เชน ภาษาอีสาน มี ภาษากลางและเขมรมาปนเพราะมเี ขตแดนใกลก นั ทําใหภาษาเปล่ียนไปจากภาษากลาง 3. การถายทอดทางวฒั นธรรมและเทคโนโลยีซงึ่ กันและกัน ทําใหภ าษาเปล่ยี นจากภาษากลาง 4. หนว ยเสียงของภาษาถิน่ มีสวนคลา ยกันและแตกตางกัน หนวยเสียงของภาษากลางมี 21 เสียง ภาษาถิน่ มีหนวยเสียงตรงกันเพียง 17 เสียง นอกน้ันแจกตา งกัน เชน ภาษาถิน่ เหนือและอีสานไมม ี หนว ยเสยี ง ช และ ร ภาษาถิ่นใตไมม หี นว ยเสยี ง ง และ ร เปน ตน 5. หนวยเสยี งวรรณยุกตในภาษาถิน่ แตกตางกันไป ภาคใตมีเสียงวรรณยุกต 7 เสียง ภาคเหนือ และอสี านมเี สยี งวรรณยกุ ต 6 เสยี ง ตัวอยางการกลายเสยี งวรรณยกุ ต มา (กลาง) ภาคใตออกเสยี งเปน หมา ขาว (กลาง) ภาคอีสานออกเสยี งเปน ขา ว ชาง (กลาง) ภาคเหนอื ออกเสยี งเปน จา ง 6. การกลายเสยี งพยญั ชนะในภาษาถิน่ เหนอื ใต อสี าน น้นั มีสวนแตกตางกันหลายลกั ษณะ เชน 6.1 ภาษาไทยเหนือ จะมีคา ท่ีกลายเสียงพยัญชนะจากภาษาไทยกลางอยูห ลายตัว ภาษาไทยกลางเปน ช ไทยเหนือจะเปน จ เชน ชา งเปน จาง ฉะน้ันเปน จะอั้น ใชเ ปนไจ ภาษาไทยกลาง ใช ร ไทยเหนอื จะเปน ฮ เปน รกั เปน ฮัก รองเปน ฮอง โรงเรยี นเปนโฮงเฮยี น ภาษาไทยกลางเปน คิดเปนกึ้ด คิ้วเปน กิ๊ว ภาษากลางใช ท ภาษาไทยเหนือใช ต เชน ทานเปนตาน ทานเปน ตาน และภาษาไทยเหนือ
ห น า | 77 นอกจากจะใชพ ยัญชนะตางกันแลว ยังไมค อ ยมีตัวควบกล้าํ เชน ขี้กลาก เปน ข้ีขาด โกรธ เปน โขด นอกจากน้ีจะมคี ําวา โปรด ไทยเหนอื โปด ใคร เปน ไผ เปน ตน 6.2 ภาษาไทยอสี านก็มีกลายเสยี งหรอื มหี นว ยเสยี งตา งกับภาษาไทยกลางหลายตัว ตัวอยา ง ช ใช ซ แทนเสยี ง ร ใช ฮ แทนเสยี ง ญ และ ย จะออกเสยี งนาสกิ แทนภาษาไทยกลาง ชา ง ไทยอีสานเปน ซาง เรา เปน เฮา เลือด เปน เฮือด หญงิ เปน ญงิ (นาสกิ ) ใหญ เปน ใญ ภาษาไทยอีสานจะไมม ีคําควบกล้าํ คลา ยเหนอื เชน กลวย เปน กวย ปลา เปน ปา ของ เปน ขอ เปรต เปน เผด และภาษาไทยอีสานมีการสลับ รบั เสยี งดว ย เชน ตะกรอ เปน กะตอ ตะกรา เปน กะตา ตะกรุด เปน กะตดุ เปน ตน 6.3 ภาษาไทยใตก็มีการกลายเสียงพยัญชนะจากภาษาไทยกลางเหมือนกัน ภาษาไทยกลาง เปน ง ภาษาไทยใตจ ะเปน ฮ เสยี ง ฐ จะเปน ล (บางจังหวัด) และญ จะออกเสียงนาสิก ตัวอยาง ภาษาไทย กลาง คาํ วา เงนิ ภาษาไทยใต เปน เฮิง งาน เปน ฮาน รัก เปนหลัก เปนตน นอกจากนี้พยัญชนะและคําอ่ืน ท่ภี าษาไทยกลาง 7. ภาษาถ่นิ เหนอื ใตและอสี านมีการกลายเปนเสยี งจากภาษาไทยกลางหนว ยเสยี ง 7.1 ภาษาไทยเหนือจะกลายเสียงสระ อิ เปน อึ เชน คิดเปนก้ึด สระอึเปนสระเออ เชน ถึงเปน เถงิ สระอะ เปนสระอา เชน มะปราง เปน หมาผาง มะละกอ เปน หมากกวยเต็ด สระเอ เปนสระแอ เชน เอว เปน สระแอว เปนตน 7.2 ภาษาไทยอีสานมีการกลายเสียงสระเชน สระเอือ เปน เอีย เชน เน้ือเปนเน้ีย สระอัวเปน สระสระโอ เชน วัว เปน โง ตัว เปน โต สระอึ เปนสระเออ เชน คร่ึง เปนเคิ่ง สระอา เปน สระอัว เชน ขวา เปน ขวั เปนตน 7.3 ภาษาไทยอีสานมีการกลายเสียสระ เชน ภาษาไทยกลางใช สระ อิ อี ภาษาถิน่ ใตใช สระเอะ เอ เชน สี่ เปน เส ซีก เปน แซก สระเอะ เอ ใชเปนสระแอะ แอ เชน เดก็ เปนแดก็ เปนตน 8. ความหมายของคําในภาษาถิน่ แตกตา งไปจากภาษากลาง เชน คําวารักษา ภาษาถิ่นใตม ี ความหมายวา เลี้ยง เชน นําลิงไปรักษา หมายถึงนําลิงไปเลี้ยง บัวลอย ภาษาถิน่ เหนือหมายถึงผักตบชวา แพรนม ภาษาถ่นิ อสี านหมายถึงผา เชด็ หนา ภาษาถน่ิ ใตเรยี กผา เชด็ หนาวา ผานยุ เปนตน กิจกรรมท่ี 2 ใหผเู รยี นเขยี นเครื่องหมาย วงกลม ลอ มรอบขอทถ่ี กู ท่ีสุดเพยี งขอ เดยี ว 1. ขอ ใดใหค วามหมายภาษาถนิ่ ไดถกู ตอง ก. ภาษาตระกูลตางๆ ข. ภาษาทีพ่ ดู กันในทอ งถนิ่ นน้ั ๆ ค. ภาษาทีใ่ ชพ ูดกันทั่วประเทศ ง. ภาษาของชนกลุมใหญท ่ัวโลก 2. ขอ ใดเปน สาเหตสุ ําคญั ทีท่ ําใหเกดิ ภาษาถิ่น
78 | ห น า ก. สภาพภมู ปิ ระเทศ ข. การยา ยถิ่นฐาน ค. การแลกเปล่ียนวฒั นธรรม ง. ถูกทุกขอ 3. คําในขอใดท่เี ปน คําเฉพาะของภาษาถน่ิ ภาคเหนอื ก. งอ ข. งอน ค. งดื ง. งบี 4. “ฝนตกฟา รอง พอแมเ ขาอยหู นกุ ” คําวา หนกุ เปน คําในภาษาถิ่นภาคใด ก. เหนอื ข. ใต ค. อสี าน ง. กลาง 5. ภาษาถิน่ ใด ท่มี ีหนว ยเสยี งวรรณยกุ ตมากท่สี ดุ ก. ภาษาถ่ินเหนอื ข. ภาษาถิ่นอสี าน ค. ภาษาถ่ินใต ง. ภาษากลาง
ห น า | 79 เร่ืองที่ 7 สํานวน สภุ าษติ สํานวน หมายถึง คํากลาวหรอื กลุมคําที่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบเปน เชิงใหใชความคิด และ ตีความบางสาํ นวนจะบอกหรอื สอนตรงๆ บางสาํ นวนสะทอนความคิด ความรูสึกของกลุม ชนในทอ งถิน่ ในอดตี ดว ย สภุ าษติ หมายถึง คาํ กลา วทีด่ ีงามเปนความจรงิ ทกุ สมยั เปนคาํ สอนใหประพฤติ ปฏิบัติ ดงั ตวั อยาง “หลาํ รอ งชักงาย หลําใจชกั ยาก” ความหมาย คดิ จะทําอะไรตอ งคดิ ใครครวญใหร อบคอบกอ นตดั สนิ ใจ “นอนจนหวนั แยงวาน” ความหมาย นอนตน่ื สายมากจนตะวนั สอ งสวา งไปทวั่ บาน “พดู ไป สองไพเบ้ีย นง่ิ เสยี ตาํ ลงึ ทอง” ความหมายพูดไปไมมีประโยชนอะไร นง่ิ ไวดกี วา “เกลอื จม๋ิ เกลอื ” ความหมาย ไมยอมเสยี เปรยี บกนั แกเผด็ กันใหสาสม “ขายผา เอาหนา รอด” ความหมาย ยอมเสียสละของท่จี าํ เปน ท่มี ีอยูเพอ่ื จะรักษาชอ่ื เสียงของตนไว “ฝนทั่งใหเ ปน เขม็ ” ความหมายเพยี รพยายามสดุ ความสามารถจนกวา จะสาํ เรจ็ ผล “นํ้ามาปลากนิ มด น้าํ ลดมดกนิ ปลา” ความหมาย ทีใครทมี ัน
80 | ห น า เร่ืองที่ 8 วรรณกรรมทอ งถ่ิน วรรณกรรมทองถิน่ หมายถึง เรือ่ งราวของชาวบานที่เลาสืบตอ กันมาหลายชัว่ อายุคนทั้งการพูด และการเขียนในรูปของ คติ ความเชื่อ และประเพณี การแสดงออกในการใชถอ ยคําที่มีหลากหลาย รูปแบบ เชน นิทานพื้นบา น เพลงกลอ มเด็ก ปริศนา คําทาย ภาษิต คําคม บทเทศน และคํากลาวในพิธี กรรมตา งๆ ลักษณะของวรรณกรรมทองถนิ่ 1. วรรณกรรมทองถ่ิน โดยท่ัวไปมีวัดเปน ศูนยกลางเผยแพร กวีผูประพันธส ว นมาก คือ พระภิกษุ และชาวบาน 2. ภาษาที่ใชเ ปน ภาษาถิน่ ใชถอ ยคําสํานวนทอ งถิ่นที่เรียบงา ย ชาวบา นทั่วไปรูเร่ืองและใช ฉนั ทลกั ษณท่นี ยิ มในทอ งถ่ินนั้น เปน สาํ คัญ 3. เนอ้ื เรอ่ื งสวนใหญเปน เรอ่ื งจกั รๆ วงศๆ มงุ ใหค วามบันเทิง และสอดแทรกคติธรรมทางพุทธ ศาสนา 4. ยึดคานยิ มแนวปรัชญาพุทธศาสนา เชน กฎแหง กรรม หรอื ธรรมะยอ มชนะอธรรม เปน ตน ประเภทของวรรณกรรมทองถน่ิ วรรณกรรมทองถน่ิ แบง ไดเ ปน 2 ประเภท คอื 1. ประเภทมุขปาฐะ เปนวรรณกรรมที่ไมไดเขยี นเปน ลายลักษณ เปน วรรณกรรมปากเปลาจะถา ยทอดโดยการบอก หรือการเลาหรือการรอ ง ไดแ ก บทกลอมเด็ก นิทานพ้ืนบาน เพลงพ้ืนบา น ปริศนาคําทาย ภาษติ สาํ นวนโวหาร คาํ กลา วในพธิ กี รรมตา งๆ 2. ประเภทเขียนเปนลายลักษณ ไดแก นิทาน คํากลอน บันทึกทางประวัติศาสตรในทอ งถ่ิน และตาํ ราความรูต างๆ คณุ คาของวรรณกรรมทอ งถน่ิ 1. คณุ คา ตอการอธิบายความเปน มาของชุมชนและเผา พนั ธุ 2. สะทอนใหเหน็ โลกทัศนและคา นยิ มตา งๆ ของแตละทองถ่นิ โดยผา นทางวรรณกรรม 3. เปน เครอื่ งมอื อบรมสั่งสอนจรยิ ธรรมของคนในสังคมสามารถนาํ ไปประยุกตใชใ นสังคมปจจุบัน ได 4. เปน แหลง บันทึกขอมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี และการดําเนินชีวิต ของคนในทอ งถน่ิ
ห น า | 81 5. ใหความบันเทิงใจแกช ุมชนท้ังประเภทที่เปน วรรณกรรมและศิลปะการแสดง พื้นบาน เชน หมอลําของภาคอีสาน การเลนเพลงเรือ เพลงเกี่ยวขาว ของภาคกลาง การซอ การเลาคา ว ของภาคเหนอื การเลนเพลงบอก รอ งมโนราหข องภาคใต เปน ตน 6. กอ ใหค วามสามัคคีในทอ งถนิ่ เกดิ ความรกั ถนิ่ และหวงแหนมาตภุ มู ิ รปู แบบของวรรณกรรมทอ งถ่นิ 1. รปู แบบของวรรณกรรมทองถิน่ ภาคกลาง 1.1 กลอนสวด หรอื เรียกวา คําพากย ไดแก กาพยย านี ฉบัง สุรางคนางค 1.2 กลอนบทละคร (นอก) ใชฉ ันทลักษณเหมือนกลอนบทละครท่ัวไปแตไมเครงครัด จาํ นวนคําและแบบแผนมากนกั 1.3 กลอนนิทาน บทประพันธเ ปน กลอนสุภาพ (กลอนแปด) เปน รูปแบบที่ไดร ับความ นยิ มมาก 1.4 กลอนแหล นยิ มจดจาํ สืบตอ กนั มาหรอื ดนกลอนสด ไมน ยิ มบนั ทกึ เปน ลายลักษณ 2. รปู แบบของวรรณกรรมทองถิ่นภาคอีสาน 2.1 โคลงสาร เปนฉันทลักษณที่บังคับเสียงเอกโท สวนมากใชประพันธว รรณกรรม ประเภทนทิ าน นยิ าย หรอื นิทานคตธิ รรม 2.2 กาพยห รือกาพยเซ้ิง ประพันเปน บทส้ันๆ สําหรับขับลําในพิธี เชน เซ้ิงบั้งไฟ เซ้ิงนาง แมว ฯลฯ 2.3 ราย (ฮา ย) ลักษณะเหมอื นรา ยยาว ใชประพนั ธว รรณกรรมชาดก หรอื นิทานคติธรรมท่ี ใชเ ทศน เชน มหาชาติ (ฉบบั อสี านเรียกวาลาํ มหาชาต)ิ 3. รปู แบบของวรรณกรรมทอ งถ่นิ ภาคเหนอื 3.1 คําวธรรม ฉันทลักษณเหมือนรายยาวชําสําหรับเทศน นิยมประพันธวรรณกรรม ประเภทนิทานชาดกหรอื นิทานคตธิ รรม 3.2 คําวซอ คาํ ประพันธท ี่บังคับสัมผัสระหวางวรรคและบังคับเสียงเอกโท นิยมแตนิทาน เปนคาํ วซอแลวนาํ มาขับลําในท่ีประชมุ ชน ตามลลี าทาํ นองเสนาะของภาคเหนอื 3.3 โคลง ภาษาถิ่นเหนือออกเสียงเปน “กะลง” เปนฉันทลักษณท่ีเจริญรุงเรือง ควบคูก ับ “คา วธรรม” มีท้ังกะลงส่ีหอง สามหอ ง และสองหอ ง (โคลงส่ี โคลงสาม และ โคลงสอง)
82 | ห น า 4. รปู แบบของวรรณกรรมทอ งถ่ินภาคใต วรรณกรรมพื้นบานภาคใตฉันทลักษณรว มกับวรรณกรรมทองถ่ินภาคกลาง แตจ ากการ ศึกษาความนิยมเรื่องฉันทลักษณของวรรณกรรมภาคใต พบวา นิยม “กลอนสวด” (คํากาพย) มากที่สุด วรรณกรรมลายลักษณภ าคใตเ กินรอ ยละ 80 ประพันธเปน กลอนสวด โดยเฉพาะนิทานประโลมโลก (เรอ่ื งจกั รๆวงศๆ) การวิเคราะหคณุ คาของวรรณกรรมทอ งถน่ิ การวิเคราะหว รรณกรรมทอ งถิ่นน้ันจะวิเคราะหต ามคุณคา ของวรรณกรรมดา นตางๆ เม่ือศึกษา วรรณกรรมทอ งถิน่ เรื่องใด เราจะตอ งวินิจวิเคราะหหรือพิจารณาดูวา วรรณกรรมเรื่องน้ันมีคุณคาในดา น ใดดงั ตอ ไปน้ี 1. คุณคาดา นจริยศาสตรหรือคุณคาดานจริยธรรม วิเคราะหว าวรรณกรรมที่อา นและศึกษาเปน ตัวอยางความประพฤติ การดําเนินชีวิตวาอะไรผิด อะไรถูก อยางไรดี อยางไรเหมาะสม วรรณกรรมทอง ถิ่นจะทําหนา ท่ีตัวอยางแบบแผนและความประพฤติของชาวบา นใหถูกตองสอดคลองกับขอตกลงของ สังคม ชุมชน ตามกฎหมายระเบียบประเพณีอนั ดีงาม 2. คุณคา ดา นสุนทรียศาสตรหรือความงามความไพเราะ วรรณกรรมทองถิ่นจะใหค ุณคาดาน ความงามความไพเราะของถอยคํา ใชคําสัมผัสคลอ งจอง ความไพเราะของทวงทํานองของเพลง บทกวี เมื่อฟง หรอื อา นจะทําใหเ กดิ จนิ ตนาการ เกดิ ความซาบซงึ้ ในอารมณความรูส กึ 3. คุณคาภาษา วรรณกรรมทอ งถิ่นจะเปนสื่อที่ทําใหภาษาถิ่นดํารงอยูและชวยใหภาษาถิน่ พัฒนาอยูเ สมอมีการคิดคน สรา งสรรค ถอ ยคําภาษาเพ่ือส่ือความในวรรณกรรมทองถิน่ ท้ังเพลงพ้ืนบา น บทกวี ซอภาษิต จะมีกลวิธีการแตง ท่ีนาสนใจ มีการเลนคําซ้ําคําทอ งถิน่ ถอยคําที่นํามาใชม ีเสียงสูงต่าํ มี เสยี งไพเราะ ฟงแลวรน่ื หู 4. คุณคาดา นการศึกษา วรรณกรรมทองถิ่นประเภทตําราคําสอน นิทานนอกจากจะใหความ บนั เทงิ แลวยังจะใหค วามรูท กุ แขนง ทง้ั ศิลปวฒั นธรรม อาชีพและเสริมสรางปญญา โดยเฉพาะปริศนาคํา ทายจะใหท้งั ความรู ความบันเทงิ เสริมสรางสตปิ ญ ญา 5. คุณคา ดา นศาสนา วรรณกรรมทอ งถิน่ จะเปนส่ือถายทอดคําสอนและปรัชญาทางศาสนาเผย แพรส ูค นในชุมชนทอ งถิน่ ใหคนชุมชนใชเ ปนเครื่องยึดเหนีย่ วทางจิตใจ ใหแนวคิดในการดํารงชีวิต เชน นิทานชาดกตางๆ เปน ตน 6. คณุ คาดานเศรษฐศาสตร วรรณกรรมประเภทตาํ รายา ตาํ ราพยากรณ การทาํ พิธบี ายศรสี ูขวญั หรอื บทสวดในพธิ กี รรมตา งๆ สามารถนํามายดึ เปนอาชีพได วรรณกรรมเกีย่ วกับคาํ ภาษาสามารถชว ยให ประหยัดอดออมได
ห น า | 83 7. คุณคาทางสังคมไดรับความบันเทิงสนุกสนาน วรรณกรรมทองถิน่ จะปลูกฝงคานิยมในการ ผูกมติ รผกู สมั พันธของคนในทองถนิ่ การอยรู ว มกนั อยา งมีการพึง่ พาซ่ึงกันและกัน สรา งความสามัคคีใน หมคู ณะใหข อ คดิ คตธิ รรมทีเ่ กี่ยวขอ งกับชีวติ ความเปน อยกู ารทํามาหากินและสง่ิ แวดลอม เปน ตน 8. คุณคาดานประวัติศาสตรโบราณคดีและความเปนมาของชุมชนแตละทองถิ่น เชน วรรณกรรมประเภทตํานาน ไดแ กตํานานเกี่ยวกับโบราณสถาน โบราณวัตถุ ตํานานช่ือบา นชื่อเมือง เปนตน การวิเคราะหค ุณคา ของวรรณกรรมทอ งถิ่นจะพิจารณาจากคุณคา ดานตา งๆ ดังกลาวมา ซึ่ง วรรณกรรมแตละเรื่อง แตล ะประเภทยอ มจะใหคุณคาแตกตางกัน การศึกษาวรรณกรรมทอ งถิน่ ที่จะเกิด ประโยชนจ ะตอ งพิจารณา วนิ จิ วิเคราะห และนาํ ไปใชไดอ ยา งเหมาะสมจึงเปนหนาท่ีของเยาวชนท่ีจะถือ เปน ภารกิจที่จะตอ งชว ยกันอนุรักษวรรณกรรมท่ีมีคาเหลา น้ีไว และชวยกันสืบทอดใหคนรุน หลังไดม ี โอกาสเรยี นรู ศึกษาและพฒั นาเพอื่ ความเปนเอกลักษณของชาติตอ ไป มารยาทในการอา น มารยาทเปน วัฒนธรรมทางสังคม เปน ความประพฤติที่ดีเหมาะสมท่ีสังคมยอมรับและยกยอง ผู มีมารยาทคือ ผทู ่ีไดรบั การอบรมสั่งสอน ขดั เกลามาดแี ลว มารยาทในการอา นแมจะเปน เรื่องเล็กๆ นอยๆ ท่ีบางคนอาจไมรูส ึก แตไมควรมองขาม มารยาทเหลาน้ีจะเปนเครื่องบงช้ีใหเ ห็นวาบุคคลน้ันไดร ับการ อบรมสั่งสอนมาดีหรอื ไม อยา งไร ดงั เชนภาษติ ทว่ี า “สําเนียงสอภาษากริยาสอสกุล” มารยาททัว่ ๆ ไปในการอา นมีดงั น้ี 1. ไมควรอานเรอ่ื งท่เี ปนสว นตวั ของบุคคลอน่ื เชน จดหมาย สมุดบันทกึ 2. ในขณะทีม่ ีผูอ า นหนังสือ ไมค วรชะโงกไปอา นขา งหลังใหเ ปนที่รําคาญและ ไมควรแยง อาน 3. ไมอา นออกเสยี งดงั ในขณะทีผ่ ูอืน่ ตองการความสงบ 4. ไมแกลงอา นเพ่ือลอเลยี นบคุ คลอ่นื 5. ไมควรถือวิสาสะหยบิ หนงั สอื อืน่ มาอา นโดยไมไ ดร บั อนญุ าต 6. ไมอา นหนงั สอื เม่ือยใู นวงสนทนาหรอื มกี ารประชุม 7. เม่ืออา นหนังสือในหองสมุดหรือสถานทีซ่ ่ึงจัดไวใหอ า นหนังสือโดยเฉพาะ ไมสง เสยี งดงั ควรปฏิบตั ติ ามระเบียบกฎเกณฑข องสถานทเี่ หลานั้นอยา งเครงครัด การปลูกฝงการรกั การอาน 1. ตองทําความเขา ใจกับเรื่องที่อานใหชัดเจนแจมแจง จับใจความเรื่องท่ีอานไดตลอดทั้งเรื่อง และตองเขาใจเนอ้ื หาใหถกู ตอ งดว ย
84 | ห น า 2. ใหไ ดร บั รสชาตจิ าการอา น เชน เกิดความซาบซึง้ ตามเนื้อเรื่อง หรือสํานวนจากการประพันธ นน้ั ๆ เกดิ อารมณรวม เหน็ ภาพพจนตามผูป ระพนั ธ 3. เห็นคุณคา ของเรื่องท่ีอา น เกิดความสนใจใครติดตาม ดังนัน้ การเลือกอานในส่ิงท่ีสนใจก็เป นเหตผุ ลหนง่ึ ดวย 4. รูจกั นาํ สิง่ ท่ีเปนประโยชนจากหนงั สอื ไปใชใ หไดเหมาะสมกับตนเอง 5. รูจักเลือกหนังสือท่ีอา นไดเ หมาะสมตามความตอ งการและโอกาส คุณสมบัติเหลา น้ี เปน เบอ้ื งตน ที่จะปลูกฝงใหร กั การอา น
ห น า | 85 บทท่ี 4 การเขยี น สาระสาํ คญั การศึกษาหลักเกณฑก ารเขยี นใหเ ขาใจ ปฏบิ ัติตามหลักและวิธกี ารเขียน กระบวน การเขียนเพ่ือ การสือ่ สาร เขียนคํา ขอความใหถูกตอ ง เลือกใชค ําไดเหมาะสม ส่ือความหมายไดชัดเจน จะชวยใหการ ส่อื สารดวยการเขยี นมีประสทิ ธภิ าพ ผูเ ขยี นมมี ารยาทและรกั การเขยี น ผลการเรยี นรูท่ีคาดหวงั ผเู รยี นจะสามารถ 1. เขียนจดหมายเขียนเรียงความ เขียนยอ ความ เขียนบันทึก เขียนรายงาน เขียนประกาศ เขียนใบสมัครงาน เขียนสารคดี บันเทิงคดี เขียนคําอวยพร เขียนโครงการ เขียนคํากลา ว รายงาน 2. แตงคําประพนั ธ ประเภท กาพย กลอน โคลง ฉนั ท รา ย ได 3. มารยาทและสรางนสิ ัยรกั การเขยี น ขอบขายเนือ้ หา เรอ่ื งที่ 1 หลักการเขยี น เรอ่ื งท่ี 2 หลักการแตงคําประพนั ธ เรอ่ื งท่ี 3 มารยาทและนสิ ยั รกั การเขยี น
86 | ห น า เร่ืองที่ 1 หลกั การเขยี น ความหมายและความสาํ คญั ของการเขยี น การเขียน คือ การแสดงความรู ความคิด อารมณค วามรูส ึกและความตองการของผูส งสาร ออกมาเปน ลายลกั ษณอกั ษร เพอ่ื ใหผ รู บั สารอานเขา ใจไดร ับความรู ความคิด อารมณ ความรูส ึก และความต องการตางๆ เหลา นนั้ การเขียนเปนพฤติกรรมของการสง สารของมนุษย ซ่ึงมีความสําคัญไมย ่ิงหยอ นไปกวาการส งสารดวยการพูดและการอา น เพราะการเขียนเปน ลายลักษณอักษรหรือตัวหนังสือจะคงทนถาวรและกว างขวางกวา การพูด และการอาน การที่เราไดทราบความรูความคิดและวิทยาการตา งๆ ของบุคคลในยุคก อนๆ ก็เพราะมนษุ ยร ูจกั การเขยี นสัญลักษณแทนคาํ พูดถา ยทอดใหเราทราบ การเขยี นเพ่ือสง สารมปี ระสทิ ธิภาพมากนอ ยแคไ หนน้ันยอ มข้ึนอยูกับผูสงสารหรือผูเขียนซึ่งจะ ตอ งมคี วามสามารถในหลายดาน ทัง้ กระบวนการคิดกระบวนการเขียนความสามารถในดานการใชภ าษา และอื่นๆดงั น้ี 1. เปนผูม ีความรูในเรื่องที่จะเขียนเปนอยา งดี มีจุดประสงคใ นการถายทอดเพื่อจะใหผ ูอา นได รบั สง่ิ ใดและทราบพ้นื ฐานของผูร ับสารเปน อยา งดดี วย 2. สามารถเลือกรูปแบบและกลวิธีในการเขียนไดเ หมาะสมกับเน้ือหาและโอกาส เชน การเขียน คาํ ชี้แจงก็เหมาะทจี่ ะเขยี นแบบรอยแกว หากเขยี นคําอวยพรในโอกาสตา งๆ อาจจะใชการเขียนแบบรอ ยก รองเปนโคลง ฉนั ท กาพย กลอน จะเหมาะสมกวา เปนตน 3. มคี วามสามรถในการใชภาษาโดยเฉพาะภาษาเขียนท้ังการเขยี นคาํ และขอ ความตามอักขรวิธี รวมทั้งการเลอื กใชถ อยคาํ สาํ นวนตางๆ 4. มคี วามสามารถในการศึกษาคนควา และการฝกฝนทักษะการเขยี น 5. มศี ลิ ปะในการใชถอยคาํ ไดไพเราะเหมาะสมกบั เนอื้ หาหรอื สารทตี่ องการถายทอด หลกั การเขยี นทีด่ ี 1. เขยี นตวั หนงั สอื ชดั เจน อา นงาย เปนระเบียบ 2. เขียนไดถ ูกตอ งตามอักขรวิธี สะกดการันต วรรณยุกต วางรูปเครือ่ งหมายตา งๆ เวน วรรค ตอนไดถ ูกตอ ง เพอ่ื จะสอื่ ความหมายไดต รงและชดั เจน ชว ยใหผอู า นเขาใจสารไดดี 3. เลอื กใชถอยคําไดเหมาะสม ส่ือความหมายไดดี กะทัดรัด ชัดเจนเหมาะสมกับเนื้อหา เพศ วยั และระดบั ของผูอาน 4. เลอื กใชสาํ นวนภาษาไดไ พเราะ เหมาะสมกบั ความรู ความคิด อารมณ ความรูสึก ที่ตองการ ถา ยทอด
ห น า | 87 5. ใชภ าษาเขียนไมค วรใชภ าษาพูด ภาษาโฆษณาหรอื ภาษาท่ไี มไดม าตรฐาน 6. เขยี นไดถกู ตอ งตามรปู แบบและหลกั เกณฑข องงานเขียนแตล ะประเภท 7. เขยี นในสิ่งสรางสรรค ไมเขียนในส่ิงที่จะสรา งความเสียหายหรือความเดือดรอนใหแ กบ ุคคล และสงั คม การที่จะสอ่ื สารดว ยการเขยี นไดดี ผูเขยี นตอ งมีความสามารถในดานการใชภ าษาและตอ งปฏิบัติ ตามหลักการเขยี นท่ีดีมีมารยาท การเขยี นรปู แบบตา งๆ รูปแบบการเขียน งานเขียนในภาษาไทยมี 2 รูปแบบคือ งานเขียนประเภท รอ ยกรองกบั งานเขียนประเภทรอยแกว ซึง่ ผเู รยี นไดเ คยศึกษามาบา งแลว ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน ใน ที่นี้จะพูดถึงงานเขียนประเภทรอ ยแกว ท่ีผูเ รียนจําเปน ตองใชในชีวิตประจําวัน เชน การเขียนจดหมาย การเขียนเรียงความ การเขียนยอความ การจดบันทึกและการเขียนแสดงความคิดเห็น และงานเขียน ประเภทรอยกรองบางประเภทเทา นน้ั การเขยี นจดหมาย การเขยี นจดหมายเปน วิธีการทนี่ ยิ มใชเพอ่ื การสอ่ื สารแทนการพูด เมือ่ ผูสง สารและผูรับสารอยูห างไกลกนั เพราะประหยดั คาใชจาย มีลายลกั ษณอ กั ษรเปนหลกั ฐานสงถึงกันไดส ะดวกทุกพื้นที่ จดหมายที่ เขยี นตดิ ตอกนั มหี ลายประเภทเปนตนวา จดหมายสวนตัว เปนจดหมายที่เขียนถึงกันระหวา งญาติมิตร หรือครูอาจารย เพื่อสง ขาวคราว บอกกลาวไตถามถงึ ความทกุ ขส ุข แสดงถงึ ความรกั ความปรารถนาดี ความระลกึ ถงึ ตอ กัน รวมท้ังการเลา เรอ่ื งหรอื เหตกุ ารณทสี่ าํ คญั การขอความชว ยเหลอื ขอคําแนะนาํ ซ่ึงกนั และกัน จดหมายกิจธุระ เปน จดหมายที่บุคคลเขียนติดตอ กับบุคคลอืน่ บริษัท หา งรา นและหนวยงาน อ่นื ๆ เพ่ือแจงกิจธุระ เปน ตน วา การนัดหมายขอสมัครงาน ขอความชวยเหลือและขอคําปรึกษาเพ่ือประโย ชนในดา นการงานตางๆ จดหมายธุรกิจ เปนจดหมายที่เขียนติดตอ กันในเรื่องธุรกิจ และการเงินระหวางบริษัท หา งรา น และองคก ารตางๆ จดหมายราชการหรือหนังสือราชการ เปนจดหมายท่ีติดตอ กันเปน ทางราชการจากสวนราชการ หน่ึงถึงอีกสวนราการหน่ึงขอ ความในหนังสือถือวา เปนหลักฐานทางราชการและมีสภาพผูกมัดถาวรใน ราชการ จดหมายราชการจะมีเลขทีข่ องหนงั สอื มกี ารลงทะเบียนรบั -สง ตามระเบียบของงานสารบรรณ การเขียนจดหมายแตละประเภทจะมีลักษณะแตกตางกันไป แตโ ดยท่ัวไปจะมีแนวโนม ในการ เขยี นดงั น้ี
88 | ห น า 1. สวนประกอบของจดหมายทีส่ ําคญั คือ ท่ีอยูของเจา ของจดหมาย วัน เดือน ปท ี่เขียนขอความ ที่ตองการสอื่ สาร คําขึน้ ตน และคาํ ลงทาย 2. ใชภ าษาที่สื่อความหมายตรง ชัดเจน ส้ัน กะทัดรัดไดใ จความ เพ่ือใหผ ูรับจดหมายไดทราบ อยา งรวดเรว็ การเขยี นแบบน้ีมักใชในการเขยี นจดหมาย กจิ ธรุ ะ จดหมายธุรกิจ และจดหมายราชการ 3. ใชถ อ ยคําภาษาในเชิงสรางสรรค เลือกเฟนถอ ยคําใหนา อา น ระมัดระวังในการใชถอยคํา การเขยี นลกั ษณะน้ีเปน การเขยี นจดหมายสวนตวั 4. จดหมายท่ีเขียนติดตอเปน ทางการตอ งศึกษาวา ควรจะสงถึงใคร ตําแหนงอะไร เขียนช่ือ ช่ือ สกุล ยศ ตาํ แหนง ใหถกู ตอง 5. ใชค ําขึน้ ตนและคาํ ลงทา ยใหเ หมาะสมกับผูร บั ตามธรรมเนยี ม 6. กระดาษและซองเลือกใชใ หเหมาะสมกับประเภทของจดหมาย ถา เปนจดหมายท่ีสง ทาง ไปรษณีย จะตอ งเขียนนามผูสง ไวม ุมซองบนดานซายมือ พรอ มที่อยูแ ละรหัสไปรษณีย การจา หนาซอง ใหเขยี นหรอื พมิ พชอ่ื ทอ่ี ยขู องผูรบั ใหชดั เจนและอยาลมื ใสร หสั ไปรษณียดวย สว นดวงตราไปรษณียใหป ดไวมมุ บนขวามือ คาไปรษณียากรตองใหถ ูกตองตามกําหนด การเขียนเรียงความ การเขียนเรียงความเปนรูปแบบการเขียนอยางหน่ึง ซึ่งจะตอ งใชศิลปะในการเรียบเรียงถอ ยคํา ภาษาใหเปน เนื้อเรื่อง เพ่ือถา ยทอดขอเท็จจริง ความรู ความรูสึก จินตนาการและความเขาใจดวยภาษาท่ี ถูกตอ งสละสลวยการจะเขียนเรียงความไดด ีผูเขียนจะตอ งศึกษารูปแบบ กฏเกณฑใ หเ ขาใจและฝกเขียน เปน ประจาํ การเขียนเรยี งความ มีสวนสาํ คญั 3 สวน คือ สวนที่ 1 ความนําหรอื คาํ นาํ ความนําเปนสว นแรกของการเขียนเรียงความ ซ่ึงผูร ูไดแนะนําใหเ ขียนหลังจากเขียนสวนอ่ืนๆ เสรจ็ เรยี บรอยแลว และจะไมซา้ํ กับขอความลงทายหรอื สรปุ ความนําของการเขียนเรียงความจะทําหนา ท่ี ดงั น้ี 1. กระตุน ใหผ ูอา นเกดิ ความสนใจตอเนอ่ื งของเรอ่ื งนน้ั ๆ 2. ปพู ื้นฐานความเขาใจใหก บั ผอู า น หรอื ชใี้ หเ หน็ ความสําคญั ของเรอ่ื งกอนที่จะอานตอ ไป 3. บอกขอบขา ยเนอ้ื เรอ่ื งน้ันๆ วามีขอบขายอยา งไร
ห น า | 89 สว น 2 เน้อื เรื่องหรอื ตัวเรือ่ ง การเขยี นเนื้อเรื่อง ผูเ รียนจะตองดูหัวขอ เรื่องท่ีจะ เขียนแลวพิจารณาวาเปนเรื่องลักษณะใด ควร ต้ังวัตถุประสงคข องการเขียนเรียงความอยางไร เพ่ือใหขอเท็จจริงแกผ ูอา นเพ่ือโนม นาวใจใหผ ูอ านเช่ือ หรือคลอยตาม เพ่ือใหความบันเทิงหรือเพ่ือสง เสริมใหผูอ า นใชความคิดของตนใหก วา งขวางข้ึน เม่ือได จดุ ประสงคในการเขยี น ผูเรยี นจะสามารถกาํ หนดขอบขา ยของหวั ขอ เรอ่ื งท่จี ะเขยี นได สวนท่ี 3 บทสรปุ หรอื ความลงทา ย การเขยี นบทสรุปหรอื ความลงทาย ผรู ูไ ดแนะนาํ ใหเขยี นหลังจากเขยี นโครงเรือ่ งเสร็จแลวเพราะ ความลงทายจะทําหนา ทีย่ ้าํ ความสําคัญของเรอ่ื ง ชว ยใหผ ูอา นจดจาํ สาระสําคัญในเรื่องน้ีได หรือชวยใหผู อานเขาใจจุดประสงคของผูเขยี นอกี ดวย วิธกี ารเขยี นความลงทายอาจทําไดด งั น้ี 1. สรุปความทั้งหมดทน่ี าํ เสนอในเรอ่ื ง ใหไ ดส าระสําคัญอยางชัดเจน 2. นาํ เรอ่ื งทเี่ ปนสวนสาํ คญั ทสี่ ดุ ในเนอ้ื เรอ่ื งมากลาวยาํ้ ตามจุดประสงคของเรอ่ื ง 3. เลอื กคาํ กลาวทน่ี าเชื่อถือ สุภาษิต คําคมทส่ี อดคลองกบั เรอ่ื งมาเปนความลงทา ย 4. ฝากขอคดิ และแนวปฏบิ ตั ใิ หก บั ผอู าน เพอ่ื นาํ ไปพจิ ารณาและปฏบิ ัติ 5. เสนอแนวคดิ หรอื ขอใครค รวญลกั ษณะปลายเปดใหผูอานนาํ ไปคิดและใครค รวญตอ ลักษณะของเรยี งความท่ีดี ควรมลี กั ษณะท่ีเปน เอกภาพ สัมพันธภาพ และสารตั ถภาพ เอกภาพ คอื ความเปน อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั ของเรอ่ื งไมเ ขยี นนอกเรอ่ื ง สัมพันธภาพ คือ มีความสัมพันธก ันตลอดเร่ือง หมายถึงขอ ความแตล ะขอ ความหรือแตล ะย อหนา จะตอ งมีความสมั พันธเก่ยี วเนอ่ื งกนั โดยตลอด สารัตถภาพ คือ การเนน สาระสําคัญของยอหนาแตละยอหนาและของเร่ืองทัง้ หมดโดยใชถ อ ย คาํ ประโยค ขอ ความท่ีกระชับ ชดั เจน ส่อื ความเรอ่ื งทั้งหมดไดเ ปน อยางดีย่ิง การเขยี นยอความ การยอความ คือการนําเรื่องราวตา งๆ มาเขียนใหมดว ยสํานวนภาษาของผูย อเอง เม่ือเขียนแลว เนือ้ ความเดิมจะสั้นลง แตยังมีใจความสําคัญครบถวนสมบูรณ การยอความนี้ ไมม ีขอบเขตวา ควรจะส้ัน หรือยาวเทา ใดจึงจะเหมาะ เพราะบางเรือ่ งมีพลความมากก็ยอลงไปไดมาก แตบ างเรือ่ งมีใจความสําคัญ มาก ก็อาจยอได 1 ใน 2 หรอื 1 ใน 3 หรือ 1 ใน 4 ของเรอ่ื งเดมิ ตามแตผูยอจะเหน็ สมควร ใจความสําคัญ คือ ขอความสําคัญในการพูดหรือการเขียน พลความ คือขอ ความที่เปน รายละเอียดนํามาขยายใจความสําคญั ใหชดั เจนยิ่งข้ึน ถาตดั ออกผฟู งหรอื ผูอา นก็ยังเขา ใจเรอ่ื งนนั้ ได
90 | ห น า หลกั การยอความ จากสง่ิ ทไ่ี ดอาน ไดฟง 1. อา นเนอ้ื เรอ่ื งที่จะยอ ใหเขา ใจ อาจมากกวา 1 เท่ียวกไ็ ด 2. เมือ่ เขา ใจเรื่องดีแลว จึงจับใจความสําคัญทีละยอ หนา เพราะ 1 ยอ หนา จะมีใจความสําคัญอย างเดยี ว 3. นาํ ใจความสําคญั แตล ะยอ หนา มาเขยี นใหมดวยภาษาของตนเอง โดยคาํ นึงถึงสิง่ ตา งๆ ดงั น้ี 3.1 ไมใชอ ักษรยอในขอความทย่ี อ 3.2 ถา มีคําราชาศัพทในเรอ่ื งใหคงไวไมตองแปลออกเปน คาํ สามัญ 3.3 จะไมใ ชเครื่องหมายตา งๆ ในขอ ความท่ยี อ เชน อญั ประกาศ 3.4 เนอ้ื เรอ่ื งท่ยี อแลว โดยปกติเขยี นตดิ ตอกันในยอหนาเดียวและควรมีความยาวประมาณ 1 ใน 4 ของเรอ่ื งเดมิ 4. คํานาํ ในการอา นยอความ ใหใชแ บบคาํ นาํ ยอ ความ ตามประเภทของเรื่องท่ีจะยอ โดยเขียนคํา นาํ ไวยอหนาแรก แลวจงึ เขยี นขอความทย่ี อในยอหนา ตอไป การเขยี นบนั ทกึ การเขียนบันทึกเปนวิธีการเรียนรูแ ละจดจําท่ีดี นอกจากนี้ขอมูลท่ีถูกบันทึกไวยังสามารถนําไป เปนหลกั ฐานอา งองิ เพอื่ ประโยชนอนื่ ตอ ไป เชน การจดบันทึกจาการฟง การบันทึกจากการฟงหรือการประสบพบเห็นดวยตนเอง ยอ มกอ ใหเ กิดความรู ในที่น้ีใครข อ แนะนาํ วธิ ีจดบนั ทกึ จากการฟง และจากประสบการณตรง เพ่ือผูเ รยี นจะสามารถนาํ ไปใชป ระโยชนในการ ศึกษาดวยตนเองไดว ธิ ีหนง่ึ วิธีจดบนั ทกึ จาการฟง การจดบนั ทกึ จาการฟงจะไดผ ลดีเพยี งใดข้ึนอยูกับสมรรถภาพในการฟงของผูจ ดบันทึกในขณะ ท่ีฟงอยูน้ัน เราไมส ามารถจดจําคําพดู ไดทุกคํา ดังน้ันวิธีจดบันทึกจากการฟง จึงจําเปนตอ งรูจักเลือกจด เฉพาะประเด็นสําคัญ ใชห ลักการอยา งเดียวกับการยอความน่ันเอง กลาวคือตอ งสามารถแยกใจความ สําคัญออกจากพลความได ขอความตอนใดท่ีไมส ําคัญหรือไมเก่ียวของกับเรื่องน้ันโดยตรงก็ไมจําเปน ต องจดและวธิ กี ารจดอาจใชอักษรยอ หรอื เครื่องหมายที่ใชกนั ทวั่ ไปเพื่อบันทึกไวไดอ ยา งรวดเรว็ เชน ร.ร. แทน โรงเรยี น
ห น า | 91 ร.1 แทน รัชกาลที่ 1 > แทน มากกวา ผูเรยี นอาจใชอักษรยอหรือเครื่องหมายของผูเรียนเองโดยเฉพาะ แตทั้งนี้จะตองใหเปน ระบบจะ ไดไมสับสนภายหลงั ผูฟ ง จับความรูสึกหรือเจตนาของผูพ ูดในขณะที่ฟง ดว ยวา มีจุดประสงคเชนไร เมื่อบันทึก ใจความสาํ คญั ไดค รบถว นแลว ควรนําใจความสําคัญเหลา น้ันมาเรียบเรียงเสียใหม อน่ึงในการเรียบเรียงน้ี อยา ทิ้งเวลาใหเ น่ินนานจนเกินไป เพราะผูจดยังสามารถจําขอ ความบางตอนท่ีไมไ ดจดไว จะไดเ พ่ิมเติม ความรแู ละความคดิ ไดอ ยา งสมบรู ณ บนั ทึกการประชุม การดําเนินกิจกรรมตางๆ ในปจ จุบันมักจะมีการประชุมเพ่ือปรึกษาหารือกันกอ นเสมอและในการ ประชุมทุกครัง้ จะตองมีผูจดบันทึกการประชุมเพ่ือเปนหลักฐาน บันทึกการประชุมมีรูปแบบดังตัวอยา งต อไปน้ี
92 | ห น า บนั ทึกการประชมุ การประชุม (ลงช่ือคณะกรรมการหรอื ชือ่ การประชุมนน้ั ๆ) ครั้งที่ (ลงคร้ังทปี่ ระชุม) เมือ่ (ลงวนั ท่ี เดอื น พ.ศ. ทปี่ ระชุม) ณ (ลงชื่อสถานทีท่ ป่ี ระชุม) ผูเขา ประชุม 1. เขียนชือ่ ผูมาประชุม.................................................................................... 2. .................................................................................................................. 3. .................................................................................................................. ฯลฯ ผูขาดประชุม 1. เขยี นรายชอ่ื หรอื จาํ นวนผูท่ไี มม าประชุม....................................................... 2. .................................................................................................................. 3. .................................................................................................................. ฯลฯ เรม่ิ ประชมุ เวลา (ลงเวลาท่เี ร่ิมประชุม) ขอ ความ(เร่มิ ดวยประธานกลา วเปดการประชุม การอา นรายงาน (บันทึก)การประชุมครัง้ ที่แลว( ถามี) ที่ประชุมรับรองหรือแกไ ขอยา งไร แลวถึงเรื่องท่ีจะประชุมถามีหลายเรื่องใหย กเร่ืองท่ี 1 เรื่องท่ี 2 และตอ ๆ ไปตามลําดับ และใหม มี ตขิ องทีป่ ระชุม(ทกุ เรอ่ื ง) เลกิ ประชุม (ลงเวลาเลกิ ประชุม).................................................................................. (ลงชอ่ื ...................................................ผบู ันทกึ การประชุม ศัพทเ ฉพาะท่ใี ชในกิจกรรมการประชมุ ทค่ี วรรบู างคาํ 1. ผเู ขาประชมุ หมายถึง ผทู ่ีไดร บั เชิญหรือไดรบั การแตงตง้ั ใหเ ปน ผูมสี ิทธิเขา ประชุม เพ่อื ทําหนาท่ีตา งๆ เช นทาํ หนาทเี่ ปนผนู าํ การประชุม เปนผูเสนอความคดิ เหน็ ตอที่ประชุม เปน ผจู ดบนั ทกึ การประชุม เปน ตน
ห น า | 93 2. วาระ หมายถึง เรื่องหรือหัวขอ หรือประเด็นปญหาตางๆ ที่ตองหาคําตอบ หาขอยุติหรือวิธีแกไข โดยจดั เรียงลาํ ดบั เรอ่ื งตามความเหมาะสม 3. ขอเสนอ ในการประชุมถาขอใหที่ประชุมพิจารณาเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง มีศัพทเฉพาะเพื่อใชบอกความ ประสงควา เสนอและเรยี กเรอ่ื งที่เสนอวา ขอเสนอ 4. สนบั สนนุ คดั คาน อภิปราย ขอเสนอที่มผี ูเ สนอตอ ทป่ี ระชมุ น้ัน ผเู ขาประชุมมีสิทธิเห็นดวยหรือไมเ ห็นดว ยก็ได ถา เห็นด วยเรียกวาสนับสนุน ไมเห็นดว ยเรียกวาคัดคา น การแสดงความคิดเห็น เพื่อสนับสนุนหรือคัดคา นขอ เส นอเรียกวา การอภิปรายใหตรงประเดน็ และมีเหตุผลสนบั สนนุ อยางชดั เจน 5. มติ คือ ขอตดั สนิ ใจของท่ีประชุมเพอ่ื นาํ ไปปฏบิ ัติ เรียกวา มติท่ปี ระชมุ การเขียนบันทกึ ประจาํ วนั วธิ ีเขยี นอาจแตกตา งกันออกไป แตมแี นวทางในการเขยี น ดงั น้ี 1. บันทกึ เปนประจาํ ทกุ วนั ตามความเปนจรงิ โดยมสี มดุ บนั ทกึ ตางหาก 1 เลม 2. บอกวนั เดอื นปท่บี นั ทึกไวอยางชดั เจน 3. การบนั ทึกอาจเริ่มจากเชาไปค่าํ โดยบนั ทกึ เรอ่ื งทส่ี ําคัญและนา สนใจ 4. การบนั ทึกอาจแสดงทรรศนะและความรูส กึ สวนตวั ลงไปดว ย 5. การใชภ าษาไมม ีรูปแบบตายตัว สว นใหญใ ชภาษางา ยๆ สนุกสนาน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความ พอใจและบคุ ลกิ ของผบู นั ทกึ เอง วธิ จี ดบนั ทกึ จากประสบการณต รง ความรูบ างอยา งเราไมอ าจหาไดจ ากการอา นหรือการฟง ตองอาศัยการไปดูและสังเกตดว ยตน เอง เรียนจากประสบการณต รง วิธีการจดบันทึกจากการสังเกตของจริงน้ันคลายกับการบันทึกจากการอ านและการฟงนั่นเอง กลา วคือ เราตองรูจักสังเกตสิ่งท่ีสําคัญๆสังเกตดูความสัมพันธของสิ่งตา งๆ ที่เรา เหน็ นัน้ วา เก่ียวขอ งกันอยางไรมีลักษณะอยางไร แลวบันทึกเปนขอ มูลไวในสวนของขอ สงสัยหรือความ คิดเห็นเราอาจบันทึกไว เมื่อนําบันทึกท่ีไดจากการสังเกตมาเรียบเรียงใหมน้ันควรระบุเรื่องที่จะบันทึก วัน เวลา สถานที่ หากมีขอสังเกตหรือมาเรียบเรียงใหมน ้ัน ควรระบุเรื่องที่จะบันทึก วัน เวลา สถานที่
94 | ห น า หากมีขอสังเกตหรือความคิดเห็นประการใด ใหเรียบเรียงไวในตอนทาย ท้ังนี้ควรเขียนใหร วบรัดให รายละเอียดเฉพาะทจี่ าํ เปน และไมใชถ อยคาํ ท่ฟี ุมเฟอ ย ในชีวิตประจําวันเราไดรับสารจากวิธีการสือ่ สารหลายประเภท ไมว าจะเปนหนังสือ วิทยุ โทร ทัศน หรืออาจเปน ส่ิงท่ีเราไดเห็นและประสบมาดว ยตนเอง ถาเราเพียงแตจดจําส่ิงเหลานั้นโดยไมไดจ ด บนั ทึกก็อาจจะลืมและอยไู ดไ มน าน แตถ า มีการจดบนั ทกึ ไวก็จะชวยใหอ ยูไ ดนานวนั ข้ึน การเขียนรายงาน รายงานการศึกษาคน ควา เปนการเขียนเสนอเพื่อรายงานการศึกษาคน ควาเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง โดยเฉพาะ โดยกอ นเขียนจะตอ งมีการศึกษาคน ควา จัดระบบและเรียบเรียงเปนอยา งดีขั้นตอนการเขียน รายงานการคน ควา 1. เลือกเร่ืองหรือประเด็นที่จะเขียน ซึ่งเปน เร่ืองท่ีตนสนใจ กําลังเปนท่ีกลา วถึงในขณะนั้น เรอ่ื งแปลกใหมน า สนใจ จะไดรบั ความสนใจมากขึ้น 2. กาํ หนดขอบเขตทีจ่ ะเขยี นไมก วา งหรอื แคบจนเกนิ ไป สามารถจดั ทําไดใ นเวลาทีก่ าํ หนด 3. ศึกษาคน ควาและเก็บรวบรวมขอมูลอยา งเพียงพอทั้งจากเอกสาร การสัมภาษณ การสังเกต หรอื จากส่ือมวลชนตา งๆ เปนตน 4. บันทึกขอ มูลท่ีไดคนควาพรอ มแหลงที่มาของขอมูลอยางละเอียด โดยจดบันทึกลงในบัตร หรอื สมุดบันทกึ ทัง้ น้เี พือ่ นํามาเขยี นเชงิ อรรถและบรรณานกุ รมในภายหลัง 5. เขยี นโครงเรอ่ื งอยา งละเอยี ด โดยลําดับหวั ขอ ตา งๆ อยางเหมาะสม 6. เรยี บเรยี งเปน รายงานที่เหมาะสม โดยมรี ูปแบบของรายงานที่สาํ คัญ 3 สวนคอื 6.1 สวนประกอบตอนตน 6.1.1 หนา ปกรายงาน 6.1.2 คํานํา 6.1.3 สารบัญ 6.1.4 บัญชีตาราง หรอื ภาพประกอบ (ถามี) 6.2 สว นเนอ้ื เรอ่ื ง 6.2.1 สวนทเ่ี ปนเนอ้ื หา 6.2.2 สว นประกอบในเนอ้ื หา 6.2.2.1 อญั ประกาศ 6.2.2.2 เชงิ อรรถ 6.2.2.3 ตารางหรอื ภาพประกอบ (ถามี) 6.3 สว นประกอบตอนทา ย
ห น า | 95 6.3.1 บรรณานกุ รม 6.3.2 ภาคผนวกหรอื อภิธานศพั ท (ถา มี) การใชภาษาในการเขียนรายงาน 1. ใชภาษากะทัดรัด เขาใจงา ย และตรงไปตรงมา 2. ใชภาษามาตรฐาน ตามธรรมเนยี มนยิ ม 3. เวน วรรคตอนอยางถูกตอ งเหมาะสม เพอ่ื ใหเนอ้ื ความกระจา งชดั เขา ใจงาย 4. การเขียนทั่วๆไป ควรใชศ ัพทธรรมดา แตในกรณีท่ีตอ งใชศ ัพทเ ฉพาะวิชา ควรใชศ ัพทท่ีได รบั การรบั รองแลวในแขนงวชิ านน้ั ๆ โดยเฉพาะอยางยงิ่ ศพั ทซ งึ่ คณะกรรมการบญั ญัติศัพทภ าษาไทย ของ ราชบญั ฑิตสถานไดบ ญั ญตั ไิ วแ ลว 5. การเขียนยอหนาหนึง่ ๆ จะตองมีใจความสําคัญเพียงอยา งเดียว และแตละยอ หนา จะตอ งมี ความสมั พันธตอเนอ่ื งกนั ไปจนจบ การเขียนประกาศ ประกาศ หมายถึง การบอกกลาวหรอื ชแี้ จงเรอ่ื งราวตา งๆ ใหสาธารณชนหรือผูเก่ียวขอ งทราบ ผู รับขอ มูลไดทราบจากสือ่ มวลชนตางๆ เชน วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ หรือจากฝายโฆษณาใบปลิว เป นตน ลักษณะของประกาศทผ่ี ูเขยี นจะไดพบเสมอๆ แบงไดเปน 2 แบบ คือ 1. แบบประกาศท่ีเปน ทางการ ประกาศลักษณะน้มี กั ออกจากหนวยงานราชการรัฐวิสาหกิจหรือ องคก รตางๆ สวนมากจะเปนเรอ่ื งเกี่ยวกับกลุมคนสวนใหญ รูปแบบการเขียนมักจะมีประเด็นสําคัญ ดังน้ี คือ 1.1 ชือ่ หนว ยงานหรอื องคก รทีอ่ อกประกาศ 1.2 เรอ่ื งที่ประกาศ 1.3 เนอ้ื ความทป่ี ระกาศ สวนใหญจะมีรายละเอียดอยางนอ ย 2 สวนคือ 1.3.1 เหตผุ ลความเปนมา 1.3.2 รายละเอียด เงอ่ื นไข และขอเสนอแนะตา งๆ 1.4 วนั เดอื นปที่ประกาศน้นั จะมผี ลบังคับใชนับต้ังแตเวลาท่ีปรากฏในประกาศ 1.4.1 การลงนามผูป ระกาศ คือผูมีอํานาจในหนว ยงานท่ีเปน เจา ของ ประกาศนั้น 1.4.2 ตาํ แหนง ของผปู ระกาศ
96 | ห น า 2. ประกาศท่ีไมเปน ทางการ ประกาศลักษณะน้ีมักออกจากบริษัท หา งราน หรือของบุคคลใด บุคคลหน่ึง จะมีจุดประสงคเ ฉพาะเรื่อง เชน ประกาศรับสมัครงาน ประกาศของหาย ประกาศลักษณะน้ี จะมีเฉพาะขอ มูลท่ีจําเปน ท้ังนี้สว นใหญจ ะเปน การประกาศในหนาหนังสือพิมพซึ่งตองประหยัดเนื้อท่ี โฆษณา เนอ่ื งจากคา โฆษณามรี าคาสูง การเขียนโฆษณา การโฆษณาสินคาบริการเปนการสงสารโนม นา วใจตอ สาธารณชน เพื่อประโยชนืในการขาย สนิ คา หรอื บริการตางๆ ซ่งึ มีลักษณะดงั น้ี 1. บทโฆษณาจะมีสว นนําท่ีสะดุดหู สะดุดตา ซึ่งมีผลทําใหส ะดุดใจสาธารณชน ดว ยการใชถ อยคาํ แปลกๆ ใหมๆ อาจเปน คําสัมผสั อกั ษร คําเลยี นเสยี งธรรมชาติ 2. ไมใ ชถอ ยคาํ ที่ยดื ยาว ครอบคลมุ เน้ือหาอยางครบถว น มกั ใชเปนรปู ประโยคสนั้ ๆ หรือวลีส้ันๆ ทําใหผ อู านรบั รูไ ดอยางฉับพลัน 3. เนื้อหาจะช้ีใหเห็นถึงความดี วิเศษของคุณภาพ ของสินคา หรือบริการ สวนมากจะเนน ความ เปนจรงิ เชน “ทนทานปานเหลก็ เพชร” 4. ผูโฆษณาจะพยายามจับจุดออ นของมนุษย โดยจะโนม นา วใจในทํานองท่ีวาถา ใช เครื่องสําอางคชนดิ น้แี ลว ผวิ พรรณจะเปลง ปลงั่ บา ง เรอื นรา งจะสวยมเี สนห บ า ง 5. เนอ้ื หาสารโฆษณา มกั ขาดเหตผุ ล ขาดความถกู ตอ งทางวิชาการ 6. สารโฆษณาจะปรากฏทางส่ือชนดิ ตา งๆ ซ้ําๆ กันหลายครง้ั หลายหน การเขียนคาํ อวยพร พร คือ คําท่ีแสดงความปรารถนาดี ที่บุคคลจะพึงกลาวแกผ ูอ ่ืน ในการเขียนคําอวยพรตอ งเขียน ใหเ หมาะสมกับโอกาส เชน อวยพรในวันข้ึนปใหม อวยพรในการทําบุญขึ้นบานใหม อวยพรในงาน มงคลสมรส อวยพรผทู ีล่ าไปศึกษาตอ ณ ตางประเทศ นอกจากคํานึงถึงโอกาสที่จะกลาวคําอวยพรแลว ตองคํานึงถึงบุคคลที่จะรับพรวาเปนผูอยูใ น ฐานะใด เปน คนเสมอกนั หรอื เปนผมู ีอาวโุ สสูงกวาหรือต่าํ กวาผูพูด คําอวยพรมีใหเ ปน รายบุคคลหรือให แกห มูคณะทง้ั น้เี พอ่ื จะไดเลอื กใชถอยคาํ ใหถกู ตอ งเหมาะสมเปนกรณีไป มขี อเสนอแนะดงั น้ี 1. ในการแตงคําอวยพรสาํ หรบั โอกาสตางๆ พรทใี่ หกันก็มักเปน สิง่ อนั พงึ ปรารถนา เชน พรส่ี ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ความสําเร็จในกิจการงาน ความสมหวัง ความมีเกียรติ เปนตน ท้ังน้ี แลวแตผูอ วยพรจะเห็นวา สิ่งใดเหมาะสมที่จะนํามากลา ว โดยเลือกหาคําที่ไพเราะ มีความหมายดี มาใช แตงใหไ ดเ นอ้ื ความตามทีป่ ระสงค
ห น า | 97 2. ถา เปนการอวยพรญาติมติ ร ท่ีมีอายุอยูในวัยใกลเคียงกันก็กลาวอวยพรไดเลย แตถา เปน ผูท่ีสู งกวาดวยวัยวุฒิ คุณวุฒิ และชาติวุฒิ ก็ควรอางสิ่งท่ีตนเคารพนับถือ หากเปน พุทธศาสนิกชนก็ อา งคุณพระศรีรตั นตรยั ใหดลบนั ดาลพร เพอ่ื ความเปน สิริมงคลแกผูท ่ไี ดรบั พร การเขียนโครงการ การทํางานขององคกรหรือหนวยงานตางๆ น้ันจําเปนตองมีโครงการเพื่อบอกเหตุผลของการ ทํางานน้ัน บอกวัตถุประสงค เปาหมาย วิธีการดําเนินงาน ระยะเวลา สถานที่ งบประมาณที่ใช บุคคลท่ี รับผิดชอบ เพ่ือใหการทํางานนัน้ ดําเนินไปดวยดี ขอใหด ูตัวอยา งโครงการและศึกษาแนวการเขียน โครงการในแตละหวั ขอ ใหเ ขา ใจ
98 | ห น า ยกตวั อยา งโครงการท่เี ปน ปจ จบุ นั โครงการประชมุ สมั มนาคณะกรรรมการบรหิ ารองคก ารบรหิ ารสวนตาํ บล (อบต.) ภาคตะวนั ออก ประจําปงบประมาณ 2551 ……………………………………. 1. หลกั การและเหตผุ ล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 8 ไดกําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศท้ัง ในทศวรรษหนาและในชวง พ.ศ. 2540-2544 ใหเนน คนเปน ศูนยกลาง หรือเปนจุดหมายหลักของการ พัฒนา ท้ังนี้เพ่ือนําไปสูวิสัยทัศน “ครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง สังคมมีสมรรถภาพ เสรีภาพ ความ ยุติธรรม และมีการพัฒนาที่สมดุล บนพื้นฐานของความเปนไทย” ซ่ึงจะเปนการพัฒนาในลักษณะท่ี ตอเนอ่ื งและย่งั ยนื ทําใหคนไทยสวนใหญม คี วามสุขท่แี ทจริงในระยะยาว และองคการบริหารสวนตําบล ซ่ึงเปนหนว ยงานบริหารราชการสว นทองถ่ินที่จัดข้ึนตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหาร สว นตําบล พ.ศ. 2537 มีหนาที่ในการสง เสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สง เสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน โดยมีอํานาจอิสระในการดําเนินกิจกรรม กําหนดแผนงาน และการใชงบประมาณของตน เอง หากองคก ารบริหารสวนตํากลไดร ว มจัดและสงเสริมการศึกษาในตําบลอยางแทจ ริงแลวก็จะทําให การพัฒนาคุณภาพของคนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ทัดเทียมมานานาอารยประเทศที่เจริญแลว กรมการศึกษานอกโรงเรียนจึงไดรวมกับสํานักคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ มอบหมายให ศนู ยก ารศึกษานอกโรงเรยี นภาคตะวนั ออกจดั สัมมนาคณะกรรมการบริหารองคการบริหารสวนตําบลข้นึ 2. วัตถปุ ระสงค 2.1 เพ่ือใหคณะกรรมการบริหาร อบต. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการศึกษาทั้งในระบบ โรงเรยี นและนอกระบบโรงเรยี น 2.2 เพื่อใหค ณะกรรมการบริหาร อบต. มีสวนรวมในการวางแผน และจัดกิจกรรมการศึกษา ในระบบโรงเรยี นและการศึกษานอกระบบโรงเรยี น 2.3 เพื่อใหค ณะกรรมการบริหาร อบต. มีความเขาใจเก่ียวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับท่ี 8 มีสว นในการพัฒนาสังคม เด็ก สตรี และครอบครัว รวมกบั ศูนยบรหิ ารนอกโรงเรยี นอาํ เภอ(ศบอ.) และเกดิ การขยายผลอยางตอ เนอ่ื ง 3. เปา หมาย 3.1 เชงิ ปริมาณ กลุม เปา หมายทง้ั สน้ิ 115 คน ประกอบดว ย 3.1.1 ประธาน อบต. จงั หวดั ละ 3 คน 9 จงั หวดั จาํ นวน 27 คน 3.1.2 ปลดั อบต.จงั หวดั ละ 3 คน 9จงั หวดั จาํ นวน 27 คน
ห น า | 99 3.1.3 หน.ศบอ. จงั หวดั ละ 3 คน 9 จงั หวดั จาํ นวน 27 คน 3.1.4 ผูอ าํ นวยการศนู ยก ารศึกษานอกโรงเรยี น จงั หวดั (ศนจ.) จาํ นวน 9 คน 3.1.5 เจา หนาทศี่ นู ยการศึกษานอกโรงเรยี นจงั หวดั จาํ นวน 9 คน 3.1.6 เจา หนาท่ีศนู ยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นภาคตะวนั ออก จาํ นวน 7 คน 3.1.7 พนักงานขบั รถยนต ของ ศนจ. จาํ นวน 9 คน รวม 115 คน 3.2 เชงิ คณุ ภาพ กลุมเปา หมายมีความรูค วามเขา ใจเกี่ยวกับงานการศึกษามีสวนรว มในการสนับสนุนและจัดการ ศึกษาท้ังในระบบและนอกระบบโรงเรียน เพื่อพัฒนาสังคม เด็ก สตรี และครอบครัวอยางแทจริงและ ขยายผลอยา งตอเนอ่ื ง 4. วธิ ีดาํ เนนิ การ 4.1 ขนั้ เตรียมการ 4.1.1 ศึกษา สาํ รวจ รวบรวมขอ มลู 4.1.2 ขออนมุ ตั ิโครงการ 4.1.3 ประสานงานผูเกี่ยวขอ ง 4.1.4 ดาํ เนนิ การประชุมสัมมนา 4.2 ข้นั ดาํ เนนิ การ 4.2.1 จดั ประชุมสัมมนาจาํ นวน 2 วนั 4.2.2 รวบรวมแผนพฒั นาของ อบต. เกี่ยวกบั การจดั การศึกษา เพ่ือนาํ เสนอผูเ ก่ียวขอ ง 4.2.3 ตดิ ตาม ประเมินผลการดาํ เนนิ งานรวมกบั หนว ยงานท่ีเกยี่ วของ 5. ระยะเวลา/สถานท่ ี 5.1 จัดประชุมสัมมนา ระหวางวันท่ี 24-25 สิงหาคม 2551 ณ โรงแรมสตาร อําเภอเมือง จังหวัด ระยอง 5.2 ตดิ ตาม ประเมนิ ผล ภายในเดอื นกันยายน 2551 พนื้ ท่ี 9 จงั หวดั ในภาคตะวนั ออก 6. งบประมาณ ใชงบประมาณประจําป 2551 หมวดคาตอบแทน ใชส อย วัสดุ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษานอก โรงเรยี น กรมการศึกษานอกโรงเรยี น จาํ นวนเงนิ 140,000 บาท มีรายละเอียดดงั น้ี คาใชสอยและวสั ดุในการประชุมสัมมนา - คา ท่ีพัก 115x425 = 48,875.- บาท
100 | ห น า - คาอาหารวางและเครื่องดืม่ 115x100x2 = 23,000.- บาท - คา อาหรกลางวัน 115x120x2 = 27,600.- บาท - คา อาหารเยน็ 115x150 = 17,250.- บาท - คา ตอบแทนวิทยากร 600x2 ชั่วโมง = 1,200.- บาท - คาตอบแทนวิทยากร 600x1.5 ชัว่ โมง = 450.- บาท - คานา้ํ มันเชอ้ื เพลงิ = 1,000.- บาท - คา วสั ดุ = 20,675.- บาท หมายเหตุ ทุกรายการขอถวั จายตามทจี่ ายจรงิ 7. เครอื ขา ย/หนวยงานท่ีเกย่ี วของ - ศนู ยการศึกษานอกโรงเรยี นจงั หวดั ในภาคตะวนั ออก - ศนู ยบริการการศึกษานอกโรงเรยี นอาํ เภอในภาคตะวนั ออก - หนวยงานสงั กดั กรมการปกครองในภาคตะวนั ออก 8. การประเมินผลโครงการ - ประเมินระหวา งการประชุมสัมมนา - ประเมินหลงั การประชุมสัมมนา - สรปุ และรายงานผลการประชุมสัมมนา 9. ผูร บั ผดิ ชอบโครงการ นางญาณศิ า เจรีรตั น งานโครงการพเิ ศษ ฝา ยนโยบายและแผนงาน ศนู ยก ารศึกษานอกโรงเรยี นภาคตะวนั ออก 10. ความสัมพนั ธก บั โครงการอืน่ - โครงการพฒั นาเครอื ขาย - โครงการพฒั นาบุคลากร - โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานอกโรงเรยี น - โครงการจดั กจิ กรรมการศึกษานอกโรงเรยี นในศนู ยก ารเรยี นชุมชน (ศรช.) 11. ผลทคี่ าดวา จะไดรบั ศบอ.มีสวนในการวางแผนพัฒนาการจัดการศึกษานอกโรงเรียน รว มกับ อบต.ไดตรงตาม นโยบายของรัฐบาล ตลอดทัง้ สามารถขยายผลการพฒั นาในพน้ื ทไ่ี ดอยางมปี ระสทิ ธผิ ล ผูขออนมุ ตั ิโครงการ ผเู หน็ ชอบโครงการ ผอู นมุ ตั โิ ครงการ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172