ฃทสจflsรรีกผีพระธรรมกาย รมฺ»ทายานสฺสคิกทา ฑกไท่ฬเรฝืวค»นflutJa ฉฟ้บห8พระสชุคไ)ปึรญาน น8ะทลกรธาจารก หลักที่ £๔ www.kalyanamitra.org
บทศวดระลกรงพระฮรรมภาย ฮมุมกายานุสสฅิกทา จากหนังสิอศวดมนต์นปล ฉนับหอหระศชุควขิรญาณ ร.ศ.©๒๘ นละ หลักสิลาจารึก หลักfl ๕๔ นงลโดย ศาลตราจารย์ ฉา ทองคำวรรณ ลัดสิมห์ มอบเป็นธรรมบรรณาการ โดย คณะกรรมการลัดงานฉลองมหาธรรมกายเจสิย์ ครั้งที่ © ลันเลาร์ที่ ๒๒ เมษายน ทุทธสิกราข ๒๕๔ท www.kalyanamitra.org
๒ บทสวดระลึกถึงพระธ77มma ธัมมกายานุสสติกถา ธัมมกายพุทธลักขณัง อันว่าพระพุทธญาณต่างๆ อันพระพุทธองค์ เปรียบเทียบควยพระพุทธลักษณะแล้ว แลตรัส เทศนาโดยนามบัญญัติ ชื่อว่าพระธรรมกาย ลัพฟัญณุตญาณปวรสีลัง รพระเสียรอันประเสริฐ คือพระสัพฟัญญตญาณ นิพพานารัมมณปวรวิลสิตเกลัง รพระเกศางามประเสริฐ คือพระนิพพาน อัน เป็นอารมณ์แห่งผลสมาบัติ จตุตลัชฌานปวรลลาฏัง รพระนลาฏอันประเสริฐ คือ จลุตถฌาน วชิรสมาป้ตติญาณปวรอุณณาภาลัง รพระธุณาโลมอันประเสริฐ ประกอบด้วยพระ รัศร คือพระ!]ญญา ในมหาวชิรสมาบัติ www.kalyanamitra.org
ท ธมุมกาซาyสฺสติกถา นีลกสิณโสภาติกกันตปวรภมุอุคลัง มีลู่แห่งพระขนงอันประเสริฐล่วงโลก คือพระ ปีญญา อันประพฤติเป็นไปในนีลกสิณ ทิพพจักขุ ป้ญญๆจักขุ สมันตจักขุ ทุทธจักขุ ธัมมจักขุ ปวรจักขุทวยัง มีคู่แห่งพระเนตรอันประเสริฐ คือจักขุญาณ ๕ ประการคือทิพจักขุญาณ๑ ทศพลญาณ๑ สัพ ฟัญญตญาณ๑ พระปีญญาแจ้งในทุทธ-ประเพณี ๑ พระปีญญาแจ้งในพระสัทธรรมไม่มีที่เหลือ ๑ เป็นจักขุญาณ ๕ ประการควยอัน แลพระธรรม กายา4น ทิพพโสตญาณปวรโสตทวยัง มีดู่แห่งพระโสตอันประเสริฐ คือทิพพโสตญาณ โคตรภูญาณปวรอุตุงคฆานัง มีพระนาสิกประเสริฐสูง คือโคตรถูญาณ cf สัญสักบฒ์ปีใไ^ซซกเรซงกึ๋งหนึ๋ง www.kalyanamitra.org
๔ บทสวฅระลึกถึงพระธรรมกาซ มัคคผลวิมุตติผลณาณปวรคัณฑทวยัง มีดู่แห่งพระปรางสันประเสริฐ คือพระญาณสัน ประพฤติเปีนไปในผลแห่งอริยมรรค และผลแห่ง วมุตตธรรม สัตตตึงสปวรโพธิปีกฃิยฌาณปวรสุภทันตา มีพระทนต์สันงามประเสริฐ คือพระโพธิป็กขิอ- ธรรม สันประเสริฐ ๓๗ ประการ โลกิยโลกุตตรณาณปวรโอฏฐท็วยัง มีสองริมพระโอษฐ์เบื้องบน และเบื้องตํ่า งาม ประเสริฐ คือพระปีญญา สันเป็นโลกีย์ แล โลคุตตร จตุมัคคญาณปวรจตุทารา มีพระเขี้ยวแก้วทั้ง ๔ สันประเสริฐ คือพระ จตุมรรคญาณ จตุสัจจณาณปวรชิวหา มีพระชิวหาสันงามประเสริฐ คือพระปีญญาสัน www.kalyanamitra.org
๙ ธมุมกาซาyt{สติกถา เห็นแจ้งในพระจสุราริยสัจจะ อัปปฏิหตณาณปวรหนุกัง รพระหนุประเทศอันงามประเสริฐ คือพระญาณ อันตรัสเตลอดไป ไม่รที่จะฃัดจะจ้อง อนุตตรวิโมกขาธิคมนณาณปวรกัณฐัง มีปสัองพระศออันประเสริฐ คือพระญาณ อัน ตรัสเวิโมกฃธรรม อันเปีนพระโลคุตตร ติลักขณฌาณปวรวิลสิตคีววิราชิตัง รลำพระศออันรุ่งเรืองงามประเสริฐ คือพระไตร สักษณญาณ จตุเวสารัชชณาณปวรพาทุหวยัง รพระพาหาทังสองอันประเสริฐ คือพระจสุ- เวสารัชชญาณ ทสานุสสติณาณปวรวัตตังคุสิโสภา รนิวพระหัตถ์อันกลมงามประเสริฐ คือพระ ปีญญา อันตรัสเพระอนุสสติกรรมฐาน ๑๐ www.kalyanamitra.org
๖ บทสวดระลึกถึงพระธรรมกาย ประการ สัตตสัมโพซฟังคปวรป็ผสุรตสัง มีพื้นพระสุระอันเฅ็มงามประ(ส?ฐ คือพระญาณ อันตรัสเพระสัตตโพชฌงค์ อาสยานศยฌาณปวรถนยคสัง มีดู่(เห่งพระถันอันประเสริฐ คือปีญญา อันเ อัชฌาสัยแห่งสัตว์ทั้งปวง ทสพลณาณปวรฟันฟัมังดัง มีท่ามกลางพระองค์อันประเสริฐ คือทศพล- ญาณ ปฎจจศมุปปาทฌาณปวรนาคื มีพระนาภีอันประเสริฐ คือพระปีญญาอันตรัสเ พระปฎิจจสบุปปาทธรรม ปืญจนทfยป้ณฺจพลปวรชฆนัง มีบั้นพระองค์ คือพระชฆนะประเทศสะเอวอัน ประเสริฐ คือพระปีญญาอันตรัสเพระสัทธาทิ- www.kalyanamitra.org
q/ ธนุมกพาyสฺสฅิกถา อินทรีย์๕ แลพระสัทธาทิพละ ๕ จตุสืมมัปปธานปวรอูรุทวยัง มีลู่แห่งพระเพลาอันประเสรีฐ คือพระญาณอัน ประพฤติเป็นไปในสั3Jมปปธานวิรียะ ๔ ประการ ทสคุสลกัมมปถปวรชังฆทวยัง มีดู่แห่งพระชงฆ์อันประเสรีฐ คือพระป็ญญาอัน ตรัสเในคลองแห่งทศฤศลกรรมบถ จตุริทธิปาทปวรปาททวยัง มีคู่แห่งพระบาทอันประเสรีฐ คือพระญาณอัน ประพฤติเป็นไปในพระอิทธิบาท ทั้ง๔ประการ แลพระธรรมกายนัน สีลสมาธิป้ณฌาปวรสังฆาฏิ ทรงซึ่งผ้าสังฆาฏิ คือ สืล สมาธิ แลปีญญา หิโรตตัปปฌาณปวรป้งสุกุลจีวรัง ทรงซึ่งมหาปีง!!ฤลจีวร คือพระปีญญา อัน ประพฤติเป็นไป พร้อมด้วยหิรี แลโอตตัปปะ www.kalyanamitra.org
๘ บทสวดระลึกถึงพโะธรรมกาย อัฏฐังคิกมัคคณาณปวรอันตรวาสกัง ทรงซึ่งสบงอันประเสริฐ คือพระญาณ อัน ประพฤติเปีนไปในอัฎฐังคิกมรรค จตุสติป้ฏฐานปวรกายพนธนัง ทรงซึ่งรัดประคดอันประเสริฐ คือพระญาณ อัน ประพฤติ พร้อมในพระสติปีฎฐาน ทั้ง ๔ ประการ ทุทโธ อันว่าพระทุทธเจ้า อัญเญสัง เทวมนุสสานัง อติวิโรจติ ^งเรืองยิ่งกว่าเทพยดา แลมนุษย์ทั้งหลายอื่น ธัมมกาเยนะ ด้วยพระธรรมกาย ตนุตตมังคาทิญานง (ตั้งแต่ไ^ทโธ ถึงใJนัปใJljงอ สริต่'พพัง แปลตามหลักถึลาจารึกหลัก ที่๕๔ โดยศาสตราจารย์ฉํ่า ทองคำวรรm) www.kalyanamitra.org
๙ ธมฺมกาซาyสุสติกถา อันว่าพระญาณที่จัดเป็นพระเสียรเป็นต้นนัน สืพฬญฌุตาทิกัง คือมีพระสัพฟัญญตญาณเป็นอาทิ ธัมมกายมตัง อันพระทุทธองค์ตรัสเรียกว่า พระธรรมกาย ยัสสะ ทุทธัสสะ แห่งพระทุทธเจ้าพระองค์ใด อหํ นเม ข้าพเจ้า (ขอนอบน้อม)ไหว้ ตัง ทุทธัง ซึ่งพระพุทธเจ้าพระองค์ใาน โลกนายกัง ผู้เป็นโลกนายก อิมัง ธัมมกายพุทธลักขณัง อันว่าพระพุทธลักษณะ คือพระธรรมกายนี้ www.kalyanamitra.org
บทสวดระลึกถึงทระธรรมกพ ติกขณาเณนะ โยคาวจรๆลใ^ตเตนะ อันโยคาวจรคุลบุตร ผู้มีญาณอันกล้า สืพหัฌณูพุทธภา'yง •ป็ตเคนเตาเะ เส์อปรารถนา ซึ๋งภาวะแห่งตนเปีนสัพพัญญ- 'บุทธเจ้า ปุนัช'ปุนัง อนุสสริตัพพัง 'พึงระลึกเนืองๆ พุทโอ อัน'ร่าพระโคดมสัมมาสัมบุทธเจ้า ทวาทสหัตโถ พุง ๑๒ ศอก ฉหัตโถ สุณหีโส อัน'ร่าพระอุณหิชอันพุงขึ้น เปรียบประลุจมหา- มงคุฎ ๖ ศอก หัจอัง อัคคิสิขูชโม ประกอบด้วยพระรัศมีประลุจเปลวเพลิง เปีนนิจ www.kalyanamitra.org
«®® ธนฺนกาmxiสฺสฅิกฉ'ไ โส ทุทโธ อันว่าพระโคดมสัมมาสัมทุฑธเจ้า'นน อัฏฐารสโก สห อณหีเสน ภเว สูง๑๘ศอก อับด้วยพระอุณหิษ 'ผึงมี ทุทธรังสิโย อันว่าพระ'^5ทธรัศมี'ทั้งหลาย ฉัพ'พิธา ฉกขันตา มีประการ ๖ 'ชุ่งออก เอกเมกๆยะ โลมายะ อาวฏา มัณฑลา แต่พระโลมาแต่ละเสันๆ เวียนไปเป็นปริมณฑล ทีฆา รัสสา มัณฑสกาอ จะ มีช่ออันยาวบ้าง สั้นบ้าง กลมบ้าง อาธาวนติ จะ วิธารันติ จะ 'ชุ่งไปเบื้องพระ'พักตร์บ้าง 'พุ่งไปจ้างพระองค์บ้าง www.kalyanamitra.org
บทสวดระลึกถึงทระธรรนกพ พุทธรังสิโย อันว่าพระพุทธรัศมีทงหลาย สพพิธา มีประการ ๖ รลา คือ พระรัศมีเขียว อตา คือ พระรัศมีเหลือง โอทาตา คือ พระรัศมีขาว มัญเชฏฐา คือ พระรัศมีแดงส์าลาน ปภัสสรา คือ พระรัศมีเลึ๋อมๆ พรายๆ โลหิตาป็ จะ วัณณาภา คือ พระรัศมีมีพรรณอันแดง www.kalyanamitra.org
รมฺมกา&า^สฺสติกถา ปมุญจันติ เปล่งออก วินายโก อันว่าพระบรมนายกโลกนาถ มเหสี แสวงหาสิลาธิลุณอันประเสริฐ สัพพโลกัคโค ลํ้าเลิศกว่าสรรพสัตว์ เทวเทโว ประเสริฐกว่าเทพยดา อินทร์พรหม นรุตตโม ประเสริฐกว่ามบุษย์ อุตติณโณ โลกสันตาโร ฃ้ามถึงฝืงคือพระนิพพานด้วยพระองค์ อังสัตว์ โลกให้ข้ามถึงฝึง คือพระนิพพาน www.kalyanamitra.org
บทสวดระลึกถึงพระธรรมคาย ชำ นะแก่!]ญจพิธมาร อัปปฏิปุคคโล หาบุคคลจะเปรียบเทียบมิได้ นิรุปปโม หาที่จะอุปมามิได้ ตัสสะ ภควโต รังสี สันว่าพระรัศมี แห่งพระผู้มีพระภาคใ4น สัพพาภรณภูสิตา ประอุจเครื่องสรรพอาภรณ์ ประสับพระองค์ การณัง สันว่าสัจฉริยะเหลุ อัญเญสัง เทวมนุสสานัง แห่งเทพยดา แลมนุษย์ทงหลายอื่น www.kalyanamitra.org
^๑<f ธมุมกาซาใ{สฺสติกถา มัณเ๓ การณัง จะเหมือนด้วยอัจฉริยะเหตุ ทุทธัสสะ เอวะ แห่งสมเด็จพระสัมมาสัมทุทธเจ้าพระองค์เดียว นะ โหติ หา บ มิได้ หมายเหตุ ะ บทสวดนี้ไส์เมุการปรับการวาง2ปสัพท์ใหม่ แต่คงคำแปล ไรัเช่นเดิม เพื่อความสะดวกในการสวด www.kalyanamitra.org
บทสวดระลึกถึงพระธรรมกาซ \"...ธมมกายญจทีเปน.ติ เกวลํ รตนากรํ วิใกเปตํ น สกฺใกน.ติ โก ทิสฺวา นปฺปสิทติฯ\" \"...บุคคลใดยัง \"ธรรมกาย\" ใสัสว่างแล้วทังสิน อันเป็นปอเกิดแห่งรัตนะทังหลาย อันบุคคลทังหลาย ไม่มีเ[ใดจะทำร้ายได้ ใครเล่าเมื่อเห็นแล้วจะไม่ปลาบ- ปลื้มยินดีนั้น ไม่มี\" (ๆ(ททกนิกาซอปทานฟมที๋๓๒ VOoaS ทป!า๒da บรรทัดที a ฉบับบาลีปี๒๕๒๕) คณะกรรมการจัดงานฉลองมหาธรรมกายเจดีย์ครังที่0 จัดพิมพ์ มอบเป็นธรรมบรรณาการ ในโอกาสฉลองมหาธรรมกายเจดีย์ครังที่ a ฌวัดพระธรรมกาย ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี วันที่ ๒๒เมษายน ทุทธศักราช๒๕๔๓ จำ นวน 00๐,๐0๐ เล่ม www.kalyanamitra.org
พุ! \" โ\" ไ^ ร0เะกรรพการจัคงานฉรองมทาธรรมกาขเจคืข์ กรงที่ 0 www.kalyanamitra.org
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: