Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Bอช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ

Bอช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ

Published by mamjang1128, 2020-06-11 23:59:47

Description: Bอช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ

Search

Read the Text Version

94 บทท่ี 3 การตดั สินใจเลือกพัฒนาอาชีพ สาระสาํ คัญ สังคมยุคปจจุบัน มีการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว ในการตอบสนองความ ตองการของบคุ คลและสงั คม กอใหเกดิ ความหลากหลายอันเปนชองทางใหสามารถตัดสินใจเลือก พัฒนาอาชีพใหเหมาะสมกบั ตนเองได ตัวช้วี ดั ตดั สินใจเลอื กพฒั นาอาชีพไดอยางเหมาะสมกับตนเอง ขอบขายเน้ือหา เรอ่ื งที่ 1 ขอมูลการตดั สนิ ใจเลือกพฒั นาอาชพี เรือ่ งที่ 2 ตดั สินใจพัฒนาอาชพี ดวยการวเิ คราะหศ กั ยภาพ

95 เรอ่ื งท่ี 1 ขอมูลการตดั สนิ ใจเลอื กพัฒนาอาชีพ 1. ความพรอม หมายถึง สภาพของบุคคลท่ีมีวุฒิภาวะแรงจูงใจและประสบการณเดิมสูง พอท่ีจะ กอใหเ กดิ การตัดสินใจเลอื กพัฒนาอาชีพไดโ ดยสะดวก การวเิ คราะหก ารตัดสนิ ใจเลือกพัฒนาอาชพี ผลประโยชน ประสิทธิภาพ ตอบแทน - คาใชจ าย - ทรัพยากร - เวลา - สภาพแวดลอม โอกาส/ งานอาชพี การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค ประสทิ ธิผล - ผลตอบแทนท่เี ปนตัวเงิน - ผลตอบแทนท่ีไมไ ดเปน ตัวเงิน 2. ความตอ งการของตลาด การวิเคราะหดา นการตลาด ตลาด คอื กลุมของบุคคลและองคการท่มี ีความตองการและมอี ํานาจในการซื้อสนิ คาและบริการ สว นประกอบของตลาด 1. ความสนใจในสนิ คาและบรกิ าร 2. ความเตม็ ใจที่จะแลกเปลี่ยนสินคา และบรกิ าร 3. มีอาํ นาจซอื้ การตลาด มรี ะบบของการดาํ เนินงานของธุรกจิ ทมี่ ุงเนนการตอบสนองของตลาด หรือผบู รโิ ภค เปนสําคัญ การหาคาํ ตอบเกี่ยวกับผบู รโิ ภค 1. ผซู อ้ื คอื ใคร 2. ตอ งการซอ้ื อะไร

96 3. ตองการซือ้ อยา งไร 4. ตองการซื้อเมือ่ ใด 5. ตอ งการซ้ือที่ไหน 6. เพราะเหตใุ ดจึงซอ้ื 7. ใครเปน ผูมอี ทิ ธพิ ลในการซื้อ ปจจัยที่ควรคาํ นงึ ถงึ ในการตดั สนิ ใจเลอื กกลยทุ ธต ลาดเปา หมาย 1. ทรัพยากรของกจิ การ 2. ความเหมอื นกนั ของผลิตภณั ฑ 3. ลาํ ดบั ชนั้ ในวัฏจักรชีวิตผลติ ภณั ฑ 4. ความเหมือนกนั ของตลาด 5. กลยุทธก ารตลาดของคูแขงขนั การพยากรณความตอ งการของตลาด อปุ สงคข องผลติ ภณั ฑ ปรมิ าณทงั้ หมดของผลติ ภณั ฑทซี่ ้อื โดยกลุมลกู คาท่ีกาํ หนด ไดแ ก 1. ผลิตภัณฑ 2. ปรมิ าณทั้งหมด 3. การซอ้ื 4. กลมุ ลูกคา 5. ขอบเขตของภมู ิศาสตร 6. ระยะเวลา 7. สภาวะแวดลอ มการตลาด 8. แผนการตลาด วธิ กี ารในการพยากรณค วามตองการของตลาด 1. เทคนคิ การสาํ รวจ 1.1 สาํ รวจความคดิ เห็นจากผูบริหาร 1.2 สาํ รวจความคดิ เห็นจากพนักงานขาย 1.3 สํารวจความคิดเหน็ จากลกู คา 2. การวิเคราะหย อดขายในอดีต 3. การวเิ คราะหแนวโนม 4. การวเิ คราะหส หสมั พนั ธและการถดถอย 5. การทดสอบตลาด

97 3. ความร/ู ทักษะและเทคนคิ ตาง ๆ ความรู หมายถึง การเรียนรู การจํา และการระลึกถึงความคิดโดยใชขอมูลขอเท็จจริงให เปน ไปตามเปาหมายวัตถุประสงคในการตดั สินใจเลือกพฒั นาอาชีพ ทกั ษะ คือ ความสามารถในการปฏิบตั งิ านดา นตา ง ๆ อยางชํานาญ ซง่ึ ครอบคลุมการตัดสินใจ เลือกพฒั นาอาชีพ เทคนคิ คอื กลวธิ ีตาง ๆที่ใชเสริมกระบวนการ ขั้นตอน วธิ ีการ หรือการกระทําใด ๆ เพ่ือชวยให กระบวนการขนั้ ตอน วิธกี าร หรอื การกระทาํ ในกิจกรรม/งานน้นั ๆ มคี ุณภาพและประสทิ ธิภาพมากขึน้ 4. ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ ม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หมายถึง ส่ิงท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และทุกสิ่ง ทุกอยางทอ่ี ยูรอบตวั เรา ทงั้ มชี วี ติ และไมม ชี ีวติ ท้งั ทเี่ ปน รูปธรรมและนามธรรม (วัฒนธรรม แบบแผน ประเพณี ความเชื่อ) มีอิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกัน เปนปจจัยในการเกื้อหนุนซ่ึงกันและกัน ผลกระทบ จากปจจัยหนึ่งจะมีสวนเสริมสราง หรือทําลายอีกสวนหนึ่งอยางหลีกเล่ียงมิได สิ่งแวดลอมเปน วงจรวฏั จกั รท่เี กี่ยวของกนั ไปทัง้ ระบบ และมนษุ ยส ามารถนํามาใช หรือปรับแตงใหเกิดประโยชน ในการดํารงชวี ิต การพัฒนาการเกษตร ท่ีมีผลตอดา นเศรษฐกจิ และสังคมของครวั เรือนเกษตรกร จําเปน ตอง อาศัยทรัพยากรในระดับครวั เรอื น คือ ทดี่ นิ ทนุ แรงงาน และทรัพยากรมนษุ ย หรอื ความสามารถใน การจัดการเพื่อดาํ เนนิ การผลติ สนิ คาเกษตรสผู บู รโิ ภค ทรัพยากรระดับครัวเรือน มีความสัมพันธกับขนาดของฟารม แรงงาน การถือครองและ รายได รายจา ยครัวเรือน ขนาดของฟารม ขนาดเล็กสามารถรองรับแรงงานไดนอยกวาฟารมขนาด ใหญ และการถือครองและการใชท่ีดินจําเปนตองเพิ่มประสิทธิภาพการใชที่ดินโดยการปลูกพืช หมนุ เวียนหรอื พชื แซม การวางแผนการใชทรัพยากรระดับครัวเรือน มีความจําเปนอยางยิ่งในการผลิตพืชผล การเกษตร ซ่ึงผูจัดการหรือเจาของฟารมตองพิจารณาใชทรัพยากรอยางเหมาะสม ไมทําลาย สิ่งแวดลอม และอนุรักษทรัพยากรอยา งยง่ั ยนื การวเิ คราะหผลกระทบทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม - การเปลีย่ นแปลงสมดลุ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม - ผลกระทบดานบวกและดานลบ งาน/ ทรัพยากรธรรมชาติ - มองการปรบั ปรงุ ผลเสยี โครงการ และสิง่ แวดลอ ม - ใชผ ลดใี หเกดิ ประโยชนสงู สุด - ปองกันและลดคาใชจ า ยใน การแกป ญ หา - การตดั สินใจลงทุน

98 5. การใชทดี่ ิน ทด่ี ิน เปนทรัพยากรที่มจี าํ กัดตามธรรมชาติ มลี กั ษณะแตกตางกันตามชนิดโครงสรางและ คณุ สมบตั ิขึ้นอยูกับสภาพภมู ปิ ระเทศ ที่ดิน เปน ปจ จยั อยางหน่ึงไมว าจะผลติ ทางดา นการเกษตร หรืออุตสาหกรรม อยางไรก็ตาม ในดา นการเกษตรน้นั ท่ีดินถือวามีความสาํ คัญพิเศษ โดยปกติแลวท่ีดินมีคุณลักษณะที่แตกตางกัน ในแตล ะทอ งที่ ความอดุ มสมบรู ณกแ็ ตกตา งกนั ออกไป ความลาดชัน ที่ราบ ที่ลุม ท่ีดอน ก็มีความ แตกตางกัน ดังนน้ั ดินเปน ปจจัยหน่งึ ในการกําหนดกจิ กรรมตา ง ๆ ภายในฟารม กลาวคอื 1. ทดี่ นิ เปน ปจ จยั สาํ คญั ทก่ี าํ หนดวาควรจะผลติ ชนดิ พืชและสตั วอะไร 2. ที่ดินสามารถจะกาํ หนดระยะเวลาการปลกู ระบบการปลูกพืช และรูปแบบการผลิตทาง การเกษตร เชน ที่ดนิ เปนท่ีราบลุมและมคี วามชน้ื อยูบาง สามารถกาํ หนดระยะเวลาการปลูกของพืช แตละชนิด การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชแซม การปลูกพืชเหลื่อมฤดู และรูปแบบการผลิต แบบไรนาสวนผสม และเกษตรผสมผสาน 3. ชนดิ ของดนิ ทสี่ วนในการกาํ หนดกิจกรรม เชน ดินเหนียวปนดินรวน อาจจะเหมาะสม ตอ การทาํ นา ดินรวนปนดินทรายอาจจะเหมาะตอ การทาํ พชื ไรบ างชนิด ดนิ เหนียวหรือดินทรายก็ยัง สามารถปลูกพืชและทําบอปลาได แตถาหากดินทั่วไป ไมมีความอุดมสมบูรณมากนักอาจจะใช เลี้ยงสัตว เปน ตน 4. สภาพพื้นที่แตละแหง เชน ที่ราบและที่ลุมอาจจะเหมาะสมตอการทํานา พืชผัก ไมดอกไมประดับ ไมผลและไมยืนตนบางชนิด หากสภาพพื้นที่ลุมมากอาจจะทําบอปลา นาบัว นาผักกระเฉด เปนตน สวนสภาพพื้นที่ดอนอาจจะปลูกพืชไร ไมผลและไมยืนตนบางชนิด ตลอดจนการเล้ียงสตั ว 5. ลักษณะและคุณสมบัติอื่น ๆ เชน ความเปนกรดเปนดาง ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ดินเปร้ยี ว ดนิ เคม็ ความลกึ ของหนาดนิ ดนิ ชั้นตาง ๆ เปนตน สง่ิ เหลา นม้ี ีผลตอการกาํ หนดกิจกรรม วิธกี ารผลิตทงั้ ปริมาณและคุณภาพ อยางไรก็ตาม ทดี่ ินมไิ ดมองเฉพาะเนอ้ื ดนิ ชนดิ ของดิน ลักษณะดนิ และสภาพตาง ๆ ทางเคมี หรือทางกายภาพท่กี ลาวมาแลว เทา น้ัน ดนิ ยงั หมายถึง สภาพพน้ื ดินที่มนี ้ําใตดนิ น้าํ บนดนิ ความช้ืน ของดนิ ความอุดมสมบูรณข องดนิ ปริมาณอินทรียวัตถุ พืชพรรณไมน านาชนดิ ท่ีปรากฏใหเห็นบน พื้นท่ีเหลานั้น ส่ิงมีชีวิตสัตวบกเล็ก ๆ บนพ้ืนดิน เปนตน ดังน้ัน ดินจึงเปนปจจัยสําคัญหน่ึงที่จะ กําหนดกิจกรรมการเกษตรได ทั้งน้ี ขน้ึ อยูกับความสามารถของเจาของฟารมจะจัดการกับท่ีดินให เกดิ ประโยชนส งู สดุ ไดอ ยางไรแตถามองในแงเศรษฐศาสตรผ ลตอบแทนที่ดิน คอื คา เชา ท่ดี ิน ประเทศไทยมีขนาดฟารม โดยเฉล่ีย 25.94 ไร และสภาพการใชท่ีดินเพื่อการเกษตร ในแตละภาคมีลักษณะและปญหาแตกตา งกนั ดังนี้

99 ภาคกลาง มีระบบชลประทานคอ นขา งสมบูรณ อัตราขยายตัวของการผลิตทางการเกษตร สงู ขน้ึ 7 % ตอป ปญหาทีเ่ กดิ ขึน้ คอื ปญหากรรมสิทธ์ทิ ีด่ ิน ปญหาดินเปรย้ี วในทร่ี าบภาคกลาง และ ปญ หาดินเคม็ ตามแนวราบฝง ทะเล ทาํ ใหป ระสิทธภิ าพในการใชดินโดยเฉลยี่ ทงั้ ภาคไมส ูงเทา ทค่ี วร กลา วคือ ผลผลิตตอ ไรใ นภาคกลางยังตํา่ กวาภาคเหนือ แตก ารทาํ นาขาวในภาคกลางยังมีโอกาสเพิ่ม ผลผลิตตอไรไ ด เนื่องจากระบบชลประทานเออ้ื อํานวยและการนําเทคโนโลยเี ขาปรับปรุงดนิ เปรี้ยว และดนิ เค็มที่มีปญหา ภาคเหนือ มีผลผลิตตอไรสูงสุด เพราะคุณภาพดินดี มีการกระจายการผลิตและปลูกพืช หมุนเวียนมาก แตกม็ ขี นาดการถอื ครองทด่ี ินเล็กที่สุดในประเทศ มีปญหาการบุกรุกทําลายปาเพ่ือ ทําไรเล่ือนลอย แตมีลูทางท่ีจะกระจายการผลิตไปสูพืชหมุนเวียน พืชยืนตน ไมผลเมืองหนาว ไมดอกเมืองหนาว ชา กาแฟ และการเลยี้ งโคนม ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ มีขนาดพ้นื ท่ที ําการเกษตรสูดสุดในประเทศ คือ 41% ของเนื้อที่ ทาํ การเกษตรท้ังหมด แตมผี ลผลิตเพียง 26 % ของผลผลิตรวมท้ังประเทศ จึงเปนภาคที่มีอัตราการ ขยายตวั ของการผลิตทางการเกษตรตํ่าสุด คุณภาพดินไมดี ไมเก็บซับน้ําฝน และมีดินเค็มอยูเปน เนื้อท่กี วางใหญ มีเน้ือที่รับนํ้าชลประทานเพียง 1.6 ลานไร จากเนื้อที่เพาะปลูกท้ังภาค 60 ลานไร เปนภาคที่อาศัยการเกษตรนํา้ ฝนมากที่สุด แตยังมีโอกาสกระจายการผลิตไปสูพืชฤดูแลวไดอีก เชน มนั สําปะหลงั ออย พชื น้ํามัน ฝาย และปศุสตั ว เปนตน ภาคใต เปน ภาคทม่ี ผี ลผลิตเกษตรหลักเพียง 2 ชนิด คือ ยางพารา และขาว นับวาเปนฐาน การเกษตรท่ีแคบมากทั้ง ๆ ที่โอกาสในการใชที่ดินเพ่ือปลูกพืชหมุนเวียนแซมสวนยางพาราและ การปลูกผลไมยนื ตนยังมอี ีกมาก รวมท้ังโอกาสในการเลี้ยงปศุสัตวในพ้ืนท่ีซ่ึงเคยใชทําเหมืองแร แลว นาํ มาฟน ฟูใหเปนทุงหญาเล้ียงสัตว 6. การใชทุน ทนุ หมายถึง เงินทุน เครอื่ งจกั รกลการเกษตรตาง ๆ โรงเรือน ส่ิงกอสรางท่ีใชในการผลิต และเกบ็ รักษาผลผลติ รวมทัง้ ปจจยั การผลิตทเี่ ปนพันธุพชื พนั ธุส ตั ว ปยุ สารเคมี เปนตน ทนุ มีความสําคญั มากตอ การผลติ และทุนยงั มีความสัมพนั ธก บั แรงงาน ถาใชทนุ มากการใช แรงงานก็นอยลง การเกษตรแบบสมัยใหมจําเปนตองอาศัยทุน สําหรับแหลงเงินทุนอาจไดจาก ทรัพยสินท่ีมีอยู ไดจากกิจกรรมที่ใหผลตอบแทนหลังจากดําเนินงานเสร็จและการออมทรัพย ทุนอาจไดจากการกูเงินหรือมีเครดิตกับสถาบันการเงินหรือกับเพ่ือนบาน การใชทุนใหมี ประสิทธภิ าพ มีขอ พจิ ารณา ดังน้ี 1. ในกรณกี ารลงทนุ ในระบบทางการเงนิ การธนาคารมีการแบงทนุ ใน 2 ลักษณะดว ยกนั 1.1 ทุนดาํ เนินการเตรียมการหรอื คา ลงทนุ ซง่ึ ทนุ นจี้ ะดาํ เนินการใชไ ดหลายปและ ยาวนาน ถึงแมวาบางคร้ังอาจจะมีการซอมแซมหรือตอเติมความจาํ เปน และระยะเวลาท่ีใช เชน ทุนในการปรับสภาพพน้ื ท่จี ากพื้นราบเปน แบบยกรอ งคันลอม ขั้นบนั ได ขุดบอ โรงเรอื นและอาคาร

100 ระบบคลองและระบบสงนํา้ เคร่ืองมือ เครื่องจักรและอุปกรณการเกษตรที่คงทนถาวรตลอดจน คาซอ้ื ท่ดี ิน เปนตน 1.2 ทุนดําเนินการในการผลิต หรือเงินทุนหมุนเวียน สวนใหญเปนทุนทางดาน การผลิตผันแปร เชน พันธุพืช พันธุสัตว ปุย และยาเคมี อาหารสัตว น้ํามันเช้ือเพลิง อุปกรณ การเกษตรชั่วคราวที่ใชในฤดูการผลิตเทานั้น เชน เชือก ถุงพลาสติก เปนตน ตลอดจนคาจาง แรงงาน 2. ขนาดของทุนท่ีใชในแตละกิจกรรมหรือท้ังฟารม จะสังเกตวามีขนาดของทุนมากก็ สามารถมโี อกาสขยายกจิ กรรมไดม าก มที นุ นอ ยกข็ ยายกิจกรรมไดนอย 2.1 ขนาดของทนุ จะสัมพันธกับชนิดของกิจกรรม โดยเฉพาะทุนขนาดใหญหรือ ทุนมากมักจะเปน ดา นการปศสุ ตั ว การประมง และไมผล ไมยนื ตน เปนสว นใหญ นอกจากน้ีอาจจะ เปน ฟารมลักษณะประณีต เชน ไมดอกไมป ระดับ พืชผักเมอื งหนาว หรือกิจกรรมตาง ๆ ที่ตองการ ใชเทคโนโลยีคอนขางสงู 2.2 ขนาดของทุนจะสัมพันธกับระยะเวลาการลงทุน หรือระบบสินเช่ือจาก แหลงตาง ๆ มักจะพบวา ขนาดของทุนมากการลงทุนสวนใหญจะเปนกิจกรรมระยะยาว เชน ไมผล ไมย นื ตน และปศสุ ตั ว ทเ่ี ลยี้ งแบบมีโรงเรือนและอาคาร หากจะเปรียบเทียบกบั ระบบสนิ เช่ือแลว มักจะเปนการลงทุนท่ีตองคืนเงินทุนสินเชื่อเกิน 3 ป หากทุนนอยหรือขนาดทุนเล็กจะเปน การลงทุนกิจกรรมระยะสน้ั ภายใน 1 ป เชน การทํานา ทาํ ไร และพชื ผัก สัตวบ างชนิด เปนตน 3. การใชท ุนกบั ระยะเวลาการลงทุนและผลตอบแทนกลับคืนจากการลงทุน เม่ือกลาวถึง ระยะเวลาของการลงทุนทจี่ ะใหผลตอบแทนน้ัน เวลาเปน ตวั สาํ คญั มากในการตดั สนิ ใจในการเลือก ดําเนินกจิ กรรม หากมีทุนนอยแลวเลอื กกิจกรรมท่ีใหญ หรือมีระยะเวลาการลงทุนนานก็จะทําให สูญเสียโอกาสของการลงทุน ในบางครั้งหากมีการกูยืมจากเพ่ือนบาน หรือสถาบันการเงินก็จะ ทําใหดอกเบยี้ สูง การชําระหนี้ลําบาก ซ่ึงมีตัวอยางมากมายในดานการเกษตร อุตสาหกรรม และ ธุรกิจ ดังนั้น หากเปนฟารมขนาดเล็กควรเลือกกิจกรรมท่มี ีการลงทุนนอยและชวงระยะเวลาส้ันใน การใหผลตอบแทน นอกจากนแ้ี ลวจาํ นวนผลตอบแทนที่ไดร บั กม็ ีความหมายในการเลือกกิจกรรม เชนกนั หากผลตอบแทนคมุ กบั การลงทุนไมว า ระยะสั้นหรือยาว หลังจากไตรตรองคิดคํานวณแลว ก็สามารถจะทําการผลิตได จากท่ีกลาวมาแลวน้ีระยะเวลาและจํานวนผลตอบแทนที่ไดรับจาก การลงทุนกม็ ีบทบาทสาํ คญั ในการพิจารณาเร่อื งทุน เม่ือพูดถึงการวัดประสิทธิภาพ หรือผลตอบแทนการใชทุน หากทุนอยูในรูปเงินสด ผลตอบแทนคอื ดอกเบย้ี หากทนุ อยูในรูปของเครือ่ งจักร เครื่องมืออุปกรณการเกษตร ปจจัยการผลิต ผลตอบแทนคือ คา เชาเครอื่ งจักร คาปยุ คาเมลด็ พันธุ เปน ตน

101 7. การใชแรงงาน แรงงานเปนปจ จัยสําคัญอยางหนึง่ ในการผลติ ในท่นี ้หี มายถึงลกั ษณะทัง้ กายภาพและจติ ใจ ในดานกายภาพนน้ั เก่ยี วกับเรือ่ งสุขภาพและอนามัย ความแข็งแรงสมบูรณในการทํางาน สวนดาน จติ ใจนน้ั รวมถึงทศั นคติ อดุ มการณ ความขยนั หมนั่ เพยี ร ความรสู ึกรบั ผิดชอบในการผลิต ลักษณะ ของแรงงานพอทแ่ี ยกแรงงานออกเปน 3 ประเภท คอื 1. แรงงานคน 2. แรงงานสตั ว 3. แรงงานเครอ่ื งจกั รกลการเกษตร การใชแรงงานแตละประเภทข้ึนอยูกับจุดมุงหมาย ขั้นตอนการทํางาน คาใชจาย และ รวมถงึ เวลา อยางไรกต็ ามแรงงานแตละประเภทก็อาจจะสามารถใชรวมกันได ขึ้นอยูกับกิจกรรม และข้ันตอนการผลิต สําหรับแรงงานในลักษณะฟารมขนาดเล็กมีความสําคัญมากตองรูจักใช แรงงานใหม ีประสิทธิภาพ ลักษณะของแรงงานคนอาจพอจาํ แนกตามภาวะปจ จบุ นั นี้ไดค อื แรงงาน ในครอบครัว แรงงานจาง และการแลกเปล่ียนแรงงาน (การลงแขก การเอาแรง) ในแงของเกษตรกร พยายามสง เสริมใหเกษตรกรใชแรงงานครอบครัวใหมากท่ีสดุ ไมค วรปลอยใหแรงงานวา งโดยเปลา ประโยชน การใชแ รงงานใหมปี ระสทิ ธภิ าพควรพิจารณา ดงั นี้ 1. การใชแรงงานทเ่ี หมาะสมกบั ชนดิ ของงาน เชน กจิ กรรมดา นพชื และสัตว 2. การใชแรงงานหรือจัดระบบการกระจายของแรงงานใหเหมาะสม เชน กิจกรรมที่มี หลายอยา งในเวลาเดยี วกันหรือเวลาที่ใกลเคียงกัน หรือเวลาท่ีตอเน่ืองกัน ไดแก การปลูกพืชและ เล้ียงสตั ว การปลกู พืชหมุนเวียน การปลูกพชื แซม เปน ตน 3. การใชแ รงงานใหเหมาะสมกบั วิทยาการแผนใหมแ ละพน้ื บา น เชน วิทยาการการเตรียม ดนิ การปลกู การใสปุย กาํ จัดศตั รพู ชื และการเก็บเกยี่ ว ซงึ่ บางคร้ังวิทยาการสมยั ใหมอ าจจะมีความ ยุง ยากหรอื มขี ้นั ตอนมากอาจจะทําใหเ กษตรกรแบงเวลาหรอื แบงงานไมถกู ตอง 4. การใชแรงงานแบงตามเพศและอายุกับข้ันตอนแรงงานหรือชนิดของงาน กลาวคือ การเตรียมดินควรจะเปนเพศชายท่ีแข็งแรง การปลูกอาจจะเปนท้ังเพศชายและหญิงเชนเดียวกับ การเก็บเก่ยี วงานหัตถกรรมพ้นื บานอาจจะเหมาะกับเพศหญิงท้ังคนแก และหนุมสาว แรงงานเด็ก อาจชวยใหอ าหารปลา อาหารสตั ว เปน ตน 5. การใชแรงงานผสมผสานหรือทดแทนแรงงานคน สัตว และเคร่ืองจักรกลการเกษตร อยา งไรจึงกอใหเกิดประสิทธิภาพลดตนทนุ การผลติ และประหยัดเวลา การจัดการเร่ืองแรงงานเปนเรื่องท่ีจาํ เปน อยา งยิ่ง โดยเฉพาะแรงงานในครอบครัวเกษตรกร ควรจัดการใหม กี ารกระจายการใชแรงงานไดตลอดป มีกิจกรรมการเกษตรอยางตอเน่ืองเพื่อใหมี

102 การใชแ รงงานอยางสมํ่าเสมอทกุ ๆ เดือน กอ ใหเ กิดรายไดเพ่ิมข้ึน และลดการจางแรงงานที่ไมจําเปน เพื่อลดตนทุนการผลติ สําหรับผลตอบแทนของแรงงานก็คอื คาจา งแรงงาน นน่ั เอง 8. การจัดการ การจดั การในทนี่ ้ี หมายถึง การจัดสรรหรอื การดาํ เนินการทรัพยากรในการผลิต (ท่ีดิน ทุน และแรงงาน) เพื่อทําใหการผลิตใหไดตามวัตถุประสงคและเปาหมายของผูจัดการฟารม ดังน้ัน การจดั การของผูจดั การฟารมในแตล ะสภาพพ้นื ทแี่ ตละฟารม ไมเหมือนกัน โดยการตัดสินใจวาจะ เลือกผลิตกิจกรรมอะไร และอยา งไร ในสภาพขีดจํากัดดานทรัพยากรและภายใตความเส่ียง ความไม แนน อนของการผลิตและการตลาด อยางไรกต็ ามเกณฑในการพจิ ารณาโดยทัว่ ไป พอสรปุ ได ดังน้ี 1. จะผลติ อะไร 2. จะผลติ ท่ไี หน 3. จะผลิตเมอื่ ไร 4. จะผลติ เทาไรและอยา งไร 5. จะผลิตและขายกับใคร ดงั น้นั บทบาทสําคัญในการจดั การของผจู ัดการฟารมที่พิจารณาจากเกณฑที่ไดกลาวมาแลว เปน หลัก ยงั จะตองพิจารณารายละเอยี ด ดังนี้ 1. จะทําการผลิตพืชหรือสัตวช นดิ อะไร เชน ปลูกขาว ไมผ ล พืชไร พืชผัก ทําปศุสัตว และ ประมง เปนตน และจะตองพิจารณาตอไปวาจะผลิตไมผล ควรเปนผลไมชนิดอะไร เชน มะมวง สม โอ มะขามหวาน ทุเรียน เงาะ ลาํ ไย ลิ้นจ่ี เปน ตน 2. จํานวนและชนิดของปจจัยการผลิตทใ่ี ชวา เหมาะสมกบั แรงงานในครองครัวหรือไม หาก ไมเพยี งพอจะจา งจํานวนเทาไร แรงงานจา งไดมาจากไหน และระยะเวลาในการจาง 3. วิธีการผลิต และเทคนิควิชาการ ตลอดจนการจัดการและบริหารฟารมจะดําเนินการ อยางไร จะเร่ิมตน ณ จุดใดกอนมีการตรวจสอบและปรับปรุงแกไขอยางไร และประการสุดทาย มีความสมั พนั ธก ับกิจกรรมตาง ๆ ภายในฟารมหรอื ไม 4. ชนดิ ของโรงเรอื นและอาคาร มคี วามจําเปนหรือเหมาะสมเพียงไร เพ่ือความสะดวกใน การจดั การตลอดจนเคร่อื งไมเ คร่อื งมือและการจัดการ 5. การวางแผน และงบประมาณฟารม การจดบนั ทึกและบัญชีฟารม จะดําเนินการอยางไร เพื่อจะใหทราบทิศทางการทํางานและผลการดําเนินงาน โดยเฉพาะรายได รายจาย และกําไร ตลอดจนปญ หาและอุปสรรคในการทํางาน ซ่ึงสามารถนํามาเปนขอมูลในการปรับปรุงแกไขและ วางแผนในปตอไป 6. จะซ้ือปจจัยการผลิตและขายผลผลิตท่ีไหน กับใคร และอยางไร เชน พอคาทองถิ่น พอคาคนกลาง กลมุ เกษตรกร หรือสหกรณก ารเกษตร เปน ตน

103 นอกจากนีแ้ ลว ประสทิ ธภิ าพและความเหมาะสมในดา นการจดั การยังข้ึนอยูกับหลายองคประกอบ เชน ความรู ความสามารถ ความชํานิชํานาญ ความรอบรู และประสบการณการบริหารงาน ดานแรงงาน ความเขาใจสภาพการผลิตการตลาด ความคลองตัวและการแสวงหาความรูใหม ความขยันหมน่ั เพียร และการดูแลเอาใจใส ตลอดจนความสาํ นึกและรบั ผิดชอบในการทํางาน เปน ตน เมื่อเขา ใจพน้ื ฐานของปจจัยสาํ คญั ๆ ตอ การผลิตในการจัดการแลววามีความสําคัญอยางไร จึงควรทเ่ี ร่มิ รวบรวมขอมูล วิเคราะห และวางแผนงบประมาณฟารม ใหไดผ ลตอบแทนสงู สดุ ท่ดี นิ ทุน แรงงาน การจดั การ การวางแผนและงบประมาณ ฟารม กําไรสงู สุดและการมีรายไดต อเนือ่ ง

104 กจิ กรรม เมือ่ ผเู รยี นศกึ ษา เร่ืองท่ี 1 “ขอมูลการตัดสินใจเลือกพัฒนาอาชีพ” ใหผูเรียนตรวจสอบ ขอมลู ทเี่ กยี่ วของกับการประกอบอาชีพทผ่ี เู รียนตัดสินใจเลอื กไววามีความพรอมหรือไม พรอมให เหตุผลลงในแบบบันทึก แบบบันทกึ ที่ ขอมลู พรอม ไมพ รอม เหตุผล 1 ความพรอม - ระยะเวลาในการประกอบอาชพี - ไมมีผลกระทบสภาพแวดลอม - ความม่ันใจทจ่ี ะดําเนนิ การ 2 ความตอ งการของตลาด 3 ความรู ทกั ษะและเทคนคิ ตา ง ๆ 4 ทรพั ยากรธรรมชาติ 5 สถานท่ี 6 แรงงาน 7 เงนิ ทุน ผูเ รยี นสรุป จุดเดนของขอ มลู จดุ ดอ ยของขอ มลู และพอมีแนวทางแกไ ขหรือไม อยางไร

105 สรปุ (จะดาํ เนนิ การประกอบอาชพี ทต่ี ดั สินใจเลอื กไวหรอื ไมอ ยา งไร)

106 เรือ่ งที่ 2 การตัดสินใจพฒั นาอาชีพดว ยการวเิ คราะหศ กั ยภาพ การพฒั นาสิ่งใดกต็ าม มวี ิธีการหลากหลาย เชน ทําการวิจัย ทดลองทํากอนลงมือทําจริง การใชก ระบวนการคิดเปน นอกจากนยี้ ังมวี ิธกี ารวิเคราะหศ ักยภาพตาง ๆ ที่เกี่ยวของวาจะสามารถ พัฒนาอาชีพไดห รอื ไม ซง่ึ เร่ืองน้จี ะไดศ ึกษาตอไป เพอ่ื ใชเปนแนวทางในการตดั สินใจพัฒนาอาชีพ โดยการวิเคราะหศักยภาพ 5 ดา น ไดแก 1. ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตล ะพ้นื ท่ี ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถึง สิง่ ทเี่ กดิ ขึน้ เองตามธรรมชาติ ซ่ึงมนุษยสามารถนําไปใชให เกิดประโยชนตอชีวิตประจําวัน และการประกอบอาชีพ ทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก ปาไม แมนาํ้ ลาํ คลอง อากาศ แรธาตุตาง ๆ ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดใชแลวหมดไป เชน แรธาตุตาง ๆ บางชนิดมนุษยสามารถสรางทดแทนขึ้นใหมได เชน ปาไม เมื่อมนุษยตัดไปใชประโยชนแลวก็ สามารถปลกู ทดแทนข้นึ ใหมไ ด ดังนนั้ ผปู ระกอบอาชีพอยูแลวตองการพัฒนาอาชีพของตนใหดีข้ึน ตองพิจารณาทรัพยากรในพ้ืนท่ีท่ีจะนํามาใชพัฒนาอาชีพดวย เชน จากการปลูกผักท่ีใชสารเคมี ตองการพัฒนาโดยใชปุยหมักแทนปุย เคมีในการปลกู ผักตอ งพิจารณาวา ทรพั ยากรที่จะตองนํามาใช ในการทําปยุ หมักในพื้นท่ีมีหรือไม มีเพียงพอหรอื ไม ถา ไมม ีผปู ระกอบการตอ งพจิ ารณาใหมวาจะ พฒั นาอาชีพท่ีตัดสินใจเลือกไวหรือไม หรือพอจะจดั หาไดใ นพื้นที่ใกลเ คียง ซึ่งผูประกอบการตอง เสียคาขนสงจะคมุ คากบั การลงทุนหรอื ไมจึงจําเปนตองนาํ ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นพืน้ ท่ีมาพจิ ารณาดวย เพ่อื ลดตนทุนการผลติ 2. ศักยภาพของพืน้ ท่ตี ามลกั ษณะภมู อิ ากาศ ในแตละพ้ืนทจี่ ะมลี กั ษณะภูมอิ ากาศแตกตา งกนั เชน ประเทศไทยภาคกลาง มีอากาศรอน ภาคใต มฝี นตกเปนเวลานาน ภาคเหนอื มีอากาศเยน็ โดยเฉพาะอาชีพเกษตรกรรมขึ้นอยูกับสภาพ ภูมิอากาศเปนสวนใหญ เชน การปลูกลิ้นจ่ี ลําใย ตองการอากาศเย็นจึงจะออกผลได แกวมังกร ตองการอากาศรอน ทวีปอเมริกา มีอากาศหนาวเย็นมากก็สามารถปลูกพืชเมืองหนาวได เชน เชอรร ่ี แอปเปล ดังนั้น การพฒั นาอาชพี จาํ เปนตองพจิ ารณาสภาพภมู อิ ากาศดวยวาเหมาะสมกับสิ่ง ท่ีตองพัฒนาหรือไม การพัฒนาพันธุของพืชใหม ๆ ท่ีเกี่ยวของกับภูมิอากาศ เชน ขาวหอมมะลิ ตอ งปลูกในสภาพภมู ิอากาศแหง แลง ซงึ่ ไมเ หมาะที่จะนาํ มาปลกู ในภาคกลาง หรือการพัฒนาอาชีพ การทองเทยี่ วในชวงอากาศเย็นสบายกส็ ามารถพฒั นาไดเต็มท่ี เนอ่ื งจากมีนักทองเที่ยวหลั่งไหลเขา มา เชน พัฒนาที่พกั อาหาร แหลง ทอ งเที่ยว ใหต รงกบั ความตอ งการของลูกคา 3. ศกั ยภาพของภูมิประเทศและทําเลที่ตง้ั ของแตล ะพื้นที่ สภาพภมู ิประเทศและทาํ เลท่ีตง้ั ของแตล ะพน้ื ทีจ่ ะแตกตางกัน เชน เปนภูเขา เปนท่ีราบสูง ท่ีราบลุม แตละพื้นที่มีผลตอการพัฒนาอาชีพตาง ๆ เชน ตองการพัฒนาอาชีพอุตสาหกรรมจาก การใชแรงคนเปนเครื่องจักร เพื่อใหสินคามีคุณภาพเดียวกัน ผูประกอบการตองพิจารณาวา เครอ่ื งจกั รนนั้ ตอ งไมม ผี ลกระทบตอ ชมุ ชน และสภาพแวดลอ มในภมู ปิ ระเทศน้ัน ๆ

107 4. ศกั ยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณแี ละวถิ ชี วี ติ ของแตละพื้นที่ แตล ะพนื้ ที่ทั้งในประเทศไทย และตา งประเทศ มศี ลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตที่ แตกตางกัน ดังน้ัน แตละพ้ืนที่สามารถนําเอาส่ิงเหลานี้มาใชพัฒนาอาชีพได เชน การทําธุรกิจ รานอาหารก็ตองทราบวาภาคใดมีวิถีชีวิตการรับประทานอาหารรสชาติแบบใด ภาคเหนือ นิยม อาหารรสจืด ภาคใต นิยมอาหารรสจัด สวนภาคกลาง นิยมรับประทานอาหารท่ีมีกะทิเปน สวนประกอบ ดังน้ัน การจะพัฒนาอาชีพตองศึกษาศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของ ชมุ ชนดวย 5. ศักยภาพของทรพั ยากรมนษุ ยใ นแตละพนื้ ท่ี ทรัพยากรมนษุ ยในแตละพน้ื ที่ หมายถึง ความรู ความสามารถของมนุษยท่ีเปนภูมิปญญา ทั้งในอดีตจนถงึ ปจจบุ นั ดานการประกอบอาชีพตาง ๆ ในพื้นที่นั้น ๆ ปจจุบันมีหลายอาชีพท่ีเกิด จากภมู ปิ ญ ญา แตสามารถพฒั นาใหเ หมาะสมกบั สถานการณป จ จุบันได เชน การใชจลุ ินทรียในการทาํ ปุยหมัก แตจากการทําปุยหมักคนเราก็มีความคิดที่จะนําไปประยุกตใชอยางอ่ืน ๆ เชน ทํานํ้าหมัก นาํ ไปราดในหองนา้ํ เพื่อดบั กลน่ิ หรือนาํ ไปผสมกับสว นประกอบอน่ื ๆ ใหสามารถปนเปนกอนได นําไปโยนในน้ําเพื่อแกปญหาน้ําเสียที่เนาเหม็น เปนการชวยปรับสภาพน้ํา ดังน้ัน จะเห็นวา ทรพั ยากรมนุษยม ีความคิดไมหยุดนงิ่ ชว ยใหเกิดสนิ คา ใหม ๆ ไดอ ยูตลอดเวลา กิจกรรม จากการท่ีผูเรยี นศกึ ษาศกั ยภาพ 5 ดา นเพื่อการพฒั นาอาชีพ มาแลว ใหวเิ คราะหศ กั ยภาพ ในอาชพี ท่ตี ดั สนิ ใจจะพฒั นาอาชีพท่สี นใจ จะพัฒนาอาชพี ไดอยางไรใหส อดคลอ งกบั ศกั ยภาพทงั้ 5 ดา น เพ่ือใหการพฒั นาอาชพี นนั้ มีความเปน ไปไดล งในแบบบันทกึ

108 แบบบันทึก ตอ งการพฒั นาอาชีพ……………………………………………………. ท่ี ศกั ยภาพ 5 ดาน ทตี่ อ งการ / สอดคลอ งกบั อาชพี มี ไมม ี หมายเหตุ ในการพฒั นาอาชีพ พอ ไมพอ 1 ทรัพยากรธรรมชาติ 1.1 1.2 1.3 ฯลฯ 2 ภูมอิ ากาศ 3 ภมู ิประเทศและทําเล ทีต่ ัง้ 4 ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวติ 5 ทรพั ยากรมนษุ ย

109 สรุปผลการตดั สนิ ใจ ใหเลอื กอยางใดอยางหน่งึ ดังนี้ 1. ตัดสินใจเลอื กพัฒนาอาชพี และใหอ ธบิ ายเหตผุ ลความเปน ไปไดท ่จี ะพัฒนาอาชีพ 2. ตดั สนิ ใจไมเลอื กพฒั นาอาชพี เน่อื งจาก

110 บรรณานุกรม กนก จนั ทรท อง. ส่ิงแวดลอ มศกึ ษา ความรเู ร่อื งสิ่งแวดลอม. ปต ตานี : พิมพท่ีฝายเทคโนโลยีทาง การศกึ ษา สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี, พิมพครั้งที่ 2. 2539. กรมการศึกษานอกโรงเรียน. ชุดวิชาชองทางการประกอบอาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พประชาชนจํากัด, 2538. กองพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กรมการศึกษานอกโรงเรียน. ชุดวิชาการฝกทักษะและฝก ประกอบการเฉพาะอาชีพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2541. นนั ท ศรีสุวรรณ. บญั ชเี บอ้ื งตน . กรงุ เทพฯ : สํานกั พิมพว ังอักษร, 2546. ไพโรจน ทิพมาตร. การขายเบอื้ งตน. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พป ระสานมิตรจาํ กัด, 2545. มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. (2536). เอกสารการสอนชุดวชิ าการจัดการการผลิตภณั ฑแ ละราคา. นนทบรุ ี : สาํ นักพิมพม หาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. วิชติ ออู น . (2544). การจัดการเชิงกลยทุ ธ. กรุงเทพฯ : วี.เจ.พร้นิ ต้ิง. สุดาดวง เรืองรุจิระ. (2545). นโยบายผลิตภณั ฑแ ละราคา. กรงุ เทพฯ : ประกายพรกึ . สุรชาติ ใฝรัชตพานิช. หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพประสานมิตร (ปสม.) จํากัด, 2542. สมภพ เลศิ ปญ ญาโรจน. หลกั การตลาด. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพประสานมิตร (ปสม.) จํากัด, 2542. สํานกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดปราจีนบุรี. ชดุ วชิ าพฒั นา อาชีพระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน . กรงุ เทพฯ : บริษทั เอกพมิ พไ ทย จาํ กดั , 2544. อรุณี ปนประยงค และคณะ. การจัดการฟารม . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพเพ่มิ ทรัพยก ารพิมพ. 2547. Nagle, Thomas T. (1987). The strategy & tactics of pricing. New York: Prentice Hall.

111 คณะผูจ ดั ทํา ทปี่ รึกษา บญุ เรือง เลขาธกิ าร กศน. 1. นายประเสริฐ อิ่มสุวรรณ รองเลขาธกิ าร กศน. 2. ดร.ชยั ยศ จําป รองเลขาธิการ กศน. 3. นายวชั รินทร แกวไทรฮะ ท่ีปรึกษาดา นการพัฒนาหลกั สตู ร กศน. 4. ดร.ทองอยู ตณั ฑวฑุ โฒ ผูอํานวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 5. นางรักขณา ผเู ขยี นและเรียบเรียง ศนู ยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณ นางสาวกฤษณา โสภี ชายแดน จังหวดั สระแกว ผูบรรณาธกิ าร และพัฒนาปรบั ปรงุ 1. นางอบุ ล ทศั นโกวิท ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั อําเภอสนั ทราย จังหวดั เชยี งใหม 2. นายสธุ ี วรประดษิ ฐ สาํ นกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ตราด 3. นางสาวสวุ ชิ า อินหนองฉาง ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั อาํ เภอสันทราย จงั หวัดเชียงใหม 4. นายเสกขภทั ร ศรเี มือง ศูนยฝก และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณ ชายแดน จังหวดั อุตรดติ ถ 6. นางดุษฎี ศรวี ัฒนาโรทัย กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 5. นางพรทิพย เข็มทอง กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 7. นางสาวเยาวรัตน คําตรง คณะทาํ งาน ม่ันมะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นายสรุ พงษ ศรรี ตั นศิลป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นายศภุ โชค ปทมานนท กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางสาววรรณพร กุลประดษิ ฐ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวศริญญา 5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจติ วฒั นา กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน ผพู มิ พต นฉบบั กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจิตวฒั นา

112 ผอู อกแบบปก ศรรี ตั นศลิ ป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น นายศภุ โชค ผพู ัฒนาและปรับปรุงครั้งที่ 2 (วนั ที่ 4 - 10 พฤศจิกายน 2554) 1. นางอญั ชลี ธรรมวธิ ีกลุ 2. นางดุษฎี ศรีวฒั นาโรทยั 3. นายสุธี วรประดษิ ฐ 4. นางสาวกฤษณา โสภี 5. นายสุภาพ เมืองนอย 6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รอื น

113 คณะผปู รบั ปรงุ ขอมูลเกย่ี วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริย ป พ.ศ. 2560 ทปี่ รกึ ษา จําจด เลขาธกิ าร กศน. หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ 1. นายสรุ พงษ ปฏิบตั ิหนาทร่ี องเลขาธิการ กศน. 2. นายประเสริฐ สุขสเุ ดช ผอู าํ นวยการกลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ 3. นางตรนี ชุ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ผปู รบั ปรงุ ขอมูล กศน.เขตสายไหม กรงุ เทพมหานคร นางสาวปรญิ ญารัตน มา ทอง คณะทาํ งาน 1. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 4. นางเยาวรตั น ปน มณวี งศ กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 5. นางสาวสลุ าง เพช็ รสวาง กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 6. นางสาวทิพวรรณ วงคเรือน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 8. นางสาวชมพูนท สังขพชิ ัย กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook