41 สัตฤาษี (ตีนฮุง้ ดอย) สมุนไพรศักยภาพบนท่สี งู 2.2.23.6 Paris polyphylla var. minor มีถิ่นกาเนิดในจีนในสภาพป่าทึบ, 1,500-2,500 เมตร ตน้ สูงประมาณ 7-15 เซนติเมตร เหงา้ มีความหนาประมาณ 1 เซนติเมตร ก้านช่อดอกยาว 10 เซนติเมตร กลีบดอกสีเหลือง ออกดอกช่วงเดือนมิถุนายน ติดผลช่วงเดือนเดือน สงิ หาคม จานวนโครโมโซม 2n = 10 (Mitchell, 1988) ใบ: ใบขนาด 10-18 x 5-8 เซนตเิ มตร ใบรปู รี (elliptic) ขอบใบเรยี บ (entire) ปลายใบเรยี วแหลม (acuminate) มีจานวนใบ 7-14 ใบ ดอก : ออกดอกในช่วงฤดรู อ้ น และฤดใู บไม้รว่ ง ดอกแบบสมบูรณเ์ พศ มเี กสรเพศผ้ยู าว 1.5-2.5 เซนตเิ มตร และเกสรเพศเมยี ยาว 0.5-1.5 เซนติเมตร อยู่บนต้นเดยี วกัน มใี บประดับ 5-6 ใบ ผล : เร่มิ ตดิ ผลในชว่ งฤดหู นาว การตดิ ผลขน้ึ อยู่กับชว่ งแสงในธรรมชาติ ผลแบบแคปซูล เมล็ดจะถกู ห่อหุ้ม ด้วยเปลือกสสี ้ม ภาพท่ี 41 ลกั ษณะทางสณั ฐานวิทยาของ Paris polyphylla var. minor (Mitchell, 1988)
42 สตั ฤาษี (ตนี ฮงุ้ ดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนที่สงู 2.2.23.7 Paris polyphylla var. nana มีถน่ิ กาเนดิ ในจีนในสภาพป่าทึบท่ีมีความสูงจากระดบั น้าทะเลปานกลางประมาณ 1,500-2,500 เมตร ตน้ สงู ประมาณ 10 เซนติเมตร เหง้ามีความหนาประมาณ 1 เซนติเมตร ก้านชอ่ ดอกยาว 4 เซนติเมตร กลีบดอกสเี หลอื ง ออกดอกชว่ ง เดอื นกรกฎาคม ตดิ ผลช่วงเดอื นเดือนตุลาคม จานวนโครโมโซม 2n = 10 (Maity and Zhang, 2014) ใบ: ใบขนาด 8.0-12 x 2.5-4.0 เซนติเมตร ใบรูปรี (elliptic) ขอบใบเรียบ (entire) ปลายใบเรยี วแหลม (acuminate) มจี านวนใบ 4-6 ใบ ดอก : ออกดอกในชว่ งฤดูรอ้ น และฤดูใบไม้รว่ ง ดอกแบบสมบูรณ์เพศ มีเกสรเพศผู้ยาว 1-2 เซนติเมตร และเกสรเพศเมียยาว 1.0-1.5 เซนติเมตร อยู่บนตน้ เดยี วกัน มใี บประดับ 5-6 ใบ ผล : เริ่มติดผลในช่วงฤดหู นาว การตดิ ผลขน้ึ อยกู่ บั ช่วงแสงในธรรมชาติ ผลแบบแคปซลู เมลด็ จะถูกห่อหมุ้ ดว้ ยเปลือกสีสม้ ภาพท่ี 42 ลกั ษณะทางสัณฐานวทิ ยาของ Paris polyphylla var. nana (Maity and Zhang, 2014)
43 สัตฤาษี (ตีนฮงุ้ ดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนท่ีสูง 2.2.23.8 Paris polyphylla var. polyphylla มีถิ่นกาเนิดในมณฑลยูนนานประเทศจีน ประเทศอินเดีย และประเทศเวียดนาม ในสภาพป่าทึบที่มีความสูงจาก ระดับน้าทะเลปานกลางประมาณ 1,000-2,400 เมตร ต้นสูงประมาณ 30-100 เซนติเมตร ก้านช่อดอกยาว 50-60 เซนติเมตร กลีบดอกสเี หลือง ออกดอกช่วงเดือนเมษายน ติดผลชว่ งเดอื นเดือนกนั ยายน จานวนโครโมโซม 2n = 10 (Li, 1998) ใบ: ใบขนาด 12-18 x 6-8 เซนติเมตร ใบรูปรี (elliptic) ขอบใบเรียบ (entire) ปลายใบเรยี วแหลม (acuminate) มจี านวนใบ 8-9 ใบ ดอก : ออกดอกในช่วงฤดรู อ้ นและฤดูใบไม้ร่วง ดอกแบบสมบรู ณเ์ พศ มเี กสรเพศผยู้ าว 4-7 เซนติเมตร และเกสรเพศเมยี ยาว 2.0-2.5 เซนตเิ มตร อย่บู นต้นเดียวกัน มีใบประดบั 5-6 ใบ ผล : เร่ิมติดผลในช่วงฤดูหนาว การตดิ ผลข้นึ อยกู่ ับชว่ งแสงในธรรมชาติ ผลแบบแคปซูล เมลด็ จะถกู ห่อห้มุ ดว้ ยเปลอื กสสี ม้ ภาพท่ี 43 ลกั ษณะทางสัณฐานวทิ ยาของ Paris polyphylla var. polyphylla (Li, 1998)
44 สัตฤาษี (ตนี ฮุ้งดอย) สมนุ ไพรศักยภาพบนทีส่ งู 2.2.23.9 Paris polyphylla var. pseudothibetica มีถิ่นกาเนิดในมณฑลยูนนานประเทศจีน ในสภาพป่าทึบท่ีมีความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลางประมาณ 1,800- 1,900 เมตร ต้นสูงประมาณ 100 เซนติเมตร เหง้ามีความหนาประมาณ 1 เซนติเมตร ก้านช่อดอกยาว 50-60 เซนตเิ มตร กลีบดอกสีเหลอื ง ออกดอกช่วงเดือนเมษายน ติดผลชว่ งเดอื นเดือนกันยายน จานวนโครโมโซม 2n = 10 (Zhao et al., 2011) ใบ: ใบขนาด 10-15 x 5-8 เซนติเมตร ใบรปู หอก (lanceolate) ขอบใบเรยี บ (entire) ปลายใบเรยี วแหลม (acuminate) มีจานวนใบ 8-9 ใบ ดอก: ออกดอกในช่วงฤดูรอ้ น และฤดูใบไม้ร่วง ดอกแบบสมบรู ณ์เพศ มีเกสรเพศผยู้ าว 4-6 เซนติเมตร และเกสรเพศเมียยาว 2.0-2.5 เซนติเมตร อยูบ่ นตน้ เดียวกัน มีใบประดับ 5-6 ใบ ผล: เริม่ ติดผลในชว่ งฤดูหนาว การตดิ ผลขึ้นอยูก่ ับช่วงแสงในธรรมชาติ ผลแบบแคปซลู เมล็ดจะถูกหอ่ หมุ้ ด้วยเปลอื กสีส้ม ภาพท่ี 44 ลกั ษณะทางสัณฐานวิทยาของ Paris polyphylla var. pseudothibetica (Zhao et al., 2011)
45 สัตฤาษี (ตนี ฮุง้ ดอย) สมุนไพรศกั ยภาพบนที่สงู 2.2.23.10 Paris polyphylla var. stenophylla มีถ่ินกาเนิดในประเทศภูฎาน อินเดีย เมียนมาร์ และเนปาล ในสภาพป่าทึบ 3,500 เมตร ต้นสูงประมาณ 35-115 เซนตเิ มตร เหง้ามีความหนาประมาณ 1 เซนติเมตร ก้านช่อดอกยาว 50-60 เซนติเมตร กลีบดอกสีเหลือง ออกดอก ช่วงเดือนเมษายน ตดิ ผลชว่ งเดอื นเดอื นกนั ยายน จานวนโครโมโซม 2n = 10 (Ma et al., 2010) ใบ: ใบขนาด 12-18 x 6-7 เซนตเิ มตร ใบรูปหอก (lanceolate) ขอบใบเปน็ คล่ืน (undulate) ปลายใบ เรยี วแหลม (acuminate) มีจานวนใบ 6-7 ใบ ดอก : ออกดอกในช่วงฤดูรอ้ น และฤดูใบไม้รว่ ง ดอกแบบสมบูรณ์เพศ มเี กสรเพศผู้ยาว 4-6 เซนติเมตร และเกสรเพศเมียยาว 2-2.5 เซนตเิ มตร อยบู่ นตน้ เดยี วกัน มใี บประดบั 5-6 ใบ ผล : เรมิ่ ติดผลในช่วงฤดูหนาว การติดผลข้นึ อยู่กับชว่ งแสงในธรรมชาติ ผลแบบแคปซูล เมลด็ จะถูกห่อหมุ้ ด้วยเปลือกสีส้ม ภาพที่ 45 ลกั ษณะทางสัณฐานวทิ ยาของ Paris polyphylla var. stenophylla (Ma et al., 2010)
46 สตั ฤาษี (ตนี ฮุ้งดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนทส่ี ูง 2.2.23.11 Paris polyphylla var. yunnanensis ถิน่ กาเนิดในมณฑลยูนนานประเทศจีน อินเดีย เมียนมาร์ และเนปาล ในสภาพป่าทึบท่มี ีความสูงจากระดับน้าทะเล ปานกลางประมาณ 1,400-3,100 เมตร ต้นสูงประมาณ 30-100 เซนติเมตร เหง้ามีความหนาประมาณ 1 เซนติเมตร ก้านช่อดอกยาว 50-60 เซนติเมตร กลีบดอกสเี หลือง ออกดอกช่วงเดอื นเมษายน ติดผลช่วงเดือนเดอื นกนั ยายน จานวนโครโมโซม 2n = 10 (Meng et al., 2005) ใบ: ใบขนาด 10-15 x 3-5 เซนติเมตร ใบรปู รี (elliptic) ขอบใบเรยี บ (entire) ปลายใบเรยี วแหลม (acuminate) มจี านวนใบ 5-9 ใบ ดอก : ออกดอกในช่วงฤดูร้อน และฤดใู บไม้รว่ ง ดอกแบบสมบรู ณเ์ พศ มีเกสรเพศผู้ยาว 4-7 เซนติเมตร และเกสรเพศเมียยาว 2.5-3.0 เซนติเมตร อยู่บนตน้ เดยี วกัน มีใบประดับ 5-6 ใบ ผล : เร่มิ ติดผลในชว่ งฤดหู นาว การตดิ ผลขนึ้ อยู่กับชว่ งแสงในธรรมชาติ ผลแบบแคปซลู เมล็ดจะถูกหอ่ หุม้ ดว้ ยเปลือกสีส้ม ภาพที่ 46 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของ Paris polyphylla var. yunnanensis (Meng et al., 2005)
47 สัตฤาษี (ตีนฮุ้งดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนท่ีสงู เอกสารอ้างอิง สุพัฒธณกิจ โพธ์ิสว่าง วิลาสินี จิตต์บรรจง เกษม ทองขาว จันทร์เพ็ญ แสนพรหม อนันต์ ปัญญาเพ่ิม ลัดดาวัลย์ อินทร์สังข์ และสมคิด รัตนบุรี. 2560. ศึกษาวิจัยลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะประจาพันธุ์ และพฤกษ เคมีของตีนฮุ้งดอย (Daiswa polyphylla Sm.) ในถิ่นที่อยู่ เพ่ือการใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร. รายงาน ผลงานวจิ ัยส้นิ สดุ ปี 2560. ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม.่ เชียงใหม่. Chatterjee, A, Ghosh, S, and Roy, S. C. 1989. A Cytological survey of easterm Himalayan plant II. Cell Chromosome. Res. 12: 22-29. Chitta, R. D., Sakutemsu, L. J. and Nangshimeren, S. J. 2015. Studies on Vegetative and Reproductive Ecology of Paris polyphlla Smith.: Vulnerable Medicinal Plant. American Journal of plant sciences. 6: 2561-2568. Dawa, L. L., Abhijit, C and Dhani, R. C. 2019. Antioxidant and Cytotoxic attributes of Paris polyphylla Smith from Sikkim Himalaya. Pharmacogn J. ; 11(4) : 705-711. Fenner, M. 1998. The Phenology of growth and reproduction in plant perspedives in plant Ecology, Evolution and Systematics. 1: 78-91. Hara, H. 1969. Variations in Paris Polyphylla Smith. With reference to other Asiatic species. Journal of the faculty of science, University of Tokyo, Sect. 3, Botany, 10: 141-180. Hong, D.K., Jung, S.K. and Joo-Hwan, K. 2014. A Trnl-CAU triplication event in the complete chloroplast genome of Paris verticillata M. Bieb. (Melanthiaceae, Liliales). Genome Biol. Evol. 6 (7): 1699-1706. Jacquemyn, H, Brys, R and Hutchings, M. J. 2008. Biological Flora of the British Isles: Paris quadrifolia L. Journal of Ecology. 96 (4): 833-844. Ji, Y, Yang, C and Huang, Y. 2017. A new species of Paris sect. Axiparis (Melanthiaceae) from Yunnan, China. Phytotaxa. 306 (3): 234-236. Ji, Y.H, Zhou, Z.K. and Li, H. 2007. Fourn new synonyms in the genus Paris (Trillaceae) . Acta Phytotaxonomica sinica. 46: 388-390. Leveille, H. 1906. Liliacees, Amaryllidcees, Iridacees et Hemodoracees de China. Memorie della Pontifica Accademia Romana dei Nuovi Lincei. 24: 333-379. Li, F, Jiao, P, Yao, S, Sang, H, Qin, S, Zhang, W, Zhang, Y and Gao, L. 2010. Paris polyphlla Smith Experssion. Asian Pacific Journal of Cancer Prevention. 13: 205-209. Li, H and Mitchell, R.J. 1986. Paris Polyphylla var. alba. Boll. Bot. Res. 6 (1): 123. Li, H. 1982. Paris luquanensis. Acta Botanica Yunnanica. 4: 353. Li, H. 1984. Paris forrestiic (Takht). Acta. Botanica Yunnanica. 6. 359. Li, H. 1984. The phylogny of the genus Paris L. Acta Botanica Yunnanica. 6: 351-362.
48 สัตฤาษี (ตีนฮุง้ ดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนทสี่ ูง Li, H. 1984. Two new species of the genus Paris. Acta Botanica Yunanica. 6: 273-276. Li, H. 1992. New material of Araceae of Yunnan. Acta Bol. Yunnan. Suppl. 5: 7-12. Li, H. 1992. New taxa of the genus Paris. Acta Botanica. Yunnanica 5 (suppl).: 13-18. Li, H. 1998. The phylogeny of the genus Paris L. In: Li, H, ed. The genus Paris (Trilliaceae). Beijing: Science Press, 100-114. Li, H. and Kurita, S. 1992. Paris dulongensis. Acta Bot. Yunnan. Suppl. 5: 14. Liu, H, Huang, Y, Zhang, T, Wang, Q and Chen, X. 2006. Studies on chemical constituents of Paris delavayi franchet. J. China Pham Univ. 37:409-412. Ma, J, Li, D.Q, Zhang, Y.G. and Xue, D.Y. 2010. Phylogentic analyses of some important Paris species based on sequences of makgene. China Journal of Chinese medica, 35: 18-21. Madhu, K. C., Sussana, P. and Pramod, K. J. 2010. Ecological study of Paris polyphylla Sm. ECOPRINT. Vol.17: 87-93. Maity, D, Dey, S.K. and Zhang, J.W. 2014. New record of Paris Polyphylla Smith. Var. nana. H.Li (Liliaceae) from India. Journal of Botanical Society of Bengal. 68: 117-118. Meng, F.Y, Wang, L.Y. and Feng, C.Q. 2005. Advances in research on introduction and domestication of Paris Polyphylla var. yunnanensis. Chin Herb Med. 36. (7): 1102-1104. Miao, R.H. and Yun, L.S. 1995. Paris Polyphylla var. Kwantungsis. Acta. Phytotax. 33: 490. Min, F, Jie, L, Jing, W, Jun, Q, Conglong, X and Baozhong, D. 2020. The frist complete chloroplast genome sequence of Paris Polyphylla var. emeisnsis, a rane and endangered species. Mitochondrial DNA PART B. 5 (3): 2172-2173. Mitchell, B. 1988. Paris-part II. Daiswa. Plantsman. 10: 169-190. Mostaph, M.K. and Uddin, S.B. 2013. Dictionary of Plant names of Bangladesh. Janokalyan Prokashani Chittagong. Bangladesh. 1-434. Nguyen, Q.N, Pham, T.H, Phan, V.T, Hoang, V.T. and Nguyen, X.N. 2015. A newly recorded species Paris cronquistii (Takht) H. Li to flora of Vietnam. Journal of Medicinal materials (Vietnamese). 4 (20): 203-206 Nguyen, Q.N, Pham, T.H, Phan, V.T. and Hoang, V.T. 2016. Toxonomy of genus Paris L. (Melanthiaceae) In Vietnam. Journal of Biology (Vietnam). 38: 333-339. Singh, N.P. and Sanjappa, M. 2006. Alliaceae, Liliaceae, Trilliaceae and Uvalariaceae Fascicles of flora of India. Botanical survey of India, New Delhi. 23: 1-134.
49 สัตฤาษี (ตนี ฮงุ้ ดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนทีส่ งู Wang, F.T. and Tang. F.I. 1978. Paris bashanensis. Flora Reipublicae populais sinicae. Beijing. 15: 250. Wilbert Hetterschieid. 2016. Amorphophallus bubenensis (Araceae), a new species from Yunnan, China. Phytotaxa. 270 (2): 155-157. Yang, L, Yang, Z, Liu, C, He, Z, Zhang, Z, Yang, J, Liu, H, Yang, J and Ji, Y. 2019. Chloroplast phylogenomic analysis provides insights into the evolution of the largsteukaryotic genome holder, Paris japonica (Melanthiaceae). BMC Plant Biology. 19: 1-11. Yunheng, J.I, Peter, W.F, Heng, L, Tiaojing, X. and Zhekun, Z. 2016. Phylogeny and Classification of Paris (Melanthiaceae) Inferred from DNA sequence data. Annals of Botanica Yunnanica. 98: 245-256. Zhang, J, Wang, Y, Zhang, J, Ding, Y, Yu, H and Jin, H. 2011. Evalution of mineral element contents in Paris polyphlla var yunnanensis from Southwest China. African Journal of Pharmacy and Pharmacology. 5: 1792-1796. Zhao, Z.Y, Gao, W.Y, Huang, X.X and Zhao, W.S. 2011. Chemical constituents in Paris Polyphylla var. pseudothibetica. Chinese Traditional and Herbal Dugs. 42 (10): 1917-1920. Zhengri, W and Raven, P.H. 2000. Flora of china. Missouri Botanical garden Press, st.Louis. 24: 1-431.
50 สตั ฤาษี (ตีนฮุง้ ดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนทสี่ ูง บทที่ 3 การขยายพันธุ์ การขยายพันธุ์สัตฤาษีในปัจจุบันทาไดห้ ลายวิธี เช่น การเพาะเมล็ด การขยายพนั ธุ์จากจดุ เจรญิ และ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ แต่สัตฤาษีเป็นพืชท่ีขยายพันธุ์ได้คอ่ นข้างยาก วิธีขยายพันธุท์ ี่สะดวก และเป็นท่ีนยิ มกันได้แก่ การขยายพันธ์โุ ดยการแบ่งส่วน (แยกหวั ) และอีกวิธีหนึ่งคือ การเพาะเมลด็ โดยสภาพแวดล้อมในการขยายพันธ์ุมีผล ตอ่ การงอก และการเจริญเติบโตของสตั ฤาษี 3.1 การเพาะเมล็ด เมล็ดเกิดจากการผสมเกสรระหว่างเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมยี การเพาะเมล็ดจาเป็นต้อง คดั เมล็ดท่ีมีความสมบรู ณ์ เมลด็ มีความสกุ แกท่ างสรีรวิทยา แลว้ นามาเพาะไว้ในพื้นทจ่ี ากดั ทเี่ ตรียมไว้ โดยมีวัสดุเพาะ ท่ีบรรจุในกระบะเพาะ หรือภาชนะต่างๆ ที่มีการดูแลรักษา และควบคุมสภาพความช้ืน สภาพแสง และอุณหภูมิ จนกระทั่งเมลด็ งอก และตน้ กลา้ เจริญเติบโตแข็งแรง จึงจะยา้ ยต้นกล้าไปปลูก การเพาะเมลด็ มีขน้ั ตอนดงั นี้ 3.1.1 เตรยี มวสั ดุเพาะท่ีเหมาะสมต่อการงอกของเมล็ด เช่น ทรายหยาบที่คัดสง่ิ ปนเปื้อนออก 3.1.2 นาทรายใส่ลงในกระบะเพาะหรือตะกร้าพลาสติกท่ีน้าระบายได้ดี ใส่ทรายในตะกร้าประมาณสองในสามของ ตะกรา้ แลว้ รดนา้ ใหช้ มุ่ 3.1.3 นาเมลด็ สัตฤาษีฝงั ลงในทราย ลึกประมาณ 1 นิ้ว แล้วรดนา้ ตาม 3.1.4 วางตะกร้าไว้ในที่รม่ หรอื โรงเรือนเพาะชา ทมี่ สี ภาพแสงร่มราไร อณุ หภมู แิ ละความช้ืนเหมาะสม และดูแลรกั ษา จนกวา่ เมลด็ จะงอก ab ภาพที่ 47 การเพาะเมล็ดสตั ฤาษีโดยใช้ทรายเป็นวสั ดเุ พาะ 3.2 การขยายพันธุจ์ ากจุดเจรญิ การขยายพนั ธุ์จากจุดเจริญพันธุ์พชื ท่ีมีหัวใต้ดนิ ประเภทเหง้า (Rhizomes) สัตฤาษีเป็นพืช ใบเลีย้ งเดย่ี ว ลาตน้ ใต้ดินเจรญิ เติบโตไปตามแนวขนานกบั ผิวดิน วธิ กี ารขยายพนั ธ์สุ ามารถทาไดด้ งั น้ี 3.2.1 ตดั เหงา้ ที่มีการแทงยอดใหมจ่ ากจดุ เจริญ 3.2.2 ทาปูนแดง หรือยาป้องกันเชื้อราตรงบริเวนรอบแผลท่ีตัดเพ่ือป้องกันเชื้อโรคเข้าทาลาย ควรจะปลูกทันที หลงั จากทาการตัด 3.2.3 เตรียมวัสดุเพาะลงในกระถางโดมมีอัตราส่วน 1:1:1 คือ ดิน: แกลบเผา: ปุ๋ยคอก บรรจุวัสดุเพาะลงในกระถาง แลว้ นาเหงา้ ท่ีตัดปลกู ลงในกระถางแลว้ รดน้า 3.2.4 นากระถางวางไว้ในที่ร่มหรือโรงเรือนเพาะชา และดูแลรักษาด้วยการรดน้าให้สม่าเสมอ จนส่วน ขยายพันธเ์ุ รม่ิ แตกยอดใหม่ ซ่ึงใช้ระยะเวลา 1-2 เดือน
51 สัตฤาษี (ตนี ฮุ้งดอย) สมุนไพรศกั ยภาพบนทีส่ ูง ภาพท่ี 48 การขยายพนั ธ์ุจากจุดเจริญ (สุพัฒธณกจิ และคณะ, 2560) 3.3 การเช่อื มลาตน้ การเชอื่ มลาต้นมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อส่งเสริมการเจริญเตบิ โต การนาพืชท้ังสองต้นซึ่งเป็นพันธ์เุ ดียวกนั ซึง่ มีลกั ษณะส่วน ยอดที่จะนามาเชื่อมติดกัน โดยมีเซลล์เน้ือเยอ่ื เป็นตัวเช่ือม โดยมีวัตถุประสงค์ในการเพ่ิมความแข็งแรง และส่งเสริม การเจรญิ เตบิ โตใหต้ ้นทอ่ี ่อนแอกวา่ โดยมีลาตน้ ทมี่ าค้ายนั มากกว่า 1 ต้น และทาใหพ้ ืชหาอาหารบารุงดอก และผลให้ สมบูรณไ์ ด้มากขน้ึ รวมทั้งให้พืชต้นที่สมบูรณช์ ่วยหาอาหารบารงุ ต้นทีอ่ ่อนแอกว่า ให้สามารถเจริญเติบโตไดด้ ีกว่าการ เจริญเติบโตตามปกติเพียงต้นเดียว การเช่ือมลาต้นในสัตฤาษีผลท่ีได้ คือ ขนาดของหัวใต้ดินของสัตฤาษีท้ังสองต้นที่ นามาเช่ือมตดิ กันมขี นาดใหญข่ ้ึนโดยตน้ ที่ออ่ นแอกว่าได้รับอาหารจากส่วนใบต้นทสี่ มบูรณ์ ทาให้ได้ขนาดหัวท่ีใหญข่ ้ึน ท้ังนีใ้ นการเชื่อมลาตน้ เกษตรกรต้องมคี วามชานาญในการปฏิบัติ การเชอ่ื มลาต้น มีขั้นตอนดงั น้ี 3.3.1 นาต้นพืชท่มี ีขนาดลาต้น และความสมบรู ณ์แตกต่างกนั ท่ีจะเชอ่ื มลาต้นปลูกใกล้กนั 3.3.2 เฉือนปลายลาตน้ ของต้นทีอ่ ่อนแอทจ่ี ะนาไปเช่อื มกับตน้ ท่ีสมบรู ณ์บรเิ วณปลายยอดเฉือน 3.3.3 เฉอื นลาตน้ ที่สมบรู ณ์เปน็ ชอ่ งล่ิมขนาดใกล้เคียงกับปลายยอดตน้ อ่อนแอท่จี ะนาไปเชื่อม 3.3.4 สวมลิ้นยอดของต้นท่ีอ่อนแอ และต้นทีแ่ ข็งแรงใหเ้ ขา้ ด้วยกนั โดยให้แนวเนื้อเยอื่ เจริญสัมผสั กนั 3.3.5 พันด้วยพลาสติกใสรอบรอยแผลใหแ้ นน่ 3.3.6 บารุงรักษาต้นตามปกตปิ ระมาณ 2-3 สัปดาห์ ตน้ จะสมานกันสนทิ และสามารถเจรญิ เตบิ โตรว่ มกันได้
52 สัตฤาษี (ตนี ฮงุ้ ดอย) สมุนไพรศกั ยภาพบนทส่ี ูง a b ภาพท่ี 49 การเช่ือมลาvตน้ (สพุ ฒั ธณกจิ และคณะ, 2560) v 3.4 การเพาะเลย้ี งเนอ้ื เย่ือ การเพาะเล้ียงเนอ้ื เยือ่ พืชเป็นวิธีการขยายพันธุ์ใหไ้ ด้พืชท่ีตรงตามสายพนั ธ์ุ ปรมิ าณมากในระยะเวลา ส้ัน การขยายพันธ์ุพืชด้วยการเพาะเล้ียงเนอื้ เย่อื มขี ั้นตอนตา่ งๆ ดังน้ี 3.4.1 การเตรยี มตน้ พันธ์ุ จะเป็นการนาช้นิ สว่ นของสตั ฤาษี เช่น เมล็ด หรือสว่ นเจรญิ จากเหง้า หรือตายอด ปลกู ลงใน วสั ดุเพาะที่สะอาดและผ่านการฆ่าเช้ือ เพอ่ื ลดการปนเป้ือนในการนาส่วนต่างมาเปน็ ช้ืนส่วนต้ังต้น ในการเพาะเล้ียง เนอ้ื เยื่อ 3.4.2 การชักนาใหเ้ กดิ ต้น นาช้ินสว่ นตง้ั ต้นจากสว่ นตา่ งๆ ของสตั ฤาษี เชน่ เมล็ด หรอื ตายอดจากเหง้า มาฟอกฆา่ เชื้อ และเพาะเลย้ี งบนอาหารสังเคราะห์ 3.4.3 การเพ่ิมปรมิ าณต้น นาตน้ อ่อนทไ่ี ด้มาทาการเพ่ิมปรมิ าณตน้ ทุกๆ 6-8 สปั ดาห์ 3.4.4 การยืดยาวของลาตน้ และการกระตุ้นหรือการพัฒนาการออกราก คัดแยกต้นพืชท่ีเพาะเลีย้ งเนอื้ เยือ่ ให้เป็นต้น เด่ียว เพาะเลี้ยงในอาหารเพอ่ื กระตุ้นให้เกดิ ราก ใชเ้ วลาประมาณ 3-4 สปั ดาห์ 3.4.5 การปรับสภาพ และการยา้ ยปลูก นาต้นกลา้ มาทาการล้างรากให้สะอาด คดั ขนาดของต้นให้มีความสม่าเสมอ แล้วย้ายปลูกในสภาพแวดล้อมภายในกระบะที่มีวัสดุปลูกที่นึ่งฆ่าเชื้อแล้ว ท่ีมีส่วนผสมของดินร่วน: ทราย: ปุ๋ยคอก อัตราส่วน 1:1:1 ทาการปรับสภาพโดยการลดอุณหภูมิ เพิ่มความชื้น และลดความเข้มแสงโดยการพรางแสง จนกว่า ตน้ กลา้ จะเจริญเตบิ โตได้ดีจึงคอ่ ยๆ ลดความชืน้ ลง และเพิม่ ความเข้มแสง ใชเ้ วลาประมาณ 2-3 สปั ดาห์ 3.4.6 เมื่อต้นพืชเจริญเติบโตจนถึงระยะเหมาะสม จึงนาต้นพืชปลูกลงในแปลงปลูก หรือปลูกในสภาพป่า เพอื่ ใหเ้ จรญิ เติบโตตอ่ ไป
53 สตั ฤาษี (ตีนฮุง้ ดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนที่สงู ab v cd ภาพท่ี 50 การเพาะเล้ียงเน้ือเยvอ่ื สตั ฤาษี (สพุ ัฒธณกิจ และคณะ, 2560) v
54 สตั ฤาษี (ตนี ฮุ้งดอย) สมุนไพรศักยภาพบนที่สงู บทที่ 4 การปลกู และดูแลรกั ษา 4.1. การเลือกพ้นื ท่ี พ้ืนท่ีปลูกสัตฤาษีท่ีเหมาะสมควรสูงกว่าระดับน้าทะเลเกิน 1,000 เมตร เน่ืองจากสัตฤาษีเป็นพืชที่ต้องการ อากาศเย็นในการเจริญเติบโต สภาพดินที่เหมาะสมคือ ดินร่วนปนทราย และดินตะกอนที่มีความอุดมสมบูรณ์ปาน กลางถึงสูง ดนิ ควรมีการระบายน้าได้ดี มีความเป็นกลางหรอื เปน็ กรดเล็กน้อย เป็นพืน้ ท่ีที่มีสภาพแสงร่มราไร และมี ความชื้นคอ่ นข้างสงู สตั ฤาษีเจรญิ เตบิ โตไดด้ ใี นชว่ งอณุ หภูมิ 20-25 องศาเซลเซียส ดงั นน้ั พื้นท่ปี ลูกควรเป็นพนื้ ท่ีสงู มี ความชื้นน้อยกว่า 30 องศา มีพืชท่ใี หร้ ่มเงา และดนิ ทม่ี ีอนิ ทรียวตั ถสุ ูง หา่ งไกลจากแหลง่ ก่อมลภาวะต่างๆ (สุพัฒธณ กจิ และคณะ 2560) 4.2 การเตรียมพ้ืนที่ เมอ่ื เลือกพ้ืนที่ปลูกได้แล้วจึงเปน็ ขนั้ ตอนการเตรียมพ้ืนท่ีปลูก ถา้ เปน็ พื้นที่สูงควรปรับสภาพของพื้นที่ เพ่ือลด ความยาว และความลาดเทของพื้นท่ี เพ่ือลดการชะล้างพังทลายของหน้าดินและชะลอความเร็วของกระแสน้า การ เตรยี มพื้นท่ี เริ่มจากการปรับพื้นท่ีให้เรียบ วางผังปลูก และวางระบบใหน้ ้า ระยะปลูกข้ึนอยู่กับความสมบรู ณ์ของดิน ระยะปลูกทีแ่ นะนาคอื 0.3 x 0.3 เมตร ab vv cd ภาพที่ 51 การเตรียมพ้นื ที่ปลูกสตั ฤาษภีvายใต้สภาพโรงเรอื น (สพุ ฒั ธณกจิ และคณะ, 2560) v
55 สัตฤาษี (ตีนฮุ้งดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนที่สงู 4.3 การปลูก หากปลกู ในสภาพโรงเรือนที่มีระบบน้า และสามารถควบคมุ สภาพแสงได้ ควรปลูกในชว่ งตน้ ฤดฝู น เพือ่ ใหพ้ ืช เจรญิ เติบโต และพักตัวตามสภาพปกตใิ นธรรมชาติ หากปลูกในสภาพธรรมชาติ สามารถปลกู ในช่วงฤดูฝนในสภาพร่ม ราไร และคอยกาจดั วัชพชื เป็นระยะพืชจะเจริญเติบโตได้เองตามธรรมชาติ แต่ท้ังน้ีควรมีการล้อมร้ัวเพื่อปอ้ งกันสัตว์ ปา่ หรือสัตว์เลยี้ งท่จี ะเข้ามาคยุ้ เข่ยี กนิ หวั หรือลาต้น หรอื สรา้ งความเสยี หายแกต่ น้ พชื ภาพท่ี 52 การปลูกสัตฤาษี (สุพัฒธณกิจ และคณะ, 2560) 4.4. การให้นา้ นา้ เป็นปัจจัยสาคัญต่อการผลิตสตั ฤาษี เน่ืองจากการขาดน้ามีผลโดยตรงตอ่ การเจริญเติบโต การออกดอกและติดผล ความต้องการน้าข้ึนกบั ระยะพฒั นา อายุต้น และฤดกู าล การใหน้ ้าอย่างมปี ระสิทธิภาพต้องให้สมา่ เสมอ และเพียงพอ ต่อความตอ้ งการของสตั ฤาษี 4.4.1. วธิ ีการใหน้ ้า สุพัฒธณกิจ และคณะ (2560) ได้ทาการทดลองปลูกตน้ สตั ฤาษี ลงในแปลงท่ีระยะ 30 x 30 เซนติเมตร โดย ให้นา้ แบบใช้สายยางรดผา่ นฝักบัว ซง่ึ ต้นทุนตา่ สิน้ เปลืองแรงงานน้อย แต่ตอ้ งมแี หล่งน้าที่เพียงพอ
56 สตั ฤาษี (ตีนฮุ้งดอย) สมุนไพรศักยภาพบนทีส่ งู การให้นา้ ดว้ ยท่อและสายยาง เป็นการให้น้าโดยสูบน้าจากแหล่งน้าแล้วใช้ท่อหรือสายยางลาเลียงน้าสู่แปลงปลูกพืช ควรจับเวลาและวัด ปริมาณน้าท่ใี ช้ ควรปรับพื้นท่ีเพอ่ื ใหน้ ้ากระจายซมึ ลงดินอย่างสม่าเสมอ น้าไมท่ ว่ มขงั การให้น้าแบบอื่นๆ อาทิ การใช้ สปริงเกอร์ ไมแ่ นะนาเน่อื งจากมกี ารสญู เสียน้า และสิ้นเปลืองน้า อีกท้ังยังทาให้วัชพืชเจริญเติบโตแข่งกับสัตฤาษีอีก ดว้ ย สาหรบั การให้น้าแบบนา้ หยด พบว่าเป็นวิธีการท่ีมีประสิทธิภาพ แต่มีต้นทุนท่ีเพ่ิมสูงขึ้น แต่มคี วามคุ้มค่าหากมี การผลิตเชงิ อุตสาหกรรม 4.5. การให้ปุ๋ย ป๋ยุ คือสารอินทรียห์ รอื อนนิ ทรีย์ที่ใสใ่ นดินแล้วให้ธาตอุ าหารแกพ่ ืชมี 2 ประเภท คือ ปุ๋ยอนิ ทรีย์ และปยุ๋ อนินท รีย์ ปุ๋ยอินทรีย์ที่ให้ธาตุอาหาร เช่น ปุ๋ยคอก และปุ๋ยหมัก เป็นปุ๋ยที่ช่วยปรับปรุงคุณสมบัติ ทางกายภาพของดินด้วย ปุ๋ยอนนิ ทรีย์ ไดแ้ ก่ ปุ๋ยเคมีท่ใี หธ้ าตุอาหารหลัก เช่น ปุ๋ยไนโตรเจน ปยุ๋ ฟอสฟอรสั และปยุ๋ โพแทสเซยี ม ปุ๋ยเคมีที่ให้ธาตุ อาหารรอง เช่น ปูนโดโลไมท์ แคลเซียมไนเตรท แมกนีเซียมซัลเฟต และปุ๋ยเคมีที่มีจุลธาตุ เช่น คอปเปอร์ซัลเฟต สังกะสี และบอแรกซ์ ปุ๋ยเคมีมีปริมาณธาตุอาหารสูง และใชส้ ะดวกมากกวา่ ปุ๋ยอินทรีย์ การเคล่ือนที่ของธาตุอาหาร หลังใส่ปุย๋ ลงดินนั้นแตกต่างกัน ธาตอุ าหารท่ีเคล่ือนท่ีได้ดีคือ ไนโตรเจนในรปู ไนเตรท กามะถัน โซเดียมและคลอรีน ธาตุอาหารที่เคล่ือนที่ได้ปานกลางคือ ไนโตรเจนในรูปแอมโมเนียม โพแทสเซียม แคลเซียมและแมกนีเซียม ธาตุ อาหารทเ่ี คลอื่ นท่ไี ม่ได้คือ ฟอสฟอรัส แมงกานสี เหลก็ ทองแดง สงั กะสี และโมลิดินมั (ถนอม, 2528) การให้ปุ๋ยทางดินจะเป็นการให้ปุ๋ยโดยการหว่านในทรงต้นหรือขุดร่องลึก 10 เซนติเมตร ใส่รอบทรงต้นแล้วกลบดิน การหว่านปุ๋ยรอบแล้วกลบดิน การหว่านปุ๋ยรอบทรงต้น รวดเร็ว และประหยัดแรงงาน แต่ธาตุอาหารมักถูกชะล้าง ภายหลงั การให้ปุ๋ยต้องใหน้ า้ อยา่ งพอเพียง (วรพจน์, 2559) ความต้องการธาตุอาหารของไม้หัวควรไดร้ ับปุ๋ยทุกเดือนๆ ละครั้ง โดยใส่ปุ๋ยคอก 500 กรัมต่อต้น การใช้ปุ๋ยคอกจะ ช่วยปรับสภาพดิน และช่วยระบายน้า (มูลนิธิโครงการหลวงและสถาบันวิจัยและพัฒนาพ้ืนท่ีสูง องค์กรมหาชน , 2549) ควรหลีกเล่ียงการใส่ปุ๋ยเคมี เพ่ือป้องกันสารเคมีตกค้างในผลผลิต โดยเฉพาะการนาผลผลิตสัตฤาษีไปใ ช้ ประโยชนท์ างยา 4.6. การป้องกนั การโคน่ ล้ม สัตฤาษีมักประสบปัญหาลาต้นหักหรือล้มในช่วงติดเมล็ดช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม เนือ่ งจากลาต้นเหนือดนิ มีความอ่อนแอ ผลและเมลด็ เมอื่ เจริญเตบิ โตเตม็ ท่ีมีน้าหนักมากขึ้น จงึ ต้องหาแนวทางในการ ปอ้ งกันหรอื ลดความเสียหายจากการหักหรือต้นโคน่ ล้ม 4.6.1. การคา้ ยนั และพยุงต้น เป็นวิธีทีน่ ิยมเนอ่ื งจากสะดวก และแก้ปัญหาลาต้นเหนอื ดนิ หัก หรอื โคน่ ลม้ การคา้ ยนั ต้นโดยใช้ไม้ไผ่ ซ่ึงต้องเปล่ียนไม้ค้าทุกๆ 2-3 ปี อีกวิธีการคือการผูกร้อยเชือกโยงลาต้นไว้กับคานเหล็กหรือคานหลังคาโรงเรือน ซ่ึง เป็นวิธีทีน่ ยิ มทาในการปลูกสัตฤาษีเชงิ พาณชิ ย์ในประเทศจนี
57 สตั ฤาษี (ตนี ฮงุ้ ดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนท่สี งู ภาพที่ 53 การคา้ ยนั และพยงุ ตน้ (สุพัฒธณกิจ และคณะ, 2562)
58 สัตฤาษี (ตนี ฮงุ้ ดอย) สมนุ ไพรศักยภาพบนท่สี ูง 4.7 ข้อมลู สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมต่อการเจริญเตบิ โตและให้ผลผลติ (Crop Requirement) สภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมต่อการเจรญิ เติบโตของพชื หวั ในประเทศไทย (สัจจะ, 2548) ดงั ตารางท่ี 7 ตารางท่ี 7 ข้อมลู สภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมต่อการเจรญิ เติบโตและให้ผลผลติ (Crop Requirement) สภาพแวดล้อม ความเหมาะสม ข้อจากดั 1. สภาพภูมิอากาศ - อณุ หภูมิท่เี หมาะสม 10-25 องศาเซลเซียส - ไม่ทนทานต่อสภาพน้าท่วมขงั 1.1 อุณหภมู ิ - ต้องการแสงปานกลาง และท่รี ่มราไร 1.2 ความเขม้ แสง - ไมม่ ีน้าทว่ มขัง 2. สภาพพืน้ ท่ี 3. สภาพดิน - ดนิ ร่วนปนทราย มกี ารระบายนา้ ดี - หลีกเล่ียงการปลูกในดนิ ลกู รงั 3.1 ลักษณะเนื้อดนิ 3.2 ความเป็นกรด - ความเปน็ กรดเป็นด่างของดิน (pH) 5.5-6.5 - หลีกเลย่ี งการปลูกบนดินท่ชี น้ื แฉะ ด่างของดนิ - ตอ้ งการอนิ ทรียวตั ถุสูง 3.3 ปริมาณอินทรยี วตั ถุ - น้าที่เหมาะสมกับการเกษตร ตามมาตรฐาน - การปลูกในพื้นท่ีท่ีมีปริมาณน้าฝน 4. สภาพนา้ ของกรมพฒั นาท่ดี ิน ควรมลี ักษณะดงั น้ี มาก/น้อย ฝนทิ้งช่วง ต้องจัดเตรียม : มคี วามสะอาดไม่มีสารอินทรียแ์ ละสาร ระบบการให้นา้ หรือชลประทาน อนินทรียท์ เี่ ปน็ พิษปนเปื้อน - ต้น อ่ อ น ท่ี เ จ ริญ จา ก จุ ดเ จริ ญ : มีคา่ โลหะหนักเชน่ สารหนไู มเ่ กิน 0.25 ต้องการน้าสม่าเสมอ หลังจากท่ีสัต มก./ลิตร แคดเมียมไม่เกนิ 0.03 ฤาษีตง้ั ตวั ได้สามารถใหน้ า้ ลดลง มก./ลิตร ตะกัว่ ไม่เกิน 0.1 มก./ลติ ร : มคี วามเป็นกรดด่าง อยู่ระหว่าง 6-7.9 : คา่ อุณหภูมิน้าไม่เกนิ 40 องศาเซลเซียส : มคี วามเคม็ ของน้าไม่เกิน 0.3 มก./ลติ ร : มคี า่ ปรมิ าณออกซิเจนจะละลายนา้ ไม่ตา่ กว่า 2 มก./ลติ ร (สานกั นิเทศและถา่ ยทอดเทคโนโลยี กรมพฒั นาที่ดนิ , 2554)
59 สัตฤาษี (ตีนฮุ้งดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนท่ีสูง เอกสารอ้างองิ ถนอม คลอดเพ็ง. 2528. ปฐพีศาสตร์. ภาควิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษ์ศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่. 257 น. มลู นธิ โิ ครงการหลวงและสถาบนั วิจัยและพัฒนาพ้ืนที่สงู (องคก์ รมหาชน). 2549. คู่มือการผลิตไมต้ ัดดอกและไมต้ ดั ใบ. มลู นิธโี ครงการหลวง. เชียงใหม่. 375 น. วรพจน์ รมพฑนี ลิ . 2559. ปุ๋ยและการใช้ปุ๋ย. สานกั พิมพ์ยูไนเตดิ สบ์ ุ๊คส์. กรุงเทพฯ. 218 น. สจั จะ ประสงค์ทรัพย์. 2558. วิจยั และพฒั นาเทคโนโลยีการผลิตไพรอย่างยงั่ ยืน. รายงานโครงการวิจยั . กรมวิชาการ เกษตร.กรุงเทพฯ. สานักนิเทศและถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาท่ีดิน. 2554. การใส่ปุ๋ยพร้อมระบบให้น้าแก่พืช. กรมพัฒนาท่ีดิน. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สุพัฒธณกิจ โพธ์ิสว่าง วิลาสินี จิตต์บรรจง เกษม ทองขาว จันทร์เพ็ญ แสนพรหม อนันต์ ปัญญาเพิ่ม ลัดดาวัลย์ อินทร์สังข์ และสมคิด รัตนบุรี. 2560. ศึกษาวิจัยลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะประจาพันธุ์ และพฤกษ เคมีของตีนฮุ้งดอย (Daiswa polyphylla Sm.) ในถิน่ ที่อยู่ เพ่ือการใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร. รายงาน ผลงานวิจยั สิ้นสดุ ปี 2560. ศนู ย์วิจัยเกษตรหลวงเชยี งใหม่. เชยี งใหม่.
60 สัตฤาษี (ตนี ฮงุ้ ดอย) สมนุ ไพรศักยภาพบนท่ีสงู บทท่ี 5 ศตั รพู ืชที่สาคญั และการป้องกนั กาจดั ศัตรูพืชถือเป็นปัญหาสาคัญที่ทาให้การเจริญเติบโตและการติดผลของสัตฤาษีลดลง การระบาดของศัตรูพืช มีปัจจัย สาคัญคอื พันธท์ุ ี่อ่อนแอ เชอื้ สาเหตทุ ่ีรนุ แรง และสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม (Elad et al., 2007) 5.1 โรคศตั รูสัตฤาษีทส่ี าคญั และการป้องกันกาจัด โรคสตั ฤาษีมอี ยู่ 5 ชนิด และก่อให้เกิดความเสียหายมากนอ้ ยขึน้ อยู่กับลักษณะการเข้าทาลาย ช่วงเวลา การ ระบาด สภาพแวดลอ้ ม ความรนุ แรงของเช้อื สาเหตุ ลักษณะอาการ และวธิ ีปอ้ งกันกาจดั ดงั นี้ 5.1.1 โรคราเขม่า (Grey leaf mold) เชอื้ สาเหตุและอาการ เกิดจากเชอ้ื รา Cercospora Fuligena มักพบในใบแกด่ ้านล่างของลาต้นแลว้ ลามขึ้นไปด้านบนใบที่เป็นโรค จะแสดงอาการจุดสีเหลืองแล้วขยายออก ด้านใต้ใบตรงจุดสเี หลืองมีเชื้อราอยู่ เส้นใยของเชื้อราที่เกิดข้ึนเป็นขุยสีเทา เข้มจนถึงดา ซง่ึ ใบทีเ่ ป็นโรคน้ันจะแหง้ ตาย เชอื้ จะสร้างสปอร์ข้นึ ในปมบนส่วนของพชื และจะแพรก่ ระจายไปโดยลม ฝน นา้ ไหล แมลงและสตั ว์ เชือ้ สามารถอยูข่ ้ามฤดูและในดิน บางครง้ั อยไู่ ด้นานเป็นปๆี สปอร์จะงอกและสรา้ งส่วนที่จะ สร้างพันธเุ์ รียกวา่ คอรน์ ิเดีย เม่อื และคอร์นิเดยี ไปตกลงบนส่วนทอ่ี อ่ นของพืชกจ็ ะเข้าทาลายให้พชื แสดงอาการของโรค เชอื้ เขา้ ทาลายพชื ไดท้ ุกระยะของการเจริญเติบโต (Fu et al., 2018) การป้องกนั กาจดั รวบรวมสว่ นทเ่ี ป็นโรคเผาทาลาย ตัดแต่งก่งิ พืชท่บี ดบังแสงให้โปร่ง เพ่อื พืชไดร้ ับแสงมากข้นึ ลดการใหป้ ยุ๋ ทีมี ไนโตรเจน ฉีดพ่นสารเคมีป้องกันเป็นระยะๆ ในช่วงที่อากาศมีความชื้นสูง พ่นสารเคมีกาจัดเช้ือรา ไซเนบ 50 % ไทแรม 50 % ไดไนโตร เดนเบนโซน 15 % ดีอาร์บี อย่างใดอย่างหนึ่ง ระมัดระวังอย่าให้เคร่ืองมือ เครอ่ื งใช้ถกู ตน้ สัตฤาษจี นเป็นแผล ในขณะทาการดายหญ้า พรวนดิน ซง่ึ จะเป็นทางเข้าของเชอื้ ได้ง่าย
61 สตั ฤาษี (ตนี ฮ้งุ ดอย) สมนุ ไพรศักยภาพบนทส่ี งู ภาพท่ี 54 ลักษณะการเกดิ โรคราเขม่าในสัตฤาษี (Fu et al., 2018) 5.1.2 โรคเหี่ยว (Fusarium) เชือ้ สาเหตุและอาการ เกดิ จากเชื้อ Fusarium oxysporum น้นั จะปรากฏอาการช้ากว่าเช้ือแบคทีเรยี อน่ื ๆ มักจะแสดงอาการเหี่ยว ของใบท้ังๆ ท่ีใบยังเขียวอยู่ มีอาการเหมือนขาดน้า จะเกิดการชะงักการเจริญเติบโต และใบเห่ียว โดยระยะแรกจะ เหี่ยวช่ัวคราว คือจะแสดงอาการใบเหี่ยวเฉพาะช่วงเวลากลางวันท่ีแดดร้อน พอผ่านเวลากลางคืนตอนเช้าจะฟื้นคืน เปน็ เชน่ นัน้ ระยะหนึ่ง ต่อมาจะแสดงอาการเหี่ยวอย่างถาวร จะยืนตน้ เห่ียวหลงั จากนัน้ 2-3 วนั ตน้ ท่ีเปน็ โรคจะแสดง อาการเหี่ยวอย่างเหน็ ได้ชัด และต้นท่เี ป็นโรคจะตายในท่ีสดุ ให้สังเกตบริเวณโคนตน้ จะเป็นแผลสีนา้ ตาล ถ้าถอนต้น ขึ้นมาให้สังเกตที่รากจะมีการเนา่ ร่วม ถ้าทาการผ่ากลางต้นจะพบบรเิ วณท่อน้า และท่ออาหารจะถกู ทาลายเปน็ แผลสี น้าตาล (Zhou et al., 2018) การปอ้ งกันกาจดั เพือ่ พบตน้ ท่ีเป็นโรคให้ถอนทาลาย ห้ามท้ิงลงในแมน่ า้ ลาคลองโดยเด็ดขาด ปลอ่ ยให้ดนิ บริเวณนน้ั ถกู แดดจัด และปรับวิธีการใหน้ ้าอยา่ ใหไ้ หลจากบริเวณที่เป็นโรคไปยังต้นอ่ืน ควรทาความสะอาดอุปกรณ์ที่ใช้ในการเกษตรด้วย แอลกอฮอล์ 70 % เพ่ือฆ่าเชอ้ื สาเหตุโรคพืชท่ีติดมากับอปุ กรณ์ หากไม่สามารถควบคมุ โรคไดใ้ ห้ใช้สารเคมปี ้องกันโรค โดยตรงโดยการใช้สารเคมพี วกท่ีมที องแดงเป็นสว่ นผสม เช่น คูปราวิท คอปปิไซด์ หรอื บอร์โดมกิ ซเ์ จอร์ สารกลุ่มนี้มี ประสทิ ธภิ าพในการทาลายเชือ้ แบคทเี รียในระยะกลา้
62 สตั ฤาษี (ตนี ฮงุ้ ดอย) สมุนไพรศกั ยภาพบนท่ีสูง 5.1.3. โรคเหี่ยวหรอื โรคเน่าของเหงา้ และรากจากเชอ้ื แบคทีเรยี (Bacterial Wilt) เชื้อสาเหตุและอาการ เกิดจากเช้ือสาเหตุ แบคทีเรียราสโตเนีย (Ralstonai solanacearum) เกิดอาการใบเหี่ยว และม้วนเป็น หลอด มีสีเหลืองคล้ายอาการขาดน้าโดยจะลุกลามจากส่วนล่างขึน้ ไปยังส่วนปลายยอด และแหง้ ตาย บรเิ วณโคนต้น และจุดเจริญท่ีแตกออกมาใหม่จะมีลักษณะฉ่าน้า และจะเน่าเป่ือย เหง้าสัตฤาษีจะเป่ือยยุ่ย และมีเมือกสีขาว ซึม ออกมาตรงบรเิ วณรอยแผล ส่วนใหญ่เกิดจากการนาเหงา้ พันธุท์ ่ีตดิ เช้ือมาปลกู ลงในแปลง หรือในแปลงปลูกมเี ศษซาก พชื ที่ตดิ เชื้อ หรอื ดินมีเชือ้ โรคพืชอยู่ และความชนื้ ในดนิ สูงทาให้เกิดการพัฒนาโรคเปน็ ไปอยา่ งรวดเร็ว (Yong et al., 2011) การปอ้ งกนั กาจดั พื้นท่ีปลูกควรจะมีการระบายน้าได้ดี ต้องไม่เคยปลูกพืชที่เป็นโรคหรือโรคเหี่ยวมาก่อน และหากพบโรคใน แปลงให้ถอนต้นทิ้ง และเผาทาลาย แล้วขุดดินบริเวณน้ันผ่ึงแดด โรยปูนขาวเพ่ือกาจัดเช้ือไม่ให้ลุ กลามต่อไป ใช้ สารเคมีป้องกันโรคโดยตรง โดยการใช้สารเคมีพวกที่มีทองแดงเป็นส่วนผสม เช่น คูปราวิท คอปปิไซด์ หรือบอร์โด มกิ ซ์เจอร์ สารพวกน้ีมีประสทิ ธภิ าพในการทาลายเช้อื แบคทเี รียในระยะกล้า 5.1.4. โรคเหย่ี วที่เกดิ จากเชอื้ รา Pythium Wilt เช้ือสาเหตแุ ละอาการ เกิดจากเช้ือสาเหตุ เช้ือรา Pythium spp. เชื้อโรคเขา้ ทาลายราก และลาตน้ ใตด้ ิน ทาให้มีลักษณะเน่าเป็นสี น้าตาล ในระยะท่เี ร่มิ เป็นโรคส่วนของสัตฤาษที ี่อยู่เหนือดินจะเห่ียวเฉาในเวลากลางวัน และจะกลับคืนสภาพปกติใน เวลากลางคืนสลับกันอยู่ระยะหนึ่ง ต่อมามีอาการเหี่ยว มีสีเหลืองถาวร และเปล่ียนแผลไหม้สีน้าตาล ต้นจะเฉาและ แห้งตาย เชื้อราชนิดน้ีเจรญิ ในดินได้เป็นเวลานานในสภาพแห้งแล้ง และสามารถเคล่ือนท่ีไปตามน้าในดิน เข้าทาลาย ตน้ และรากของสัตฤาษไี ดใ้ นบริเวณกวา้ ง (Andrew, 2001) การป้องกันกาจดั ควรปลูกในพ้ืนท่ีที่มีการระบายน้าได้ดี ไม่ให้มคี วามชื้นในดินมากเกนิ ไป ปรบั ปรุงดนิ โดยใชป้ ุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก เพ่ือเพ่ิม ปรมิ าณจุลินทรีย์ในดิน ใสเ่ ช้ือจุลินทรยี ป์ ฏิปักตล์ งในดนิ ได้แก่ Trichoderma spp. Baeillus subtilis เพื่อลดปริมาณ เชื้อโรคในดิน เม่ือพบต้นท่ีเป็นโรคให้เผาทาลาย และราดดินบริเวณน้ันด้วยสารเคมี เช่น เมตาแลกซิล 25 % (ริดโด มลิ ) อตั รา 20-25 กรมั ตอ่ นา้ 20 ลติ ร หรือเอทธิลอะลมู ินัม (fosethy Al) อตั รา 40 กรมั ต่อนา้ 20 ลติ ร 5.1.5 โรคใบจุด (leaf spot disease) เชื้อสาเหตุและอาการ เกิดจากเชื้อรา Alternaria spp. เกิดแผลท่ีใบแล้วจะขยายตัวจากแผลจุดเลก็ ๆ เป็นวงไม่ชดั เจน มีสาน้าตาล กระจายอยู่ท่วั ใบ โดยรอบแผล จุดสีนา้ ตาลจะแสดงอาการเหลืองล้อมรอบและเมื่อสภาพอากาศมคี วามช้นื สงู มีฝนตก ซกุ จะเร่งการแพรร่ ะบาดอยา่ งรวดเร็ว ใบทีเ่ ป็นโรคอย่างรนุ แรง จะมแี ผลจุดเล็กๆ สีน้าตาลเข้มขยายจุดเพิ่มขึ้น และ แสดงอาการใบไหม้ และแห้งดาเป็นเชอ้ื ราท่ีระบาดแพร่หลายมากท่สี ุดชนิดหนง่ึ ก่อใหเ้ กิดโรคกบั พืชต่างๆ มากมาย หลายชนิดโดยเฉพาะผักต่างๆ อาการของโรคจะเกิดขึ้นได้กับทุกส่วนของต้น และทุกระยะการเจริญเติบโตตั้งแต่ต้น อ่อนท่ีเรม่ิ งอกจากเมลด็ จนโตเป็นต้นแก่ บนต้นกล้าอาการขั้นแรกจะปรากฏให้เหน็ โดยเกิดเป็นแผลเล็กๆ ลีดา คล้าย damping-off ขึ้นท่ีลาต้น ต้นที่ถูกเชื้อเข้าทาลายตั้งแต่ระยะกล้านี้จะหยุดการเจริญเติบโตหรือชะงักงัน หากย้ายไป ปลกู ก็จะกลายเป็นพชื ท่ไี ม่สมบรู ณเ์ จรญิ เติบโตชา้ ใหผ้ ลผลิตไมเ่ ต็มท่ี (Fu et al., 2019)
63 สตั ฤาษี (ตีนฮงุ้ ดอย) สมุนไพรศกั ยภาพบนท่ีสงู การป้องกันกาจดั รกั ษาความชนื้ ในแปลงปลูกอย่าให้สูงจนเกินไป และเม่ือพบโรคควรพ่นด้วยสารป้องกนั กาจดั โรค เช่น เบนโน มิลหรือคาร์เบนดาซิม ใชอ้ ัตรา 50-60 มิลลิลติ ร ผสมน้า 20 ลิตร พ่น เม่ือพบการระบาดของโรค และพน่ ซ้าทุก 5 วัน จานวน 4 ครงั้ ภาพท่ี 55 ลกั ษณะการเกดิ โรคใบจุดในสัตฤาษี (Fu et al., 2019) 5.2 แมลงศตั รูพืชสัตฤาษี แมลงศัตรูพืชท่ีสาคัญของสัตฤาษี ได้แก่ หนอนชอนใบ หนอนเจาะลาต้น ตั๊กแตนหนวดส้ัน หอยทาก และ เพล้ยี แป้ง เปน็ ตน้ 5.2.1 หนอนชอนใบ ลกั ษณะและการทาลาย หนอนชอนใบ (Conopomorpha litchiella Bradley) เปน็ หนอนของผีเส้ือกลางคนื ตวั เตม็ วัย มหี นวดยาว เพศเมยี วางไข่กลมรีสีเหลอื งอ่อนเป็นกลุ่มบนใบอ่อน หนอนสีเหลืองครีม และหัวสีน้าตาล หนอนเจาะรเู ข้าไปในเส้น กลางใบ ทาให้เส้นกลางใบและปลายใบแห้งสนิทสีน้าตาล ระบาดตลอดท้ังปี แต่ระบาดมากช่วงที่แตกใบอ่อน ศัตรู ธรรมชาติ คอื แตนเบียนดักแด้ Phancrotoma sp. และ Pholetesor sp. มองเห็นเปน็ ทางสีขาว คดเคยี้ วไปมาตาม ทางท่ีตัวหนอนเคล่อื นผ่าน ตอ่ มาใบจะหงิกงอ การระบาดรนุ แรง ใบและตน้ จะแคระแกร็น (กลุ่มงานโรคพชื , 2535) การปอ้ งกันกาจัด ควรตดั ใบอ่อนท่ีถกู ทาลายไป เผาทาลาย พน่ สารกาจดั แมลง เชน่ อิมิดาคลอพดิ อัตรา 8 มลิ ลลิ ิตรตอ่ น้า 20 ลิตร หรือ สารคารบ์ าริล อัตรา 45 มิลลิลิตรตอ่ นา้ 20 ลิตร 5.2.2 หนอนเจาะลาตน้ ลักษณะและการทาลาย
64 สัตฤาษี (ตนี ฮงุ้ ดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนทสี่ งู หนอนเจาะลาต้น เป็นแมลงศัตรูสาคัญท่ีสดุ ชนิดหนงึ่ โดยเฉพาะในแหลง่ ท่มี ีการใชส้ ารฆ่าแมลงมาก เพราะจะไปทาลายแมลงศัตรธู รรมชาติ เช่น แตนเบียนไข่ ซึ่งเป็นตัวคอยควบคุมประชากรหนอนเจาะลาต้นได้ดี ทา ความเสยี หายโดยการเจาะเข้าไปกินอยู่ภายในลาตน้ ทาให้ต้นหักลม้ ง่ายเมอ่ื ถูกลมพัดแรง นอกจากนั้นยังเจาะทาลาย ฝักด้วย ซึ่งมักเจาะกินที่ก้านใบหรือโคนใบ หากมีการระบาดรุนแรงมากจะเจาะกินท่ีตัวเหง้าพืชด้วย สามารถเข้า ทาลายในช่วงการเจริญเติบโตของลาตน้ ระยะติดดอกและติดเมล็ด โดยทหี่ นอนจะเจาะกินใบสว่ นยอด เจาะกินภายใน ชอ่ ดอก และเจาะเข้าทาลายภายในลาต้นพชื (ไสว, 2544) การปอ้ งกนั กาจัด ในสภาพธรรมชาติมีแมลงด้วยกันท่ีคอยทาลายหนอนเจาะลาต้นให้มีปริมาณลดลง แมลงที่มีประโยชน์เหล่าน้ี ได้แก่ แตนเบียนในวงศ์ไทรโครแกรมมา แมลงหางหนีบ (Proreus simulans Stallen) แมลงช้าง (Chrysopa basalis Walker) Anthicus ruficollis Sand และ Formicomus braminus La ferte-Senectere (แมลงปีกแข็งในวงศ์ Anthicidae) และแมงมุม Cyclosa sp. และควรพ่นไสเ้ ดือนฝอย Steinerma carpocapsae อัตรา 2 ล้านตัวตอ่ น้า 1 ลติ ร หรือสารคลอไพรีฟอส อตั รา 1-2 มลิ ลิลิตร สารดดี ีวพี ี อตั รา 1 ส่วน ตอ่ นา้ 5 ส่วน 5.2.3 ตก๊ั แตนหนวดสนั้ ลกั ษณะและการทาลาย ตก๊ั แตนหนวดส้ัน (Hieroglyphus banian) เป็นต๊ักแตนที่มีความยาว 30-50 มิลลิเมตร สีน้าตาลแก่ ลาตัวมีสีเทา วางไข่เป็นกลุ่มในดิน ระบาดมากในช่วงฤดูรอ้ น กัดกินใบพืชทาให้พืชขาดส่วนท่ีใช้สังเคราะห์แสง และ หยดุ การเจรญิ เติบโต การป้องกนั กาจัด ควรทาการเผาถาง และขดุ ทาลายไข่ ใช้เช้อื ราเมธาไรเซียมฉดี พ่นเพื่อกาจัดตวั หนอน และตัวตั๊กแตน และใช้เช้อื ราพาซีโลมัยซสี กาจัดไข่ตก๊ั แตน 5.2.4 หอยทาก ลกั ษณะและการทาลาย มักจะพบหอยทากในสภาพพ้ืนท่ีท่ีมีความช้ืนสูงหรือมีน้าขังแฉะ พบในช่วงหน้าฝน เข้าทาลายโดย การกนิ ใบออ่ นและยอดอ่อน (จริ าพร และวสันณ์, 2526) การป้องกันกาจัด เก็บทาลาย โรยปูนขาว หรอื ใช้เมทลั ดีไฮด์ 5.2.5 เพลยี้ แป้ง ลักษณะและการทาลาย เพลย้ี แป้ง (Nipaecoccus sp.) ตัวอ่อนสีเหลืองออ่ น ตวั เต็มวัยสีเหลอื งอ่อนหรือสีชมพู มไี ขปกคลุม เป็นช้ันท่ัวลาต้น ดูดกินนา้ เลี้ยงแล้วขับถา่ ยของเหลวที่เหนียวคล้ายน้าเช่ือม ซึ่งเป็นอาหารของมดและราดา ทาให้มด มากินน้าหวานและช่วยเคล่ือนย้ายเพล้ียแป้ง บรเิ วณท่ีถูกทาลายจะเหน็ ผงแป้งเกาะติดอยู่ โดยจะเข้าทาลายตามราก และเหง้าในระดับใต้ดิน ศัตรูธรรมชาติ คือ ด้วงเต่า Cyptolaemus montrouzieri ,Scymnus sp. และ Nephus sp. (Smith and Ingram, 1986)
65 สตั ฤาษี (ตีนฮ้งุ ดอย) สมนุ ไพรศักยภาพบนที่สูง การป้องกันกาจัด ควรตัดส่วนที่มีเพล้ียแป้งเกาะติดไปเผาทาลายหรือกาจัดมด พ่นสารกาจัดแมลง เช่น สารไซเพอร์ มทิ ริน อัตรา 5 มลิ ลิลิตรต่อน้า 20 ลิตร หรือสารปโิ ตเลี่ยมสเปรย์ออยส์ อัตรา 60 มิลลิลิตรต่อน้า 20 ลิตร หรือสาร คลอไพรีฟอสอัตรา 30 มิลลลิ ติ รตอ่ น้า 20 ลติ ร หรือใชแ้ มลงช้างปีกใสอตั รา 200-500 ตัวต่อไร่ ฉีดพน่ ดว้ ยสะเดา เอกสารอ้างอิง กลมุ่ งานโรคพชื . 2535. ผักปลอดสารพิษ. การปอ้ งกนั และกาจัดศัตรูพืช. กรมสง่ เสริมการเกษตร.กรงุ เทพฯ. 34 น. จิราพร เพชรรัตน์ และวสันณ์ เพชรรัตน์. 2526. ศัตรูพืชและการควบคุม. คณะทรัพยากรธรรมชาติ. มหาวิทยาลัย สงขลา. สงขลา. 336 น. สมุทร มงคลกิต. 2524. ตก๊ั แตนที่สาคญั และการป้องกนั กาจัด. เอกสารประกอบการบรรยายในการอบรมเรื่องแมลง- ศัตรพู ชื และการป้องกันกาจัด. กองกีฏวิทยา. กรมวชิ าการเกษตร. กรงุ เทพฯ. 26 น. ไสว บูรณาพานิช. 2544. อนกุ รมวธิ านแมลง. ภาควิชากีฏวทิ ยา. มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. เชียงใหม่. 411 น. Andrew, L. R. 2001. Mammalian Toxicity of Microbial Pest Control Agents. Handbook of Pesticide Toxicology (Second Edition). Vol1. 859-871. Elad, Y, Williamson, B, Tudzynski, P and Delen, N. 2007. Botrytis: Biology, Pathology and Contro. Springer. Dordrecht. Netherlands. Fu, R, Chen, C, Wang, J, Ke, Y and Lu, D. 2019. Identification of Alternaria tenuissima causing brown leaf spot on Paris Polyphlla var. Chinensis in China. Journal of Phytopathology. Vol. 167. 440- 444. Fu, R, Ke, Y, Lu, Y, Gao, F and Zhang, H. 2018. First report of Gray Mold caused by Botrytis cinerea on Paris Polyphlla in China. Plant disease. Vol. 102(7). Smith, M. C. and Ingram, R. 1986. Heterochromatin banding in the genus Paris. Genetic. 71. 141- 145. Yong, B, Zhand, C, Ma, Q and Wang, Y. 2011. Isolation of endophytic bacterium ium 35 from Paris Polyphylla var. Chinensis and properties of its antibiotic protein. Chinese Journal of Applied and Environmental Biology. 17 (4): 537-540. Zhou, X, Li, M. S. H, Gao, H, Tang, J, Chen, Y and Chen, M. 2018. Fusarium oxysporum causes Paris Polyphlla var. Chinensis stem rot in Chongren North Fujian China. Journal of Plant Pathology. Vol. 100(119).
66 สัตฤาษี (ตีนฮุ้งดอย) สมนุ ไพรศักยภาพบนทีส่ งู บทที่ 6 การเก็บเกยี่ วและวิทยาการหลงั การเกบ็ เกี่ยวสัตฤาษี สัตฤาษเี ริ่มออกดอกเดอื นมีนาคมถึงเมษายน และเกบ็ เก่ยี วในช่วงระหว่างเดอื นพฤศจิกายนถึงเดอื นธนั วาคม ประเทศ จนี เป็นประเทศท่ีผลิตและส่งออกสัตฤาษีรายใหญ่ของโลก เหง้าของสตั ฤาษีทีจ่ าหน่ายจะต้องมคี ณุ ภาพที่ดี และเปน็ ท่ี ยอมรับของผู้นาเข้าหรือผู้บรโิ ภค การเกบ็ เก่ียวและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวที่ถูกต้องเหมาะสม จงึ มีความสาคัญ สาหรับการส่งออกสัตฤาษไี ปสปู่ ระเทศคูค่ ้า หรือโรงานทรี่ ับซอื้ (Madhu et al., 2010) 6.1 การเก็บเกยี่ ว 6.1.1 อายุการเก็บเกย่ี ว สตั ฤาษีเปน็ พืชสมนุ ไพรทนี่ ิยมนาไปใช้เป็นวตั ถดุ บิ ในแพทย์แผนจีน สัตฤาษเี ป็นพชื ท่จี ะตอ้ งเก็บเกี่ยวเม่ือเหง้า มีอายุการเกบ็ เกี่ยวที่เหมาะสม เพ่ือให้มีการสะสมปริมาณสารท่ีนาไปใชใ้ นการผลิตยาได้ดี สัตฤาษีจะเรมิ่ ออกดอกและ ตดิ เมล็ดประมาณเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม เร่มิ เก็บเก่ียวผลผลิตช่วงปลายเดือนพฤศจิกายนถงึ เดือนธนั วาคม อายุการเก็บเกี่ยวสัตฤาษีท่ีเหมาะสมจะอยู่ท่ี 5-7 ปี ถ้าเก็บเกี่ยวเร็วเกินไป จะทาให้สารท่ีจะนาไปใช้ประโยชน์ลดลง (Cunningham et al., 2018) 6.1.2 วิธกี ารเกบ็ เกี่ยว การเก็บเก่ียวสตั ฤาษจี ะเก็บเก่ียวเม่ือลาต้นเหนือดนิ เร่ิมแสดงอาการเห่ียว จนกระทัง่ แห้งสนิท จึงเริ่มทาการ เก็บเกี่ยว ใช้แรงงานคนในการเกบ็ เก่ยี วโดยการขุดเหง้าสัตฤาษีในดิน เมื่อทาการเก็บเก่ียว แล้วจะต้องนามาทาความ สะอาดเพื่อเอาดนิ ออก โดยใช้มอื หรือแปรงขัดผิวสัตฤาษใี หส้ ะอาด ตัดแต่งรากหรือส่วนเหง้าที่เสียท้ิง ไม่ควรใหม้ ีส่วน ของตน้ หรือดนิ ตดิ ปนไปกบั หัว ผ่งึ เหง้าสัตฤาษีในตะกร้าให้สะเดด็ น้า ไม่ควรนามาหน่ั ทันทีเพราะจะทาให้เฉาและตาย (Bailey et al., 1993) 6.2 ลกั ษณะผลผลติ ทีใ่ ชแ้ ละคณุ ภาพ 1. เหง้าสตั ฤาษีท่ีมีการงอกของจุดเจริญควรที่จะเก็บไวท้ าแมพ่ ันธุ์ ควรผ่ึงไว้ในทีร่ ม่ ทม่ี ีอากาศถ่ายเทได้ 2. เหง้าสตั ฤาษที ีจ่ ะขายเปน็ เหงา้ สด บรรจใุ นกระสอบป่านหรอื ถงุ ตาข่ายแล้วนาไปส่งขายแก่ผู้บริโภค 3. เหง้าสัตฤาษที จี่ ะทาการแปรรูปจะมีการอบแหง้ หรอื บดเปน็ ผงก่อนจาหน่าย (Sokhansanj et al., 1999) 6.2.1 การทาแหง้ สัตฤาษีท้งั เหงา้ 1. ตม้ หรอื น่ึงเหง้าสดนาน 1-2 ชัว่ โมง เพ่ือใหเ้ ซลล์เนือ้ เยื่อตาย 2. ตากแดด 6-8 วนั หรอื อบด้วยลมร้อน 65-70 องศาเซลเซยี ส ใหค้ วามชนื้ คงเหลือ 8-10 เปอรเ์ ซ็นต์ 3. ทาความสะอาดเหง้า ปอกเปลือกหรอื ขดั ผวิ ภายนอกเหงา้ 4. คดั แยกชนิดและขนาดก่อนบรรจุ (Dipesh et al., 2014) 6.2.2 การทาสัตฤาษีแหง้ แบบชนิ้ 1. หน่ั หรือฝานเหงา้ สัตฤาษีโดยใช้มดี หรือเครอื่ งหั่น 2. วางถาดบนตะแกรงเกล่ียให้บาง
67 สตั ฤาษี (ตีนฮุง้ ดอย) สมุนไพรศกั ยภาพบนทสี่ ูง 3. นาไปอบโดยใช้เคร่ืองอบลมร้อนที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 6-12 ชั่วโมง หรือนาไปตากแดด 3 วัน แล้วอบดว้ ยลมร้อนทีอ่ ุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เปน็ เวลา 3 ช่วั โมง สุพัฒธณกิจ และคณะ (2563) ไดท้ าการศึกษาอุณหภมู ทิ ่ีเหมาะสมในการอบแหง้ สัตฤาษีโดยไม่สูญเสียคุณภาพ พบว่า จากการทดลองอบเหง้าสัตฤๅษหี ่ันเป็นแผ่นหนา 0.5 เซนตเิ มตร ท่ีอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส ใช้ระยะเวลาในการอบ 6, 8, 10, 12, 14 และ 16 ช่ัวโมงในการอบที่อุณหภูมิคงที่ เปรียบเทียบกับการผ่ึงไว้ท่ีอุณหภูมิห้องเป็นเวลา 120 ชั่วโมง พบวา่ น้าหนกั สดและนา้ หนกั แห้งไมม่ คี วามแตกต่างกนั ทางสถติ ิ ที่ความเชือ่ มั่น 95 เปอร์เซ็นต์(ตารางท่ี 9) ตารางที่ 8 การเปล่ียนแปลงของน้าหนกั สัตฤาษี ณ อณุ หภมู ิคงทใ่ี นระยะเวลาการอบที่ต่างกัน (สุพฒั ธณกิจ และคณะ, 2563) กรรมวิธี กอ่ นอบ น้าหนัก (กรมั ) ทลี่ ดลง หลงั อบ 31.20 อุณหภมู หิ ้อง 25 C° 120 ช่ัวโมง 50.50 19.30 29.24 อุณหภูมิ 60 C° อบ 6 ช่วั โมง 50.37 21.13 30.33 อณุ หภูมิ 60 C° อบ 8 ชั่วโมง 50.50 20.17 30.37 อณุ หภมู ิ 60 C° อบ 10 ชั่วโมง 50.50 20.13 31.63 อุณหภมู ิ 60 C° อบ 12 ชวั่ โมง 50.23 18.60 31.04 อุณหภูมิ 60 C° อบ 14 ชั่วโมง 50.37 19.33 อุณหภูมิ 60 C° อบ 16 ช่วั โมง 50.10 19.23 30.87 ns F-test ns ns 2.53 % C.V. 0.31 4.24 และพบว่าหลังทาการอบแห้งสัตฤๅษี ตามกรรมวธิ ีที่กาหนดพบว่าความช้ืนคงเหลือมีความแตกต่างกันทางสถติ ิอย่างมี นัยสาคัญ โดยการอบทรี่ ะยะเวลา 10 และ 12 ช่ัวโมงมีความชนื้ ไม่แตกต่างกันทางสถิติและมคี วามช้ืนน้อยท่ีสุด รอง มาคือท่ีการอบแหง้ ท่ีระยะเวลา 16, 14, 6 และ 8 ชัว่ โมง ตามลาดบั (ตารางท่ี 10) การทาใหแ้ ห้งโดยผ่งึ ไว้ ณ อณุ หภูมิหอ้ งเป็นระยะเวลา 120 ชว่ั โมงเมื่อเปรยี บเทยี บกับการทาใหแ้ ห้งโดยการอบแลว้ มี ความชื้นหลังอบที่แตกต่างกันทางสถิติซึ่งมีความชนื้ น้อยกว่าการอบแห้งที่ระยะเวลา 6 และ 8 ช่วั โมง การอบแห้งที่ ระยะเวลา 10, 12, 14 และ 16 ชว่ั โมงตามลาดบั ระยะเวลาการอบทแ่ี ตกตา่ งกนั ภายหลงั การอบให้ค่าสีทใ่ี กล้เคียงกัน และมีผลทาให้ปริมาณสารสาคญั คือซาโปนินลดลง โดยกรรมวิธที ่ีเหมาะสมต่อการอบแหง้ สัตฤๅษี ทอ่ี ณุ หภมู ิ 60 องศา เซลเซียสโดยหลังการอบมีความชื้นที่ไม่เกิน 10 เปอร์เซ็นต์และมีปริมาณสารสาคัญคงเหลือสูงท่ีสุดคือการอบที่ ระยะเวลา 8 ช่ัวโมง ซึ่งจะมีความชื้นที่ 4.32 เปอร์เซ็นต์และมีปริมาณสารซาโปนิน 12.12 กรัมต่อ 100 กรัมของ ตวั อย่างแหง้ (ตารางที่ 10)
68 สัตฤาษี (ตนี ฮงุ้ ดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนท่ีสงู ตารางท่ี 9 การเปล่ยี นแปลงของความชน้ื สัตฤาษี ณ อุณหภมู คิ งทใ่ี นระยะเวลาการอบท่ตี ่างกัน (สพุ ฒั ธณกจิ และคณะ, 2563) กรรมวิธี ความชื้น (%) กอ่ นอบ หลงั อบ ที่ลดลง อณุ หภูมหิ ้อง 25 C° 120 ชัว่ โมง 61.30 3.24b 58.06 อณุ หภมู ิ 60 C°อบ 6 ชัว่ โมง 61.30 6.73a 54.57 61.30 4.32a 56.98 อุณหภูมิ 60 C°อบ 8 ช่วั โมง 61.30 1.24e 60.06 อณุ หภูมิ 60 C°อบ 10 ช่วั โมง อุณหภูมิ 60 C°อบ 12 ชว่ั โมง 61.30 1.25e 60.05 61.30 1.83c 59.47 อณุ หภมู ิ 60 C°อบ 14 ชั่วโมง อุณหภูมิ 60 C°อบ 16 ชัว่ โมง 61.30 1.72c 59.58 F-test ns * Ns % C.V. 1.25 70.02 3.48 ตารางที่ 10 ปริมาณสารซาโปนินในหวั สตั ฤาษี ณ อุณหภมู คิ งท่ใี นระยะเวลาการอบทตี่ า่ งกนั (สุพัฒธณกิจ และคณะ, 2563) กรรมวิธี ปริมาณสารซาโปนิน อณุ หภมู หิ ้อง 25 C° 120 ชวั่ โมง 2.57 c อุณหภมู ิ 60 C° อบ 6 ชว่ั โมง 10.54a อุณหภูมิ 60 C° อบ 8 ช่วั โมง 12.12a อุณหภมู ิ 60 C° อบ 10 ชวั่ โมง 4.94b อณุ หภมู ิ 60 C° อบ 12 ช่ัวโมง 2.72c อุณหภูมิ 60 C° อบ 14 ชัว่ โมง 4.99b อณุ หภูมิ 60 C° อบ 16 ช่วั โมง 4.98b F-test * % C.V. 60.99 6.3 การบรรจุภัณฑแ์ ละการเก็บรกั ษา 1. บรรจุสตั ฤาษีท่ีแหง้ แล้วในภาชนะทึบแสงท่ีสะอาด แหง้ และปดิ ให้สนิทเช่น บรรจุในถุงซิป/ถุงพลาสติกใส หรอื ถุงฟอยดป์ ดิ ปากถงุ ให้แนน่ แลว้ บรรจุในถงั พลาสตกิ ทม่ี ีฝาปดิ 2. เก็บในท่แี ห้ง สะอาด อากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก 3. ไมค่ วรวางวตั ถุดิบใหส้ ัมผสั กบั พื้นโดยตรง ควรเกบ็ ไวบ้ นช้ันวางหรอื ยกพื้นสูง 4. นาวตั ถุดิบออกมาผึ่งในทรี่ ม่ ทุก 3-4 เดือน (องอาจ และคณะ, 2536)
69 สัตฤาษี (ตีนฮ้งุ ดอย) สมุนไพรศกั ยภาพบนทสี่ ูง เอกสารอ้างองิ สพุ ัฒธณกจิ โพธ์สิ วา่ ง อนภุ พ เผอื กผ่อง จนั ทร์เพ็ญ แสนพรหม และลดั ดาวลั ย์ อนิ ทรส์ ังข์ 2563. การทดสอบอณุ หภูมิ ในการอบแห้งโดยไม่สูญเสียคุณภาพของพืชสมุนไพรเมืองหนาวท่ีมีศักยภาพ. รายงานผลงานวิจัยรอบ 12 เดือน ปงี บประมาณ 2563. กรมวิชาการเกษตร. ศนู ยว์ จิ ยั เกษตรหลวงเชยี งใหม.่ เชียงใหม.่ องอาจ หาญชาญเลิศ ฉลองชัย แบบประดิษฐ์ และย่ิงยศ ไพสุขศานติวัฒนา. 2536. การวิจัยและพัฒนาพืชสมุนไพร และเคร่ืองเทศ. สถาบันวิจยั และพฒั นาแห่งชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรงุ เทพฯ. Bailey, W. G, Van, K. B and Guo, Y. 1993. The role of ginseng drying in the harvest and Post-harvest production system for American ginseng. Proceedings of the Ginseng Society Conference. 155-163. Cunningham, A. B, Brinckmann, J. A, Bi, Y. F, Pei, S. J, Schipmann, U and LUO, P. 2018. Paris in the spring: A review of the trade, conservation and opportunities in the shift from wild harvest to cultivation of Paris Polyphylla (Trilliaceae). Journal of Ethnopharmacology. 222. 208-216. Dipesh, P, Bhesh, R. O. and Madhusdan, T. M. 2014. Feasibilty study of commercially valuable medicinal and Aromatic plants of far western development region Nepal: Five cultivation of FEW Important medicinal plants. Satuwa (Paris Polyphylla Sm.). Development of Plant Resources Thapathali. Kathmandu. 26-29. Madhu, K. C., Sussana, P. and Pramod, K. J. 2010. Ecological study of Paris Polyphylla Sm. ECOPRINT. 17: 87-93. Sokhansanj, S, Bailey, W. G, Guo, Y. P, Van Delfsen, K. B and Oliver, A. L. 1999. Physical characteristics of North American ginseng (Panax quinquefolius L.) root. Canadian Agricultural Engineering. Vol. 41. 239-246.
70 สตั ฤาษี (ตนี ฮุ้งดอย) สมุนไพรศกั ยภาพบนทสี่ งู บทท่ี 7 การแปรรปู สัตฤาษีเป็นสมุนไพรท่ีหายาก พบเฉพาะบนพ้ืนที่สูง และพบอย่างแพร่หลายในประเทศจีน ซึ่งนิยมใช้ สัตฤาษีสดเป็นส่วนประกอบของอาหารเพ่อื ใช้บารงุ ร่างกาย (โกวทิ , 2551) ปจั จุบันในประเทศจีนมกี ารขยายพนื้ ท่ีปลูก สตั ฤาษี เพ่ือเป็นการค้ามากขนึ้ เนือ่ งจากสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้หลากหลาย นอกจากนามาใช้ปรุงอาหารแล้วยัง ช่วยในการใช้ทายา สรรพคุณรักษาอาการประจาเดือนมาไม่ปกติ เป็นยาบารุงกาลัง ห้ามเลือด และรักษาแผลใน กระเพาะอาหาร เปน็ ต้น (วิทยา, 2554) นอกจากการใช้ประโยชน์จากสัตฤาษสี ดแลว้ การแปรรูปสัตฤาษี ยังเป็นการ เพ่ิ ม มู ลค่ า ใ ห้ กั บ ผ ล ผลิ ต สั ต ฤา ษี ท่ี เก ษ ต ร ก ร ป ลู ก หรื อ เ ก็ บ เ ก่ี ย ว ไ ด้ ซ่ึง ส า ม าร ถ ท าร า ย ไ ด้สู ง ก ว่ า การขายผลผลิตสดหลายเท่า แต่จะมีกรรมวิธีที่เพิ่มขึ้น ถ้าเกษตรกรสามารถผลิตได้ถูกวิธีและมีคุณภาพ จะทาให้ ผลผลติ จากการแปรรูป จาหน่ายได้ในราคาท่ีสูงขึ้น (ภาสกิจ, 2552) หลังจากทเี่ กษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรเก็บเกี่ยวสมัน ไพร ส่วนหน่ึงจะถูกนาไปขายเป็นผลผลิตสด ให้แก่กลุ่มผู้บริโภคผลผลิตสด และอีกส่วนหนึ่งจะทาการแปรรูป โดย ข้นั ตอนการแปรรูปจะแตกตา่ งกนั ขึ้นอยู่กบั ความต้องการของเกษตรกร และผูบ้ รโิ ภค (เย็นจิต, 2554) ซึ่งปัจจุบนั มที ั้ง การอบแหง้ ทั้งหวั การทาเปน็ แผน่ อบแหง้ ซง่ึ นิยมในตลาดสมุนไพรจีน และการทาเปน็ ผงจาหน่าย การแปรรปู สตั ฤาษี สามารถแปรรปู ได้ดังน้ี 7.1 สัตฤาษีแหง้ ทง้ั เหงา้ นาเหง้าสตั ฤาษที ท่ี าความสะอาดเรียบร้อยแล้วต้มในนา้ เดอื ด 1-2 ชั่วโมง แล้วนาไปตากแดดจนแห้ง ประมาณ 6-8 วัน หรืออบในตอู้ บลมรอ้ น 65-70 องศาเซลเซยี ส สัตฤาษีทแี่ ห้งแลว้ ควรบรรจใุ นภาชนะทส่ี ะอาด ปดิ ให้ สนิท เก็บไว้ในที่แห้งและสะอาด หากยังไม่ได้นาไปใช้ ให้นาออกมาผึ่งในท่ีร่มทุก 3-4 เดือน และไม่ควรเก็บไว้นาน เน่อื งจากปรมิ าณสารสาคญั อาจจะลดลง (LU et al., 2018) ภาพท่ี 56 สตั ฤาษอี บแหง้ ท้งั หวั (LU et al., 2018)
71 สัตฤาษี (ตีนฮ้งุ ดอย) สมุนไพรศักยภาพบนทสี่ ูง 7.1 สตั ฤาษีแหง้ แบบแผ่น 1. ทาความสะอาด คัดแยกเหง้า ตดั ส่วนที่มีจุดเจริญ คัดเลือกส่วนสมบูรณ์ปราศจากโรคและแมลง นามาล้างด้วยน้า สะอาดหลายๆ คร้งั เน่ืองจากสัตฤาษีเปน็ พืชหัวอยใู่ ต้ดนิ การล้างทาความสะอาดจงึ เป็นขั้นตอนทส่ี าคัญทส่ี ุด หลังจาก น้นั ควรใส่ตะกร้าท้งิ ไว้ประมาณ 1 คนื 2. นาสัตฤาษีที่ลา้ งแล้วนามาหนั่ เป็นชนิ้ บางๆ ใส่ในภาชนะที่โปรง่ อย่าใหท้ ับซ้อนกัน นาไปตากแดด หม่นั กลับบ่อยๆ ประมาณ 10-20 นาที ตอ่ ครั้ง จะทาใหแ้ ห้งเร็ว เมื่อแห้งจะมีขนาดเล็ก ตากแดดประมาณ 2-3 วนั ก็แหง้ สนิท หรอื จะ นาไปอบด้วยลมร้อน โดยจะอบท่ีอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 6-12 ชั่วโมง การทาใหแ้ ห้งโดยการตากแดด อาจจะมีการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ และสีของสัตฤาษีจากการอบผลผลิตจะมีสีสวยกว่าการลดความช้ืนด้วยการตาก แดด (สุพฒั ธณกจิ และคณะ, 2563) ภาพที่ 57 สตั ฤาษีห่นั เปน็ แผ่นอบแหง้ (สพุ ฒั ธณกจิ และคณะ, 2563) 7.3 สตั ฤาษีผง วิธกี ารผลติ สัตฤาษแี บบผง โดยนาสัตฤาษีที่แห้งแล้วมาบดใหล้ ะเอียดด้วยเครื่องบด หรือตา แลว้ รอ่ น เอาเฉพาะผง นามาบรรจุในถุงหรือแคปซูล เพื่อจาหน่ายสัตฤาษีในรูปแบบผง จะนาไปใช้เป็นส่วนประกอบใน ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่นใช้ในทางการแพทย์ ในการรักษาโรคต่างๆ เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาระงับประสาท และยารักษาแผล เปน็ ตน้ (Shamim et al., 2012) ภาพท่ี 58 สัตฤาษีผง (Shamim et al., 2012)
72 สตั ฤาษี (ตีนฮงุ้ ดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนที่สูง เอกสารอา้ งองิ โกวทิ คัมภรี ภาพ. 2551. ยาจนี Chinese material medica. พิมพ์คร้ังท่ี 1. พิมพด์ ี. กรุงเทพฯ. ภาสกิจ วัณนาวิบูล. 2552. ค่มู อื สมุนไพรจีนกับการรักษาคลิกนิก เล่ม 1. พมิ พ์ครงั้ ท่ี 1. หมอชาวบ้าน. กรุงเทพฯ. เยน็ จิต เตชะดารงสิน. 2554. ตารายาจีนท่ีใช้บอ่ ยในประเทศไทยฉบบั สมบรู ณ.์ ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ ไทย จากดั . กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทยท์ างเลือก. กรุงเทพฯ สุพัฒธณกจิ โพธิ์สว่าง อนุภพ เผอื กผอ่ ง จันทรเ์ พ็ญ แสนพรหม และลดั ดาวัลย์ อนิ ทรส์ งั ข์ 2563. การทดสอบอุณหภูมิ ในการอบแห้งโดยไมส่ ูญเสยี คณุ ภาพของพืชสมุนไพรเมืองหนาวท่มี ศี กั ยภาพ. รายงานผลงานวิจัยรอบ 12 เดือน ปีงบประมาณ 2563. กรมวิชาการเกษตร. ศนู ยว์ ิจยั เกษตรหลวงเชยี งใหม.่ เชยี งใหม.่ วทิ ยา บุญวรพฒั น์. 2554. สารานุกรมสมุนไพรไทย-จนี ท่ใี ช้บอ่ ยในประเทศไทย. สมาคมศาสตรก์ ารแพทย์แผนจนี ใน ประเทศไทย. กรงุ เทพฯ. LU, Y, QI, J. R. P and Yang, S. 2018. Study on Problems and Contermeasures of Industrial Development of Paris in Yunnan Province. Advances in Social Science. Education and Humanities Research. Vol. 233. 153-156. Shamim, A. S, Mazumder, P. B and Dutta, C. M. 2012. Medicinal Properties of Paris Polyphylla Smith. : A review. Journal of Herbal Medicine and Toxicology. 6 (1). 27-33
73 สัตฤาษี (ตีนฮุ้งดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนทส่ี งู บทที่ 8 มาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแหง่ ชาติ 8.1 สัตฤาษสี ด 1. ขอบข่าย 1.1 มาตรฐานสินค้าเกษตรนใ้ี ชก้ ับสตั ฤาษที ี่มีชือ่ วิทยาศาสตร์วา่ Paris (Daiswa) Polyphylla Smith อย่ใู นวงศ์ Melanthiaceae เพ่ือจาหนา่ ยผลผลติ แบบสด 1.2 มาตรฐานสินคา้ เกษตรนไ้ี มค่ ลอบคลุมสัตฤาษีทใี่ ช้ในการแปรรปู ในอุตสาหกรรม 2. นยิ าม ความหมายของคาท่ีใช้ในมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรมีดงั ต่อไปนี้ 1. เหง้า (rhizome) หมายถึง ลาต้นท่อี ยู่ใต้ดนิ ของสตั ฤาษี 2. ศตั รูพืช (Pest) หมายถงึ สง่ิ มีชวี ิตซงึ่ เปน็ อนั ตรายแก่พชื อาจกอ่ ใหเ้ กิดความเสยี หาย ได้แก่ โรคพืช แมลง สัตว์ และวัชพืช 3. คุณภาพ 3.1 ขอ้ กาหนดขั้นต่า สัตฤาษีทุกชิ้นมีคณุ ภาพท่ีต้องเป็นไปตามข้อกาหนดดังต่อไปน้ี เวน้ แต่จะมีข้อกาหนดเฉพาะ ของแต่ ละขัน้ คุณภาพ และเกณฑค์ วามคลาดเคลอ่ื นท่ยี อมให้มีไดต้ ามทรี่ ะบุไว้ 1. เป็นสตั ฤาษีทัง้ เหง้า 2. เปน็ สตั ฤาษีทีส่ ด 3. สะอาด ปราศจากสิ่งแปลกปลอมที่มองเห็นได้ 4. ไมเ่ สื่อมคณุ ภาพ หรือไมเ่ นา่ เสีย ท่ีทาให้ไมเ่ หมาะสมกบั การบรโิ ภค 5. ผิว และรอยตัดตอ้ งแหง้ 6. รอยถลอกตอ้ งแหง้ 7. ไมม่ ศี ตั รพู ชื ทม่ี ผี ลกระทบตอ่ ลกั ษณะภายนอกของสตั ฤาษี 8. ไม่มีรอ่ งรอยความเสียหายเนอื่ งจากศตั รูพืชทมี่ ผี ลกระทบต่อคณุ ภาพสัตฤาษี 9. ไม่มีชนิ้ ส่วนทผี่ ิดปกติทผ่ี ิวสตั ฤาษี โดยไมร่ วมหยดนา้ ท่ีเกิดหลังจากนาสัตฤาษอี อกจากหอ้ งเย็น 10. ไม่มกี ลน่ิ แปลกปลอม และหรอื รสชาตทิ ่ีผิดปกติ 3.2 การแบง่ ชั้นคณุ ภาพ มาตรฐานสินคา้ เกษตรสัตฤาษี แบ่งเป็น 3 ช้นั คุณภาพดงั น้ี 3.2.1 ชั้นพิเศษ (Extra Class) สัตฤาษีในช้ันนี้ต้องมีคุณภาพท่ีดีที่สุด ลักษณะเหง้าอาจมีตาหนิเล็กน้อยที่ผิว แต่ตาหนิต้องสมาน และแห้งสนิท ทั้งนี้ขนาดของตาหนิท่ีผิวโดยรวมต้องไม่เกิน 5 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่ผิวต่อเหง้า ตาหนิจะต้องไม่มี ผลกระทบตอ่ ลกั ษณะภายนอกของสตั ฤาษี คุณภาพของเน้ือสัตฤาษี คณุ ภาพระหว่างการเก็บรกั ษา และการจัดเรยี งใน ภาชนะบรรจุ
74 สตั ฤาษี (ตนี ฮุ้งดอย) สมุนไพรศักยภาพบนทส่ี ูง 3.2.2 ชัน้ หนึ่ง (Class I) สัตฤาษีชัน้ นตี้ ้องมีคุณภาพดี มลี ักษณะหรือมีตาหนิเลก็ นอ้ ย ท่ผี ิว แต่ตาหนิตอ้ งสมาน และแห้งสนิท ท้งั น้ีขนาดของตาหนิทีผ่ ิวโดยรวมจะต้องไมเ่ กิน 10 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่ผิวต่อเหงา้ ตาหนิจะต้องไม่มีผลกระทบต่อ ลกั ษณะภายนอกสตั ฤาษี คุณภาพของเนือ้ สตั ฤาษี คุณภาพระหว่างการเกบ็ รักษา และการจดั เรียงในภาชนะบรรจุ 3.2.3 ช้นั ทส่ี อง (Class II) สัตฤาษีในช้นั นี้รวมสตั ฤาษีท่ีมีคุณภาพไมเ่ ข้าข้ันคุณภาพท่ีสูงกว่า แต่มีคุณภาพตามขอ้ กาหนดข้ันต่า ท่ีกาหนดในข้อ 3.1 สตั ฤาษใี นช้ันนม้ี ีความผดิ ปกตหิ รือตาหนไิ ดบ้ ้าง ดังตอ่ ไปน้ี 1. ตาหนิทผ่ี ิว แต่ตาหนติ ้องสมานและแห้งสนทิ ทั้งนข้ี นาดของตาหนิทผ่ี ิวโดยรวมต้องไม่เกนิ 25 เปอร์เซน็ ต์ ของพื้นท่ี ผวิ ตอ่ เหง้า 2. ลกั ษณะบง่ ช้วี ่าเร่ิมงอกน้อยกวา่ 10 เปอร์เซ็นต์ โดยมกี ารชัง่ น้าหนักกอ่ นบรรจุ 3. ตาหนิจะต้องไม่มีผลกระทบต่อลักษณะภายนอกของสัตฤาษี คุณภาพของเนื้อสัตฤาษี คุณภาพระหว่างการเก็บ รักษา และการจดั เรยี งในภาชนะบรรจุ 4. ขนาด ขนาดของสัตฤาษพี ิจารณาจากน้าหนักตอ่ เหง้า ตามตารางที่ 11 ตารางท่ี 11 ขนาดและน้าหนักของเหง้าสตั ฤาษีที่แบง่ ตามเกณฑ์มาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ ขนาด น้าหนกั ตอ่ เหงา้ (กรัม) 1 ≥ 250 2 150 ถึง ≤ 250 3 50 ถึง < 150 หมายเหตุ การแบ่งชัน้ คุณภาพและขนาดในมาตรฐานน้ี ใชใ้ นการพิจารณาทางการคา้ โดยนาข้อ กาหนดการแบ่งชั้น คุณภาพไปใช้รวมกับข้อกาหนดเรียงขนาด เพ่ือกาหนดเป็นชนั้ ทางการค้า ซึ่งคู่คา้ อาจจะมีการเรยี กชือ่ อ่ืนทางการค้าที่ แตกตา่ งกนั ขน้ึ อย่กู ับความตอ้ งการของคคู่ ้า 5. เกณฑค์ วามคลาดเคลื่อน เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเรื่องคุณภาพและขนาดท่ียอมรับได้ มีได้ในแต่ละภาชนะบรรจุสาหรับ สัตฤาษีทไ่ี มเ่ ป็นไปตามท่รี ะบไุ ว้ ดงั น้ี 5.1 เกณฑค์ วามคลาดเคลอ่ื นเรื่องคุณภาพ 5.1.1 ชั้นพเิ ศษ (Extra Class) ไม่เกิน 5 เปอร์เซ็นต์ โดยจานวนหรือน้าหนักของสัตฤาษีที่มีคุณภาพไม่เป็นไปตาม ข้อกาหนดของชั้นพิเศษ (ข้อ 3.2.1) แต่เป็นไปตามคุณภาพของช้ันหน่ึง (3.2.2) หรือคุณภาพยังอยู่ในเกณฑ์ความ คลาดเคลอื่ นของคณุ ภาพช้นั หนึง่ (5.1.2)
75 สตั ฤาษี (ตนี ฮ้งุ ดอย) สมุนไพรศักยภาพบนทส่ี ูง 5.1.2 ช้ันหนงึ่ (Class I) ไม่เกิน 10 เปอร์เซ็นต์ โดยจานวนหรือน้าหนักของสัตฤาษีท่ีมีคุณภาพไม่เป็นไปตาม ข้อกาหนดของชั้นหนึ่ง (3.2.2) แต่เป็นไปตามคุณภาพช้ันสอง (ข้อ 3.2.3) หรือคุณภาพยังอยู่ในเกณฑ์ความ คลาดเคลื่อนของคณุ ภาพชั้นสอง (ข้อ 5.1.3) 5.1.3 ช้ันสอง (Class II) ไม่เกิน 10 เปอร์เซ็นต์ โดยจานวนหรือน้าหนักของสัตฤาษีที่มีคุณภาพไม่เป็นไปตาม ข้อกาหนดช้ันสอง (ข้อ 3.2.3) หรือไม่ได้ข้อกาหนดข้ันต่า (ข้อ 3.1) แต่ต้องไม่เน่าเสีย หรือแสดงอาการเส่ือมสภาพ หรือมีลักษณะอนื่ ทีไ่ มเ่ หมาะสมสาหรบั การบรโิ ภค 5.2 เกณฑค์ วามคลาดเคลือ่ นเร่ืองขนาด ยอมให้มีเหง้าสัตฤาษีที่มีขนาดใหญ่หรือเล็กกว่าขนาดที่ระบุไว้ในข้อท่ี 4 ปนมาได้ไม่เกิน 5 เปอรเ์ ซ็นต์ โดยจานวนหรอื นา้ หนกั ของสัตฤาษี สาหรบั ชน้ั พเิ ศษ และไมเ่ กนิ 10 เปอร์เซ็นต์ โดยจานวน หรือนา้ หนัก สัตฤาษี สาหรบั ชนั้ พเิ ศษ และไมเ่ กนิ 10 เปอรเ์ ซน็ ต์ โดยจานวนหรือน้าหนกั ของสัตฤาษี สาหรับช้ันหนึ่งหรือสอง 6. การบรรจุ 6.1 ภาชนะบรรจุต้องมีคุณภาพ ถูกสุขลักษณะ ไม่มีกล่ิน และสิ่งแปลกปลอม มีคุณสมบัติทนทาน ต่อการ ขนส่ง และรักษาสภาพของสัตฤาษไี ด้เมอ่ื ถงึ ปลายทาง วัสดุท่ีใช้บรรจุตอ้ งสะอาด และมีคณุ ภาพสามารถป้องกันความ เสยี หายทม่ี ีผลตอ่ คุณภาพของสัตฤาษี หากมีการพิมพ์ หรอื การแสดงฉลากต้องใช้หมึกพมิ พห์ รือกาวทไี่ มเ่ ปน็ พษิ 6.2 สัตฤาษีที่บรรจุในแต่ละภาชนะบรรจุ ต้องมีความสม่าเสมอท้ังในเร่ืองของแหล่งท่ีมา ชนิด คุณภาพ และ ขนาด กรณีท่ีมองเห็นจากภายนอกภาชนะบรรจุ สัตฤาษีส่วนทีม่ องเหน็ ตอ้ งเป็นตวั แทนของผลผลิตทัง้ หมด 7. ฉลากและเครอ่ื งหมาย 7.1 ผลิตผลที่จาหนา่ ยโดยตรงต่อผบู้ ริโภค ต้องมีชอ่ื แสดงรายละเอียดทีภ่ าชนะบรรจุ โดยต้องมองเห็นชดั เจน อา่ นง่าย ไม่หลุดลอก และไมเ่ ป็น เทจ็ หรอื หลอกลวงดังต่อไปนี้ 1. ช่อื ผลผลติ : ให้ระบขุ อ้ ความว่าสตั ฤาษสี ด 2. ชน้ั คณุ ภาพ 3. ขนาด 4. นา้ หนักสทุ ธิ 5. ข้อมลู ผู้ผลิต/หรือผจู้ าหนา่ ย ให้ระบุท่อี ยสู่ ถานท่ีผลติ หรือแหล่งบรรจุ/จดั จาหน่าย ทั้งอาจ แสดงช่อื และท่อี ยู่สานักงานใหญ่ของผ้ผู ลิตหรอื แบง่ บรรจุก็ได้ กรณนี าเข้าใหร้ ะบชุ ่อื ผู้ นาเข้า 6. ข้อมูลแหลง่ ผลิต ใหร้ ะบุประเทศต้นทางของแหล่งผลิต ยกเว้นกรณสี ัตฤาษีสดที่ผลิตเพ่อื จาหนา่ ยในประเทศ 7. ภาษา กรณที ี่ผลติ เพื่อจาหน่ายในประเทศตอ้ งใช้ข้อความเป็นภาษาไทยแต่จะมภี าษาต่าง ประเทศด้วยกไ็ ด้ การทีผ่ ลติ เพ่อื การสง่ ออกให้แสดงข้อความเป็นภาษาตา่ งประเทศได้
76 สัตฤาษี (ตนี ฮุง้ ดอย) สมุนไพรศกั ยภาพบนท่ีสงู 7.2 ผลผลิตทีไ่ มไ่ ดจ้ าหนา่ ยโดยตรงตอ่ ผบู้ รโิ ภค ตอ้ งมีข้อความระบุในเอกสารกากับสินคา้ ฉลาก หรือแสดงไว้ที่ภาชนะบรรจุ โดยข้อความต้องมองเห็น ชัดเจน อ่าน งา่ ย ไม่หลุดลอก และไม่เปน็ เทจ็ หรอื หลอกลวงผู้บริโภค ดงั ต่อไปน้ี 1. ชือ่ ผลผลติ ใหร้ ะบขุ ้อความวา่ สตั ฤาษีสด 2. ชนั้ คุณภาพ 3. ขนาด 4. นา้ หนกั สุทธิ 5. ข้อมลู ผลผลติ /ผูจ้ าหนา่ ย ใหร้ ะบชุ อื่ และท่ีอยูข่ องสถานที่ผลิต หรือแบ่งบรรจุหรือจัด จาหน่าย และหมายเลขรหสั สินคา้ (ถ้ามี) ทั้งน้ีอาจแสดงช่อื ทอ่ี ยสู่ านักงานใหญ่ของผผู้ ลิต หรือแบง่ บรรจุ กรณที ี่นาเขา้ ให้ระบุชื่อและท่ีอยูข่ องผู้นาเข้า 6. ข้อมลู แหล่งผลิต ใหร้ ะบุประเทศตน้ ทางของแหล่งผลติ ยกเวน้ กรณีท่ีผลิตเพือ่ จาหน่ายใน ประเทศ 7. ภาษา กรณที ่ีผลิตเพือ่ จาหนา่ ยในประเทศต้องใชข้ ้อความเป็นภาษาไทย แตจ่ ะมีภาษาตา่ ง ประเทศดว้ ยกไ็ ด้ กรณีผลิตเพ่ือการสง่ ออกให้แสดงขอ้ ความเปน็ ภาษาต่างประเทศ 7.3 เครอื่ งหมายรบั รองมาตรฐานสินค้าเกษตร การใช้เครื่องหมายรับรองมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรใหเ้ ป็นไปตามกฎกระทรวงเร่อื งกาหนดลกั ษณะของ เคร่ืองหมาย การใช้เครื่องหมาย และการแสดงเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสนิ ค้าเกษตร พ.ศ. 2553 และประกาศ สานักงานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ 8. สารปนเปอ้ื น ชนิดและปรมิ าณสารปนเปอื้ นในสัตฤาษีใหเ้ ป็นไปตามขอ้ กาหนดในกฎหมายทเ่ี ก่ียวข้อง 9. สารพษิ ตกคา้ ง ชนิดและปริมาณสารพิษตกค้างในสัตฤาษีให้เป็นไปตามข้อกาหนดในกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง และ มกษ.9002 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่องสารพิษตกค้าง: ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด และ มกษ. 9003 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่องสารพิษตกค้าง: ปริมาณสารพษิ ตกคา้ งสงู สดุ ทีป่ นเป้ือนจากสาเหตุทไ่ี มอ่ าจหลีกเลย่ี งได้ 10. สุขลกั ษณะ การเก็บเก่ียว การปฏิบัติต่อสัตฤาษีในขั้นตอนต่างๆ รวมถึงการเก็บรักษา การบรรจุ และการขนส่ง ต้อง ปฏิบัติอย่างถกู สขุ ลกั ษณะ เพื่อป้องกนั การปนเปอ้ื นที่กอ่ ให้เกดิ อนั ตรายตอ่ ผบู้ รโิ ภค 11. วิธวี เิ คราะหต์ ัวอย่าง ให้เป็นไปตามข้อกาหนดในกฎหมายที่เก่ียวข้อง และข้อกาหนดของมาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหาร แห่งชาติ เรือ่ งวิธวี ิเคราะห์และชักตัวอย่าง
77 สัตฤาษี (ตีนฮ้งุ ดอย) สมุนไพรศกั ยภาพบนท่สี งู 8.2 สตั ฤาษอี บแหง้ 1. ขอบขา่ ย มาตรฐานสนิ ค้าเกษตรนี้ใช้กับสัตฤาษีที่มีช่อื วิทยาศาสตร์ว่า Paris (Daiswa) Polyphylla Smith อยู่ในวงศ์ Melanthiaceae เพ่ือการบรโิ ภค และผลผลิตทใี่ ชเ้ ป็นส่วนผสมของอาหารและยา 2. นยิ าม ความหมายของคาทใ่ี ชใ้ นมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรมีดังต่อไปนี้ 1. เหงา้ ของสัตฤาษที เ่ี พาะปลกู เพอื่ การค้า และใชเ้ ปน็ อาหาร 2. บรรจใุ นลักษณะทีป่ ลอดภยั และตรงหลกั โภชนาการ และไม่สูญเสยี คณุ ภาพผลผลิต 3. ทาการอบแหง้ สตั ฤาษโี ดยการบดเปน็ ผง 3. ประเภทผลติ ภณั ฑส์ ตั ฤาษี ผลผลติ ภณั ฑส์ ตั ฤาษที ี่ครอบคลุมมาตรฐานมีดงั น้ี 3.1 สัตฤาษีอบแห้ง (แบบชิ้น) สัตฤาษีอบแห้งท่ีถูกกาหนดไว้ในข้อ (3.1) ถูกทาให้แห้งด้วยการตากแดดและอบด้วยลมร้อน ผลิตภณั ฑ์ ถูกจัดเป็นผลิตภัณฑท์ มี่ เี หง้าเป็นหลัก หรือหั่นบางๆ และบดให้เป็นผง 3.2 สัตฤาษีแห้งทงั้ เหงา้ สตั ฤาษีต้มหรือนึง่ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ถูกกาหนดไว้ในข้อที่ 2(1) โดยใชว้ ิธีการน่ึงและอบแห้งตามที่ระบุ ไว้ในขอ้ 3.1 3.3 สารสกดั จากสัตฤาษี สารสกัดจากสตั ฤาษีผลิตข้ึนจากส่วนของเหง้าทีก่ าหนดไว้ในขอ้ ที่ 2(1) หรือสัตฤาษีแห้งที่กาหนดไว้ ในขอ้ ที่ 3.1 สกดั โดยใช้เอทานอล ผลิตภณั ฑ์อาจอยใู่ นรูปผง หรือแคปซูล 4. รูปแบบ รูปแบบโดยผลิตภัณฑ์ต้องเป็นไปตามข้อกาหนดท่ีเก่ียวข้องทั้งหมดของมาตรฐาน และมีการอธิบายข้อมูล อยา่ งเพยี งพอในฉลาก เพือ่ ไม่ให้เกดิ ความสบั สนหรือทาใหผ้ ู้บริโภคเขา้ ใจผิด 5. องค์ประกอบท่ีสาคัญและปจั จัยด้านคณุ ภาพ 1.องค์ประกอบ 1.1 ส่วนผสมพน้ื ฐาน เหงา้ สตั ฤาษีทีน่ ยิ ามไวใ้ นข้อกาหนดท่ี 2(1) 2. เกณฑ์คณุ ภาพ 2.1 สี รสชาติ สารสาคัญ ผลิตภัณฑข์ องสัตฤาษจี ะต้องมรี สชาติ และสารสาคัญ และปราศจากสิ่งแปลกปลอม
78 สัตฤาษี (ตีนฮุ้งดอย) สมุนไพรศักยภาพบนทสี่ งู 2.2 ลักษณะทางเคมแี ละทางกายภาพ 2.2.1 สัตฤาษอี บแห้งและสัตฤาษนี ่ึงแหง้ 1. ความชื้นไมเ่ กิน 10 เปอร์เซน็ ต์ (ประเภทผงไมเ่ กนิ 9 เปอร์เซน็ ต)์ 2. คุณคา่ ทางโภชนาการไมเ่ กนิ 6 เปอร์เซ็นต์ 3. สารสกัดทม่ี นี า้ อ่ิมตวั ไม่น้อยกวา่ 20 mg/g3 4. สารสาคญั สามารถตรวจพบในเชงิ คุณภาพ 2.2.2 สารสกดั จากสตั ฤาษี (Extract) 2.2.2.1 สารสกดั จากสัตฤาษี (รูปแบบของเหลว) 1. ของแข็งไม่นอ้ ยกวา่ 60 เปอร์เซ็นต์ 2. ของแข็งไม่ละลายน้า ไม่เกิน 3.0 เปอร์เซน็ ต์ 3. สารสกดั ท่ีมีน้าอิ่มตวั ไม่น้อยกวา่ 40 mg/g3 4. สารสาคัญสามารถตรวจพบในเชิงคณุ ภาพ 2.2.2.2 สารสกดั จากสตั ฤาษี (แบบผง) 1. ความช้ืนไม่เกิน 8 เปอรเ์ ซ็นต์ 2. ของแขง็ ทีไ่ มล่ ะลายนา้ ไม่เกนิ 3 เปอรเ์ ซ็นต์ 3. สารสกดั ทม่ี นี า้ อม่ิ ตวั ไมน่ ้อยกวา่ 60 mg/g3 4. สารสาคญั สามารถตรวจพบในเชงิ คุณภาพ 3. ขอ้ บกพรอ่ ง ข้อกาหนดน้ีจะถกู นามาใช้กบั สัตฤาษีแหง้ สัตฤาษีนึ่งแหง้ 1. สตั ฤาษีทีไ่ ด้รับความเสยี หายจากแมลง ได้รับความเสยี หายอยา่ งเหน็ ได้ชัดจากแมลง หรอื ซากของแมลงทตี่ ายแลว้ 2. สัตฤาษที ่เี ห็นการขึ้นราชดั เจน 4. การจาแนกประเภทของข้อกาหนด ภาชนะที่ไม่สามารถทาตามข้อกาหนดด้านคุณภาพที่เก่ียวข้องอย่างน้อยหนึ่งข้อกาหนด ที่กาหนดไว้ในข้อ 5(2) และ 5(3) 5. การยอมรบั ได้ ควรพจิ ารณาวา่ เป็นไปตามข้อกาหนดด้านคุณภาพทเ่ี ปน็ ข้อกาหนดที่ 5(2) และ 5(3) เมื่อ เป็นไปตามขอ้ กาหนดท่ียอมรบั ได้ ส่วนในข้อท่ี 5(4) ไม่ควรเกนิ จากตวั ข้อกาหนด 6. สารปรุงแต่ง ไม่อนุญาตให้ใช้สารเตมิ แต่งในผลติ ภัณฑ์ท่ีอยใู่ นมาตรฐาน 7. การปนเปื้อน 7.1 ผลติ ภัณฑต์ ้องเป็นไปตามมาตรฐานทว่ั ไป สาหรบั สารปนเปื้อน และสารพษิ ในอาหาร และอาหาร สตั ว์ (Codex/Stan 193-1995)
79 สัตฤาษี (ตีนฮุ้งดอย) สมนุ ไพรศักยภาพบนทีส่ ูง 7.2 ผลิตภณั ฑ์ต้องเปน็ ไปตามมาตรฐาน สาหรับสารกาจดั ศตั รพู ชื ท่ีกาหนดโดยคณะกรรมการ Codex Alimentarius. 8. สุขลกั ษณะ 8.1 จัดการผลิตภณั ฑใ์ หต้ รงตามข้อกาหนดของมาตรฐาน ตามหลักการท่วั ไปของสขุ ลกั ษณะ (CAC/RCP-1-1969) และการปฏิบตั ทิ ถ่ี ูกสขุ ลกั ษณะ และหลักการปฏิบตั ิ 8.2 ผลิตภัณฑ์ควรเป็นไปตามเกณฑท์ างจุลชีววทิ ยา ที่กาหนดขึ้นตามหลักการ และแนวทางการจดั ตงั้ และทีเ่ กยี่ วข้องกับอาหาร (CAC/GL 21-1997) 9. การตดิ ฉลาก ผลิตภัณฑ์ทต่ี รงตามมาตรฐานควรทจี่ ะทาการตดิ ฉลากบนผลิตภัณฑ์เพอ่ื เปน็ ใหต้ รงตามหลักโภชนาการ 9.1 ช่อื ผลติ ภัณฑ์ 9.1.1 ช่ือของผลิตภัณฑจ์ ะตอ้ งตรงตามขอ้ กาหนดทกี่ าหนดไว้ในขอ้ 3.1, 3.2 และ 3.3 9.1.2 รูปแบบจะตอ้ งปรากฏบนฉลากหรอื มคี วามใกล้เคียงกับช่ือของผลติ ภณั ฑ์ เพื่อหลกี เลี่ยงความ สบั สนของผ้บู รโิ ภค 9.2 ช่ือสายพันธ์ขุ องสัตฤาษี ผลิตภัณฑส์ ตั ฤาษที ง้ั หมดจะตอ้ งมีช่อื ทางวิทยาศาสตร์ หรอื ชื่อสามัญของสตั ฤาษที ีใ่ ช้เป็น วตั ถุดิบ ช่ือสามญั ของสตั ฤาษจี ะตอ้ งประกาศตามกฎหมายของประเทศนนั้ ๆ ทมี่ กี ารบรโิ ภค ผลติ ภณั ฑท์ ี่ไมห่ ลอกลวงผู้บริโภค 9.3 แหลง่ กาเนดิ ประเทศต้นทางของผลติ ภัณฑ์ หรือวตั ถุดบิ จะถกู ยกเลิกหากมกี ารละเลย หรือมีแนวโนม้ ท่จี ะ หลอกลวงผบู้ รโิ ภค 9.4 การติดฉลากภาชนะบรรจทุ ่ีไมไ่ ดค้ า้ ปลีก ขอ้ มูลเกีย่ วกบั ภาชนะทีไ่ มใ่ ชค่ ้าปลีกจะยอมรับไดใ้ นภาชนะบรรจหุ รอื ในเอกสารประกอบการยกเวน้ ว่าชอ่ื ของ ผลิตภัณฑ์ การระบุล็อตและชื่อท่ีอยู่ของผู้ผลิต หรือผู้จัดจาหน่าย รวมทั้งคาแนะนาการจัดเก็บจะปรากฏบนภาชนะ อย่างไรก็ตามการระบุล็อต และชื่อที่อยู่ของผู้ผลิต หรือผู้จาหน่ายอาจถูกแทนที่ด้วยเครื่องหมายระบุตัวตน หาก เครื่องหมายดังกลา่ วปรากฏชดั เจนในเอกสารประกอบ 9.5 การตดิ ฉลากเพม่ิ เติม ผลิตภัณฑ์อาจจะมีเคร่ืองหมายท่ีชัดเจนเพ่ือระบุไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นยา รวมถึงข้อกาหนดการติด ฉลาก ทก่ี าหนดในประเทศทมี่ กี ารคา้ ผลิตภณั ฑ์สัตฤาษี
80 สัตฤาษี (ตนี ฮงุ้ ดอย) สมนุ ไพรศักยภาพบนทสี่ งู เอกสารอ้างองิ Codex Alimentarius. 2015. Standard for Ginseng products. International food standards. 321: 1-13.
81 สตั ฤาษี (ตีนฮงุ้ ดอย) สมุนไพรศักยภาพบนทสี่ งู บทท่ี 9 มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ชุมชน 9.1 มาตรฐานผลิตภัณฑช์ มุ ชนผกั และผลไมแ้ ห้ง (สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม) 1. ขอบขา่ ย 1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนน้ีครอบคลมุ ผัก ผลไม้ รวมถึงผกั และผลไม้ทเ่ี ป็นสมนุ ไพรท่ีใช้เป็นอาหาร นามาทาให้ แห้ง มีลกั ษณะเปน็ ผลหรือชน้ิ แห้ง บรรจุในภาชนะบรรจุปิดได้สนิท ไม่ครอบคลุมกล้วยอบ เน้ือมะพรา้ วอบ เนื้อ ลาไยอบแหง้ ท่ีได้ประกาศเปน็ มาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชนแล้ว 2. บทนยิ าม 2.1 ผักและผลไม้แหง้ หมายถงึ ผลติ ภณั ฑท์ ่ไี ดจ้ ากการนาผกั หรือผลไมอ้ ย่างใดอย่างหน่งึ หรือมากกว่า ทอ่ี ย่ใู นสภาพดี ไม่เน่าเสีย อาจใช้ทั้งผลหรือนามาตัดแต่ง เช่น ปอกเปลือก คว้านเมลด็ ห่ันเป็นชิ้น อาจนาไปให้ ความร้อนโดย การต้ม ลวก น่งึ และนามาทาใหแ้ หง้ โดยใชค้ วามรอ้ นจากแสงอาทติ ย์หรอื แหล่งพลังงานอืน่ ๆ 3. คณุ ลกั ษณะทีต่ อ้ งการ 3.1 ลกั ษณะท่ัวไป ต้องคงลักษณะเนอ้ื ทีด่ ตี ามธรรมชาติของผักและผลไม้แห้ง ไมเ่ กาะติดกัน การทดสอบใหท้ าโดยการตรวจพนิ จิ 3.2 สี ต้องมีสีดีตามธรรมชาติของผักและผลไม้แหง้ 3.3 กล่นิ ตอ้ งมกี ลิน่ ทีด่ ีตามธรรมชาตขิ องผกั และผลไม้แหง้ ไมม่ ีกล่ินอื่นที่ไมพ่ ึงประสงค์ เช่น กล่นิ อับ กลิน่ หืน กลน่ิ ไหม้ 3.4 กลน่ิ รส ตอ้ งมีกลนิ่ รสท่ีดตี ามธรรมชาติของผักและผลไม้แห้ง ไม่มีกล่ินรสอ่นื ท่ีไม่พึงประสงค์ เม่ือตรวจสอบโดยวิธีให้คะแนน ตามขอ้ 8.1 แล้ว ต้องไม่มลี ักษณะใดได้ 1 คะแนน จากผ้ตู รวจสอบคนใดคนหนงึ่ 3.5 สงิ่ แปลกปลอม ต้องไม่พบสงิ่ แปลกปลอมทไี่ มใ่ ช่ส่วนประกอบท่ีใช้ เช่น เสน้ ผม ดิน ทราย กรวด ชนิ้ สว่ นหรอื ส่ิงปฏกิ ูลจากสัตว์ การทดสอบให้ทาโดยการตรวจพินิจ 3.6 ความชน้ื ตอ้ งไม่เกินร้อยละ 12 โดยนา้ หนัก การทดสอบใหป้ ฏบิ ตั ิตาม AOAC หรือวิธีทดสอบอื่นที่เทยี บเทา่ 3.7 วอเตอร์แอกทวิ ิตี ต้องไม่เกิน 0.6
82 สัตฤาษี (ตนี ฮงุ้ ดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนทส่ี ูง การทดสอบใหใ้ ชเ้ ครอ่ื งวดั วอเตอรแ์ อกทวิ ติ ีทคี่ วบคมุ อณุ หภมู ิท่ี 25 องศาเซลเซียส หมายเหตุ วอเตอรแ์ อกทิวิตี เป็นปัจจัยสาคัญในการควบคุมและปอ้ งกันการเส่ือมเสียของผลิตภัณฑ์อาหาร ซึ่งมีผล โดยตรงต่ออายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ เนื่องจากค่าวอเตอร์แอกทิวิตีเป็นปัจจัยท่ีชี้ระดับปริมาณน้าอิสระท่ี เชือ้ จุลนิ ทรีย์ใช้ในการเจริญเตบิ โต 3.8 วตั ถุเจือปนอาหาร 3.8.1 หา้ มใช้วัตถุกนั เสียทุกชนดิ 3.8.2 หากมีการใช้สีและสารฟอกสี ให้ใช้ได้ตามชนดิ และปรมิ าณที่กฎหมายกาหนด การทดสอบใหป้ ฏิบัตติ าม AOAC หรอื วธิ ที ดสอบอน่ื ทีเ่ ทยี บเทา่ 3.9 จลุ นิ ทรีย์ 3.9.1 จุลนิ ทรีย์ทงั้ หมด ตอ้ งนอ้ ยกวา่ 1 x 106 โคโลนตี ่อตวั อย่าง 1 กรัม 3.9.2 แซลโมเนลลา ตอ้ งไม่พบในตวั อย่าง 25 กรมั 3.9.3 สแตฟโิ ลค็อกคัส ออเรยี ส ต้องนอ้ ยกว่า 10 โคโลนีตอ่ ตวั อย่าง 1 กรมั 3.9.4 เอสเชอรเิ ชยี โคไล โดยวธิ เี อม็ พเี อ็น ต้องน้อยกว่า 3 ต่อตัวอยา่ ง 1 กรัม 3.9.5 ยีสต์และรา ต้องน้อยกว่า 1 x 103 โคโลนตี ่อตวั อยา่ ง 1 กรัม การทดสอบใหป้ ฏิบัตติ าม AOAC หรอื BAM ( U.S.FDA ) หรอื วิธที ดสอบอืน่ ทเ่ี ทยี บเท่า 4. สุขลกั ษณะ 4.1 สขุ ลกั ษณะในการทาผักและผลไม้แห้งให้เปน็ ไปตามภาคผนวก ก. และสถานประกอบการตอ้ ง ไดร้ บั อนญุ าตจากกระทรวงสาธารณสุข 5. การบรรจุ 5.1 ให้บรรจุผักและผลไมแ้ ห้งในภาชนะบรรจทุ ี่สะอาดปดิ ได้สนทิ และสามารถปอ้ งกันส่ิงปนเปื้อนจาก ภายนอกได้ การทดสอบให้ทาโดยการตรวจพินจิ 5.2 นา้ หนักสุทธขิ องผักและผลไม้แห้งในแต่ละภาชนะบรรจุ ตอ้ งไม่น้อยกว่าทร่ี ะบไุ ว้ในฉลาก การทดสอบใหใ้ ช้เคร่อื งชั่งทเี่ หมาะสม 6. เครอื่ งหมายและฉลาก 6.1 ทภี่ าชนะบรรจผุ กั และผลไม้แห้งทกุ หนว่ ย อย่างนอ้ ยต้องมเี ลข อักษร หรอื เครอ่ื งหมายแจ้งรายละเอียด ต่อไปนใี้ หเ้ หน็ ได้งา่ ย ชดั เจน (1) ชอื่ ผลิตภณั ฑ์ (ตาม มผช.) หรือช่อื ทีส่ ่ือความหมายตาม มผช. เชน่ สะเดาแหง้ สบั ปะรดอบแห้ง (2) สว่ นประกอบที่สาคญั เปน็ รอ้ ยละของน้าหนักโดยประมาณและเรยี งจากมากไปน้อย (3) ชนดิ และปริมาณวตั ถเุ จอื ปนอาหาร (ถ้ามี)
83 สตั ฤาษี (ตนี ฮงุ้ ดอย) สมุนไพรศกั ยภาพบนท่สี ูง (4) นา้ หนกั สทุ ธิ เปน็ กรมั หรือกโิ ลกรัม (5) วนั เดอื น ปีท่ที า และ วัน เดอื น ปีทีห่ มดอายุ หรือขอ้ ความว่า “ควรบริโภคกอ่ น (วนั เดือน ป)ี ” (6) ข้อแนะนาในการบรโิ ภคและการเกบ็ รกั ษา (ถา้ มี) (7) กรณที ี่มีการใช้ส่วนประกอบของอาหาร ซึง่ เปน็ สารก่อภูมิแพ้ เช่น มกี ารใชซ้ ลั เฟอรไ์ ดออกไซด์ ให้ แสดงข้อความวา่ “ขอ้ มูลสาหรับผู้แพ้อาหาร: มซี ลั ไฟต์” (8) เลขสารบนอาหาร (9) ชอ่ื ผู้ทาหรือสถานทท่ี า พร้อมสถานทีต่ ั้ง หรือเครื่องหมายการค้าทจี่ ดทะเบียน ในกรณที ี่ใช้ภาษาต่างประเทศ ต้อง มีความหมายตรงกับภาษาไทยทีก่ าหนดไว้ข้างตน้ 7. การชกั ตัวอย่างและเกณฑต์ ดั สิน 7.1 ร่นุ ในทนี่ ้ี หมายถึง ผักและผลไม้แหง้ ทีม่ ีสว่ นประกอบเดยี วกัน ทาโดยกรรมวธิ เี ดยี วกนั ในระยะเวลา เดียวกนั 7.2 การชกั ตัวอยา่ งและการยอมรับ ให้เป็นไปตามแผนการชกั ตัวอย่างที่กาหนดต่อไปนี้ 7.2.1 การชักตัวอย่างและการยอมรับ สาหรับการทดสอบลักษณะทั่วไป สี กล่ิน กลิ่นรส สิ่งแปลกปลอม การบรรจุ และเครือ่ งหมายและฉลาก ให้ชักตัวอยา่ งโดยวิธีสุ่มจากรุ่นเดยี วกัน จานวน 3 หนว่ ย ภาชนะบรรจุ เม่ือตรวจสอบแล้ว ทกุ ตวั อย่างตอ้ งเป็นไปตามข้อ 3.1 ถึงข้อ 3.5 ข้อ 5 และข้อ 6 จึงจะถอื ว่าผักและผลไม้แหง้ รุ่นน้ันเป็นไปตามเกณฑ์ที่ กาหนด 7.2.2 การชักตัวอย่างและการยอมรับ สาหรับการทดสอบความชื้น วอเตอร์แอกทิวิตี และวัตถุเจือปนอาหาร ให้ชัก ตวั อย่างโดยวิธีสมุ่ จากรุ่นเดียวกนั จานวน 3 หน่วย ภาชนะบรรจุ เพ่ือทาเป็นตัวอย่างรวม โดยมีนา้ หนักรวมไม่น้อย กว่า 300 กรัม กรณีตัวอย่างไม่พอให้ชักตัวอย่างเพิ่มโดยวิธีสุ่มจากรุ่นเดียวกันให้ได้ตัวอย่างที่มีน้าหนักรวมตามที่ กาหนด เม่ือตรวจสอบแล้วทุกตัวอย่างต้องเป็นไปตามข้อ 3.6 ถึงข้อ 3.8 จึงจะถือว่าผักและผลไม้แห้งรุ่นนั้นเป็นไป ตามเกณฑท์ กี่ าหนด 7.2.3 การชกั ตัวอย่างและการยอมรับ สาหรับการทดสอบจุลินทรีย์ ใหช้ กั ตัวอยา่ งโดยวิธีสุม่ จากรุ่นเดียวกัน จานวน 3 หน่วย ภาชนะบรรจุ เพ่ือทาเป็นตัวอย่างรวม โดยมีน้าหนักรวมไมน่ ้อยกว่า 300 กรมั กรณีตัวอยา่ งไมพ่ อให้ชักตวั อย่าง เพิ่มโดยวิธสี ุม่ จากรุน่ เดียวกนั ใหไ้ ด้ตัวอยา่ งท่มี นี า้ หนกั รวมตามทีก่ าหนด เมือ่ ตรวจสอบแลว้ ทุกตัวอย่างตอ้ งเป็นไปตาม ข้อ 3.9 จงึ จะถือว่าผักและผลไม้แหง้ รุ่นนัน้ เป็นไปตามเกณฑ์ทีก่ าหนด 7.3 เกณฑ์ตัดสิน ตัวอย่างผักและผลไม้แห้งต้องเป็นไปตามข้อ 7.2.1 ข้อ 7.2.2 และข้อ 7.2.3 ทุกข้อ จึงจะถือว่าผัก และผลไม้แห้งรุ่นนัน้ เปน็ ไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑช์ ุมชนน้ี
84 สตั ฤาษี (ตีนฮ้งุ ดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนท่สี งู 8. การทดสอบ 8.1 การทดสอบสี กลิ่น และกล่นิ รส 8.1.1 ให้แต่งตั้งคณะผูต้ รวจสอบ ประกอบด้วยผูท้ ี่มคี วามชานาญในการตรวจสอบผกั และผลไมแ้ หง้ อยา่ งน้อย 5 คน แต่ละคนจะแยกกนั ตรวจและใหค้ ะแนนโดยอสิ ระ 8.1.2 เทตัวอย่างผักและผลไม้แห้งลงในจานกระเบอื้ งสขี าว ตรวจสอบโดยการตรวจพนิ จิ ดม และชมิ 8.1.3 หลกั เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้เปน็ ไปตามตารางท่ี 1 ตารางท่ี 12 หลกั เกณฑ์การให้คะแนนในการทดสอบสี กลนิ่ และกล่นิ รส ลักษณะท่ตี รวจสอบ ระดบั การตัดสิน คะแนนทไ่ี ด้รับ สี สีดตี ามธรรมชาตขิ องผักและผลไมแ้ หง้ 3 สีพอใช้ใกลเ้ คียงกบั สีตามธรรมชาติของผักและผลไม้แห้ง 2 สผี ิดปกติหรือมีการเปลย่ี นสี 1 กลิน่ กลิน่ ที่ดตี ามธรรมชาติของผกั และผลไม้แห้ง 3 กลิน่ พอใชใ้ กล้เคยี งกับกลนิ่ ตามธรรมชาตขิ องผกั และผลไมแ้ ห้ง 2 กล่ินผิดปกติหรือมีกลิ่นอื่นที่ไม่พึงประสงค์ เช่น กล่ินอับ กล่ินหืน 1 กลิ่นไหม้ กล่นิ รส กล่ินรสท่ดี ีตามธรรมชาติของผกั และผลไมแ้ หง้ 3 กลนิ่ รสพอใชใ้ กล้เคยี งกบั กลิน่ ตามธรรมชาติของผักและผลไม้แห้ง 2 กล่ินรสผิดปกตหิ รือมีกลิ่นรสอ่ืนท่ีไม่พงึ ประสงค์ เช่น กลน่ิ รสเปร้ียว 1 บูด
85 สตั ฤาษี (ตนี ฮงุ้ ดอย) สมนุ ไพรศักยภาพบนที่สงู ภาคผนวก ก. สุขลักษณะ (ขอ้ ๔.๑) ก.๑ สถานท่ีต้ังและอาคารทท่ี า ก.๑.๑ สถานท่ีตง้ั ตวั อาคารและท่ใี กล้เคียง อยูใ่ นท่ที ีจ่ ะไม่ทาให้ผลิตภณั ฑ์ทที่ าเกดิ การปนเป้อื นไดง้ ่าย โดย ก.๑.๑.๑ สถานทีต่ ัง้ ตัวอาคารและบรเิ วณโดยรอบ สะอาด ไม่มีนา้ ขัง แฉะ และสกปรก ก.๑.๑.๒ อยูห่ ่างจากบรเิ วณหรือสถานท่ีท่ีมฝี ุ่น เขมา่ ควนั ก.๑.๑.๓ ไม่อยใู่ กล้เคยี งกบั สถานท่ีนา่ รังเกยี จ เชน่ บริเวณเพาะเลีย้ งสัตว์ แหลง่ เกบ็ หรือกาจดั ขยะ ก.๑.๒ อาคารทท่ี ามขี นาดเหมาะสม มกี ารออกแบบและก่อสร้างในลกั ษณะทง่ี า่ ยแกก่ ารบารุงรกั ษา การ ทาความสะอาด และสะดวกในการปฏิบตั งิ าน โดย ก.๑.๒.๑ พน้ื ฝาผนงั และเพดานของอาคารทีท่ า กอ่ สรา้ งด้วยวสั ดทุ คี่ งทน เรียบ ทาความสะอาด และ ซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพท่ดี ีตลอดเวลา ก.๑.๒.๒ แยกบรเิ วณทที่ าออกเปน็ สดั สว่ น สาหรบั วัตถุดบิ วัสดุบรรจุ ผลิตภัณฑ์รอการบรรจุ และ ผลติ ภณั ฑส์ าเรจ็ รูป ไม่อยู่ใกล้หอ้ งสขุ าซงึ่ เปดิ สู่บรเิ วณทาโดยตรง ไมม่ สี ่งิ ของทไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว หรือไมเ่ กี่ยวขอ้ งกับการทาอยู่ในบริเวณทีท่ า ก.๑.๒.๓ พน้ื ทปี่ ฏบิ ัตงิ านไมแ่ ออดั มีแสงสวา่ งเพยี งพอ และมีการระบายอากาศทีเ่ หมาะสม ก.๑.๒.๔ ห้องสุขา อ่างลา้ งมอื มจี านวนเหมาะสม มอี ุปกรณ์เครอ่ื งใชส้ าหรบั ทาความสะอาด หรอื ฆ่าเชือ้ โรค ก.๒ เครื่องมือ เครือ่ งจักร และอปุ กรณใ์ นการทา ก.๒.๑ ภาชนะหรอื อุปกรณใ์ นการทาทส่ี มั ผสั กบั ผลิตภณั ฑ์ทาจากวัสดุมผี วิ เรียบ ไม่เป็นสนมิ ล้างทาความ สะอาดได้ง่าย ก.๒.๒ เครื่องมือ เคร่อื งจกั ร และอปุ กรณท์ ีใ่ ช้ สะอาด ก่อนและหลงั การใชง้ านต้องทาความสะอาด เหมาะสมกับการใช้งาน ไม่กอ่ ใหเ้ กิดการปนเป้ือน ตดิ ต้งั ไดง้ า่ ย มปี ริมาณเพยี งพอ รวมท้งั สามารถ ทาความสะอาดได้ง่ายและทั่วถงึ และเก็บไวใ้ นทเี่ หมาะสม ก.๓ การควบคุมกระบวนการทา ก.๓.๑ วัตถดุ บิ และสว่ นผสมในการทา ต้องสะอาด มคี ณุ ภาพดี ไดจ้ ากแหลง่ ทเ่ี ชอ่ื ถอื ได้ ปลอดภยั จัดเกบ็ ใน ภาชนะสะอาด ปอ้ งกนั การปนเปื้อนได้ แยกเกบ็ เปน็ สัดสว่ น ก.๓.๒ การทา การเกบ็ รกั ษา การขนย้าย และการขนส่ง ใหม้ ีการปอ้ งกนั การปนเปือ้ นและการเสื่อมเสยี ของ ผลิตภณั ฑ์ ก.๓.๓ เครื่องชัง่ ที่ใชต้ ้องตรวจสอบไดเ้ ที่ยงตรง ก.๔ การสขุ าภิบาล การบารุงรกั ษา และการทาความสะอาด ก.๔.๑ นา้ ท่ีใชล้ า้ งทาความสะอาดเคร่ืองมือ เครือ่ งจกั ร อุปกรณ์ และมือของผู้ทา เป็นนา้ สะอาดและมี ปรมิ าณเพียงพอ
86 สัตฤาษี (ตนี ฮุง้ ดอย) สมนุ ไพรศักยภาพบนทส่ี ูง ก.๔.๒ มวี ธิ ีการปอ้ งกนั และกาจดั สตั ว์นาเชื้อ แมลง และฝ่นุ ผงในบริเวณที่ทาตามความเหมาะสม ก.๔.๓ มีวธิ กี ารป้องกันไม่ให้สตั ว์เลี้ยง เช่น สุนัข แมว เขา้ ไปในบริเวณที่ทา ก.๔.๔ มกี ารกาจดั ขยะ ส่งิ สกปรก และน้าทง้ิ อย่างเหมาะสม เพอ่ื ไมก่ ่อใหเ้ กิดการปนเปอื้ นกลบั ลงสู่ ผลิตภัณฑ์ มผช. ๑๓๖/๒๕๕๘ ก.๔.๕ สารเคมที ่ใี ช้ล้างทาความสะอาด และใชก้ าจัดสัตว์นาเชอ้ื และแมลง ใชใ้ นปริมาณที่เหมาะสม และ เกบ็ แยกจากบรเิ วณที่ทา เพ่ือไม่ให้ปนเป้ือนลงสู่ผลติ ภัณฑ์ได้ ก.๕ บุคลากรและสขุ ลกั ษณะของผ้ทู า ก.๕.๑ ผ้ทู าทุกคน ต้องมสี ขุ ภาพดีทง้ั รา่ งกายและจิตใจ รักษาความสะอาดสว่ นบุคคลให้ดี เช่น สวมเส้ือผา้ ที่ สะอาด มีผ้าคลมุ ผมเพ่อื ปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ สน้ ผมหลน่ ลงในผลิตภัณฑ์ ไม่ไว้เล็บยาว ล้างมอื ให้สะอาด ทุกคร้งั ก่อนปฏบิ ตั ิงาน หลังการใชห้ ้องสุขา และเม่อื มอื สกปรก ก.๕.๒ ผูท้ าทุกคน ต้องไมก่ ระทาการใดๆ ทไ่ี ม่ถูกสุขลักษณะในสถานทท่ี า เช่น รบั ประทานอาหาร สบู บุหร่ี
87 สัตฤาษี (ตีนฮุ้งดอย) สมนุ ไพรศักยภาพบนท่ีสงู ประกาศสานักงานมาตรฐานผลติ ภัณฑ์อตุ สาหกรรม ฉบับที่ ๒๐๑๙ (พ.ศ. ๒๕๕๘) เรื่อง ยกเลิกและกาหนดมาตรฐานผลิตภณั ฑช์ ุมชน ผักและผลไม้แห้ง โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ผลไม้แห้ง มาตรฐานเลขท่ี มผช.๑๓๖/๒๕๕๐ มาตรฐาน ผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน สมนุ ไพรแห้ง มาตรฐานเลขท่ี มผช.๔๘๐/๒๕๔๗ มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน ชะอมแห้ง มาตรฐานเลขที่ มผช.๘๘๕/๒๕๔๘ มาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ ุมชน กา้ นเกสรดอกงิ้วแห้ง มาตรฐานเลขที่ มผช. ๑๒๐๐/๒๕๔๙ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ลูกมะแขว่นแห้ง มาตรฐานเลขที่ มผช.๑๒๐๓/๒๕๔๙ และมาตรฐาน ผลติ ภัณฑช์ มุ ชน สะเดาแห้ง มาตรฐานเลขท่ี มผช.๑๒๐๗/๒๕๔๙ และคณะอนุกรรมการพิจารณามาตรฐานผลิตภัณฑ์ ชุมชน คณะที่ ๑ มีมติในการประชุมคร้ังท่ี ๒๘-๑/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ให้ยกเลิกมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ชุมชน ผลไม้แห้ง มาตรฐานเลขที่ มผช.๑๓๖/๒๕๕๐ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนสมุนไพรแห้ง มาตรฐาน เลขท่ี มผช.๔๘๐/๒๕๔๗ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ชะอมแห้ง มาตรฐานเลขที่ มผช. ๘๘๕/๒๕๔๘ มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ชุมชน กา้ นเกสรดอกงว้ิ แห้ง มาตรฐานเลขท่ี มผช.๑๒๐๐/๒๕๔๙ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ลูกมะแขว่น แห้ง มาตรฐานเลขท่ี มผช.๑๒๐๓/๒๕๔๙ และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน สะเดาแห้งมาตรฐานเลขท่ี มผช.๑๒๐๗/ ๒๕๔๙ และกาหนดมาตรฐานผลติ ภัณฑช์ ุมชน ผักและผลไมแ้ หง้ ข้ึนใหม่ สานกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรมจงึ ออกประกาศยกเลิกประกาศสานักงานมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม ฉบับที่ ๑๔๗๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐) ลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ฉบับท่ี ๔๙๑ (พ.ศ. ๒๕๔๗) ลงวันที่ ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ฉบับท่ี ๙๐๑ (พ.ศ. ๒๕๔๘) ลงวันท่ี ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ฉบับที่ ๑๒๔๙ (พ.ศ. ๒๕๔๙) ฉบับที่ ๑๒๕๒ (พ.ศ. ๒๕๔๙) และฉบับท่ี ๑๒๕๖ (พ.ศ. ๒๕๔๙) ลงวันท่ี ๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และออกประกาศกาหนด มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ผักและผลไม้แห้งมาตรฐานเลขท่ี มผช.๑๓๖/๒๕๕๘ ขึ้นใหม่ ดังมีรายละเอียดต่อท้าย ประกาศน้ี ทัง้ น้ี ให้มผี ลบงั คบั ใช้นบั แตว่ ันทป่ี ระกาศ เป็นต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ หทยั อู่ไทย เลขาธิการสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม
88 สตั ฤาษี (ตีนฮงุ้ ดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนท่สี ูง เอกสารอ้างองิ มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน THAI COMMUNITY PRODUCT STANDARD. มผช. ๑๓๖/๒๕๕๘. ผักและผลไม้ แห้ง DRIED FRUITS AND VEGETABLES. สานกั งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อตุ สาหกรรม. ICS 67.080.01. ISBN 978-616-346-154-4
89 สตั ฤาษี (ตีนฮุ้งดอย) สมุนไพรศักยภาพบนทส่ี ูง ภาพผนวก
90 สตั ฤาษี (ตีนฮุ้งดอย) สมนุ ไพรศกั ยภาพบนท่สี งู ภาพผนวกท่ี 1 การกระจายตัวของสตั ฤาษีในประเทศจนี ภาพผนวกที่ 2 วงจรชวี ิตของสตั ฤาษี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111