Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายวิชา สค21003 การพัฒนาตนเองชุมชน สังคม

รายวิชา สค21003 การพัฒนาตนเองชุมชน สังคม

Description: การพัฒนาตนเองชุมชน สังคม

Search

Read the Text Version

41 อยางไรกต็ าม แรงงานสวนใหญของไทยอยูในภาคเกษตรกรรม โดยมีขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักที่ สําคญั ทสี่ ดุ ของประเทศ และถอื ไดวา เปนประเทศที่สง ออกขา วเปน อันดับ 1 ของโลก ดวยสัดสวนการสงออก คิดเปน รอยละ 36 ของโลก ประเทศไทยมีพื้นที่ซ่ึงเหมาะตอ การเพาะปลูกกวา 27.25% ซ่ึงในจาํ นวนนก้ี วา 55% ใชสาํ หรับการปลูกขา ว สว นพชื ผลทางการเกษตรอ่นื ๆ ไดแก ยางพารา ผกั และผลไมตาง ๆ การเพาะเล้ียง ปศุสัตว เชน ววั สกุ ร เปด ไก สัตวน้าํ ทั้งปลาน้ําจืด ปลาน้ําเคม็ ในกระชงั การทาํ นากงุ การเลย้ี งหอย รวมไปถึงการประมง ทางทะเล เนือ่ งจากประเทศไทยมีความอดุ มสมบูรณดา นพชื พรรณธญั ญาหารตลอดป จึงไดช อื่ วา เปนแหลง ผลิต อาหารท่ีสาํ คัญของโลก และเปนผูสง ออกอาหารรายใหญข องโลกเปน อันดบั ท่ี 5 เรื่องที่ 2 จดุ เดน ประเทศไทย ในการผลักดนั เศรษฐกิจสรา งสรรค การแบงอตุ สาหกรรมสรา งสรรคข องประเทศไทยนัน้ คณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม แหง ชาตแิ บง ออกเปน 4 กลมุ 15 สาขา คอื 1. กลุมวัฒนธรรมและประวตั ิศาสตร เชน งานฝมอื การทอ งเทีย่ วเชงิ ศลิ ปวฒั นธรรมและ ประวตั ิศาสตร ธุรกจิ อาหารไทยและการแพทยแ ผนไทย 2. กลุม ศลิ ปะ เชน ศลิ ปะการแสดง ทศั นศลิ ป 3. กลุมสอื่ เชน ภาพยนตร สง่ิ พิมพ กระจายเสียง เพลง 4. กลุมงานสรา งสรรคเพอื่ ประโยชนใ ชส อย เชน การออกแบบ แฟช่ันตา ง ๆ อาทิ เสื้อผา กระเปา รองเทา เครื่องประดับ สถาปตยกรรม โฆษณา และซอฟแวรต า ง ๆ 2.1 การนาํ จุดเดนของประเทศไทย มาใชผลักดนั เศรษฐกจิ สรางสรรค ชาวตา งชาติชนื่ ชมเมืองไทยวา มคี วามโดดเดนดา นความสามารถสรางสรรค นอกจากอาหารไทยเปน อาหารอรอยและเปนอาหารเพอื่ สขุ ภาพดานวฒั นธรรม เชน ดนตรี ศาสนา แฟชน่ั ศิลปะการตอ สู (มวยไทย) วถิ ี การดําเนินชีวิต (แบบไทยพุทธ) กฬี า การละเลนตาง ๆ และชา งไทย และท่สี าํ คัญอกี ประการหนง่ึ คือ เมืองไทย มีจดุ เดนทีเ่ หน็ ไดช ัดเจนกค็ อื เรอ่ื ง \"จิตสํานกึ ในการใหบริการ\" ในการพฒั นาศักยภาพบุคลากรในสาขาบริการ เชน 1. การโรงแรม 2. การแพทย พยาบาล และผูชว ยในโรงพยาบาล ทั้งการแพทยตะวันตกและตะวันออก (โดยเฉพาะ แพทยแผนไทย) งานในสวนของทนั ตกรรม และศัลยกรรมความงาม 3. อาหารและบริการดานอาหาร ท่ีใชความคิดสรางสรรคมาประดิษฐหรือพัฒนาอาหารไทยให ทันสมัย ประยุกต ปรับปรุงใหดียิ่งข้ึน มีเมนูนา สนใจ ในสวนของรานอาหารตองสงเสริมยกระดับใหเปน

42 มาตรฐานสากล คือ การบริหารจัดการรานอาหารเพ่ือใหสามารถอยูไดอยางย่ังยืน มีการจัดการท่ีเปนระบบ พนกั งานเสริ ฟไดร ับการอบรมใหส ามารถใหบรกิ ารไดใ นระดบั มาตรฐานสากล เปน ตน 2.2 จุดเดน ของผลิตภัณฑผาในงานหตั ถกรรมพน้ื บาน ผา ในงานหัตถกรรมพ้นื บา น โดยทัว่ ไปมอี ยู สอง ลักษณะ คือ ผา พ้นื และผาลาย ผา พื้นไดแก ผาที่ทอ เปน สพี น้ื ธรรมดาไมม ลี วดลาย ใชส ตี ามความนยิ ม ในสมยั โบราณสที ่ีนยิ มทอ คือ สีน้ําเงิน สีกรมทา และสีเทา สว นผาลายนัน้ เปน ผา ทม่ี ีการประดิษฐลวดลายหรือดอกดวงเพ่ิมขึ้น เพ่ือความงดงาม มีช่ือเรียกเฉพาะตามวิธี เชน ถา ใชทอ (เปน ลายหรอื ดอก) เรียกวา ผายก ถา ทอดวยเสน ดายคนละสกี บั สีพน้ื เปนลายขวาง และตาหมากรุก เรียกวา ลายตาโถง ถาใชเขียนหรือพิมพจากแทงแมพิมพโดยใชมือกด เรียกวา ผาพมิ พ หรือผาลาย ซึ่งเปน ผา พิมพลายทค่ี นไทยเขยี นลวดลายเปนตวั อยาง สง ไปพมิ พท ี่ตา งประเทศ เชน อนิ เดยี ผาเขยี นลายสว นมากเขียน ลายทอง แตเ ดมิ ชาวบานรูจักทอแตผา พืน้ (คือ ผาทอพ้ืนเรียบไมย กดอกและมลี วดลาย) สว นผาลาย (หรอื ผา ยก) นน้ั เพงิ่ มารจู กั ทําข้นึ ในสมยั รตั นโกสนิ ทรตอนตน หรอื สมัยอยุธยาตอนปลาย การทอผาน้ีมีอยูในทุกภาคของประเทศ หลักการและวิธีการนั้นคลายคลึงกันท้ังหมด แตอาจมี ขอ ปลีกยอยแตกตา งกนั บาง การทอจะทําดวยมือโดยตลอดใชเครอื่ งมอื เครือ่ งใชแบบงาย ๆ ซ่ึงตองอาศัยความ ชํานาญและความประณีต การทอผา ท่ชี าวบา นทํากันน้นั ตองอาศยั ความจาํ และความชาํ นาญเปนหลกั เพราะไมมีเขียนบอกไว เปนตํารา นอกจากนีย้ งั พยายามรักษารปู แบบและวธิ ีการเอาไวอ ยา งเครง ครดั จึงนับวาเปนการอนรุ กั ษศ ลิ ปกรรม แขนงนีไ้ วอ ีกดวย 2.3 สถานทท่ี องเท่ยี ว จุดเดนทนี่ า สนใจ อาณาเขตพื้นทขี่ องปาสงวนแหง ชาติ ปาเขาพระวหิ าร ปา ฝงซา ยลําโดมใหญ ทองท่ีอําเภอกันทรลักษ จงั หวัดศรสี ะเกษ และอําเภอนาํ้ ยนื จงั หวัดอบุ ลราชธานี สภาพธรรมชาตทิ ม่ี ที ศั นียภาพสวยงามเดนชดั เฉพาะตวั อยูหลายแหง มีสภาพปาไมทอี่ ดุ มสมบูรณ เปน แหลง ของแรธาตุหลายชนิด ตลอดจนโบราณสถานสําคัญ ๆ อีก หลายจดุ ทส่ี ามารถจัดใหเปนแหลง นันทนาการ ควรคา แกก ารศึกษาหาความรู และพกั ผอนหยอนใจไดเปน อยา งดี อกี หลายแหง เชน ผามออีแดง นับเปนสถานที่ตรงจดุ ชายแดนเขตประเทศไทย ตดิ ตอกบั ราชอาณาจักรกมั พูชา ใกลทางขึ้นสูปราสาทเขาพระวิหารทีม่ ที ัศนียภาพสวยงาม เปน จุดชมวิวทิวทศั นพืน้ ทแ่ี นวชายแดนราชอาณาจกั ร กมั พูชา และบริเวณปราสาทเขาพระวิหารไดอยางสวยงามและกวางไกลท่ีสุด จุดสูงสุดของหนาผามออีแดง สามารถสองกลอ งชมปราสาทเขาพระวิหารไดชัดเจน มีความสวยงามและมคี ณุ คา ทางประวตั ิศาสตรและโบราณสถาน และหากในอนาคตอนั ใกลนี้ ประเทศไทยสามารถเปดความสมั พันธไมตรกี บั ราชอาณาจักรกัมพูชาไดแ ลว มีการใช ประโยชนร วมกันทัง้ สองประเทศไดอยา งใกลช ิดและมีคา ยิ่งนกั ปราสาทโดนตวล เปนปราสาทหน่ึงท่ีสําคญั อีก

43 แหงหนึ่งที่มีศิลปวัฒนธรรมนาศึกษาอยูมาก ต้ังอยูตรงเขตชายแดนของประเทศไทยอยูหางจากหนาผาเพียง เล็กนอย ประมาณ 300 เมตร สถูปคู เปนโบราณวัตถุมีอยู 2 องค ต้ังคูอยูบริเวณทิศตะวันตกของผามออีแดง ถา เดนิ ทางจากผามออแี ดงไปยงั เขาพระวหิ ารกจ็ ะผา นสถปู คูน ้ี มีลกั ษณะเปนสเ่ี หลยี่ มและสวนบนกลม กอ สรางดวย หนิ ทราย เปนทอ นท่ตี ดั และตกแตงอีกที นับวาแปลกจากศิลปวัฒนธรรมยุคอื่นใด ทํานบสระตราว สรางดวย ทอ นหินทราย ซ่งึ ตัดมาจากแหลง ตัดหนิ มาวางเรียงกนั อยา งเปน ระเบยี บ และตอนน้ไี ดมกี ารบรู ณะและทาํ ความ สะอาดบริเวณสระตราว สามารถเก็บกักนํา้ นําขึน้ มาใชอ ปุ โภคบริการแกเ จาหนา ท่ี และนกั ทอ งเท่ยี ว ณ บริเวณ ผามออีแดง และปราสาทเขาพระวิหารไดอยางเพียงพอ ในเขตชายแดนฝงตะวันออกและตะวันตกของประเทศไทย ซ่ึงมีอาณาเขตติดตอกับสาธารณรัฐ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว สาธารณรฐั แหงสหภาพพมา ราชอาณาจกั รกมั พชู า มีสภาพภูมิประเทศสวยงามดว ย ทิวเขายาวสดุ สายตา ปกคลุมดวยปา ไม นา้ํ ตก และแมนาํ้ สายสําคญั เชน แมน ้าํ โขง แมน้าํ สาละวิน นอกจากเปน แหลงทองเท่ยี วแลว ยงั เปน ท่ีจับจา ยใชส อยขา วของเคร่อื งใชของประเทศเพ่ือนบาน เชน ตลาดการคาชายแดน อําเภอแมสาย จงั หวดั เชยี งราย ตลาดการคาชายแดนอําเภอแมสอด จังหวัดตาก ตลาดการคาชายแดนชองเม็ก อําเภอสริ นิ ธร จงั หวัดอบุ ลราชธานี ตลาดการคา ชายแดนจังหวัดมกุ ดาหาร นอกจากเปนชอ งทางการคา ระหวาง ประเทศไทยกบั ประเทศเพ่อื นบา นแลว ยังเปน เสนทางการเดินทางไปทองเทย่ี วในประเทศเพอื่ นบา นไดอ ีกดวย เรอ่ื งท่ี 3 ศกั ยภาพประเทศไทยกบั การพัฒนาอาชีพ 3.1 ภูมศิ าสตร

44 ประเทศไทยมีสภาพทางภูมิศาสตรท่ีหลากหลาย ภาคเหนือเปนพ้ืนท่ีภูเขาสูงสลับซับซอน จุดที่สูง ทีส่ ุดในประเทศไทย คอื ดอยอนิ ทนนท ประมาณ 2,565 ตารางกโิ ลเมตรเหนือระดับนํ้าทะเล รวมท้ังยังปกคลุม ดว ยปาไมอ นั เปนตน น้ําลาํ ธารท่สี าํ คญั ของประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนใหญเปนพ้ืนท่ีของทร่ี าบสูง โคราช สภาพของดนิ คอนขางแหง แลงและไมเ ออื้ อาํ นวยตอการเพาะปลูกผกั แมน ้ําเจาพระยาเกิดจากแมน า้ํ หลายสายทไ่ี หลมาบรรจบกันท่ีปากน้ําโพ จังหวัดนครสวรรค อันไดแก แมน้ําปง แมนาํ้ วัง แมน้ํายม และแมน าํ้ นาน ทําใหภ าคกลางกลายเปนทรี่ าบลุมแมน า้ํ ท่ีมีความอดุ มสมบรู ณท ่ีสุดในประเทศ และถอื ไดวา เปน แหลงปลูกขา วท่ีสําคญั แหงหนง่ึ ของโลก ภาคใตเปน สวนหน่ึงของคาบสมทุ รไทย-มาเลย ขนาบดวยทะเลทั้งสอง ดา น มจี ุดท่ีแคบลง ณ คอคอดกระ แลว ขยายใหญเปนคาบสมุทรมลายู สวนภาคตะวันตกเปนหุบเขาและแนว เทือกเขาซง่ึ พาดตวั มาจากทางตะวันตกของภาคเหนือ แมน้ําเจาพระยาและแมนํ้าโขงถือเปนแหลงเกษตรกรรมท่ีสําคัญของประเทศไทย การผลิตของ อตุ สาหกรรมการเกษตรจะตอ งอาศัยผลผลติ ที่เก็บเก่ียวไดจากแมนา้ํ ทงั้ สองและสาขาทง้ั หลาย อา วไทยกนิ พ้นื ที่ ประมาณ 320,000 ตารางกิโลเมตร ซ่ึงไหลมาจากแมน า้ํ เจาพระยา แมน้าํ แมก ลอง แมนํ้าบางปะกง และแมน ํ้าตาป ซึ่งเปนแหลง ดึงดดู นักทอ งเท่ยี ว เนื่องจากน้ําต้ืนใสตามแนวชายฝงของภาคใตและคอคอดกระ อาวไทยยังเปน ศนู ยกลางทางอตุ สาหกรรมของประเทศ เนื่องจากมีทาเรือหลักในสัตหีบ และถือไดวาเปนประตูที่จะนําไปสู ทาเรืออนื่ ๆ ในกรุงเทพมหานคร สว นทะเลอนั ดามันเปน แหลง ทรัพยากรธรรมชาติทม่ี ีคุณคา มากที่สดุ เนอื่ งจาก มรี สี อรท ทไี่ ดร ับความนิยมอยางสงู ในทวีปเอเชยี รวมถงึ จังหวัดภูเก็ต จงั หวัดกระบ่ี จังหวดั ระนอง จงั หวัดพังงา จงั หวัดตรัง เปนตน ผานกแอน ในอุทยานแหงชาตภิ ูกระดงึ

45 ภมู ิภาค สภาวิจยั แหง ชาตไิ ดแบง ประเทศไทยออกเปน 6 ภมู ิภาค ตามลกั ษณะธรรมชาติ รวมถึงธรณีสันฐาน และทางน้ํา รวมไปถึงรูปแบบวฒั นธรรมมนุษย โดยภูมิภาคตาง ๆ ไดแก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต ภูมิภาคทางภูมิศาสตรทั้งหกน้ีมีความแตกตางกันโดยมี เอกลกั ษณของตนเองในดา นประชากร ทรพั ยากรพน้ื ฐาน ลกั ษณะธรรมชาติ และระดบั ของพัฒนาการทางสังคม และเศรษฐกจิ ความหลากหลายในภมู ภิ าคตา ง ๆ เหลานไี้ ดเปนสว นสาํ คญั ตอลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย ปา สนในจงั หวดั เชียงใหม ภาคเหนือ มีลักษณะภูมิประเทศแบบภูเขาสูงสลับกับหุบเขาและพื้นท่ีสูงซึ่งติดตอกับเขตที่ราบลุม ตอนกลางของประเทศ มีทิวเขาที่วางตวั ยาวในแนวเหนอื -ใต ระหวางทิวเขาจะมีหุบเขาและแองท่ีราบระหวาง ภูเขาเปนที่ตั้งของตัวจังหวดั เชน จงั หวัดเชยี งราย เชยี งใหม แมฮ องสอน นาน และแพร ทิวเขาทส่ี ําคัญไดแ ก ทิวเขา ถนนธงชยั ทิวเขาแดนลาว ทิวเขาขุนตาน ทวิ เขาผีปน นํ้า และทิวเขาหลวงพระบาง ชว งฤดูหนาวในเขตภูเขาของ ภาคเหนือ อณุ หภูมิตาํ่ เหมาะสมตอ การปลกู ไมผ ลเมืองหนาว อาทิ ลิ้นจแี่ ละสตรอวเบอรรี่ แมน้ําในภาคเหนือ หลายสาย รวมไปถงึ แมนา้ํ ปง แมน ํ้าวัง แมน ํ้ายม และแมน ํา้ นา น ไหลมาบรรจบกันและกอใหเกิดเปนท่ีราบลุม แมน ้ําเจา พระยา ในอดีตลักษณะทางธรรมชาติเหลานี้ทําใหภาคเหนือสามารถทําการเกษตรไดหลายประเภท รวมไปถึงการทาํ นาในหุบเขาและการปลกู พชื หมนุ เวียนในเขตพน้ื ท่สี ูง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน ประกอบดวยจังหวัด 20 จังหวัด มีเน้ือที่ 168,854 ตาราง- กิโลเมตร หรือประมาณ 1 ใน 3 ของพื้นท่ีท้ังประเทศ สภาพพื้นที่อยูบนที่ราบสูง มีแมน้ําโขงเปนแมน้ําสายหลัก อาชพี หลัก คือ การทํานา ปลูกออย มันสําปะหลัง ยางพารา และผลิตผาไหม เปนอุตสาหกรรม ซ่ึงมีบทบาท สําคัญตอเศรษฐกิจ เนื่องจากผาไหมเปนท่ีนิยมท้ังคนไทยและชาวตางชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบง ลักษณะภมู -ิ ประเทศ เปน 5 เขต ไดแก

46 ทิวเขาดา นทศิ ตะวนั ตก ประกอบดวยทิวเขาดงพญาเย็น มลี กั ษณะเดน คือ สวนที่เปนหินทราย จะยกตัวสูงขึน้ เปน ขอบชันกับพน้ื ท่ีภาคกลาง และมภี ูเขายอดตัดจํานวนมาก ไดแก ภูเรือ ภหู อ ภูหลวง ภูกระดึง เปน ภูเขาหินทราย พบภูเขาหนิ ปนู แทรกสลบั อยูบา ง ทวิ เขาทางดา นใต มีทวิ เขาสนั กาํ แพงและทวิ เขาพนมดงรักเปนทิวเขาหลัก ทิวเขาสันกําแพงมี ลกั ษณะเปนหนิ ปนู หนิ ดินดานภูเขาไฟ และหินทราย สวนทิวเขาพนมดงรักเปน ทิวเขาทีเ่ ปนภูเขาหินทราย และ ยงั มีภเู ขาไฟดบั แลวตง้ั อยู ทิวเขาตอนกลาง เปน เนินและภูเขาเตีย้ เรยี กวา ทิวเขาภูพาน ท่รี าบแองโคราช เปนพื้นทร่ี าบของลุมน้ําชี และมูล ท่ีไหลลงสูแมนํ้าโขง เปนที่ราบที่มีเน้ือที่ กวา งที่สุดของประเทศ จุดเดนของแองโคราชคือ มีการพบซากดึกดําบรรพ ไมกลายเปนหิน ชางโบราณและ ไดโนเสารจํานวนมาก แองสกลนคร เปนที่ราบบริเวณฝงแมน้ําโขง มีแมน้ําสายส้ัน ๆ เชน แมน้ําสงคราม เปนตน บริเวณนมี้ ีหนองนา้ํ ขนาดใหญ เรยี กวา \"หนองหาน\" เกดิ จากการยุบตัวจากการละลายของเกลือหิน ทวิ เขาเพชรบรู ณ ภาคกลาง เปน พน้ื ท่ที ่ีมคี วามสมบูรณท างธรรมชาติ จนไดรบั การขนานนามวา \"อูขาวอูน้ํา\" มีระบบ ชลประทานทไี่ ดพ ฒั นาสําหรับเกษตรกรรมทาํ นาในภาคกลาง โดยไดพ ัฒนาตอ เน่อื งมาตง้ั แตอ าณาจักรสุโขทัย มาจนถงึ ปจจบุ ัน ภูมปิ ระเทศเปน ทรี่ าบลุมมแี นวภูเขาเปนขอบดานตะวนั ออกและตะวนั ตก ไดแ ก ทวิ เขาเพชรบูรณ และทิวเขาถนนธงชัย ลกั ษณะทางภมู ิศาสตรบรเิ วณภาคกลางตอนบนเปนท่ีราบเชิงเขา ลานพักลําน้ํา และเนิน ตะกอนรปู พดั สว นดานตะวันออกเปน ทีร่ าบลาดเนนิ ตะกอนเชงิ เขาและภูเขาโดดเต้ีย ๆ ซ่ึงเปนภูเขาไฟเกา พบท้ัง

47 หนิ บะซอลต หนิ ไรโอไลต และหินกรวดภเู ขาไฟมีพ้ืนทีร่ าบลุมแมนํา้ ยม แมนา้ํ เจา พระยาตอนบน และแมน ํา้ ปา สกั สวนภาคกลางตอนลาง มีลักษณะเปนท่ีราบลุมโดยตลอด มีลานตะพักลําน้ําเปนที่ราบนํ้าทวมถึง และคันดิน ธรรมชาติยาวขนานตามแมน ้ําเจา พระยา แมนา้ํ ลพบุรี แมนํ้าปาสกั แมนํ้าทาจีน ที่ราบภาคกลางตอนกลางมีชื่อ เรียกวา \"ทุงราบเจาพระยา\" เร่ิมตัง้ แตจงั หวัดนครสวรรคไ ปจนสุดอาวไทย ภาคตะวนั ออกประกอบดว ย7 จังหวัด มอี าณาเขตทศิ เหนือติดกับภาคกลางและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออก ติดกับราชอาณาจกั รกมั พชู า ทศิ ใตและทศิ ตะวนั ตก ตดิ กบั อา วไทย มีเน้ือท่ี 34,380 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศของภาคตะวันออกแบงได 4 ลกั ษณะ คอื ภูมปิ ระเทศสวนทิวเขา มีทิวเขาสันกําแพง ทิวเขาจันทบุรี และทวิ เขาบรรทดั ภมู ปิ ระเทศสว นทีเ่ ปนที่ราบลุมน้ํา คือ ท่ีราบลุมนํ้าบางปะกง ที่ราบชายฝงทะเล ต้ังแตปาก แมน้าํ บางปะกงไปจนสุดเขตแดนท่ีจังหวัดตราด สวนใหญช ายฝง ทะเล จะมหี าดทรายสวยงาม ทง้ั สว นเกาะและ หมเู กาะ เชน เกาะสีชงั เกาะเสม็ด หมเู กาะชา ง และเกาะกูด เมืองพทั ยา ภาคตะวนั ตก ประกอบดว ย 5 จงั หวดั มีเน้อื ท่ี 53,679 ไร มีเทือกเขาตะนาวศรีเปนเทือกเขายาวตั้งแต ภาคเหนือมาถงึ ภาคตะวนั ตกของประเทศ และเปน พรมแดนทางธรรมชาตริ ะหวางไทยกบั พมา สภาพภูมปิ ระเทศ ของภาคตะวนั ตก มลี กั ษณะเชนเดยี วกบั ภาคเหนือ โดยมภี ูเขาสงู สลับกบั หุบเขา ซงึ่ มแี มน ้าํ ไหลผาน มีที่ราบลุมน้ํา สําคัญ ไดแก ท่ีราบลมุ น้าํ ปง -วงั ที่ราบลุมน้าํ แมก ลอง และท่ีราบลมุ นาํ้ เพชรบุรี ภาคตะวันตกมีพ้ืนที่ปาที่อุดม- สมบรู ณเปนจํานวนมาก ทรพั ยากรนํ้าและแรธาตุ เปนทรัพยากรท่ีสําคัญของภาค โดยอุตสาหกรรมเหมืองแร ถือวา เปนอตุ สาหกรรมหลัก นอกจากน้ีภาคตะวนั ตกยงั เปนทต่ี ้งั ของเขื่อนท่สี ําคญั ของประเทศ

48 หาดมาหยา ในหมเู กาะพีพี ภาคใต เปน สว นหนงึ่ ของคาบสมทุ รแคบ ๆ มีความแตกตางกับภาคอ่ืน ๆ ของไทยทั้งในดานสภาพ ภูมิอากาศ ภูมปิ ระเทศ และทรพั ยากร ลักษณะภูมิประเทศของภาคใตแบง เปน 4 แบบ ไดแ ก ทวิ เขา ประกอบดว ยทิวเขาสําคญั ไดแก ทิวเขาภูเกต็ ทวิ เขานครศรธี รรมราชและทิวเขาสนั กาลาคีรี ท่รี าบฝง อาวไทยและท่ีราบฝง อนั ดามัน โดยทีร่ าบฝง อาวไทย ตั้งอยทู างตะวันออกของภาคใต มีลกั ษณะเปนอา วขนาดใหญก ระจดั กระจาย ชายฝงคอนขางเรียบตรง และมีหาดทรายสวยงาม และยังมีสวนที่ เปนหาดเลนและโคลน จะเปนปาชายเลน มีลักษณะเดน คือ มีแหลมท่ีเกิดจากการทับถมของทรายและโคลน 2 แหง ไดแ ก แหลมตะลุมพกุ จังหวัดนครศรีธรรมราช และแหลมตาชี จังหวัดปตตานี และมีทะเลสาบสงขลา เปนทะเลสาบ 3 น้ํา คือ นาํ้ เค็ม นา้ํ จดื และน้ํากรอ ย ซึ่งจะตา งกนั ตามสภาพการรับน้ําที่ไหลเขาทะเลสาบ ท่ีเกิด จากคลนื่ และกระแสน้ําพดั พาตะกอนทรายไปทับถมเปน แนวสนั ทราย สวนท่ีราบฝงทะเลอันดามัน จะอยูดาน ตะวนั ตกของภาค มีลักษณะเปนชายฝง แบบยบุ ตัว มีท่ีราบแคบเน่ืองจากมีชายเขาและหนาผาติดชายฝง และมี หาดทรายขาวแคบ ๆ เกาะ ภาคใตมีเกาะและหมเู กาะมากมาย โดยฝง อาวไทยมีเกาะสาํ คัญเชน เกาะสมยุ เกาะพงนั หมเู กาะ- อางทอง เปนตน สว นฝงอันดามนั มีเกาะภูเก็ต ซงึ่ เปน เกาะท่ีใหญท่ีสุดในประเทศไทย หมูเกาะพีพี หมูเกาะสิมิลัน เกาะตะรุเตา เศรษฐกจิ ของภาคใต ข้ึนอยกู ับการผลติ ยางสําหรบั อตุ สาหกรรม การปลูกมะพราว การทําเหมืองแร- ดบี ุก และการทอ งเที่ยว โดยเฉพาะอยางย่ิง จงั หวัดภูเกต็ ซงึ่ ไดรบั ความนิยมอยา งมาก ลักษณะเดนของภูมิประเทศ แบบมว นตัวกบั ภูเขาและการขาดแมนํ้าสายใหญ ๆ มแี นวภเู ขาซ่งึ เรยี งตัวกันในแนวเหนือ-ใต และ ปาฝนเขตรอน อนั ลกึ ลับไดทําใหเ กดิ การโดดเด่ียวในยุคเร่ิมตน และการพัฒนาทางการเมืองแยกตางหากกับสวนอ่ืน ๆ ของ

49 ประเทศ การเขาถงึ ทะเลอนั ดามันและอาวไทย ทาํ ใหภ าคใตเ ปนทางผานของทั้งพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท โดยมศี นู ยกลางอยทู ีจ่ งั หวดั นครศรธี รรมราช และศาสนาอสิ ลาม โดยอดตี มศี ูนยก ลางอยทู ่ีอาณาจกั รปต ตานี ซึง่ มพี รมแดนติดตอกบั ประเทศมาเลเซยี 3.2 ภูมิอากาศ พื้นท่สี วนใหญของประเทศไทยมลี ักษณะภมู ิอากาศแบบรอ นช้นื หรอื แบบสะวันนา ตามการแบงเขต ภมู ิอากาศแบบเคิปเปน ในขณะทีภ่ าคใตแ ละทางตะวนั ออกสุดของภาคตะวันออกเปน เขตภูมอิ ากาศแบบมรสุม เขตรอน ทัว่ ประเทศมอี ณุ หภมู ิเฉล่ยี ระหวา ง 19-38°C ในฤดูแลง อณุ หภูมเิ พิ่มสงู ขน้ึ อยา งรวดเรว็ ในชว งคร่งึ หลัง ของเดือนมนี าคม โดยสงู กวา 40°C ในบางพืน้ ที่ในชว งกลางเดือนเมษายนเม่ือดวงอาทิตยเคลื่อนผานจุดเหนือ ศีรษะ มรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใตซง่ึ พัดเขา สปู ระเทศไทยระหวา งเดอื นพฤษภาคมและกรกฎาคม (ยกเวน ภาคใต) เปน จดุ บง ชว้ี าประเทศไทยเขาสูฤดูฝน ซ่ึงกินเวลาจนถึงเดือนตุลาคม และเมฆซ่ึงปกคลุมทําใหอุณหภูมิลดลง แตมคี วามชื้นสงู มาก เดอื นพฤศจิกายนและเดือนธนั วาคมเปน จุดเร่มิ ตนของฤดแู ลง และอณุ หภมู ใิ นเวลากลางคืน เหนอื พืน้ ดนิ สามารถลดตํ่าลงกวา จดุ เยอื กแข็ง อณุ หภูมิเพิม่ สงู ขึ้นอีกคร้ังในชวงเดือนมกราคม เมื่อดวงอาทิตย สอ งแสงมายงั ภมู ิประเทศ ฤดูแลงในภาคใตมรี ะยะเวลาส้นั ทีส่ ุด เน่ืองจากการที่ภาคใตต ั้งอยูใ กลท ะเลจากทุกดา น ในคาบสมุทรมลายู พ้ืนทที่ ั้งประเทศไดร บั ปรมิ าณฝนอยา งเพยี งพอ ยกเวนบางพ้ืนที่เทา นน้ั แตระยะเวลาของฤดู ฝนและปรมิ าณฝนมีความแตกตา งกนั ไปตามภมู ิภาคและระดบั ความสูง ประเทศไทยยงั คงมีความหลากหลายทางชีวภาพของทง้ั พืชและสตั วอยมู าก อนั เปนรากฐานอันมนั่ คง ของการผลติ ในภาคการเกษตร และประเทศไทยไดม ผี ลไมเมอื งรอ นหลากชนิดพน้ื ที่ราว 29% ของประเทศไทย เปน ปา ไม รวมไปถึงพื้นท่ปี ลูกยางพาราและกจิ กรรมปลูกปาบางแหงประเทศไทยมีเขตรักษาพันธุสัตวปากวา 50 แหง เขตหา มลา สตั วปาอีก 56 แหง โดยพื้นที่ 12% ของประเทศเปนอุทยานแหงชาติ (ปจจุบันมี 110 แหง) และอกี เกอื บ 20% เปนเขตปาสงวนประเทศไทยมีพืช 15,000 สปชสี  คดิ เปน 8% ของสปชีสพืชทั้งหมดบนโลก ในประเทศไทย พบนกจาํ นวน 982 ชนิด นอกจากน้ี ยังเปน ถนิ่ ทีอ่ ยขู องสัตวส ะเทินน้ําสะเทินบก นก สัตวเลี้ยง ลกู ดวยน้าํ นม และสตั วเ ลือ้ ยคลานกวา 1,715 สปช ีส

50 3.3 ทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศไทยเปน ประเทศทีม่ ที รัพยากรธรรมชาตอิ ยอู ยา งมากมายแบงได ดงั น้ี ทรัพยากรดิน ในประเทศไทยแบงออกเปน 4 ชนิด ไดแก ดินเหนียว พบไดในบริเวณแองโคราช ทีร่ าบลมุ แมน ํ้าบางปะกง แมน้ําแมก ลอง แมนา้ํ ตาป แมนา้ํ ปากพนงั ดินรวน พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ภาคตะวันออก ภาคกลางตอนบน และภาคเหนือ ดินทราย พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดินอินทรีย พบมากในปาพรุ เชน ปาพรสุ ิรินธร จงั หวัดนราธวิ าส ทรพั ยากรปา ไม ปา ไมจะกระจายอยูทวั่ ประเทศ มีลักษณะแตกตางกันตามภูมิประเทศและภูมิอากาศ มี 2 ประเภท ไดแ ก ปาผลดั ใบ พบไดในทกุ ภมู ิภาค แตภาคใตพบนอยที่สุด และปาไมผลัดใบ สวนใหญอยูใน พ้ืนที่ภาคใต และบนภูเขาสูงท่ีมีความชุมชื้น เชน อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท อุทยานแหงชาติเขาใหญ อทุ ยานแหง ชาตภิ ูสอยดาว เปนตน ทรัพยากรนํ้า ในประเทศไทยมีแหลงนํ้าสําคัญ 2 แหลงคือ จากน้ําผิวดิน ซึ่งมีแมนํา้ เจาพระยาเปน แมน้ําสายสําคัญที่สุดของประเทศ นอกจากน้ียังมีแมน้ําตาง ๆ ตามภูมิภาค เชน แมนํ้ามูล ชี ปง วัง ยม นาน แมก ลอง ตาป เปนตน และจากนา้ํ บาดาล ทรัพยากรแรธ าตุ พบอยูท่ัวไปในทกุ ภูมิภาคของประเทศไทย แตกตางกันตามสภาพทางธรณีวิทยา เชน สงั กะสพี บมากในภาคตะวนั ตกและภาคเหนือ ดีบุกพบมากในภาคใต แรรัตนชาติพบมากในภาคตะวันออก และแรเ ชอ้ื เพลงิ ซ่งึ พบมากในอาวไทย เชน แกส ธรรมชาติ สว นลกิ ไนตจะพบมากในภาคเหนือ 3.4 ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต ประเทศไทย ตง้ั อยบู นพ้นื ฐานของเอกลักษณและความศรทั ธาของไทยสมยั ใหม ทาํ ใหพุทธศาสนาใน ประเทศไทยไดมีการพฒั นาตามกาลเวลา ซึ่งรวมไปถึงการรวมเอาความเช่ือทอ งถน่ิ ที่มาจากศาสนาฮนิ ดู การถอื ผี และการบูชาบรรพบุรุษ สวนชาวมุสลิมอาศัยอยูทางภาคใตของประเทศไทยเปนสวนใหญ รวมไปถึงชาวจีน โพน ทะเลทเี่ ขามามีสว นสาํ คัญอยูในสงั คมไทยโดยเฉพาะอยา งยง่ิ ในพ้นื ท่กี รงุ เทพมหานครและใกลเ คียง ซึ่งการ ปรบั ตวั เขากบั สังคมไทยไดเปน อยางดี ทําใหกลุมชาวจนี มีตําแหนง และบทบาททางเศรษฐกจิ และการเมอื ง วัฒนธรรมไทยมีสว นทค่ี ลา ยคลึงกบั วัฒนธรรมเอเชีย กลาวคือ มีการใหความเคารพแกบรรพบุรษุ ซงึ่ เปนการยึดถือปฏิบัติกันมาอยางชานาน ชาวไทยมักจะมีความเปนเจาบานและความกรุณาอยางดี แตก็มี ความรูสึกในการแบง ชนชน้ั อยางรุนแรงเชนกนั ความอาวโุ สเปนแนวคิดท่ีสําคัญในวัฒนธรรมไทยอยางหนึ่ง ผอู าวุโสจะตอ งปกครองดูแลครอบครัวของตนตามธรรมเนยี ม และนองจะตองเช่อื ฟงพ่ี

51 การทักทายตามประเพณีของไทย คือ การไหว ผูนอยมักจะเปนผูทกั ทายกอนเม่ือพบกัน และผูท่ี อาวุโสกวา กจ็ ะทกั ทายตอบในลกั ษณะท่คี ลา ย ๆ กัน สถานะและตําแหนงทางสงั คมก็มสี วนตอ การตัดสนิ วา ผูใด ควรจะไหวอ ีกผูหน่ึงกอนเชนกัน การไหวถือวาเปนสัญลักษณในการใหความเคารพและความนับถือแกอีก ผูหนงึ่ ศิลปะ พระทนี่ ัง่ ไอศวรรยทพิ ยอาสน พระราชวงั บางปะอนิ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา จติ รกรรมไทย เปนลักษณะอุดมคติ เปนภาพ 2 มติ ิ โดยนาํ สิง่ ใกลไวต อนลางของภาพ ส่ิงไกล ไวตอนบนของภาพ ใชสีแบบเบญจรงค คือ ใชหลายสีแตมสี ีทโี่ ดดเดนเพียงสีเดียว ประติมากรรมไทยเดิม ชางไทยทํางานประติมากรรมเฉพาะส่ิงศักดิ์สิทธิ์ เชน พระพุทธรูป เทวรูป โดยมสี กลุ ชา งตาง ๆ นับตั้งแตกอนสมัยสุโขทัย เรียกวา สกุลชางเชียงแสน สกุลชางสุโขทัย สกุลชาง อยธุ ยา และสกุลชางรัตนโกสินทร โดยใชทองสาํ ริดเปน วัสดหุ ลกั ในงานประติมากรรม เนื่องจากสามารถแกะ แบบดว ยขี้ผึง้ และตกแตงไดแลวจึงนําไปหลอโลหะ เมื่อเทียบกับประติมากรรมศิลาในยุคกอนน้ัน งานสําริด นับวา ออ นชอยงดงามกวามาก สถาปตยกรรมไทย มีปรากฏใหเห็นในชั้นหลัง เน่ืองจากงานสถาปตยกรรมสวนใหญชํารุด ทรดุ โทรมไดง า ย โดยเฉพาะงานไม ไมปรากฏรอ งรอยสมัยโบราณเลย สถาปตยกรรมไทยมใี หเห็นอยใู นรูปของ บา นเรอื นไทย โบสถ วดั และปราสาทราชวงั ซ่งึ ลว นแตสรา งข้ึนใหเหมาะสมกบั สภาพอากาศและการใชส อยจรงิ

52 แกงมัสม่ัน อาหารไทย อาหารไทยเปนการผสมผสานรสชาติความหวาน ความเผ็ด ความเปรี้ยว ความขม และความเค็ม สวนประกอบซ่ึงมักจะใชในการปรงุ อาหารไทย รวมไปถึง กระเทยี ม พรกิ น้ํามะนาว และน้ําปลา และวัตถุดิบ สําคญั ของอาหารในประเทศไทย คือ ขาว โดยมีขาวกลองและขาวซอมมือเปนพ้ืน มีคุณลักษณะพิเศษ คือ ให คุณคาทางโภชนาการครบถวน และใหสรรพคุณทางยาและสมุนไพร อาหารท่ีข้ึนชื่อที่สุดของคนไทย คือ นา้ํ พริกปลาทู พรอ มกับเครอื่ งเคยี งทจ่ี ดั มาเปนชุด สวนอาหารที่ไดรับความนยิ มและเปนท่รี ูจกั ไปทั่วโลกนั้นคือ ตมยาํ กุงเม่อื พ.ศ. 2554 เว็บไซต CNNGO ไดจัดอันดับ 50 เมนูอาหารท่ีอรอยท่ีสุดในโลกโดยการลงคะแนนเสียง ทางเฟสบคุ ปรากฏวา แกงมสั มัน่ ไดร ับเลอื กใหเปนอาหารทอี่ รอ ยทส่ี ดุ ในโลก ภาพยนตรไทย ภาพยนตรไ ทยมีประวตั คิ วามเปนมาที่ยาวนาน ปจ จุบันประเทศไทยมภี าพยนตรท่ีมงุ สตู ลาดโลก เชน ภาพยนตรเรอื่ ง ตมยาํ กุง ทีส่ ามารถข้ึนไปอยบู นตารางบอ็ กซอ อฟฟศในสหรัฐอเมริกา และยังมีภาพยนตรไทย หลายเรื่องท่ีเปนท่ียอมรับในเทศกาลภาพยนตร ลาสุด ภาพยนตรเร่ือง ลุงบุญมีระลึกชาติ กํากับโดย อภชิ าตพงศ วรี ะเศรษฐกุล ไดร บั รางวัลปาลม ทองคาํ จากงานเทศกาลภาพยนตรเมืองคานส คร้ังที่ 63 นับเปน ภาพยนตรจากภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตเรอ่ื งแรกที่ไดรบั รางวลั น้ี นอกจากน้นั ปจจุบันเยาวชนไทยไดห นั มาสนใจผลติ หนงั ส้นั เขา ประกวดในระดับนานาชาติ เปนความคิดสรางสรรคงานทั้งทีเ่ ปนหนงั สัน้ และแอนนิเมชน่ั

53 ดนตรีไทย ดนตรีในประเทศไทยน้ันไดรับอิทธิพลมาจากประเทศตางๆ ดนตรีไทยเปนดนตรีท่ีมีความไพเราะ นา ฟง มี 4 ประเภท ไดแ ก ดดี สี ตี เปาในอดตี ดนตรีไทยนยิ มเลนในการขับลาํ นําและรองเลน ตอมามีการนําเอา เครือ่ งดนตรีจากตางประเทศเขามาผสม ดนตรีไทยนิยมเลนกันเปนวง เชน วงปพาทย วงเครื่องสาย วงมโหรี ดนตรไี ทยเขามามีบทบาทในชวี ติ ประจําวันมากขึ้น โดยใชประกอบงานมงคล งานอวมงคล ฯลฯ ในปจจุบัน ดนตรไี ทยไมค อ ยเปนที่นยิ มกนั แพรหลายนกั เนอ่ื งจากหาดไู ดยาก คนสวนใหญจ งึ ไมคอยรจู ักดนตรีไทย การปลอ ยโคมลอยในงานประเพณียเ่ี ปง เทศกาลประเพณี เทศกาลประเพณีในประเทศไทยน้ันมีความหลากหลายและอลังการ ท้ังประเพณีไทยด้ังเดิม เชน ประเพณีสงกรานต ประเพณลี อยกระทง ประเพณตี ักบาตรดอกไม ประเพณบี ญุ บ้ังไฟ และประเพณีที่เปนสากล เชน เทศกาลวันครสิ ตมาส เทศกาลวันข้นึ ปใ หม ฯลฯ สรุปจุดเดนของประเทศไทย ท้ังดานทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทําเลท่ีต้ัง ประเพณี วัฒนธรรม และวถิ ชี วี ิต และความสามารถของคนไทย ที่สามารถนํามาเปนจดุ ขายเพอื่ การสรางงาน

54 อาชพี ใหก บั คนไทยไดอยา งมากมาย หากสามารถดงึ ศักยภาพเหลานั้นมาคดิ และหาแนวทางการสรา ง งานทีส่ อดคลองกบั ความรู ความสามารถของตนเองได 4. กลุมอาชพี ท่สี มั พนั ธกับศกั ยภาพของประเทศไทย อาชีพ หมายถึง การทํากิจกรรม การทํางาน การประกอบการท่ีไมเปนโทษแกสังคม และมรี ายไดต อบแทน โดยอาศยั แรงงาน ความรู ทักษะ อุปกรณ เครือ่ งมอื วิธกี าร แตกตา งกันไป ประเภทและลักษณะของอาชีพ การแบงประเภทของอาชีพ สามารถจัดแบงตามลักษณะไดเปน 2 ลักษณะ คือ การแบง ตามเนื้อหาวิชาของอาชพี และแบง ตามลกั ษณะของการประกอบอาชพี ลกั ษณะที่ 1 การแบงอาชีพตามเน้ือหาวิชาของอาชีพ สามารถจัดกลุมอาชีพตามเนื้อหาวิชาไดเปน 6 ประเภท ดังนี้ 1. อาชีพเกษตรกรรม ถอื วาเปนอาชพี หลกั และเปน อาชพี สาํ คัญของประเทศ ปจจุบันประชากรของ ไทยไมน อยกวา รอยละ 60 ยังประกอบอาชีพนี้อยู อาชีพเกษตรกรรมเปนอาชีพเกี่ยวเน่ืองกับการผลิต การจัด จําหนา ยสินคา และบริการทางดานการเกษตร ซง่ึ ผลผลติ ทางการเกษตร นอกจากใชในการบรโิ ภคเปน สว นใหญ แลวยังใชเปนวัตถุดิบในการผลิตทางอุตสาหกรรมอีกดวย อาชีพเกษตรกรรม ไดแก การทํานา ทําไร ทําสวน เลย้ี งสัตว ฯลฯ 2. อาชีพอุตสาหกรรม การทําอุตสาหกรรม หมายถึง การผลิตสินคาอันเนื่องมาจาก การนําเอาวัสดุ หรือสินคาบางชนิดมาแปรสภาพใหเกิดประโยชนตอผูใชมากข้ึน กระบวนการประกอบการ อุตสาหกรรม ประกอบดวย วตั ถดุ ิบหรอื สนิ คา ผา น กระบวนการ สนิ คา สาํ เรจ็ รูป จาํ หนา ย ผูบ รโิ ภค ผลผลติ ไดผ ลผลติ ในขน้ั ตอนของกระบวนการผลติ มีปจ จัยมากมายนับต้ังแตแ รงงาน เครอื่ งจกั ร เครอื่ งมอื เครื่องใช เงนิ ทนุ ท่ดี นิ อาคาร รวมทั้งการบริหารจดั การ การประกอบอาชีพอตุ สาหกรรมแบง ตามขนาด ไดดังนี้ 2.1 อตุ สาหกรรมในครอบครัว เปน อตุ สาหกรรมทีท่ าํ กนั ในครัวเรอื น หรอื ภายในบา น ใชแ รงงานคน ในครอบครวั เปน หลกั บางทอี าจใชเ ครอื่ งจกั รขนาดเลก็ ชวยในการผลติ ใชว ัตถุดบิ วสั ดุที่หาไดใ นทอ งถนิ่ มาเปน ปจจยั ในการผลติ อตุ สาหกรรมในครวั เรอื นเชน การทอผา การจกั สาน การทาํ รม การทาํ อฐิ มอญ การทาํ ถว่ั เนา แผน

55 น้ําพริกลาบ นาํ้ มันงา ฯลฯ ลักษณะการดําเนินงานไมเ ปนระบบมากนัก รวมทัง้ การใชเ ทคโนโลยีแบบงา ย ๆ ไม ยุง ยากซบั ซอ น และมกี ารลงทนุ ไมมาก 2.2 อุตสาหกรรมขนาดยอม เปนอตุ สาหกรรมทม่ี ีการจา งคนงานไมเ กิน 50 คน ใชเงนิ ทุนดําเนินการ ไมเกิน 10 ลานบาท อุตสาหกรรมขนาดยอม ไดแก โรงกลึง อูซอมรถ โรงงานทําขนมปง โรงสีขาว เปนตน ในการดาํ เนินงานของอุตสาหกรรม ขนาดยอมมขี บวนการผลติ ไมซ บั ซอ น และใชแรงงานท่ีมีฝม อื ไมม าก 2.3 อุตสาหกรรมขนาดกลาง เปน อตุ สาหกรรมท่ีมกี ารจา งคนงานมากกวา 50 คน แตไมเกิน 200 คน ใชเ งนิ ทุนดาํ เนนิ การมากกวา 10 ลานบาท แตไ มเกิน 100 ลา นบาท อุตสาหกรรมขนาดกลางไดแก อุตสาหกรรม ทอกระสอบ อุตสาหกรรมเสอื้ ผา สาํ เรจ็ รูป เปน ตน การดําเนินงานของอตุ สาหกรรมขนาดกลางตอ งมกี ารจัดการ ที่ดี แรงงานทใ่ี ชตอ งมีทักษะ ความรู ความสามารถในกระบวนการผลติ เปนอยา งดี เพือ่ ทจ่ี ะไดส นิ คา ท่มี ีคณุ ภาพ ระดับเดียวกนั 2.4 อุตสาหกรรมขนาดใหญ เปนอุตสาหกรรมที่มีคนงานมากกวา 200 คนขน้ึ ไป เงินทุนในการ ดําเนนิ การมากกวา 200 ลา นบาท อุตสาหกรรมขนาดใหญ เชน อุตสาหกรรมผลิตแบตเตอร่ี อุตสาหกรรมถลุงเหลก็ อตุ สาหกรรมประกอบรถยนต อตุ สาหกรรมผลิตเครื่องใชไฟฟา เปนตน อุตสาหกรรมขนาดใหญมีระบบการ จัดการที่ดี ใชคนทม่ี ีความรู ทักษะ ความสามารถเฉพาะดาน หลายสาขา เชน วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกสในการ ดําเนนิ งานผลิตมกี รรมวิธีทยี่ ุงยาก ใชเ ครือ่ งจกั ร คนงาน เงินทุน จํานวนมากข้ึน มีกระบวนการผลิตที่ทันสมัย และผลติ สนิ คา ไดทลี ะมาก ๆ มกี ารวาจา งบุคคลระดบั ผูบริหารท่ีมคี วามสามารถ 3. อาชีพพาณชิ ยกรรมและอาชพี บรกิ าร 3.1 อาชีพพาณชิ ยกรรมเปน การประกอบอาชีพท่เี ปนการแลกเปลีย่ นระหวางสนิ คากบั เงนิ สว นใหญ จะมลี กั ษณะเปนการซื้อมาและขายไป ผูประกอบอาชีพทางพาณิชยกรรมจึงจัดเปนคนกลาง ซ่ึงทําหนาท่ีซ้ือ สินคาจากผผู ลิตและนํามาขายตอ ใหแ กผบู รโิ ภค ประกอบดวยการคาสง และการคา ปลีก โดยอาจจดั จาํ หนายใน รูปของการขายตรงหรอื ขายออ ม 3.2 อาชีพบริการ หมายถึง อาชีพที่ทําใหเกิดความพอใจแกผูซื้อ การบริการอาจเปนสินคาที่มี ตัวตน หรอื ไมมตี วั ตนกไ็ ดการบรกิ ารทีม่ ตี วั ตน ไดแ ก บรกิ ารขนสง บรกิ ารทางการเงนิ สว นบริการท่ีไมมีตัวตน ไดแก บรกิ ารทอ งเทีย่ ว บริการรักษาพยาบาล เปนตน 3.3 อาชพี พาณิชยกรรม จงึ เปนตวั กลางในการขายสินคา หรือบรกิ ารตา ง ๆ นบั ตัง้ แตการนําวัตถุดิบ จากผูผลิตทางดานเกษตรกรรม ตลอดจนสนิ คาสาํ เร็จรูปจากโรงงานอุตสาหกรรม รวมท้ังคหกรรม ศิลปกรรม หตั ถกรรม ไปใหผ ซู ื้อ หรอื ผูบรโิ ภค อาชีพพาณิชยกรรม จึงเปนกิจกรรมท่สี อดแทรกอยูทกุ อาชีพในการประกอบ- อาชีพพาณิชยกรรม หรือบริการ ผูประกอบอาชีพจะตองมีความสามารถในการจัดหา มีความคิดริเร่ิม และมี คุณธรรม จึงจะทาํ ใหการประกอบอาชพี เจรญิ กา วหนา

56 4. อาชพี คหกรรม การประกอบอาชพี คหกรรม เชน อาชพี ท่ีเกยี่ วกับการประกอบอาหาร ขนม การตัดเย็บ การเสริมสวย ตดั ผม เปน ตน 5. อาชีพหัตถกรรมการประกอบอาชีพหัตถกรรม เชน อาชพี ทีเ่ ก่ียวกับงานชาง โดยการใชมอื ในการผลติ ชิน้ งานเปน สว นใหญ เชน อาชีพจกั สาน แกะสลัก ทอผาดวยมือ ทอเส่อื เปนตน 6. อาชีพศลิ ปกรรม การประกอบอาชพี ศิลปกรรม เชน อาชีพเกี่ยวของกับการแสดงออกในลักษณะ ตา ง ๆ เชน การวาดภาพ การปน การดนตรี ละคร การโฆษณา ถายภาพ เปนตน ลกั ษณะที่ 2 การแบง อาชีพตามลักษณะของการประกอบอาชีพ การจัดกลุมอาชีพตามลักษณะการ ประกอบอาชพี แบง ออกเปน 2 ประเภท คอื อาชพี อสิ ระ และอาชีพรบั จาง 1. อาชีพอสิ ระ หมายถงึ อาชีพทุกประเภททผ่ี ปู ระกอบการดาํ เนินการดวยตนเอง แตเพียงผูเดียวหรือ เปน กลมุ อาชีพอิสระเปน อาชีพทไี่ มตอ งใชคนจาํ นวนมาก แตหากมีความจาํ เปน อาจมีการจางคนอื่นมาชวยงานได เจาของกจิ การเปน ผูลงทุน และจาํ หนา ยเอง คดิ และตดั สินใจดว ยตนเองทกุ เรอื่ ง ซึ่งชวยใหก ารพัฒนางานอาชีพ เปน ไปอยา งรวดเรว็ ทนั ตอ เหตกุ ารณการประกอบอาชีพอสิ ระเชน ขายอาหาร ขายของชาํ ซอมรถจกั รยานยนต ฯลฯ ในการประกอบอาชีพอิสระ ผูประกอบการจะตอ งมีความรู ความสามารถในเร่ือง การบริหารการจัดการ เชน การตลาด ทาํ เลที่ตง้ั เงนิ ทุน การตรวจสอบ และประเมนิ ผล นอกจากนยี้ งั ตองมีความอดทนตอ งานหนกั ไมทอถอย ตอปญ หาอุปสรรคทีเ่ กดิ ขน้ึ มคี วามคดิ รเิ รมิ่ สรางสรรค และมองเหน็ ภาพการดําเนินงานของตนเองไดต ลอดแนว 2. อาชีพรับจาง หมายถึง อาชีพที่มีผูอ่ืนเปนเจาของกจิ การ โดยตัวเองเปนผูรับจางทํางานให และ ไดร ับคาตอบแทนเปน คา จาง หรือเงินเดือน อาชีพรับจา งประกอบดว ย บุคคล 2 ฝา ย ซ่งึ ไดตกลงวาจา งกนั บุคคล ฝา ยแรกเรยี กวา \"นายจา ง\" หรอื ผูวา จา ง บคุ คลฝา ยหลัง เรียกวา \"ลกู จา ง\" หรือ ผรู บั จาง มีคา ตอบแทนที่ผูวาจาง จะตองจายใหแ ก ผูรบั จางเรยี กวา \"คา จาง\" การประกอบอาชีพรบั จาง โดยทว่ั ไปมลี ักษณะ เปน การรับจางทาํ งาน ในสถานประกอบการหรือโรงงาน เปนการรับจางในลักษณะการขายแรงงาน โดยไดรับคาตอบแทนเปน เงนิ เดือน หรอื คา ตอบแทนท่คี ดิ ตามชนิ้ งานที่ทาํ ได อตั ราคา จางขน้ึ อยกู ับการกาํ หนดของเจาของสถานประกอบการ หรือนายจา ง การทํางานผูรับจางจะทําอยภู ายในโรงงาน ตามเวลาท่ีนายจางกําหนด การประกอบอาชีพรับจาง ในลกั ษณะนมี้ ีขอ ดี คือ ไมต องเส่ียงกบั การลงทุน เพราะลูกจางจะใชเครอ่ื งมอื อุปกรณที่นายจา งจดั ไวใ หทาํ งาน ตามที่นายจา งกาํ หนด แตมีขอ เสีย คอื มกั จะเปน งานทที่ าํ ซา้ํ ๆ เหมอื นกนั ทุกวนั และตอ งปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบ ของนายจา ง ในการประกอบอาชีพรบั จา งนน้ั มปี จ จยั หลายอยา งท่เี อ้ืออํานวยใหผ ปู ระกอบอาชีพรับจางมีความ เจรญิ กาวหนาได เชน ความรู ความชาํ นาญในงาน มนี สิ ัยการทํางานท่ดี ี มคี วามกระตอื รือรน มานะ อดทน และมี วินยั ในการทํางาน ยอมรับกฎเกณฑและเช่ือฟงคําส่ัง มีความซื่อสัตย สุจริต ความขยันหม่ันเพียร รับผิดชอบ มมี นษุ ยสัมพันธท ด่ี ี รวมท้ังสุขภาพอนามัยทดี่ ี อาชพี ตา ง ๆ ในโลกมมี ากมาย หลากหลายอาชีพ

57 ซึง่ บุคคลสามารถจะเลอื กประกอบอาชพี ไดตามความถนัด ความตองการ ความชอบ และความสนใจ ไมวาจะเปนอาชีพประเภทใด จะเปน อาชีพอสิ ระ หรืออาชีพรับจาง ถาหากเปนอาชีพที่สุจริตยอมจะทําใหเกิด รายไดมาสูตนเอง และครอบครัว ถาบุคคลผูนั้นมีความมุงมั่น ขยัน อดทน ตลอดจนมีความรู ขอมูลเกี่ยวกับ อาชีพตา ง ๆ จะทําใหมองเห็นโอกาสในการเขาสูอาชพี และพัฒนาอาชีพใหม ๆ ใหเกดิ ขึ้นอยูเสมอ กระทรวงศึกษาธิการ โดย ฯพณฯทานรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ไดมีนโยบายการจัด การศกึ ษาเพ่ือการมงี านทําใหส ถาบนั การศึกษา และสถานศึกษา ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษา อาชีพใน 5 กลมุ ดังน้ี 1. เกษตรกรรม 2. อตุ สาหกรรม 3. พาณชิ ยกรรม 4. ความคดิ สรา งสรรค 5. บริหารจดั การและบริการ โดยพฒั นาหลักสตู รการเรียนการสอนใหส อดคลองกับศักยภาพท่ีมีอยูในทองถ่ิน รวมถึงสนองตอ ตลาดแรงงานในระดับทอ งถิน่ ประเทศ และภมู ภิ าคของโลก ประชาชนไทยสามารถรับบริการการศึกษาอาชีพได ณ ศนู ยฝ ก อาชพี ชมุ ชนของสถาบันการศกึ ษา สถานศกึ ษาตา ง ๆ โดยเฉพาะศนู ยฝ ก อาชีพชุมชน กศน. ในระดับ อําเภอไดท่ัวประเทศ การมองเหน็ โอกาสในการประกอบอาชีพ การมองเห็นโอกาสและความสามารถที่จะนําโอกาสน้ันมาประกอบอาชีพไดกอนผูอ่ืน เปนหัวใจ สําคัญของการประกอบอาชีพ หากผูใดประกอบอาชีพตามที่ตลาดตองการ และเปนอาชีพที่เหมาะสมกับ สภาพการณใ นขณะนนั้ ผนู ้ันยอ มมโี อกาสประสบความสําเรจ็ เราสามารถพัฒนาตนเองใหมองเห็นโอกาสใน การประกอบอาชีพ ดงั น้ี 1. ความชาํ นาญจากงานทีท่ าํ ในปจจบุ นั การงานทีท่ าํ อยใู นปจ จุบันจะเปน แหลง ความรู ความคิดท่ีจะ ชวยใหม องเหน็ โอกาสในการประกอบอาชีพไดม าก บางคนมคี วามชาํ นาญทางดา นการทาํ อาหาร ตัดเยบ็ เสื้อผา ซอ มเครื่องใชไฟฟา ตอทอน้ําประปา ชางไม ชางปกู ระเบื้อง เปน ตน ซึ่งสามารถนําความชํานาญดังกลาวมา พัฒนาและประกอบเปนอาชีพข้ึนมา บางคนเคยทํางานที่โรงงานทําขนมปง เม่ือกลับไปภูมิลําเนาของตนเอง สามารถใชป ระสบการณทไ่ี ดรับไปประกอบอาชพี ของตนเองได

58 2. ความชอบ ความสนใจสว นตัว หรืองานอดเิ รก เปนอีกทางหนึ่งทจี่ ะชวยใหมองเห็นโอกาสในการ ประกอบอาชพี บางคนชอบประดิษฐด อกไม บางคนชอบวาดรูป เปน ตน บุคคลเหลา น้อี าจจะพัฒนางานท่ีชอบ งานอดิเรกไดกลายเปน อาชีพหลกั ที่ทาํ รายไดเ ปน อยางดี 3. การฟง ความคิดเหน็ จากแหลง ตา ง ๆ การพดู คุยแลกเปล่ยี นความคิดเห็นกับบุคคลกลุมตาง ๆ เปน แหลง ความรแู ละกอใหเ กดิ ความคดิ ริเร่ิมเปน อยางดี ในบางครัง้ เรามีความคดิ อยูแลว การไดคุยกับบุคคลตาง ๆ จะชวยใหการวิเคราะหความคิดชัดเจนข้นึ ชวยใหมองไปขา งหนา ไดอ ยา งรอบคอบ กอ นท่ีจะลงมือทาํ งานจริง 4. การศกึ ษาคน ควาจากหนงั สอื นิตยสารหนังสือพมิ พ การดวู ดี ทิ ศั น ฟง วทิ ยุ ดรู ายการโทรทศั น เปนตน จะชว ยทาํ ใหเ กดิ ความรูแ ละความคิดใหม ๆ ได 5. ขอ มูล สถิติ รายงาน ขา วสารจากหนวยราชการและเอกชน รวมทั้งแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ในการมองหาชองทางในการประกอบอาชีพ ผูที่จะมองหาอาชีพ พัฒนาอาชีพจึงควรใหความสนใจในขอมูล ขาวสารตางๆ เพอ่ื ตดิ ตามใหท ันตอ เหตกุ ารณ แลวนาํ มาพิจารณาประกอบการตดั สินใจในการประกอบอาชพี 6. ทรัพยากรรอบ ๆ ตวั หรอื ในชุมชน ทเ่ี กีย่ วขอ งกับการประกอบอาชพี ทงั้ ดานทรัพยากรธรรมชาติ ภูมปิ ระเทศ ภูมิอากาศ ประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวถิ ชี วี ติ ท่เี อือ้ ตอ การประกอบอาชีพ ซง่ึ แตล ะพนื้ ทแี่ ตกตางกัน นอกเหนอื ไปจากความรู ความสามารถทีม่ อี ยู

59 กิจกรรม 1. ใหย กตวั อยา งอาชพี ของคนไทยท่ใี ชศกั ยภาพดา นทรพั ยากรธรรมชาติ มาเปน องคป ระกอบใน การเลอื กประกอบอาชพี 1 อาชพี 2. อาชีพสมยั ใหมทพ่ี ึงมขี น้ึ ในประเทศไทย ทีเ่ กดิ จากความคิดสรา งสรรคข องคนไทย มีอะไรบา ง ยกตวั อยา ง 1 อาชพี พรอ มอธิบายประกอบดว ย 3. ในทอ งถนิ่ ทน่ี กั ศึกษาอยู มคี วามโดดเดนในเรอ่ื งใดบา ง ทีส่ ามารถนาํ มาประกอบการตัดสินใจ เลือกประกอบอาชีพได ใหย กตวั อยา ง 1 อาชีพ

60 บรรณานกุ รม การศึกษานอกโรงเรยี น, กรม. ชุดวชิ าการพฒั นาโครงการ. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั สามเจริญพาณิชย จาํ กดั , 2537. การศกึ ษานอกโรงเรยี น, กรม. ชดุ วิชาวจิ ัยทางการศกึ ษานอกโรงเรยี น การเกบ็ รวบรวมขอ มลู เพื่อการวิจยั . กรุงเทพฯ : บริษัทประชาชน จาํ กดั , 2538. การศึกษานอกโรงเรียน, กรม. ชดุ วชิ าวิจยั ทางการศึกษานอกโรงเรยี น การวเิ คราะหขอ มลู . กรุงเทพฯ : บรษิ ทั ประชาชน จาํ กัด, 2538. เกรยี งศกั ดิ์ หลิวจนั ทรพฒั นา. การวิเคราะหขอ มลู ทางการแพทยแ ละสาธารณสุขดวยคอมพิวเตอร. กรุงเทพฯ : สํานกั พมิ พจ ฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย, 2538. ชยันต วรรธณะภูต.ิ คูมือการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพเพื่องานพัฒนา. ขอนแกน : สถาบันวจิ ัยเพ่อื การพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแกน , เอกสารอดั สาํ เนา. ณฐั นรี ศรีทอง. การเพม่ิ ศกั ยภาพภาวะความเปน ผูนําในงานพฒั นาชุมชน. กรงุ เทพฯ : โอ เอส พริ้นต้งิ เฮาส, 2552. ทวปี ศิริรัศม.ี การวางแผนพัฒนาและประเมินโครงการ. กรงุ เทพฯ : สาํ นักงานกองทนุ สนบั สนนุ การวิจยั (สกว.), 2544. ปาริชาติ วลยั เสถียร และคณะ. กระบวนการและเทคนิคการทาํ งานของนกั พัฒนา. กรงุ เทพฯ : สาํ นักงานกองทนุ สนับสนนุ การวิจัย (สกว.), 2543. ศนู ยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา. ความหมายเกย่ี วกับแผนงานโครงการ. กรุงเทพฯ : กราฟฟค โกร, 2545. ศนู ยก ารศกึ ษานอกหอ งเรยี นภาคใต. ชดุ วิชาแผนแมบ ทชมุ ชน. สงขลา : เทมการพิมพ, 2548. สถาบนั การพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ภาคเหนอื . คมู อื การทาํ วจิ ัยอยา งงา ย. อุบลราชธานี : บรษิ ัท ยงสวัสดอ์ิ นิ เตอรกรปุ จาํ กดั , 2552. สถาบนั การศึกษาและพัฒนาตอ เนอื่ งสิรนิ ธร. กระบวนการจดั การศึกษานอกโรงเรยี นและอธั ยาศัย. เอกสาร ประกอบการอบรมวทิ ยากรกระบวนการจดั การศึกษาเพ่อื เสริมสรา งความเขมแขง็ ของชุมชน, นครราชสมี า : 2544. สญั ญา สญั ญาวิวัฒน. ทฤษฎีและกลยุทธก ารพฒั นาสังคม. กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พแ หง จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย, 2543. สาํ นกั บริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น. คมู ือการจดั กระบวนการเรยี นรเู พื่อจดั ทาํ แผนชุมชน. กรงุ เทพฯ : รงั ษี การพิมพ, 2546. เสรี พงศพ ิศ. วิธที าํ และวธิ คี ดิ แผนชวี ติ เศรษฐกจิ ชุมชน. กรงุ เทพฯ : 2546.

61 สภุ างค จนั ทวานชิ . วธิ ีการวจิ ยั เชิงคุณภาพ. (พิมพคร้ังท่ี 10) กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พมิ พแ หง จฬุ าลงกรณ มหาวทิ ยาลัย, 2545. http://www.jd.in.th/e.learning/th33101/pan08/t305.8002.htm. http://www.tddf.or.th/tddf//:braly/doc/libraly-2007-02-28-240.doc. http://www.bic.moe.go.th/th/index.php?option=com_content&view=article&id=192&Itemid =148 http://www.nmt.or.th/TOTOP/Lists/OTOP2/AllItems.aspx http://www.aseanthailand.org/index.php http://www.geocities.com/jea_pat/ http://blog.eduzones.com/offy/5174 ดร.กระมล ทองธรรมชาติ และคณะ, สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ม.1, สาํ นกั พมิ พ อกั ษรเจรญิ ทศั น อจท. จาํ กัด, 2548, หนา 24-25 วริ ัช มณสี าร, เรอื โท. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศและลกั ษณะอากาศตามฤดกู าลของภาคตาง ๆ ในประเทศไทย. เอกสารวิชาการเลขท่ี 551.582-02-2538, ISBN:974-7567-25-3, กนั ยายน 2538 ฝา ยกรรมวธิ ขี อ มลู . สถติ ิภูมิอากาศของประเทศไทยในคาบ 30 ป (พ.ศ.2504-2533). รายงาน ขอมลู อตุ นุ ิยมวิทยาเลขที่ 551.582-02-2537, ISBN : 974-7554-80-1, กองภูมอิ ากาศ, กรมอตุ ุนยิ มวิทยา, กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร วิรัช มณสี าร, เรือโท. สถิตอิ งคป ระกอบอุตนุ ยิ มวทิ ยาของภาคตางๆ ในประเทศไทย คาบ 30 ป (พ.ศ.2504-2533) เอกสารวชิ าการเลขที่ 551.582-03-2538, ISBN : 974-7567-24-5, กันยายน 2538 กลมุ ภูมิอากาศ, สาํ นกั พัฒนาอุตนุ ิยมวทิ ยา, กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา, กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอ่ื สาร. 2552. ความรูอตุ นุ ิยมวทิ ยา - เปอรเซน็ ตความถที่ ีศ่ ูนยก ลางพายเุ คลอื่ นที่ผา นพืน้ ท่ีของประเทศไทย จากกรมอุตนุ ยิ มวทิ ยา, กระทรวงคมนาคม.

62 ภาคผนวก ตัวอยางการเขยี นโครงการ โครงการ คา ยอาสาพัฒนาชุมชนโรงเรยี นหนองมวง ต.เมืองไผ อ.หนองกี่ จ.บรุ รี ัมย องคกร/สถาบนั โรงเรียนมัธยมประชานเิ วศน ท่ีต้ัง สํานกั งานเขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร ผูประสานงานโครงการ นายประจวบ ใจดวง 1. ความเปนมาโครงการ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) 2545 ใน หมวดที่ 1 มาตราท่ี 6 วา ดว ยการจดั การศกึ ษาตอ งเปน ไปเพือ่ พัฒนาคนไทยใหเ ปนมนุษยท ่สี มบรู ณ ทัง้ รา งกายจิตใจ สตปิ ญญา ความรแู ละคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดาํ รงชวี ติ สามารถ อยรู ว มกบั ผอู ืน่ ไดอ ยา งมีความสขุ ซงึ่ เปนเปา หมายสาํ คญั ในการสรา งทรัพยากรมนุษยท่ที ุก สถานศกึ ษา พงึ รบั มาปฏบิ ตั คิ วามสาํ เร็จของเปา หมายมิใชอ ยูท ค่ี วาม เขม แข็งของสถานศึกษาเทา นน้ั ความรว มมอื ของภาคครวั เรือน ชมุ ชน จนถงึ ระดบั รฐั มคี วาม จาํ เปนทจ่ี ะตอ งสรางความแขง็ แกรง ดา นคณุ ธรรมในทกุ ภาคสวน ทัง้ นี้จะตอ งอาศยั ความรู ความเขาใจ และแบบอยา งการประพฤติ ปฏบิ ัติ โดยผา นการปลกู ฝงคา นยิ ม และจติ สาํ นกึ ท่ีดใี น ทกุ กลไกในการดําเนนิ การสรางคณุ ธรรมสู สังคมไดแ ก ครู ผูปกครองและนกั เรียน ในการดาํ เนนิ การทุกข้นั ตอน และขณะเดียวกันจะตอง เสรมิ สรางพนื้ ฐานจติ ใจของคนในชาติ ใหม จี ิตสาํ นกึ ในคณุ ธรรม ความซอ่ื สัตย และใหม คี วาม รอบรทู ีเ่ หมาะสม ดําเนนิ ชวี ิตดวยความอดทน ความเพยี ร มสี ติปญ ญา และความรอบคอบ เพื่อให สมดลุ และพรอ มรับการเปล่ยี นแปลงอยา งรวดเร็ว

63 ทางสาํ นกั งานศกึ ษากรุงเทพมหานครไดส งเสริมใหเยาวชน นักเรียน มจี ิตสาธารณะ ใน การใชช ีวิตอยางพอเพียง คือ พอมีพอกนิ พึ่งพาตนเองได และชว ยเหลือผูอ นื่ ได โดยใหเยาวชน จัดคายอาสาพฒั นาชมุ ชนเพอ่ื เปน การปลกู ฝง วนิ ัยในการทาํ ดเี พือ่ สงั คม โดยเห็น ประโยชนส ว นรวม มากกวา เหน็ ประโยชนส ว นตน ปจจบุ นั ความวนุ วายของสงั คมมีมากนกั การแขง ขันที่รอ นแรงใน ทกุ ๆ ดาน การทาํ ลายสงิ่ แวดลอ ม การเอาเปรยี บผดู อ ยโอกาส การปลอยมลพิษสูสงั คม การวา รา ย เสยี ดแทง การแกง แยง ชงิ ดี ฯลฯ ลวนแลวแตม าจากสาเหตเุ บือ้ งตนคลา ย ๆ กนั คอื ความเหน็ แกต วั หรอื เอาแตไดใ นสว นตนเปนหลกั ทาํ อยา งไรจงึ จะลดความเอาแตไ ดล งบา ง ตรงกนั ขา มกบั การเอา เขามาใสตวั กค็ อื “การให” แกคนอื่นออกไป เมื่อคนตาง ๆ เร่ิมมองออกสูภายนอก แคน อกจาก ตวั เองเทา นน้ั มองเห็นผอู ื่นอยา งลึกซงึ้ แทจ รงิ มากขนึ้ เร่ิมเขาใจมมุ มองของคนอืน่ เขาตองการอะไร เขาอยใู นสภาพไหน เราชว ยอะไรไดบ า ง มองเหน็ สงั คม เห็นแนวทางท่จี ะชวยกนั ลดปญหา เร่มิ แรก ใหเริม่ สละส่ิงที่เรามอี ยู ไมว า จะเปนเวลา แรงงาน เงิน สิง่ ของ อวัยวะหรอื แมกระทงั่ สละความเปน ตัวเราของเรา ซึง่ น่ันเปน หนทางการพฒั นาจิตใจแตล ะคนไดอ ยา งเปน รปู ธรรม จิตสาธารณะตรงน้ที ม่ี องเห็นผอู น่ื เหน็ สังคมดงั น้เี อาทเ่ี ราเรยี กกนั วา “จติ อาสา” จติ ใจที่ เห็นผูอน่ื ดว ย ไมเ พียงแตต ัวเราเอง เราอาจจะยนื่ มอื ออกไปทาํ อะไรใหไ ดบ าง เสียสละอะไรไดบา ง ชวยเหลอื อะไรไดบา ง แบบเพือ่ นชว ยเหลือซงึ่ กนั และกนั ไมใชผ ูเ หนอื กวา มนี า้ํ ใจแกก นั และกนั ไมน งิ่ ดูดายแบบท่เี รอ่ื งอะไรจะเกดิ ขน้ึ ไมเ กีย่ วกับฉนั ฉนั ไมสนใจ สามารถแสดงออกมาไดใน หลายรปู แบบ ท้งั การใหร ูปแบบตา ง ๆ ตลอดจนการอาสาเพือ่ ชว ยเหลอื สงั คม ดังน้นั โครงการจิตอาสาพัฒนาจงึ จะจัดกิจกรรมใหน ักเรียนไดมีความรูท ถี่ ูกตอ ง เกยี่ วกบั จติ อาสาเพอ่ื กระตุน ใหแ ตละคนลกุ ขนึ้ มาทาํ ความดกี นั คนละนดิ คนละนิดเดียวเทา นน้ั ประเทศชาติ ของเรานา จะงดงามขนึ้ อกี ไมน อ ย เชน เพียงรวมกนั บรจิ าคเงินกนั เพยี งคนละเล็กละนอ ย เราก็จะมี งบประมาณชว ยเหลือสังคมขน้ึ มาทนั ที ในกรณีโรงเรียนมธั ยมประชานเิ วศน จึงจัดตง้ั โครงการ จิตอาสาขน้ึ โดยใหน ักเรียนโรงเรยี นมัธยมประชานเิ วศนไดร ว มกันทาํ ความดี เพือ่ พัฒนาโรงเรียนใน ชนบท เชน บูรณะพน้ื ทีต่ า ง ๆ ในโรงเรียน รบั บรจิ าคหนังสอื เครื่องใชต าง ๆ ไปมอบใหแก โรงเรยี นวัดหนองมว ง ตําบลเมืองไผ อาํ เภอหนองก่ี จังหวดั บรุ รี มั ย ในวนั ที่ 23 ตุลาคม 2551- 26 ตุลาคม 2551

64 2. วตั ถุประสงค 3. เปาหมายของโครงการ 3.1 ด้านปริมาณ บคุ ลากรครทู ี่รับผิดชอบโครงการ และนกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน และ ตอนปลาย โรงเรยี นมธั ยมประชานเิ วศน แบง เปน บุคลากรครู จาํ นวน 6 คน และการรบั สมัครและคดั เลอื กจํานวน 60 คน 3.2 ด้านคณุ ภาพ บุคลากรและนักเรยี นในโรงเรียนเปน ผูม จี ติ สาธารณะ และเกิดความภาคภมู ใิ จ ในการชว ยเหลือผอู ่นื อยเู สมอ

65 4. กจิ กรรมดําเนนิ การ โครงการจติ อาสาพัฒนาชมุ ชนประกอบดวย 4 กจิ กรรม ดงั นี้ 5. ระยะเวลาดําเนินโครงการจติ อาสาพัฒนาชมุ ชนเดอื น พ.ค. – ต.ค. 2551

66 6. งบประมาณ รายละเอยี ดของงบประมาณดาํ เนนิ การจัดกิจกรรม ในการออกคา ยอาสาพฒั นาชมุ ชน จาํ นวน 110,000 บาท โดยงบประมาณทัง้ หมดไดจ ากการบรจิ าคของผูปกครอง นักเรียน คณะครู พอคาประชาชน 7. ปญ หาและอุปสรรค จาํ นวนสงิ่ ของและเงนิ บริจาคอาจไมเพยี งพอ 8. ผลท่ีคาดวา จะไดรบั นักเรยี นและบคุ ลากรที่เขารวมโครงการมนี าํ้ ใจและจิตสาธารณะ 9. การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ 9.1 ผูติดตามและประเมินผล 9.1.1 ครู บุคลากรและนกั เรยี นที่เขา รวมโครงการ 9.2 วิธีติดตามและประเมนิ ผล 9.2.1 การสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียน 9.2.2 การตอบแบบสอบถาม

67 คณะผู้จดั ทํา ทปี รึกษา บุญเรอื ง เลขาธิการ กศน. 1. นายประเสรฐิ อิ่มสวุ รรณ รองเลขาธกิ าร กศน. 2. ดร.ชัยยศ จําป รองเลขาธกิ าร กศน. 3. นายวชั รนิ ทร แกว ไทรฮะ ทป่ี รึกษาดา นการพัฒนาหลกั สตู ร กศน. 4. ดร.ทองอยู ตณั ฑวฑุ โฒ ผอู าํ นวยการกลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 5. นางรกั ขณา สถาบนั กศน. ภาคใต จงั หวัดสงขลา ผ้เู ขยี นและเรียบเรียง 1. นางมยรุ ี สวุ รรณเจริญ ผ้บู รรณาธกิ ารและพฒั นาปรับปรุง 1. นายวิวฒั นไ ชย จันทนส คุ นธ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นางพชิ ญาภา ปต วิ รา กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นายศภุ โชค ศรีรัตนศลิ ป ศึกษานิเทศกเ ชีย่ วชาญ 5. นายสรุ พงษ ม่นั มะโน ขา ราชการบํานาญ ครชู ํานาญการพิเศษ 6. นางสาวเพชรนิ ทร เหลอื งจติ วฒั นา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น ผ้พู ฒั นาและปรับปรุงครังที 1. นางสาวสุดใจ บตุ รอากาศ 2. นางพรทิพย เข็มทอง 3. นางบุษบา มาลินกี ุล 4. นางพรทพิ ย พรรณนิตานนท 5. นางสาวกรวรรณ กววี งษพิพฒั น

68 คณะทาํ งาน มน่ั มะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นายสุรพงษ ศรรี ตั นศลิ ป กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นายศภุ โชค ปท มานนท กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 3. นางสาววรรณพร กลุ ประดษิ ฐ กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวศรญิ ญา เหลอื งจติ วัฒนา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวเพชรนิ ทร กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน ผ้พู มิ พ์ต้นฉบบั คะเนสม กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 1. นางปยวดี เหลืองจติ วัฒนา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นางเพชรนิ ทร กววี งษพ พิ ัฒน กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 3. นางสาวกรวรรณ ธรรมธิษา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวชาลีนี บานชี 5. นางสาวอริศรา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น ศรรี ัตนศลิ ป ผ้อู อกแบบปก 1. นายศภุ โชค

69 คณะผปู รบั ปรุงขอ มลู เกย่ี วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริย ป พ.ศ. 2560 ท่ปี รกึ ษา จําจด เลขาธกิ าร กศน. หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ 1. นายสุรพงษ ปฏบิ ัตหิ นา ทรี่ องเลขาธิการ กศน. 2. นายประเสรฐิ สขุ สุเดช ผูอาํ นวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย 3. นางตรนี ชุ กศน.เขตบางซื่อ กรงุ เทพมหานคร ผปู รบั ปรงุ ขอ มูล กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั นายธนพฒั น พรรณนา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย คณะทาํ งาน กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 1. นายสุรพงษ มนั่ มะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาํ ไพศรี 4. นางเยาวรตั น ปนมณีวงศ 5. นางสาวสลุ าง เพช็ รสวา ง 6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเรอื น 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น 8. นางสาวชมพนู ท สงั ขพ ชิ ยั