Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ช่องทาง

ช่องทาง

Published by หนังสือเรียน, 2019-08-04 21:00:21

Description: เนื้อหาต้องรู้ช่องทางการพัฒนาอาชีพ

Search

Read the Text Version

46 2. การบรรจุหีบหอ เปนการส่ือสารระหวางผูผลิตและผูบริโภคอยางหน่ึง เพราะ การบรรจหุ บี หอเปนตวั กาํ หนดกลยุทธการตลาด เชน สุราที่มีราคาแพงจะบรรจุขวดที่สวยงาม แมแตบริการก็ใชการบรรจุหีบหอสําหรับผูบริโภค เชน ต๋ัวเคร่ืองบิน จะตองมีซองที่สวยงาม หรือใบเสรจ็ ของโรงแรมกต็ อ งบรรจุซองท่มี ขี อความสวยงาม 3. การบรรจุหีบหอ จะชว ยใหการกระจายสินคางายข้ึนและลดตนทุนลง เพราะวา การบรรจหุ ีบหอทดี่ ีจะทาํ ใหการปองกนั ความเสยี หายของสนิ คา ดีขนึ้ บางคร้ังการบรรจุหีบหอที่ ดีก็เปนการโฆษณาประชาสัมพันธไดดีกวาการโฆษณาดวยสื่อ เพราะเมื่อวางผลิตภัณฑไวใน รา นคา ผบู รโิ ภคอาจจะเหน็ บอยกวา การโฆษณาในส่อื สิ่งทีน่ ักการตลาดพึงระลึกไวเสมอคือ จะตองไมมีการบรรจุหีบหอท่ีทําใหผูบริโภค เขา ใจผดิ เชน กระปองทบ่ี รรจปุ ลาซาดีน ไมควรปด สลากวา ปลาทนู า หรือกําหนดบนหีบหอวา สนิ คามนี าํ้ หนัก 0.8 กิโลกรัม แตก ลับปดสลากวา 1 กิโลกรมั หรือน้ําสมธรรมชาติ 100% ทั้ง ๆ ที่จริงแลว มีเพยี ง 25% ผสมนา้ํ อกี 75% หรือระบุวา หีบหอสามารถหมุนเวียนมาใชใหมไดท้ัง ๆ ที่นํามาใชอีกไมได ในปจจุบัน การบรรจุหีบหอสมัยใหม มักจะใชบารโคด ซึ่งสามารถอานได ดว ยเครอื่ งมอื อิเลก็ ทรอนกิ สไดสะดวก ในการชําระเงนิ 6. การแปรรปู การแปรรูป หมายถึง การนําผลผลิตทางการเกษตรซึ่งมีอยูในรูปวัตถุดิบมาผาน กระบวนการดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาใชในกรรมวิธีการผลิต การแปรสภาพเพ่ือ สามารถบรโิ ภค มีอายยุ นื ยาวข้นึ ตลอดท้งั ความสะดวกสบายในรูปผลิตภณั ฑก ่งึ สําเรจ็ รปู 7. ผลกระทบตอชมุ ชนและสภาพแวดลอ ม ผลกระทบ หมายถึง ผลที่ไดรับหรือเกิดจากการกระทําท่ีคาดวาจะกอใหเกิดผลดี หรือผลเสยี ในระยะยาวอยา งไร โดยประโยชนทีล่ งสูประชาชนนั้น ประชาชนจะไดรับประโยชน อะไรบางจากการดําเนินการของโครงการนี้ท่ีสามารถแสดงผลประโยชนตอสังคม ระบบ สิ่งแวดลอม นอกเหนือจากการเกษตรและอุตสาหกรรมที่คํานึงถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ระบบสง่ิ แวดลอ มของชมุ ชนยังครอบคลุมถึงสภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอวิถีชีวิต ระบบ สิ่งแวดลอม จงึ หมายรวมถึงดิน นา้ํ ปา อากาศ การจัดการทางกายภาพของชุมชน เชน ถนนหนทาง แหลง ศูนยกลางชุมชน เปน ตน และสภาพแวดลอ มทางสงั คมท่ีเออื้ ตอการเจริญเติบโตของชวี ิตดว ย ปจ จยั ของผลกระทบสง่ิ แวดลอมและขอบเขตของการพิจารณา 1. ผลกระทบส่ิงแวดลอมทางกายภาพ 2. ผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคม

47 3. ผลกระทบสง่ิ แวดลอ มทางสนุ ทรยี ภาพ 4. ผลกระทบสิง่ แวดลอ มทางเศรษฐกิจ ลกั ษณะของผลกระทบสิง่ แวดลอมและขอ สงั เกต 1. ลกั ษณะของผลกระทบส่ิงแวดลอ ม - เกดิ ขนึ้ บางที่ บางสวน - กระจายท่ัวไป 2. ขอ สงั เกตเกีย่ วกับผลกระทบสงิ่ แวดลอ ม - อาจเกดิ ข้ึนโดยไมเรียงลําดับ - สรา งปญหาลกู โซไ ดเ สมอ - แสดงผลใหเห็นไดท ้งั ระยะสั้นและระยะยาว - เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ - สามารถวัดขนาดได 3. ความรู ความสามารถ ความรู ความสามารถ หมายถงึ ทกั ษะทส่ี ําคญั หรือความจําเปนในการผลิต หรือ การปฏิบัติงานใหม ปี ระสิทธภิ าพในความเปน ไปไดในการพัฒนาอาชพี เร่ืองที่ 3 การกําหนดวธิ กี ารพฒั นาอาชพี พรอมใหเ หตผุ ล 1. เทคนคิ วธิ ีการทาํ งานของอาชีพท่ีเลือกประกอบการ เปนเคล็ดวิชาในการประกอบ อาชพี แตล ะอาชพี ใหป ระสบความสําเรจ็ จึงเปนปจ จยั สําคัญท่ีผูประกอบอาชีพจะตองเรียนรูให เขา ใจอยางถองแท 2. เทคนิควิธีการทํางาน ชวยลดขั้นตอนการทํางานอาชีพบางอาชีพใหสําเร็จอยาง รวดเร็ว ผูประกอบอาชีพจะนําเวลาที่เหลือไปดําเนินการในงานยอยอื่น ๆ ใหมีประสิทธิภาพ ตอไป 3. เทคนคิ การทาํ งาน ชวยใหก ารทํางานประหยัดข้ึน เชน ใชวัสดุบางอยางที่มีราคาถูก หางายในทองถ่นิ ทดแทนวสั ดุทมี่ ีราคาแพงหรือหายากมาใชในการผลติ แทน ผลผลิตท่ีผลิตไดยัง มีคณุ ภาพเหมือนเดมิ

48 4. เทคนิควิธกี ารทาํ งานชวยใหผลติ ไดมากข้ึน โดยการนําเครื่องมืออุปกรณที่ดัดแปลง มาใชใ นการเพม่ิ ปริมาณการผลิต ผูผลิตเสาะแสวงหาเทคโนโลยีตาง ๆ ที่มีในทองถ่ินมาใชหรือ ดดั แปลงพฒั นาเทคโนโลยีทม่ี ีอยูแ ลวใหชว ยเพิ่มผลผลิตใหมากขึ้น 5. เทคนิควิธีการทํางาน ชวยใหงานอาชีพมีคุณภาพ มีมาตรฐานเปนสากล เปนที่ ยอมรบั ของตลาด ประโยชนท ไ่ี ดรับจากการกาํ หนดวิชาการพฒั นาอาชพี การจาํ แนกองคประกอบยอยของงานอาชีพที่เลือก มีประโยชนที่สําคัญ ๆ ดังตอไปน้ี คือ จะสามารถชว ยใหผูป ระกอบอาชีพไดเตรียมความพรอ มดานขอมูลอาชีพท่ีตนเลือก เพราะผู ประกอบอาชีพตองใชหลักวิชาในการเสาะแสวงหาขอมูลสําคัญ ๆ ในงานอาชีพน้ัน ๆ และ ขอมูลดานอาชพี แตละอาชพี จะเปลีย่ นแปลงอยตู ลอดเวลา ตามระยะเวลา ตามกลไกแหงราคา สภาพการณของตลาด ฤดกู าล เปน ตน

49 แบบฝกหดั ใหผูเรยี นตอบคําถามตอไปนี้ 1. ทานคิดวา การวางแผนในการประกอบอาชพี มคี วามสําคญั อยา งไร และมขี ้ันตอนอะไรบา ง …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. อธิบายความหมายของคาํ ตอไปน้ี การลงทนุ .............................................................................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… การตลาด .............................................................................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… กระบวนการผลิต ................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… การแปรรปู ........................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………

50 การขนสง สนิ คา ..................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. หีบหอ (บรรจุภัณฑ) มคี วามสาํ คญั กบั สนิ คา อยา งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. เทคนิคในการทํางาน ประกอบอาชพี มปี ระโยชนอยา งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. การแสวงหาความรู (ขอมูล) มีความสําคัญตอการประกอบอาชพี อยางไร …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………

51 บทท่ี 3 การตัดสนิ ใจเลือกพัฒนาอาชีพ เร่อื งที่ 1 ขอมลู การตดั สินใจเลอื กพฒั นาอาชีพ การตัดสินใจเลือกพัฒนาอาชีพใหเหมาะสมกับตนเอง จะตองอาศัยขอมูลดานตาง ๆ ประกอบการตัดสนิ ใจ ดงั น้ี 1. ความพรอม หมายถึง สภาพของบคุ คลที่มีวฒุ ิภาวะแรงจูงใจและประสบการณเดิม สงู พอทจี่ ะกอใหเ กดิ การตดั สินใจเลือกพัฒนาอาชีพไดโดยสะดวก แรงจูงใจในการประกอบอาชีพ ไดแก ผลประโยชนตอบแทนทั้งที่เปนตัวเงินและไม เปนตวั เงนิ ประสบการณเดิม ไดแก มีความรู ความสามารถ ทักษะ สอดคลองกับการพัฒนา อาชพี 2. ความตองการของตลาด ตลาด คือ กลุมของบุคคลและองคการที่มีความตองการและมีอํานาจในการซ้ือ สนิ คา และบรกิ าร การพัฒนาอาชีพจะตองสอดคลองกับความตองการของตลาด ผูบริโภคใหความ สนใจในสินคาและบรกิ าร มีอํานาจซอื้ สินคาและบรกิ ารนัน้ การวเิ คราะหค วามตองการของตลาด สามารถกระทําไดโ ดย 1. การสาํ รวจความคดิ เหน็ จากกลุม ตาง ๆ เชน ผบู ริหาร พนักงานขาย และลูกคา 2. การวเิ คราะหยอดขายในอดีต 3. การวิเคราะหแนวโนม ซ่ึงเปนผลจากการสํารวจความคิดเห็นจากกลุมตาง ๆ และการวิเคราะหยอดขายในอดีต 4. การทดสอบตลาด โดยนําผลิตภัณฑจํานวนนอย ๆ ไปจําหนายในตลาดเล็ก ๆ เพือ่ ศกึ ษาปฏิกิริยาการตอบรบั ของลกู คา 3. ความรู ทักษะและเทคนิคตา ง ๆ การตดั สนิ ใจเลือกพฒั นาอาชพี ใด ควรมคี วามรู ทักษะ และเทคนิคในการประกอบ อาชีพน้นั ๆ เพือ่ ใหส ามารถพัฒนาอาชพี ไดอ ยางมีคุณภาพและประสิทธภิ าพ

52 4. ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม การตัดสนิ ใจเลือกพฒั นาอาชีพจําเปน ตองอาศัยขอ มูลดานทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอม โดยพัฒนาอาชีพใหสัมพันธสอดคลองกับทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมที่มี อยู ไมท ําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีแนวทางอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ มอยางย่งั ยืน แนวทางการวิเคราะหผลกระทบทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คือ การ วเิ คราะหผลกระทบทั้งดา นบวกและดา นลบ กําหนดแนวทางปรับปรุงแกไขผลกระทบที่มีอยูใน ดา นลบ และกําหนดแนวทางการใชผ ลบวกใหเกดิ ประโยชนสูงสดุ 5. การใชทด่ี ิน การตัดสินใจเลือกพฒั นาอาชพี จําเปนตองอาศัยขอมูลดานการใชท่ีดิน เพราะที่ดิน เปนปจจัยสําคญั ในการผลติ ทางดานการเกษตร ดังนี้ 1. ท่ีดินเปนปจ จยั สําคัญกาํ หนดวา ควรจะผลติ ชนิดพืชและสัตวอะไร 2. ลักษณะของที่ดินจะกําหนดรูปแบบการผลิตทางการเกษตร เชน การปลูกพืช หมนุ เวียน การปลูกพชื แซม การปลูกพืชเหล่อื มฤดู รปู แบบการผลิต แบบไรนาสวนผสม และ เกษตรผสมผสาน 3. ชนิดของดินมีสวนในการกําหนดกิจกรรม เชน ดินเหนียวปนดินรวน อาจจะ เหมาะสมตอการทํานา ดินรวนปนดินทรายอาจจะเหมาะตอการทําพืชไรบางชนิด ดินเหนียว หรือดนิ ทรายกย็ งั สามารถปลูกพชื และทาํ บอ ปลาได แตถ าหากดินท่ัวไป ไมมีความอุดมสมบูรณ มากนกั อาจจะใชเ ลย้ี งสัตว เปน ตน 4. สภาพพ้นื ท่แี ตละแหง เชน ทีร่ าบและทลี่ มุ อาจจะเหมาะสมตอการทํานา พืชผัก ไมด อกไมประดับ ไมผ ลและไมย ืนตน บางชนิด หากสภาพพื้นที่ลุมมากอาจจะทําบอปลา นาบัว นาผักกระเฉด เปนตน สวนสภาพพื้นที่ดอนอาจจะปลูกพืชไร ไมผลและไมยืนตนบางชนิด ตลอดจนการเลยี้ งสตั ว 5. ลักษณะและคุณสมบตั อิ นื่ ๆ เชน ความเปน กรดเปนดาง ปริมาณอินทรียวัตถุใน ดิน ดินเปร้ียว ดินเค็ม ความลึกของหนาดิน ดินช้ันตาง ๆ เปนตน ส่ิงเหลาน้ีมีผลตอการกําหนด กิจกรรม วิธีการผลิตทัง้ ปริมาณและคุณภาพ ในประเทศไทย สภาพการใชท ่ีดนิ เพอื่ การเกษตรในแตละภาคมีลักษณะและปญหา แตกตางกัน ดังน้ี

53 ภาคกลาง มีระบบชลประทานคอนขางสมบูรณ ปญหาคือปญหากรรมสิทธ์ิที่ดิน ปญหาดนิ เปรย้ี วในทร่ี าบภาคกลาง และปญ หาดินเคม็ ตามแนวราบฝงทะเล ทําใหประสิทธิภาพ ในการใชด ินโดยเฉล่ยี ทง้ั ภาคไมสูงเทาทีค่ วร ภาคเหนือ มีผลผลิตตอไรสูงสุด เพราะคุณภาพดินดี มีการกระจายการผลิตและ ปลูกพืชหมุนเวียนมาก แตมีขนาดการถือครองที่ดินเล็กท่ีสุดในประเทศ มีปญหาการบุกรุก ทาํ ลายปา เพอ่ื ทาํ ไรเลอื่ นลอย แตม ีลทู างท่ีจะกระจายการผลิตไปสพู ืชหมนุ เวียน พืชยนื ตน ไมผลเมอื งหนาว ไมดอกเมืองหนาว ชา กาแฟ และการเลยี้ งโคนม ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มขี นาดพ้นื ทท่ี าํ การเกษตรสูดสุดในประเทศ แตเปนภาค ที่มีอัตราการขยายตัวของการผลิตทางการเกษตรต่ําสุด เพราะคุณภาพดินไมดี ไมเก็บซับ น้ําฝน และมดี นิ เคม็ อยเู ปนเนอ้ื ทกี่ วา งใหญ เปนภาคที่อาศัยการเกษตรน้ําฝนมากที่สุด แตยังมี โอกาสกระจายการผลิตไปสูพืชฤดูแลงไดอีก เชน มันสําปะหลัง ออย พืชนํามัน ฝาย และ ปศสุ ัตว เปน ตน ภาคใต เปนภาคทมี่ ีผลผลิตเกษตรหลักเพียง 2 ชนิด คือ ยางพารา และขาว นับวา เปนฐานการเกษตรที่แคบมากทั้ง ๆ ที่โอกาสในการใชท่ีดินเพ่ือปลูกพืชหมุนเวียนแซมสวน ยางพาราและการปลกู ผลไมยืนตนยงั มีอีกมาก รวมท้ังโอกาสในการเล้ียงปศุสัตวในพ้ืนท่ีซ่ึงเคย ใชท ําเหมอื งแร แลวนาํ มาฟนฟใู หเ ปนทุง หญาเล้ยี งสตั ว 6. การใชท ุน ทุน หมายถึง เงินทุน เคร่ืองจักรกลการเกษตรตาง ๆ โรงเรือน สิ่งกอสรางท่ีใชใน การผลิตและเก็บรักษาผลผลิต รวมท้ังปจจัยการผลิตท่ีเปนพันธุพืช พันธุสัตว ปุย สารเคมี เปนตน ทนุ มีความสาํ คญั มากตอการผลติ และทนุ ยังมคี วามสมั พันธกบั แรงงาน ถา ลงทนุ มาก ทางดา นเคร่อื งจักร การใชแรงงานก็นอ ยลง สาํ หรบั แหลงเงิน ทนุ อาจไดจากทรัพยสินที่มีอยู ได จากกิจกรรมที่ใหผลตอบแทนหลังจากดําเนินงานเสร็จ และการออมทรัพย ทุนอาจไดจากการ กูเงินหรอื มีเครดิตกบั สถาบันการเงนิ หรอื กับเพ่ือนบา น ในการพัฒนาอาชีพ จําเปนตองพิจารณาทุนที่ใชในการดําเนินการวามีมากนอย เพยี งใด ขยายกิจการใหส ัมพันธก ับเงนิ ทุนทม่ี ี ศึกษาเรือ่ งระยะเวลาในการลงทุนกับผลตอบแทน กลับคนื จากการลงทนุ วา มีความคมุ ทนุ เพียงใด แลว จึงตัดสินใจเลอื กพฒั นาอาชีพน้ัน ๆ

54 7. การใชแ รงงาน แรงงานเปน ปจจัยสาํ คญั อยางหน่ึงในการผลิต มคี วามหมายรวมถึงทั้งกายภาพและ จิตใจ ในดานกายภาพเก่ียวกับเร่ืองสุขภาพและอนามัย ความแข็งแรงสมบูรณในการทํางาน สวนดา นจติ ใจนั้นรวมถึงทัศนคติ อุดมการณ ความขยันหม่ันเพียร ความรูสึกรับผิดชอบในการ ผลติ ลกั ษณะของแรงงาน อาจแบง ได 3 ประเภท คือ แรงงานคน แรงงานสัตว แรงงาน เครือ่ งจกั รกล ในทางเศรษฐศาสตร เม่ือกลาวถึง “กําลังแรงงาน” จะหมายถึง “คน” ที่เปน เจา ของแรงงาน การใชแรงงานใหมีประสทิ ธภิ าพควรพจิ ารณา ดงั น้ี 1. การใชแ รงงานท่ีเหมาะสมกับชนดิ ของงาน เชน กจิ กรรมดา นพืชและสัตว 2. การใชแรงงานหรอื จัดระบบการกระจายของแรงงานใหเหมาะสม 3. การใชแรงงานใหเหมาะสมกับวิทยาการแผนใหมและพื้นบาน เชน วิทยาการ การเตรียมดิน การปลูก การใสปุย การกําจัดศัตรูพืช และการเก็บเก่ียว ซึ่งบางครั้งวิทยาการ สมยั ใหมอ าจจะมีความยงุ ยากหรอื มขี ้นั ตอนมาก เกษตรกรท่ีเปนแรงงานจําเปนตองมีความรูใน วิทยาการนนั้ ๆ 4. การใชแรงงานใหเหมาะสมกับเพศและอายุของแรงงาน เชน การเตรียมดินควร จะเปนเพศชายที่แข็งแรง การปลูกอาจจะเปนท้ังเพศชายและหญิงเชนเดียวกับการเก็บเกี่ยว งานหตั ถกรรมพืน้ บานอาจจะเหมาะกบั เพศหญิงทั้งคนแก และหนุมสาว แรงงานเด็กอาจชวยให อาหารปลา อาหารสัตว เปนตน 5. การใชแรงงานผสมผสานหรือทดแทนแรงงานคน สัตว และเคร่ืองจักรกล การเกษตร ใหเ กดิ ประสทิ ธภิ าพลดตน ทนุ การผลติ และประหยดั เวลา การจดั การเร่อื งแรงงานเปนเร่ืองท่ีจําเปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะแรงงานในครอบครัว เกษตรกร ควรจัดการใหมีการกระจายการใชแรงงานไดตลอดป มีกิจกรรมการเกษตรอยาง ตอเน่ืองเพอ่ื ใหม ีการใชแ รงงานอยางสมํ่าเสมอทุก ๆ เดือน กอใหเกิดรายไดเพิ่มข้ึน และลดการ จางแรงงานท่ีไมจําเปน เพ่ือลดตนทุนการผลิต สําหรับผลตอบแทนของแรงงานก็คือ คาจาง แรงงานนน่ั เอง

55 8. การจดั การ การจัดการ หมายถึง การจัดสรรหรือการดําเนินการทรัพยากรในการผลิต (ท่ีดิน ทุน และแรงงาน) เพื่อใหสามารถผลิตไดตามวัตถุประสงคและเปาหมายของผูจัดการ ฟารม ซึ่งแตกตางกนั ในแตล ะพนื้ ท่ี เกณฑในการพิจารณาจัดการฟารม โดยท่วั ไป พอสรุปได ดงั นี้ 1. จะผลติ อะไร 2. จะผลติ ที่ไหน 3. จะผลติ เม่อื ไร 4. จะผลิตเทา ไรและอยา งไร 5. จะผลติ และขายกบั ใคร นอกจากนี้ ยังตอ งพิจารณาในเร่อื งตอ ไปน้ี 1. จะทาํ การผลติ พืชหรอื สตั วชนดิ อะไร 2. จํานวนและชนิดของปจจัยการผลิตที่ใชวาเหมาะสมกับแรงงานในครอบครัว หรือไม หากไมเ พียงพอ จะจางแรงงานจํานวนเทาไร แรงงานที่จางมาจากไหน และระยะเวลา ในการจา ง 3. วิธีการผลิต และเทคนิควิชาการ ตลอดจนการจัดการและบริหารฟารมจะ ดําเนินการอยางไร จะเร่ิมตน ณ จุดใดกอน มีการตรวจสอบและปรับปรุงแกไขอยางไร และ ประการสดุ ทา ย มีความสมั พนั ธกับกจิ กรรมตาง ๆ ภายในฟารมหรอื ไม 4. ชนิดของโรงเรือนและอาคาร มีความจําเปนหรือเหมาะสมเพียงไร เพ่ือความ สะดวกในการจัดการตลอดจนเคร่อื งไมเคร่ืองมือและการจัดการ 5. การวางแผน และงบประมาณฟารม การจดบันทึกและบัญชีฟารมจะดําเนินการ อยางไร เพื่อจะใหทราบทิศทางการทํางานและผลการดําเนินงาน โดยเฉพาะรายได รายจาย และกําไร ตลอดจนปญหาและอุปสรรคในการทํางาน ซึ่งสามารถนํามาเปนขอมูลในการ ปรบั ปรงุ แกไขและวางแผนในปตอไป 6. จะซ้อื ปจจยั การผลติ และขายผลผลิตท่ไี หน กับใคร และอยางไร นอกจากนี้แลว ประสิทธิภาพและความเหมาะสมในดานการจัดการยังข้ึนอยูกับ หลายองคประกอบ เชน ความรู ความสามารถ ความชํานาญ ความรอบรู และประสบการณ การบริหารงานดานแรงงาน ความเขาใจสภาพการผลิตการตลาด ความคลองตัวและการ

56 แสวงหาความรูใหม ความขยันหมั่นเพียร และการดูแลเอาใจใส ตลอดจนความสํานึกและ รับผดิ ชอบในการทํางาน เปนตน เรอ่ื งที่ 2 การตดั สินใจพฒั นาอาชีพดว ยการวเิ คราะหศ ักยภาพ การพฒั นาส่ิงใดก็ตาม มีวิธีการหลากหลาย เชน ทําการวิจัย ทดลองทํากอนลงมือทํา จรงิ การใชก ระบวนการคิดเปน นอกจากนีย้ งั มวี ธิ กี ารวิเคราะหศักยภาพตา ง ๆ ทเี่ ก่ยี วของวาจะ สามารถพัฒนาอาชพี ไดห รือไม โดยการวิเคราะหศักยภาพ 5 ดาน ไดแก 1. ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตล ะพืน้ ท่ี ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ส่ิงท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ซึ่งมนุษยสามารถ นําไปใชใ หเ กดิ ประโยชนต อ ชีวติ ประจาํ วนั และการประกอบอาชีพ ทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก ปาไม แมนํ้า ลําคลอง อากาศ แรธาตุตาง ๆ ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดใชแลวหมดไป เชน แรธาตุตาง ๆ บางชนิดมนุษยสามารถสราง ทดแทนข้นึ ใหมได เชน ปา ไม เมอ่ื มนุษยต ดั ไปใชประโยชนแลวก็สามารถปลูกทดแทนข้ึนใหมได ดังน้ัน หากผูประกอบอาชีพอยูแลวตองการพัฒนาอาชีพของตนใหดีขึ้น ตองพิจารณา ทรัพยากรในพ้ืนที่ท่ีจะนํามาใชพัฒนาอาชีพดวย เชน จากการปลูกผักท่ีใชสารเคมีตองการ พฒั นาโดยใชปุยหมักแทนปุยเคมีในการปลูกผักตองพิจารณาวาทรัพยากรท่ีจะตองนํามาใชใน การทําปุยหมกั ในพื้นทม่ี หี รือไม มีเพยี งพอหรอื ไม ถาไมม ี ผปู ระกอบการตอ งพิจารณาใหมวาจะ พัฒนาอาชีพท่ีตัดสินใจเลือกไวหรือไม หรือพอจะจัดหาไดในพื้นท่ีใกลเคียง ซึ่งผูประกอบการ ตอ งเสยี คา ขนสงจะคุมคา กบั การลงทนุ หรอื ไม จึงจําเปนตองนําทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนที่มา พิจารณาดวยเพื่อลดตน ทุนการผลิต 2. ศักยภาพของพนื้ ท่ตี ามลกั ษณะภมู อิ ากาศ ในแตละพื้นที่จะมีลักษณะภูมิอากาศแตกตางกัน เชน ประเทศไทยภาคกลางมี อากาศรอน ภาคใตมีฝนตกเปนเวลานาน ภาคเหนือมีอากาศเย็น อาชีพเกษตรกรรมขึ้นอยูกับ สภาพภูมิอากาศเปนสวนใหญ เชน การปลูกล้ินจี่ ลําไย ตองการอากาศเย็น จึงจะออกผลได แกวมังกรตองการอากาศรอน ทั้งนี้ทวีปอเมริกามีอากาศหนาวเย็นมากสามารถปลูกพืชเมือง หนาวได เชน เชอรี่ แอปเปล ดงั นัน้ การพัฒนาอาชีพจําเปนตองพิจารณาสภาพภูมิอากาศดวย วา เหมาะสมกบั ส่ิงทตี่ องพัฒนาหรือไม การพัฒนาพันธุของพืชใหม ๆ ท่ีเก่ียวของกับภูมิอากาศ

57 เชน ขา วหอมมะลิตอ งปลูกในสภาพภูมิอากาศแหงแลง ซงึ่ ไมเ หมาะที่จะนํามาปลูกในภาคกลาง หรือการพฒั นาอาชีพการทอ งเท่ียวในชวงอากาศเย็นสบายกส็ ามารถพัฒนาไดเต็มที่ เน่ืองจากมี นักทองเที่ยวหล่ังไหลเขามา ทําใหสามารถพัฒนากิจการท่ีเกี่ยวของ เชน พัฒนาท่ีพัก อาหาร แหลงทอ งเท่ียว ใหตรงกบั ความตองการของลกู คา 3. ศักยภาพของภมู ิประเทศและทําเลที่ตั้งของแตละพน้ื ที่ สภาพภูมิประเทศและทําเลทต่ี ั้งของแตล ะพนื้ ที่จะแตกตางกนั เชน เปนภเู ขา ท่ีราบ สูง ท่ีราบลุม ความแตกตางนี้มีผลตอการพัฒนาอาชีพตาง ๆ เชน ตองการพัฒนาอาชีพ อตุ สาหกรรมจากการใชแรงคนเปนเคร่ืองจักร เพื่อใหสินคามีคุณภาพเดียวกัน ผูประกอบการ ตองพิจารณาวาเคร่ืองจักรน้ันตอ งไมม ีผลกระทบตอ ชุมชน สภาพแวดลอมในภมู ิประเทศนัน้ ๆ 4. ศกั ยภาพของศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี ีวติ ของแตล ะพน้ื ท่ี แตละพืน้ ทที่ ั้งในประเทศไทยและตางประเทศมีศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถี ชวี ติ ทแี่ ตกตา งกนั ดังนั้น แตล ะพ้ืนทสี่ ามารถนําเอาสิ่งเหลานี้มาใชพัฒนาอาชีพได เชน การทํา ธุรกจิ รานอาหารกต็ องทราบวาภาคใดมวี ถิ ชี วี ิตการรบั ประทานอาหารรสชาติแบบใด ภาคเหนือ นิยมอาหารรสจดื ภาคใตนิยมอาหารรสจัด สวนภาคกลางนิยมรับประทานอาหารท่ีมีกะทิเปน สวนประกอบ ดังนั้น การจะพฒั นาอาชพี ตองศกึ ษาศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของ ชุมชนดว ย 5. ศักยภาพของทรพั ยากรมนุษยใ นแตล ะพน้ื ท่ี ทรัพยากรมนุษยในแตละพ้ืนท่ี หมายถึง ความรู ความสามารถของมนุษยท่ีเปน ภมู ิปญ ญาทัง้ ในอดตี จนถงึ ปจจุบนั ดานการประกอบอาชีพตา ง ๆ ในพ้นื ที่นั้น ๆ ปจจุบันมีหลาย อาชพี ที่เกิดจากภูมปิ ญ ญา แตส ามารถพฒั นาใหเ หมาะสมกบั สถานการณปจจบุ ันได เชน การใช จุลนิ ทรียในการทาํ ปุยหมัก แตจ ากการทาํ ปุยหมกั คนเรากม็ คี วามคิดท่ีจะนําไปประยุกตใชอยาง อื่น ๆ เชน ทําน้ําหมกั นาํ ไปทําความสะอาดหองนํา้ เพอ่ื ดบั กล่ิน หรือนําไปผสมกับสวนประกอบ อ่นื ๆ ใหสามารถปนเปนกอนได นําไปโยนในน้ําเพื่อแกปญหาน้ําเสียที่เนาเหม็น เปนการชวย ปรับสภาพนํ้า ดังนั้นจะเห็นวาทรัพยากรมนุษยมีความคิดไมหยุดน่ิง ชวยใหเกิดสินคาใหม ๆ ไดอยูตลอดเวลา

58 แบบฝกหดั ใหผ เู รียนตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. ใหผูเรียนกําหนดวาจะพัฒนาอาชีพอะไร และใหสํารวจขอมูลดานตาง ๆ ประกอบการ ตัดสินใจเลือกพัฒนาอาชีพ โดยวิเคราะหตนเองวามีความพรอมในดานตอไปนี้เพียงใด (เลอื กวิเคราะหอยา งนอย 3 ดา น) 1. แรงจงู ใจและประสบการณเ ดิม 2. ความตอ งการของตลาด 3. ความรู ทกั ษะ และเทคนิคตา ง ๆ 4. ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม 5. ท่ีดิน สถานที่ในการดาํ เนินงาน 6. ทุน 7. แรงงาน 2. ใหผูเรียนกําหนดวาจะพัฒนาอาชีพอะไร และใหวิเคราะหศักยภาพในดานตาง ๆ ประกอบการตดั สนิ ใจเลือกพัฒนาอาชีพ โดยวิเคราะหตนเองวามีความพรอมตามศักยภาพ ดา นตา ง ๆ เพียงใด (เลือกวิเคราะหอ ยา งนอย 3 ดา น) ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ 1. ศักยภาพของพื้นทตี่ ามลกั ษณะภมู อิ ากาศ 2. ศกั ยภาพของภูมปิ ระเทศและทาํ เลท่ตี ง้ั 3. ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ิต 4. ศกั ยภาพของทรพั ยากรมนุษย

59 เฉลยแบบฝกหัด บทที่ 1 1. ใหผูเรียนยกตัวอยางการประกอบอาชีพในทวีปแอฟริกา วามีอาชีพใดท่ีคลายกับการ ประกอบอาชีพในประเทศไทย 1. อาชีพการปลุกยางพารา 2. อาชพี การปลกู ปาลม น้าํ มนั 3. อาชีพการเลีย้ งโคเนอื้ 2. ใหนักศกึ ษาระบพุ ฤติกรรมทางกาย วาจา ใจ ของผปู ระกอบอาชพี ทสี่ ามารถนาํ ไปใชก บั ลกู คา ได พฤติกรรมของผูประกอบอาชีพทีส่ ามารถนาํ ไปใชก บั ลกู คา คือ - พฤติกรรมทางกาย เชน การไหว แสดงใบหนา ยิม้ แยมแจม ใส ทาทางแสดงอาการ ตอนรบั ดวยความออ นนอม - พฤตกิ รรมทางวาจา เชน การพดู ทกั ทาย การใชถ อ ยคําสภุ าพใหเ กียรตลิ ูกคา - พฤตกิ รรมทางใจ เชน มีความซ่ือสตั ย รักษาคาํ พูด 3. ใหนกั ศึกษาระบุขอ ปฏบิ ตั ิเม่อื ตอ งการจะลดกระแสไฟฟาในการใชเ ครอื่ งปรบั อากาศ มอี ะไรบา ง 1. เลอื กเคร่ืองปรับอากาศที่มีฉลากประหยดั ไฟเบอร 5 ซง่ึ เปนระดบั ความประหยัด ไฟฟา สงู ทส่ี ดุ 2. ตดิ ตั้งเครื่องปรบั อากาศในบริเวณที่สามารถกระจายลมไดท ั่วถึงทง้ั หอง หลีกเลย่ี ง การติดต้งั ใกลป ระตู หนาตา ง พัดลมดดู อากาศ และอยา ตดิ ชิดผนงั ทร่ี ับแสงแดดจัด 3. เลือกขนาดของเครื่องปรับอากาศตามความเหมาะสมของขนาดหอ ง 4. อุณหภมู ทิ ่เี หมาะสมคือ 25-26 องศาเซลเซียส 5. ยายเครอ่ื งใชไฟฟาอนื่ ที่ไมจาํ เปน ออกนอกหองทีใ่ ชเ คร่อื งปรับอากาศ 6. งดกิจกรรมทาํ ความรอนภายในหอ งปรับอากาศ เชน การสูบบุหรี่ 7. สวมใสเ สอื้ ผา ทส่ี บายเพอ่ื ใหรางกายไดร บั ความเย็นจากเครื่องปรับอากาศ

60 8. ใชผามา นใหทาํ หนาทกี่ ันความรอ นไมใหเ ขาสูภายในหอ งโดยตรง 9. ปลกู ตนไมใหญใหเปน ธรรมชาติรม รนื่ รอบบา น ทําใหบา นเย็นขึ้น บทท่ี 2 1. ทานคิดวาการวางแผนในการประกอบอาชีพมีความสาํ คญั อยา งไร และมขี น้ั ตอนอะไรบาง 1. ชว ยทาํ ใหการดําเนินงานบรรลผุ ลสําเรจ็ ตามเปาหมาย 2. ชว ยทําใหก ารใชทรพั ยากรเปนไปอยางมปี ระสทิ ธิภาพ 3. ชวยทาํ ใหการดําเนินงานมีความเส่ยี งนอ ยลง และมีความเชือ่ ม่นั ในการบรหิ ารงาน มากขึน้ 4. ชวยปอ งกันการขัดแยง ซึง่ อาจจะเกดิ ขึ้นระหวา งการดาํ เนินงานได 5. ชว ยปรับวธิ ีการดําเนินงาน หรือเปลี่ยนแปลงกิจกรรมบางอยางไดอ ยางเหมาะสม มีข้ันตอน ดงั น้ี 1. สาํ รวจขอเทจ็ จรงิ 2. วางแผน 3. กาํ หนดเปา หมายทตี่ อ งการ 4. เขียนโครงการ 5. ปฏบิ ตั ิ 6. พฒั นาปรบั ปรงุ 2. อธิบายความหมายของคําตอ ไปนี้ การลงทนุ หมายถึง การออมเพื่อใหไดรับผลตอบแทนท่ีมากข้ึน ซึ่งเราจะตองยอมรับ ความเสย่ี งที่เพิม่ ขน้ึ เชนกนั การตดั สนิ ใจนําเงินออมมาลงทุนเราจึงตองพิจารณาอยางรอบคอบ และศึกษาหาขอมูลที่เก่ียวของเปนอยางดี เพ่ือใหไดรับผลตอบแทนที่คาดหวังไว และเพ่ือลด ความเส่ียงท่ีเกดิ ข้นึ จากการลงทุน การตลาด หมายถงึ กิจกรรมทางธุรกจิ ทจี่ ะทาํ ใหสนิ คา จากผูผ ลติ ไปสูมือผูบริโภค และ ทาํ ใหผ บู รโิ ภคเกดิ ความพึงพอใจทไ่ี ดบรโิ ภคสินคาหรือบริการนั้น อันเปนผลทําใหธุรกิจประสบ ความสําเร็จตามวตั ถปุ ระสงคข องธรุ กจิ น้นั ๆ อีกดวย

61 กระบวนกาผลิต หมายถึง กระบวนการผลิตสินคา การใหบริการ ตามความตองการ ของผบู ริโภค ซึ่งประกอบไปดว ย ลกู คา ตลาดแรงงาน สังคม ประเทศชาติ และประชาคมโลก โดยมวี ิธกี ารในการควบคมุ ดูแลการผลติ อยางมคี ุณภาพทีไ่ ดม าตรฐาน และการสรางคุณลักษณะ ทีโ่ ดดเดนของสนิ คา หรอื บรกิ าร ไดแก 1. ความนา เชื่อถอื ผใู หบ ริการจะตองแสดงถงึ ความนา เชื่อถอื และไววางใจ 2. การตอบสนอง การตอบสนองที่มีความตั้งใจและเต็มใจ 3. การสรางความมน่ั ใจ สามารถทีจ่ ะทาํ ใหล กู คาเกิดความเช่ือใจ 4. การดแู ลเอาใจใส 5. เครอ่ื งมืออุปกรณ การแปรรูป หมายถึง การนําผลผลิตทางการเกษตรซ่ึงมีอยูในรูปวัตถุดิบมาผาน ขบวนการดา นวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีมาใชในกรรมวธิ ีการผลติ การแปรสภาพเพื่อสามารถ บริโภค มอี ายยุ ืนยาวขึน้ ตลอดทง้ั ความสะดวกสบายในรปู ผลติ ภัณฑกึง่ สําเรจ็ รปู การขนสง สนิ คา หมายถงึ การเคลอื่ นยายสินคา จากท่ีหน่ึงไปยงั อกี ท่ีหนึง่ ซ่ึงเปนหนาท่ี ของผผู ลติ ท่จี ะใหป ระโยชนแ กผ ูบ รโิ ภค ในดานเวลา และสถานท่ี สงผลใหสินคามีมูลคาเพิ่มข้ึน การขนสง มสี วนชว ยลด คาตนทุนการผลิตได ในกรณีท่ีตั้งโรงงานขนาดใหญที่ตนทุนต่ําใน สถานที่หนึง่ แตต องการกระจายสินคาไปทั่วประเทศ เชน โรงงานผลิตรถมอเตอรไซค ท่ีตั้งอยู ชานเมืองกรุงเทพฯ แตสามารถสงรถมอเตอรไซคไปขายท่ัวประเทศ หรือโรงงานผลิตเสื้อผา ต้ังอยใู นประเทศไทย แตส ามารถสงเสื้อผาไปขายไดทั่วโลก เปนตน ซึ่งจะทําใหตนทุนการผลิต ตอหนว ยสินคาลดลง 3. หบี หอ (บรรจภุ ัณฑ) มีความสาํ คัญกับสนิ คา อยา งไร 1. ใชป อ งกนั ผลติ ภณั ฑ 2 ใชใ นการสงเสรมิ การขาย 3. ผบู รโิ ภคมกั จะเลือกผลติ ภัณฑทมี่ กี ารบรรจุหบี หอ ทีด่ ีกวา 4. การบรรจุหบี หอ เปน การสอื่ สารระหวา งผผู ลติ และผบู รโิ ภคอยา งหนึ่ง เพราะการ บรรจหุ ีบหอเปน ตวั กําหนดกลยทุ ธการตลาด 5. การบรรจุหีบหอ จะชวยใหการกระจายสนิ คา งา ยข้นึ และลดตนทุนลง

62 4. เทคนิคในการทํางาน ประกอบอาชีพ มปี ระโยชนอยา งไร 1. เทคนิควิธกี ารทํางานของอาชีพท่ีเลือกประกอบการ เปนเคล็ดวิชาในการประกอบ อาชีพแตละอาชพี ใหป ระสบความสาํ เรจ็ จึงเปน ปจจยั สาํ คญั ท่ีผูประกอบอาชีพจะตองเรียนรูให เขา ใจอยา งถองแท 2. เทคนิควิธีการทํางาน ชวยลดขั้นตอนการทํางานอาชีพบางอาชีพ ใหสําเร็จอยาง รวดเร็ว ผูประกอบอาชีพจะนําเวลาท่ีเหลือ ไปดําเนินการในงานยอยอ่ืน ๆ ใหมีประสิทธิภาพ ตอไป 3. เทคนิคการทาํ งาน ชว ยใหก ารทํางานประหยดั ขึน้ เชน ใชวัสดุบางอยางที่มีราคาถูก หางายในทองถ่ิน ทดแทนวัสดทุ ีม่ รี าคาแพงหรือหายากมาใชในการผลติ แทน ผลผลติ ทผ่ี ลติ ไดยัง มีคณุ ภาพเหมือนเดมิ 4. เทคนิควธิ ีการทาํ งานชวยใหผ ลิตไดมากข้ึน โดยการนําเคร่ืองมืออุปกรณที่ดัดแปลง มาใชในการเพิ่มปรมิ าณการผลติ ผูผลิตเสาะแสวงหาเทคโนโลยีตาง ๆ ทีมีในทองถ่ินมาใชหรือ ดดั แปลงพัฒนาเทคโนโลยีทมี่ ีอยแู ลวใหชว ยเพมิ่ ผลผลิตใหม ากข้นึ 5. เทคนิควิธีการทํางาน ชวยใหงานอาชีพมีคุณภาพ มีมาตรฐานเปนสากล เปนที่ ยอมรับของตลาด 5. การแสวงหาความรู (ขอ มลู ) มีความสาํ คัญตอการประกอบอาชพี อยา งไร ? ชวยใหผูประกอบอาชีพไดเตรียมความพรอมดานขอมูลอาชีพท่ีตนเลือก เพราะ ผูประกอบอาชีพตองใชหลักวิชาในการเสาะแสวงหาขอมูลสําคัญ ๆ ในงานอาชีพนั้น ๆ และ ขอมูลดานอาชพี แตล ะอาชีพจะเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ตามระยะเวลา ตามกลไกแหงราคา ภาวการณต ลาด ฤดูกาล บทท่ี 3 1. ใหผูเ รียนกําหนดวา จะพัฒนาอาชีพอะไร และใหส ํารวจขอ มูลดา นตา ง ๆ ประกอบการ ตดั สินใจเลือกพฒั นาอาชีพ โดยวเิ คราะหต นเองวามีความพรอ มในดานตอ ไปนีเ้ พยี งใด (เลอื กวเิ คราะหอ ยา งนอย 3 ดา น) ผูเรยี นสามารถเลือกพฒั นาอาชีพไดทกุ อาชีพท่ีตนเองสนใจ เชน อาชีพเกษตรกร เกษตรธรรมชาติ แลว วเิ คราะหค วามพรอ มของตนเอง (อยางนอย 3 ดาน) เชน

63 ขอ มูล การวิเคราะหค วามพรอ ม 1. แรงจงู ใจและประสบการณเ ดิม 1. มีความรักในอาชพี เกษตรกร 2. ประกอบอาชพี การเกษตรอยแู ลว แตตอ งการ 2. ความตอ งการของตลาด พัฒนาใหเปน เกษตรธรรมชาติ เกษตรปลอด สารพิษ 3. ความรู ทักษะ และเทคนิคตา ง ๆ 3. เกษตรธรรมชาติสงผลดตี อ สขุ ภาพ 4. ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ 4. ตลาดตองการผลผลิตจากเกษตรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ ม จากการสงั เกตและสอบถามบคุ คลทวั่ ไป พบวา ผบู ริโภคนยิ มผัก-ผลไมปลอดสารพษิ ผกั -ผลไมป ลอดสารพษิ มีราคาสูงกวา ผลผลิตท่ัวไป สามารถศึกษาดูงานจากสถานประกอบการ ภูมิปญ ญา ในทองถิ่น เกษตรธรรมชาตจิ ะสงผลดีตอ การอนรุ กั ษธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ฟน ฟสู ิ่งแวดลอมทถ่ี กู ทาํ ลาย 5. ทด่ี ิน สถานที่ในการดําเนินงาน มีท่ดี ินเปนของตนเอง สามารถดําเนินการไดท ันที 6. ทนุ ใชทุนจากการการขายผลผลติ ครงั้ กอ น ลงทนุ ตามปกติ ในลักษณะคอยเปนคอยไปตามสภาพความพรอ มของ 7. แรงงาน ทุน ใชแรงงานตนเองและแรงงานครอบครวั

64 2. ใหผเู รยี นกําหนดวา จะพฒั นาอาชีพอะไร และใหว เิ คราะหศ ักยภาพในดา นตาง ๆ ประกอบการตัดสินใจเลือกพัฒนาอาชพี โดยวเิ คราะหต นเองวามคี วามพรอ มตามศกั ยภาพ ดานตา ง ๆ เพียงใด (เลือกวเิ คราะหอยางนอย 3 ดา น) ผเู รียนสามารถเลอื กพัฒนาอาชีพไดทุกอาชีพท่ีตนเองสนใจ เชน อาชีพเกษตรกร เกษตรธรรมชาติ แลววเิ คราะหศักยภาพในดา นตา ง ๆ วา มคี วามพรอมเพียงใด (เลือกวิเคราะห อยางนอย 3 ดาน) ขอมลู การวเิ คราะหศ กั ยภาพ (ความสอดคลอ ง/ แนวทางการพฒั นา) 1. ศกั ยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติ ชุมชนเปน ชมุ ชนชนบท มีแหลง น้าํ เพียงพอตอการทํา การเกษตร สภาพของดินเสอ่ื มโทรมจากการใชสารเคมี เปนเวลานาน แตสามารถปรับปรงุ ดินไดโ ดยใชป ุยคอก ปยุ หมัก ซ่ึงมีวัตถุดบิ ในชมุ ชน 2. ศกั ยภาพของพน้ื ที่ตามลักษณะ มภี ูมอิ ากาศรอนชน้ื แบบภาคกลาง สามารถทาํ ภูมอิ ากาศ การเกษตรใหสอดคลอ งกับฤดกู าล 3. ศกั ยภาพของภูมิประเทศและ ภมู ปิ ระเทศเปนทร่ี าบลุม อยไู มห างไกลจากคลอง ทําเลท่ตี ้ัง ชลประทาน สามารถใชน ้าํ จากคลองชลประทาน และ น้าํ จากบอ ขุดในที่ดินของตนเองได 4. ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม คนในชุมชนและชมุ ชนใกลเ คียงนยิ มรับประทานผัก- ประเพณี และวิถีชีวิต ผลไม ในวิถีชวี ิตประจําวัน และกําลงั เร่มิ เหน็ ความสาํ คัญของเกษตรธรรมชาติ เกษตรปลอดสารพิษ เพ่อื รักษาสขุ ภาพ ผลผลิตจากเกษตรธรรมชาติสามารถ ขยายตลาดไดอยา งดี 5. ศกั ยภาพของทรพั ยากรมนษุ ย ในชุมชนและชุมชนใกลเ คียงมีภมู ิปญญาที่สามารถ แลกเปลย่ี นเรียนรูดา นเกษตรธรรมชาติได สามารถเปน แหลงเรยี นรูและเปน เครอื ขา ยในการทาํ งาน

65 บรรณานุกรม กนก จนั ทรท อง, สิง่ แวดลอมศกึ ษา. (2539). ความรูเ รอ่ื งส่งิ แวดลอ ม. พิมพครั้งที่ 2. ปตตานี : ฝา ยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา สํานกั วทิ ยบริการ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร วิทยา เขตปต ตานี. กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (2538). ชุดวชิ าชองทางการประกอบอาชพี ระดบั มธั ยมศึกษา ตอนตน .กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พป ระชาชนจํากัด. กองพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น กรมการศึกษานอกโรงเรยี น. (2541). ชดุ วชิ าการฝก ทกั ษะ และฝก ประกอบการเฉพาะอาชพี . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพชุมชนสหกรณก ารเกษตร แหงประเทศไทย, นนั ท ศรีสุวรรณ. (2546). บญั ชเี บ้อื งตน . กรุงเทพฯ : สาํ นกั พิมพวงั อกั ษร. ไพโรจน ทิพมาตร. (2545). การขายเบอ้ื งตน . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพป ระสานมติ ร จาํ กัด. มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. (2536). เอกสารการสอนชดุ วชิ าการจดั การการผลติ ภณั ฑ และราคา. นนทบุรี : สาํ นักพมิ พม หาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช. วิชติ ออู น. (2544). การจดั การเชิงกลยุทธ. กรุงเทพฯ : ว.ี เจ.พร้ินติ้ง. สุดาดวง เรืองรจุ ริ ะ. (2545). นโยบายผลติ ภณั ฑและราคา. กรงุ เทพฯ : ประกายพรกึ . สุรชาติ ใฝรัชตพานิช. (2542). หลกั การจัดการ. กรุงเทพฯ : บรษิ ัท สํานกั พมิ พป ระสานมติ ร (ปสม.) จาํ กดั . สมภพ เลิศปญญาโรจน, (2542). หลักการตลาด. กรงุ เทพฯ : บริษทั สาํ นักพมิ พประสานมิตร (ปสม.) จาํ กัด. สาํ นักงานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัดปราจนี บุรี. (2544). ชุดวิชาพัฒนาอาชพี ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน . กรุงเทพฯ : บรษิ ทั เอกพมิ พไทย จํากดั . อรุณี ปนประยงค และคณะ. (2547). การจัดการฟารม. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พเพิ่มทรพั ยการ พิมพ. Nagle,Thomas T. (1987). The strategy&tactics of pricing. New York : Prentice Hall.

66 คณะผูจัดทาํ ท่ีปรกึ ษา เลขาธิการ กศน. นายสรุ พงษ จาํ จด รองเลขาธิการ กศน. นายประเสรฐิ หอมดี ผูอ ํานวยการกลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบ นางตรนี ุช สขุ สเุ ดช และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ผูอ ํานวยการ สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก นายวราวธุ พยคั ฆพงษ ขา ราชการบาํ นาญ สํานกั งาน กศน. นางอัญชลี ธรรมะวธิ ีกลุ ผูอาํ นวยการ กศน.อาํ เภอสัตหบี สํานักงาน กศน. ผูสรปุ เนือ้ หา จังหวัดชลบุรี นายไพรตั น เนื่องเกตุ ศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ สาํ นกั งาน กศน. จงั หวดั ชลบรุ ี นายสญั ญา ทองจนิ ดา ศกึ ษานเิ ทศกชาํ นาญการพเิ ศษ สํานกั งาน กศน. จังหวดั นครนายก นายโอวาท สุทธนารกั ษ ครูผูชว ย กศน.อาํ เภอสัตหีบ สํานักงาน กศน. จงั หวดั ชลบุรี นายชยั วฒั น อดทน ขาราชการบาํ นาญ สํานกั งาน กศน. ผบู รรณาธกิ าร ศกึ ษานิเทศกเชยี่ วชาญ สาํ นักงาน กศน. จงั หวดั ตราด นางอญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ นายสุธี วรประดิษฐ ครผู ชู วย กศน.อําเภอสตั หบี สาํ นักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี พนกั งานพมิ พ สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ผพู ิมพต น ฉบับ นายชยั วฒั น อดทด กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา นางชนมณี เซย่ี งปอง ตามอัธยาศัย ผูออกแบบปก นายศภุ โชค ศรรี ัตนศลิ ป

1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook