Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย

โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย

Published by korrarit wanitchayanukul, 2021-09-03 02:03:19

Description: โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย

Search

Read the Text Version

ปลาสวยงาม ด.ช.กรฤต วณชิ ยานุกูล ม.2/12 เลขท1ี

คํานาํ รายงานฉบับนี้จดั ทําข้นึ เพ่ือประกอบการเรยี นวิชาคอม1โดยมีจุด ประสงคเพ่ือใหผจู ัดทาํ ไดฝึกการศึกษาคนควา และนําส่งิ ทไ่ี ดศกึ ษา คนควา มาสรา งเป็นชิน้ งานเกบ็ ไวเป็นประโยชนตอการเรียนการสอน ของตนเองและครตู อไป ทงั้ นี้ เน้ือหาไดรวบรวมมาจากหนังสอื แบบเรียน…และจาก หนังสอื คูมอื การเรยี นอกี หลายเลม ขอขอบพระคณุ อาจารย…อยา งสูง ทก่ี รณุ าตรวจ ใหค าํ แนะนําเพ่อื แกไ ข ใหข อ เสนอแนะตลอดการ ทํางาน ผูจดั ทาํ หวังวา รายงานฉบับนี้คงมปี ระโยชนตอผทู น่ี ําไปใชใ ห เกิดผลตามความคาดหวงั จัดทาํ โดย ด.ช.ดรฤต วณิชยานกุ ลู

สารบญั 1-3 6-16 เรอง 6-16 ปก คํานํา สารบญั ภาพประกอบ สายพนั ธ์ุปลาสวยงาม

ปลาหางนกยูง ปลาหางนกยงู Poecilia reticulate (Peters, 1959) เปนปลานําจืดขนาดเล็ก มลี กั ษณะเด่นคอื ลําตวั และ ครบมลี วดลายและสีสันหลากหลายรูปแบบสดสวยสะดุด ตา ครบหางมีขนาดใหญ่มาก โดยเฉพาะในปลาเพศผู้ ซงึ นอกจากจะมคี รบหางทยี าวเปนพวง พลวิ แผ่กวา้ ง สวยงามขณะว่ายนาํ แล้ว ยงั มีลกั ษณะรูปร่างของครบ หางแตกตา่ งกนั ออกไปหลายรูปแบบ ปจจุบนั ผปู้ ระกอบ ธรุ กิจการเพาะพันธ์ปุ ลาหางนกยูงไดพ้ ยายามใชห้ ลัก วชาการทางดา้ นพันธกุ รรมดําเนินการคดั เลือกพอ่ แมพ่ นั ธ์ุ ทมี ีลกั ษณะเด่นตามความต้องการมาเพาะพนั ธ์ุจนไดป้ ลา หางนกยงู สายพันธ์ทุ แี ปลกใหม่และสวยงามอกี มากมาย หลายสายพันธุ์ ซงึ แตล่ ะสายพนั ธจ์ุ ะเน้นความสําคัญที รูปแบบของครบหาง ลักษณะลวดลายและสีของลําตัว และ/หรอลวดลายและสขี องครบ

ปลานอี อน ปลานีออนเป็นปลาขนาดเล็กท่มี นี ิสัยชอบอยูรวมเป็นฝูงใหญ ในระดบั กลางน้ําใน ปาดบิ ช้นื ทม่ี ีไมน ้ําหนาแนนในภาคตะวัน ออกเฉียงใตของ โคลมั เบยี , ภาคตะวนั ออกของ เปรู , และ ทางภาคตะวันตกของ บราซิล มรี ปู ทรงยาวรี คลา ยเม็ด ขา วสาร ตาโต มคี รบี บางใสยาวพอประมาณทงั้ 7 ครีบ (ครีบ วาย 2 ครบี ทอ ง 2 ครีบกระโดง 1 ครบี ทวาร 1 ครีบหาง 1) มี ครีบไขมนั ขนาดเล็ก ที่โคนหาง ลาํ ตวั มเี กล็ดขนาดเล็กมันวาว ปกคลุมทัง้ ตวั โดยทีส่ ว นหลงั จะสเี หลอื บ เขยี ว มะกอก มี เสน เรืองแสง สีเขียวอม ฟ า พาดตงั้ แตจมูกผานลูกตายาวไป สุดทคี่ รบี ไขมนั อนั เป็นทีม่ าของช่อื ปลานีออน สวนทองเป็น สขี าว เงนิ หลังจากชองทอ งไปถงึ โคนหางมี สีแดง สด ขนาด โตเตม็ ทีไ่ มเ กิน 1 นิ้ว

ปลาม้าลาย ปลามาลาย (อังกฤษ: Zebra danio, Zebrafish; ช่อื วทิ ยาศาสตร: Danio rerio) เป็นปลาน้ําจดื ขนาดเล็กชนิดหน่ึง จําพวกปลาซิว ใน วงศปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลาํ ตวั เรียวยาว มสี ที ล่ี าํ ตัวเป็นสเี หลือบน้ําเงิน สลบั ดว ยสเี ขียว มะกอกดาํ จํานวน 3 เสน เป็นแนวยาวตลอดลาํ ตวั จนถงึ สว นหาง ทําใหมองเหน็ ลกั ษณะลวดลายคลา ยมา ลาย อนั เป็นลักษณะเดน อนั เป็นทีม่ าของช่ือเรียก บรเิ วณใตป ากมหี นวดอยจู าํ นวน 2 เสน มีขนาดโตเตม็ ทป่ี ระมาณ 5 เซนตเิ มตร มีถน่ิ กาํ เนิดอยูใ นประเทศอินเดียทางทิศตะวนั ออก มพี ฤติกรรมอยู รวมตัวกนั เป็นฝูง วายหากินและอาศยั อยูบริเวณผิวน้ํา มีความ วอ งไว ปราดเปรียวมาก มักจะวา ยน้ําอยูตลอดเวลา ตัวเมยี มีลาํ ตวั ป อมและสัน้ กวา ตวั ผู

ปลาปอมปาดวั ร์ เฮคเคล ปลาปอมปาดัวรเ ฮคเคล (องั กฤษ: Heckel discus, Red discus; ช่อื วิทยาศาสตร: Symphysodon discus) ปลาน้ําจดื ชนิดหน่ึง ใน วงศป ลาหมอสี (Cichlidae) จดั เป็นปลาปอมปาดวั รช นิดหน่ึง มลี กั ษณะโดดเดนทแ่ี ตกตางจาก ปลาปอมปาดัวรช นิดอ่นื ๆ คอื กลางลาํ ตวั มีแถบสดี าํ ในแนวตงั้ ขา ง ลําตัว 9 แถบ โดยแถบที่ 5 บรเิ วณกลางลาํ ตัวจะเป็นแถบหนาใหญ เหน็ ชัดเจนที่สดุ และแถบแรกทพี่ าดบรเิ วณดวงตาและแถบสดุ ทา ย คือ แถบท่ี 9 บริเวณโคนหางจะมีสดี าํ เขมเชน เดยี วกนั แตม ีขนาด เลก็ กวา ปลาปอมปาดวั รเฮคเคล จะพบในแหลงน้ําที่น้ํามีสีชา หรือท่ีเรียกวา \"Black Water\" ความเป็นกรดเป็นดาง (pH) ของน้ําประมาณ 3.8- 4.8 ซ่งึ นับวามคี วามเป็นกรดสงู และปลาปอมปาดัวรเฮคเคลเม่อื เทยี บกบั ปลาปอมปาดวั รชนิดอ่ืนอีก 2 ชนิดนัน้ จะมขี นาดเลก็ กวา โดยทวั่ ไปพฤตกิ รรมในธรรมชาตมิ ักรวมกลมุ เป็นฝูงขนาดใหญ เฉพาะปลาปอมปาดวั รเ ฮคเคลดว ยกนั

ปลาสิงโตปก ปลาสิงโตปีก หรือ ปลาสิงโตปีกจุด (องั กฤษ: Red lionfish; ช่อื วทิ ยาศาสตร: Pterois volitans /เท-โร-อิส-โว-ลิ-แทนส/) เป็นปลา ทะเลชนิดหน่ึง จาํ พวกปลาสิงโต ในวงศป ลาแมงปอง (Scorpaenidae) มคี รีบอกแผก วา งมีกานครบี แขง็ ย่นื ยาวออกไป และมีเย่อื ยดึ ระหวางกานครีบ ครบี หางโคงมน พ้นื ลาํ ตัวมีสนี ้ําตาลออ น มจี ุดสีดํา แตมบนเย่ือยึดระหวา งกา นครบี อก ครบี หลงั มีกา นครบี แขง็ ทงั้ หมด 13 กาน ซ่งึ แตละกานสามารถเคล่อื นไหวเป็นอสิ ระ โดยมีครบี เป็น ตวั ยดึ ติดไว ในกา นครบี หลังมีบางกานซ่ึงมเี ขม็ พิษและภายในบรรจุ ถุงพษิ รวมถงึ ครบี อ่ืน ๆ เชน ครบี กน , ครบี อก ดวย หากถกู แทงจะ ไดรบั ความเจบ็ ปวดมาก เม่ือแทงเขา ไปในเน้ือเย่อื ของผูท่โี ดนแทง จะกอ ใหเ กดิ ความปวดแสบปวดรอ น เพราะมีผลตอระบบกลามเน้ือ กอ ใหเ กิดอาการตาง ๆ เชน เป็นอมั พาต หรอื อัมพาตชัว่ คราว รวม ถึงเป็นแผลพพุ องไดดว ย ขนาดโตเตม็ ท่ีสามารถยาวไดถ งึ 47 เซนติเมตร (18.5 นิ้ว) ใน ขณะทยี่ ังเป็นปลาวยั ออนจะมคี วามยาวสนั้ กวา 1 นิ้ว (2.5 เซนติเมตร) มีอายขุ ัยเฉลีย่ ประมาณ 10 ปี

ปลาเสือสมุ าตรา ปลาเสอื สุมาตรา ปลาน้ําจืดขนาดเลก็ ชนิดหน่ึง มชี ่อื วทิ ยาศาสตรว า Puntigrus tetrazona อยใู นวงศป ลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ ยอ ย Cyprininae มีรปู รา งคลา ยปลาตะเพียนขนาดเล็ก และมี ลักษณะคลายคลึงกบั ปลาเสือขา งลาย (P. partipentazona) ซ่งึ เป็น ปลาทีอ่ ยใู นสกลุ เดียวกนั มาก โดยมพี ้นื ลาํ ตัวสเี หลืองอมสมเหมอื น กัน ตา งกนั ทีแ่ ถบดําของปลาเสือสมุ าตรานัน้ มที งั้ หมด 4 แถบ และ ขนาดลาํ ตัวของปลาเสอื สมุ าตรานัน้ จะใหญกวา เลก็ น อย โตเต็มท่มี ีขนาดไมเ กนิ 7 เซนตเิ มตร พบในประเทศอินโดนีเซยี ที่ เกาะบอรเนียวและสุมาตรา โดยไมพบในประเทศไทย มอี ปุ นิสยั คลา ยคลึงกบั ปลาเสือขา งลาย คือ ชอบอยูรวมกันเป็นฝงู ในบริเวณ กลางน้ํา ในแหลงน้ําสะอาดที่มีพชื พรรณไมน้ําข้นึ หนาแนน อาหาร ไดแ ก อนิ ทรยี สารและสัตวน ้ําขนาดเล็ก

ปลาพลาตี ปลาพลาตี้ (อังกฤษ: Platy, Southern platy[1]; ช่อื วิทยาศาสตร: Xiphophorus maculatus) ปลาน้ําจดื ขนาดเลก็ ชนิดหน่ึง ในวงศ ปลาสอด (Poeciliidae) อันดับปลาออกลกู เป็นตวั (Cyprinodontiformes) ช่อื \"พลาตี\"้ นัน้ มาจาก คําวา Platypoecilus ซ่งึ เดิมเคยใชเป็นสกุล มีลักษณะลาํ ตัวสนั้ ป อม และกวา งกวา ปลาสอดหางดาบ (X. hellerii) ปลาตัวผู และตวั เมยี มลี ักษณะคลายกนั คือ ปลาตวั ผไู มม สี วนของ กา นครีบหางย่นื ยาวออกไป เหมือนปลาสอดหางดาบ การสังเกต ความแตกตางระหวา งเพศไดจ ากโกโนโพเดียม หรอื อวยั วะสบื พันธุ ของปลาตวั ผู และสที ีส่ ดใสกวา และขนาดโตกวา ของปลาตัวเมีย มี สีลําตวั คอนขา งเหลืองจนถึงน้ําตาลอมเขียว หรือเขียวคล้าํ อม น้ําเงนิ ครีบหลังสัน้ มีขนาดเล็ก และมรี ูปรางเกอื บกลม ครบี อก ครบี ทอ ง และครบี หางไมม ีสี แตครีบหางอาจมีขอบเป็นสเี ขียวหรอื สนี ้ําเงนิ บริเวณโคนหางมีจดุ เลก็ ๆ 1-2 จดุ ปลาเพศผูอ าจมีแถบ จาง ๆ พาดขวางลาํ ตัว 2-5 แถบ

ปลาหมอู ินโด มถี น่ิ อาศัยในประเทศเพ่อื นบานของเรา เชน อินโดนีเซีย มาเลย เกาะบอรเนียว มันมีขนาดไดถึง 16 นิ้วและมีรายงานวามีอายยุ ืนได ถึง 40 ปี ปลาหมูอินโดสวนใหญไดมาจากการจบั ในธรรมชาติ โดย อาจจับโดยใชอวน ใชแห หรอื วิธีทีเ่ หน็ ในรูปคือใชกระบอกไมไผ ลอ ใหป ลาหมเู ขาไปอยู ในธรรมชาตปิ ลาหมจู ะวายทวนน้ําข้นึ ไปผสม พนั ธแุ หลง ทม่ี าของปลาหมอู ินโดทีแ่ ตกตา งกนั ก็จะทาํ ใหสงั เกตเหน็ ความแตกตา งได โดยสังเกตจากสขี องครบี เป็นหลกั ปลาหมอู ินโด บางครงั้ อาจมกี ารปรับสีจนสตี ัวดร็อปลง ปลาหมอู นิ โดควรเลีย้ ง เป็ นกลมุ ปลาหมตู อ งการน้ําทส่ี ะอาด และควรท่จี ะมหี วั พนน้ําใหด ว ยแตไม ตองแรง พ้นื ควรปดู วยวัสดทุ ่ไี มห ยาบเชนทรายหรือกรวดละเอียด และควรมที ่ใี หปลาหมหู ลบซอน อาหารกินไดทงั้ พืชและสัตว ไมว า จะเป็นไรแดง หนอนแดง หอย เน้ือกงุ หรือแมแตแ ตงกวาหรอื วา แตงโม น้ําควรจะเป็นน้ําออ น pH เป็นกลาง ควรเปลยี่ นน้ํา 25% ทุกสปั ดาหหรอื สองสัปดาห และควรระมดั ระวงั เร่อื งคลอรีนเป็น อยางมาก

ปลาปล้องอ้อยคูลี ปลาปลองออยคูล่ี หรือ ปลางคู ลู ่ี (องั กฤษ: Kuhli loach; ช่ือ วิทยาศาสตร: Pangio kuhlii) ปลาน้ําจดื ขนาดเลก็ ชนิดหน่ึง ในวงศ ปลาหมูแท (Cobitidae) มีลาํ ตวั เรียวยาวคลายงู หัวเลก็ ตาเล็ก รจู มูกมีตง่ิ สัน้ หวั และลําตวั มีลายปลอ งสีดาํ บนพ้นื เหลอื งสม 11-12 บัง้ ลงมาถงึ ดา นทอ งหรือรอบตวั ครีบใส โคนครบี หลงั และครบี กน มสี ีดาํ มขี นาดความยาวเตม็ ทไ่ี มเ กิน 12 เซนติเมตร มีพฤตกิ รรมชอบอยูรวมเป็นกลุมเล็ก ๆ ชอบมดุ ใตก องใบไมห รือ กรวดหิน พบอาศยั อยใู นลาํ ธารท่ีมกี รวดและใบไมร ว งหนาแนน เคล่ือนไหวไดคลองแคลว วอ งไวมาก ตัง้ แตบ รเิ วณน้ําตกจนถงึ ทร่ี าบ ต่ําและปาพรุ กนิ สตั วห น าดนิ ขนาดเลก็ กวาเป็นอาหาร พบชุกชมุ ใน บางแหลง น้ํา เชน น้ําตกภาคตะวันออกของไทยแถบจังหวดั จันทบรุ ี และพบไปจนถึงมาเลเซยี และอินโดนีเซยี นิยมเลีย้ งเป็นปลาสวยงามและจบั สง ออกไปขายยงั ตา งประเทศ

ปลาฉลามหางไหม้ ปลาฉลามหางไหมมีรปู รางและทรวดทรงที่เพรียวยาว ตาโต ปาก เลก็ ขยบั ปากอยูตลอดเวลา ใตคางมแี ผนหนังเป็นถุงเปิดออกดาน ทาย ลําตัวแบนขา งเลก็ น อย เกลด็ มีขนาดเล็กสัดสวนของครีบทุก ครีบเหมาะสมกบั ลาํ ตวั โดยเฉพาะครบี หางซ่งึ เวา เป็นแฉกลกึ สขี อง ลาํ ตัวเป็นสีเงินแวววาว ดา นหลังสเี ขียวปนเทา ครีบหลงั ครบี ทอง ครบี กนและครบี หาง สเี หลอื งหรอื สเี หลอื งอมขาว และมขี อบเป็น แถบดํา อันเป็นที่มาของช่ือ วา ยน้ําไดปราดเปรยี วมาก และกระโดด ข้ึนไดส งู จากน้ํามาก มขี นาดโตเต็มราว 20–30 เซนตเิ มตร เป็นปลาที่พบแพรก ระจายพันธุใ นแหลง น้ําของประเทศอนิ โดนีเซีย มคี วามวอ งไวปราดเปรยี วมาก โดยสามารถท่ีจะกระโดดไดสูงถึง 2 เมตร มพี ฤตกิ รรมอยูร วมกนั เป็นฝงู ปัจจุบันมีสถานะในธรรมชาติ ใกลสญู พันธุแลว นิยมเลยี้ งกันเป็นปลาสวยงาม โดยใชว ิธกี าร ผสมเทยี มดว ยการฉีดฮอรโ มน

ปลาปอมปาดวั ร์เขียว เป็น ปลาปอมปาดัวร ชนิดหน่ึง แมจ ะมีช่อื วา เขียว แตท วา สีพ้นื ลาํ ตัวของปลาปอมปาดัวรเ ขยี วมักออกไปทางโทนสเี ขยี วอมเหลอื ง และมลี ักษณะท่แี ตกตา งจากปลาปอมปาดวั รชนิดอ่นื ๆ ทเ่ี ห็นได ชดั เจน คอื มจี ุดสแี ดงคลายสนิมขนาดเล็กข้นึ กระจายอยตู ามลําตัว ซ่งึ จุดเหลา นี้เป็นลักษณะทพี่ บไดบ อยในปลาปอมปาดัวรเ ขยี วโดย ปลาแตละตัวอาจจะมีจํานวนจดุ และการกระจายมากน อยแตกตาง ออกไปตามแตละตัว แตอยา งน อยจะตองมปี รากฏลกั ษณะจุดเชน นี้ บรเิ วณรอบครบี ทวารเสมอ โดยปลาตัวใดทม่ี ีจุดดังกลา วมากและ เห็นชดั เจน โดยที่มลี วดลายสีเขยี วมรกตข้ึนชดั เจนตามบริเวณแนว ครบี หลงั และครบี ทอ งดวย ปลาปอมปาดัวรเขยี ว พบในแหลงน้ําที่ เป็นน้ําสชี า แตจะพบในสภาพที่มี ความเป็นกรดเป็นดาง หรือ pH น อยกวา

ปลาปกเปาจดุ ดํา ปลาปักเป าจดุ ดํา หรอื ปลาปักเป าเขยี วจดุ เป็นปลาปักเป าชนิดหน่ึง มชี ่อื วทิ ยาศาสตรว า Tetraodon nigroviridris ในวงศปลาปักเป าฟัน สซ่ี ี่ (Tetraodontidae) มีรูปรางกลมป อม หัวทา ยเรยี ว ปากเล็ก ตาโต ดานหลงั และดานทองมผี ิวสากเป็นหนามเล็กละเอียด ดา น ทองนิ่มขยายตวั ไดมาก ครบี หลงั เล็กเชนเดียวกับครีบกน พ้นื ลําตวั เป็นสีเหลอื งสด ทองสีขาว มจี ุดกลมสีดํากระจายอยูทัว่ ตัว มขี นาดความยาวเตม็ ท่ี 17 เซนตเิ มตร พบกระจายอยูท วั่ ไปใน พ้นื ทน่ี ้ํากรอ ยของภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตแ ละเอเชียใต จนถึงเอเชียตะวนั ออก ในประเทศไทยพบมากบรเิ วณปาชายเลน นิยมอยูรวมกันเป็นฝงู เป็นปลาชนิดหน่ึงทีส่ ามารถปรบั ตัวไดทัง้ ใน น้ําเค็ม, น้ํากรอยและน้ําจืด มักนิยมถกู จับมาเป็นปลาสวยงาม มีช่อื เรยี กในแวดวงปลาสวยงาม วา \"ฟิชโช\" นับเป็นปลาปักเป าชนิดหน่ึงทม่ี นี ิสยั ไมดุรายเม่อื เทียบ กับปลาปักเป าชนิดอ่นื ๆ แตก็ไมค วรที่จะเลีย้ งรวมกบั ปลาชนิดอ่ืน

ปลาสงิ โตปกเข็ม ปลาสงิ โตปีกเขม็ หรือ ปลาสงิ โตครบี ขาว ปลาทะเลชนิดหน่ึง ใน วงศปลาแมงป อง มีลักษณะทัว่ ไปคลา ยกับปลาสงิ โตชนิดอ่ืน แตม คี รีบอกที่สวนปลาย เป็นเสนเรยี วเล็กคลายปลายเข็ม ครีบหลังมกี า นครบี สนั้ กวา มีต่งิ ทต่ี ายาว ลายบนลําตวั เป็นบัง้ ขนาดใหญแ ละมีจํานวนน อยกวา ปลา สิงโตชนิดอ่ืน และเป็นสีแดงเขม หรอื สคี ล้าํ สลับกบั ลายสีจาง ครบี ตาง ๆ เป็นสใี สปนแดง ปลายครีบอกสีขาว มีขนาดความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ขนาดใหญท ี่สุด 23 เซนติเมตร เป็นปลากินเน้ือ กนิ กงุ และปลาขนาดเล็กตา ง ๆ เป็น อาหาร อาศัยอยูต ามแนวปะการัง ของเขตอนิ โด-แปซิฟิก, แอฟรกิ าใต, หมูเกาะรวิ กิว, นิวแคลิโดเนีย ในนานน้ําไทยจัดเป็น ปลาทพ่ี บไดไ มบอ ย โดยพบไดท ีฝ่ ั่งทะเลอันดามนั เทานัน้ เชน หมู เกาะสุรนิ ทร, หมูเกาะสมิ ลิ ัน, หมเู กาะอาดงั -ราวี เป็นตน นิยมเลีย้ งเป็นปลาสวยงาม

บรรณานุกรม อางอิงจากเวป็ https://th.wikipedia.org/ อา งองิ จากเว็ปhttps://th.wikipedia.org/ อา งอิงจากเว็ปhttps://th.wikipedia.org/