Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิศาสตร์เบื้องต้น

ภูมิศาสตร์เบื้องต้น

Published by nuttaveenamin, 2020-05-18 13:04:27

Description: เนื้อหาอย่างย่อ เรื่องเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ โดยยกตัวอย่างแผนที่และเส้นโครงแผนที่ ในการอธิบายถึงค่าพิกัดเชิงมุมละติจูดและลองจิจูด

Search

Read the Text Version

โรงเรียนคำม่วง แผนท่ี KHAMMUANG SCHOOL ส่วนประกอบท่สี ำคัญของแผนที่ 1. ทิศ 2. พกิ ดั ภูมศิ าสตร์ 3. เสน้ โครงแผนท่ี 4. มาตราส่วน 5. สัญลกั ษณ์ 6. ชอื่ แผนที่ 1. ทศิ (Direction) 2. พิกัดภมู ศิ าสตร์ (Geographic Coordinate) คอื การแสดงตำแหน่งท่ีตง้ั ของจดุ ต่าง ๆบนผวิ โลก เปน็ ค่าละตจิ ดู และลองจจิ ูด ละตจิ ูด (Latitude) คอื ระยะทางเชิงมุมบนผวิ โลก ในแนวทิศเหนือ-ใต้ โดยถือเอาเส้นศูนยส์ ตู รเป็น จุดเรม่ิ ตน้ เสน้ ศนู ย์สตู รจะมีคา่ ละตจิ ูดเป็น 0 องศา ไปทางเหนือ 90 องศา ไปทางใต้ 90 องศา ลองจิจดู (Longitude) คือ ระยะทางเชงิ มุม บนพ้ืนผวิ โลกในแนวทิศตะวนั ตก-ตะวันออก โดยถอื เอาเส้นเมริเดยี นท่ลี ากผ่านตำบลกรีนิช ใกล้นครลอนดอน ประเทศอังกฤษเป็นจุดเร่ิมต้น เสน้ เมริเดียนกรีนชิ เปน็ ลองจจิ ูดท่ี 0 องศา ไปทาง ตะวันออก 180 องศา ไปทางตะวันตก 180 องศา 3. เส้นโครงแผนท่ี (Map Projection) คือ ระบบ การเขียนเส้นขนานและเส้นเมริเดียนลงในแผนท่ี เพอ่ื ให้แผนทมี่ ีคณุ สมบัติตามทต่ี ้องการ เสน้ ขนาน (Parallels) คือ เสน้ สมมตุ ิทล่ี ากขนาน กบั เส้นศูนยส์ ูตรไปทางเหนอื 90 องศาและทางใต้ 90 องศา โดยลากผา่ นค่าของมมุ ละติจูดเดยี วกนั ไป รอบโลก เส้นขนานละตจิ ดู เปน็ เสน้ ท่ีบอกค่าละติจดู ของ ตำบลสถานท่ีต่าง ๆ เส้นขนานละตจิ ูดแต่ละเสน้ มลี ักษณะเปน็ วงกลม ขนานกันระหวา่ งเส้นศนู ย์สตู ร กับข้ัวโลกท้ังสอง ห่างกันองศาละ 111 กิโลเมตร หรอื 69 ไมล์ นักเรยี นสามารถศึกษารายละเอียดเพ่ิมเติมได้ท่ี YOU TUBE  ชุด แผนที่ภมู ปิ ระเทศ และแผนที่ธรณวี ทิ ยา วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (โลกและวทิ ยาศาสตร์) ของช่อง DLIT Resources คลงั ส่อื การสอน ไดต้ ามควิ อารโ์ ค้ดนี้

โรงเรียนคำม่วง เสน้ เมริเดยี นทีส่ ำคญั KHAMMUANG SCHOOL 1. เส้นเมรเิ ดยี นแรก (Prime meridian) คอื เสน้ เมริเดยี นแรกที่ เสน้ เมริเดยี น (Meridians) คอื เสน้ สมมตุ ทิ ่ีลากเชื่อขัว้ โลกเหนือและ ถอื เป็นหลกั ได้แก่ เสน้ ศูนย์องศา ซึ่งลากผ่านหอดดู าวท่ีตำบลกรนี ิช ขว้ั โลกใต้เปน็ คร่ึงวงกลม โดยผ่านค่าของมุมลองจจิ ูดเดียวกนั กรงุ ลอนดอน (ตามขอ้ ตกลงระหวา่ งชาติ ปี พ.ศ. 2427) เส้นเมรเิ ดียนลองจจิ ูด เปน็ เสน้ ทีบ่ อกค่าลองจิจูดของตำบล สถานท่ี 2. เสน้ เขตวนั (International Date Line) คือ เสน้ เมริเดยี นที่ ต่าง ๆ เสน้ เมริเดยี นลองจิจูดแตล่ ะเส้นมีลักษณะเป็นครึง่ วงกลม 180 องศา ซ่ึงตรงข้ามกบั เสน้ เมริเดยี นแรก แต่เสน้ นี้จะไม่ตรงตาม ลากจากขัว้ โลกเหนือไปยังขัว้ โลกใต้ ยาวเท่ากนั หมดทุกเสน้ มีระยะหา่ ง แนว 180 องศาทีเดยี ว เพราะเส้นนจี้ ะต้องลากผา่ นพื้นนำ้ เท่านัน้ กนั มากที่สุดเม่อื ตดั กับเส้นศูนยส์ ูตร คอื 111 กโิ ลเมตร หรอื 69 ไมล์ ซง่ึ ข้ามเสน้ นี้ไปทางซีกโลกตะวันออก(ตะวันตกของเสน้ )จะต้องเพิ่ม วนั 1 วัน แตถ่ ้าข้ามเส้นนไี้ ปทางซีกโลกตะวันตก(ตะวนั ออกของเสน้ ) เวลาท้องถิน่ ของโลกกำหนดตามลองจจิ ดู ความแตกต่างของเวลา จะต้องลดวันลง 1 วัน ท้องถ่นิ ถ้าคิดคำนวณตามลองจิจูดแล้ว จะเปน็ 4 นาที ต่อ 1 องศา ลองจจิ ูด (โลกหมุนรอบ 360 องศา ในเวลา 24 ช่ัวโมง หรอื 1440 นาที) ขอบคุณภาพจาก https://www.luxurytraveladvisor.com และ http://www.dooasia.com 

N โรงเรยี นคำมว่ ง KHAMMUANG SCHOOL กรนี ชิ องั กฤษ ซกี โลกตะวนั ตก ซกี โลกตะวันออก WE S กรีนชิ อังกฤษ WE -- ชา้ กวา่ เร็วกว่า เสน้ แนวตง้ั = เสน้ ทล่ี ากจากข้วั โลกเหนือไปขว้ั โลกใต้  เรยี กวา่ เสน้ เมริเดียน บอกค่าพิกดั เป็น ลองจจิ ูด เสน้ เมริเดียนแรก (Prime Meridian) คอื เมริเดยี นที่ 0 องศา ขอบคุณภาพ Prime Meridian จาก https://www.southlondonclub.co.uk

W 45°w 30 °w 15 °w 0 ° 15 °E 30 °E 45 °E E 21.00 22.00 23.00 00.00 01.00 02.00 03.00 -3 -2 -1 0 +1 +2 +3 ทง้ั หมดนไี้ ดม้ าจากการเอาองศาของทรงกลม(โลก) 360 ° หารด้วย เวลาท่โี ลกหมนุ รอบตัวเอง 24 ช่ัวโมง จะได้ 360/24 = 15 ° : 1 ชั่วโมง หมายถงึ จุดสองจดุ บนโลกท่ีมีระยะหา่ งของลองจิจดู 15 องศา เวลาจะต่างกนั 1 ชัว่ โมง/ 60 นาที นัน่ แสดงว่า 15 ° / 60 นาที จะได้ 1 ° : 4 นาที หมายถึง จุดสองจุดบนโลกที่มีระยะหา่ งของลองจิจดู 1 องศา เวลาจะต่างกนั 4 นาที 105 ° W 0 90 ° E 105 ° E 135 ° E ........... ? 105 ° W .......... ? .......... ? .......... ? ° 8 P.M. New York England India Thailand Japan 

โรงเรียนคำม่วง KHAMMUANG SCHOOL เสน้ เมรเิ ดยี นกบั เวลา 1. เวลามาตรฐาน (standard time) คือ เวลาทค่ี ดิ ตามเสน้ เมรเิ ดยี น โดยกาหนดใหเ้สน้ เมรเิ ดยี นทกุ 15 องศา เวลาจะต่างกนั 1 ชวั่ โมง เสน้ เมรเิ ดยี นแต่ละ 15 องศา จะเป็นแนวแบง่ เขตเวลา (Time zone) ขา้ งละ 7 ½ องศา แต่เวลาของโลกมี 24 เขต และเมรเิ ดยี นต่อไปน้จี ะเป็นเสน้ กลางเขต คือ เมรเิ ดยี นท่ี 15, 30, 45, 60, 75, 90, 105, 120, 135, 150, 165, 180 องศา ทง้ั ตะวนั ออกและตะวนั ตก 2. หลกั เกณฑก์ ารแบง่ เวลามาตรฐาน 1) ใหแ้ บง่ ดนิ แดนต่าง ๆ ของโลกเป็นเขตเวลา มที ง้ั หมด 24 เขต แตล่ ะเขตใชเ้วลามาตรฐานแตกต่างกนั หน่งึ ชวั่ โมง 2) แต่ละเขตเวลามคี วามกวา้ งทางลองจจิ ดู 15 องศา โดยใชเ้สน้ เมรเิ ดยี นเหลา่ น้เี ป็นแนวก่งึ กลางของแต่ละเขต 3) เวลามาตรฐานทใ่ี ชก้ นั ในแต่ละเขตเวลา ใหเ้ทยี บความแตกต่างเร็วหรอื ชา้ โดยใชเ้วลาปานกลางกรนี ิชเป็นเกณฑ์ (เวลาปานกลางกรนี ชิ คือ เวลามาตรฐานของเขตเวลาทม่ี เี สน้ เมรเิ ดยี นทเ่ี ป็นแนวกึ่งกลาง) 3. เวลาฤดูรอ้ นในประเทศองั กฤษและสหรฐั อเมรกิ า เวลาฤดูรอ้ น หมายถงึ การเลอ่ื นเวลาใหเ้รว็ ข้นึ กว่าเดมิ หน่งึ ชวั่ โมงสาหรบั ประเทศองั กฤษและสหรฐั อเมรกิ า เฉพาะระหว่าง ฤดูรอ้ นเท่านนั้ 4. เวลาทอ้ งถน่ิ (Local time) หรอื Place mean time (P.M.T.) คือ เวลาทเ่ี ป็นจรงิ ตามความแตกต่างของเมรเิ ดยี นแต่ละ องศา โดยจะต่างกนั 4 นาทตี ่อ 1 องศา 5. เวลามาตรฐานของประเทศไทย ใชเ้สน้ ตามแนวเมรเิ ดยี นท่ี 105 องศาตะวนั ออก (ประกาศใช้ พ.ศ. 2463) ซง่ึ ผ่านจงั หวดั อบุ ลราชธานี และถอื ว่าประเทศไทยทง้ั ประเทศอยู่ในเขตเวลา (Time zone) เดยี วกนั (กรงุ เทพฯ จะอยู่ลองจจิ ูด 100 องศา ตะวนั ออก) เวลาของประเทศไทยจะเร็วกว่าทก่ี รนี ิช 7 ชวั่ โมงพอดี และเร็วกว่านิวยอรก์ 12 ชวั่ โมง ชา้ กว่าจนี 1 ชวั่ โมง ชา้ กว่า ญ่ปี ่นุ 2 ชวั่ โมง 6. เสน้ เวลามาตรฐานกรนี ิช (Greenwich Mean Time หรอื G.M.T.) คอื เสน้ เมรเิ ดยี นทศ่ี ูนยอ์ งศา ซง่ึ ใชเ้ป็นหลกั เทยี บเวลา ทวั่ โลก 7. โครโนมเิ ตอร์ (Chronometer) คอื นาฬกิ าบอกเวลามาตรฐานกรนี ิช  ขอบคุณภาพจาก https://www.alamy.com

แบบฝกึ หัดท่ี 1 ตอนท่ี 1 นำตัวเลขไปใส่หน้าข้อความใหถ้ กู ตอ้ ง 1) Rain Gauge ............. วัดอณุ หภมู ิของภูมิอากาศ 2) Hygrometer ............. เครื่องมือบอกทศิ 3) Psychrometer ............. วัดความสูงจากพื้นดิน 4) Stereoscope ............. ดูรูปถ่ายทางอากาศ 5) Telescope ............. วัดความกดอากาศ มีแบบปรอทและแอนริ อยด์ 6) Compass ............. วัดปริมาณน้ำฝน 7) Thermometer ............. วัดทศิ ทางและความเร็วลม 8) Barometer ............. วัดความเรว็ ลม 9) Aerovane ............. วัดทิศทางลม 10) Anemometer ............. วัดความชื้นในอากาศ อาศัยเส้นผม 11) Wind Vane ............. วัดความชื้นในอากาศ มีกระเปาะแห้งและกระเปาะเปียก ตอนที่ 2 เตมิ ข้อความลงในชอ่ งว่างให้ถกู ตอ้ ง 1) Prime Meridian แบ่งโลกออกเป็น ............................... และ .................................. 2) Equator แบ่งโลกออกเปน็ ....................................... และ ..................................... 3) เส้นขนาน บอกคา่ พกิ ัดเชิงมุมเปน็ .................... มีคา่ ตงั้ แต่ ............ - ............ ...... และ............ - ............ ...... 4) เสน้ เมริเดียนบอกคา่ พิกัดเชงิ มุมเปน็ .................... มคี า่ ตง้ั แต่ .......... - ........... ......และ............ - ............. ...... 5) ประเทศไทยตง้ั อยู่ Lat 5 ……… ถึง 20 ………. และ Long 97 ……….. ถงึ 105 ............. 6) ............................... ทกุ เสน้ ยาวเทา่ กัน ลากจากขั้วโลกเหนือมายงั ข้วั โลกใต้ 7) ............................... ทกุ เสน้ ขนานกัน ลากจากตะวนั ออกไปตะวันตก 8) เสน้ ขนานสามารถบอก ....................................... 9) เสน้ เมริเดียนสามารถบอก .................................. 10) เมอื งท่หี า่ งกัน 1 เวลาจะห่างกัน .......................... 11) เมืองแคนเบอร์รามีเวลาเร็วกวา่ กรงุ เทพอยู่ 3 ช่ัวโมง แสดงว่าเมืองแห่งน้ใี ช้ค่าลองจิจูดที่ ................ 12) เมอื ง A (Long 75 w) จะมเี วลา.......................... เมือง B (Long 60 w) อยู่ ...................... 13) เสน้ แบง่ วันสากล (International date Line) คือ เส้นเมรเิ ดยี นท่ี ............. จะอยู่ตรงข้ามกบั เส้น ................. 14) ถ้าหันหน้าเข้าหาเสน้ Prime meridian ( 0 ) ทางขวาจะเป็น ........................ ทางซา้ ยจะเปน็ ........................ 15) ถ้าหันหนา้ เข้าหาเส้น International date Line ( 180 ) ทางขวาจะเปน็ ................ทางซา้ ยจะเปน็ ................ 

แบบฝึกหัดที่ 2 ตอนที่ 1 จบั คู่คณุ สมบตั แิ ละชนิดของแผนที่ ............ ก. แผนที่ภูมิอากาศ 1. แสดงความสงู ตำ่ ของพน้ื ท่ี แม่นำ้ ชายฝง่ั ............ ข. แผนที่ภูมิประเทศ 2. แสดงชนั้ หนิ ชนดิ และอายขุ องหินในทอ้ งทตี่ า่ ง ๆ ............ ค. แผนที่อุทกศาสตร์ 3. แสดงปรมิ าณการไหลของแม่นำ้ สายต่าง ๆ ............ ง. แผนที่ธรณวี ิทยา ............ จ. แผนที่โครโรเพลท ปริมาณการจราจรบนทางหลวงและทางรถไฟ ............ ฉ. แผนที่โอโซเพลท 4. แสดงเส้นค่าเท่า เชน่ เสน้ ชั้นความสงู , เส้นความกดเท่า, ........... ช. แผนที่แสดงการเคลื่อนที่ ............ ซ. แผนท่ีลมฟา้ อากาศ เสน้ อณุ หภมู ิเทา่ , เส้นปริมาณฝนเทา่ 5. แสดงเขตภูมอิ ากาศตา่ ง ๆ ของโลก 1. แผนท่ที างกายภาพคอื แผนทแ่ี สดงสิง่ ต่อไปนี้ 6. แสดงทศิ ทางกระแสนำ้ เสน้ ทางเดินเรอื แนวหินโสโครก 1. กระแสน้ำ 2. ลมประจำปี ความลึกของทะเล 3. เขตภูมอิ ากาศ 7. แสดงอุณหภูมิ ความกดอากาศ ทิศทางและความเร็วลม 4. แหล่งอารยธรรมโบราณของโลก 5. พืชพนั ธุธ์ รรมชาติและลักษณะดิน ปรมิ าณเมฆ หมอก 2. พิกดั ภูมิศาสตรค์ ืออะไร 8. แสดงขอ้ มลู เชงิ ความหนาแน่น เชน่ การกระจายประชากร 1. เส้นโครงแผนที่ 2. ละตจิ ดู ลองจจิ ดู ตอนท่ี 2 จงเลอื กคำตอบท่ีถกู ต้องทส่ี ุด 3. มาตราสว่ นแผนที่ 4. สัญลกั ษณใ์ นแผนที่  5. เสน้ ชัน้ ความสงู

3. ข้อใดกล่าวไม่ถกู ตอ้ งเกย่ี วกบั แผนที่ 1. เส้นโครงแผนท่มี ีหลายแบบแลว้ แตว่ ตั ถุประสงค์ในการใช้แผนทน่ี ้ัน 2. แผนทใี่ หข้ อ้ มลู เกีย่ วกับโรคไดถ้ กู ต้องตรงตามความเปน็ จรงิ มากกว่าลกู โลก 3. ลักษณะภูมิประเทศในแผนทส่ี ามารถใช้แสดงความสงู ตำ่ ของพ้ืนที่ได้ 4. เส้นขนานและเส้นเมรเิ ดยี นเป็นเส้นสมมติ 5. เสน้ ขนานและเสน้ เมริเดยี นมจี ำนวนไม่เทา่ กนั 4. ถา้ ตอ้ งการทราบพืน้ ทจ่ี ริงของดินแดนทปี่ รากฏในแผนที่ตอ้ งพิจารณาจากส่งิ ใด 1. มาตราสว่ น 2. ตำแหนง่ ท่ีต้ัง 3. พิกดั ภูมศิ าสตร์ 4. แนวละตจิ ูด 5. เส้นโครงแผนที่ 5. ถา้ ตอ้ งการทราบตำแหน่งละตจิ ดู ของดินแดนหนง่ึ จะทำให้เราทราบส่ิงใดเกี่ยวกับพ้ืนท่ีน้นั 1. เวลามาตรฐาน 2. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ 3. ลกั ษณะภมู ิอากาศ 4. แหล่งแรธ่ าตุ 5. ปรมิ าณฝน 6. มาตราสว่ นแผนท่ใี นขอ้ ใดทจ่ี ะสามารถแสดงรายละเอยี ดของพืน้ ทไี่ ด้มากที่สดุ 1. 1 : 10,000,000 2. 1 : 1,000,000 3. 1 : 500,000 4. 1 : 100,000 5. 1 : 20,000 7. แผนทีซ่ ึ่งใชม้ าตราส่วน 1 : 100,000 หากระยะทางในแผนที่จากเมอื ง ก ถงึ เมือง ข วดั ได้ 5 เซนตเิ มตรอยากทราบวา่ ระยะทางจรงิ เปน็ เทา่ ใด 1. 2.5 กโิ ลเมตร 2. 5 กิโลเมตร 3. 10 กโิ ลเมตร 4. 15 กโิ ลเมตร 5. 20 กโิ ลเมตร 

8. แผนท่ซี ง่ึ ใช้มาตราสว่ น 1 : 200,000 พน้ื ทขี่ องตำบลหนง่ึ กว้าง 2 เซนติเมตร ยาว 3 เซนตเิ มตร จงหาพน้ื ท่จี รงิ ของตำบลนี้ 1. 6 ตารางกิโลเมตร 2. 5 ตารางกโิ ลเมตร 3. 16 ตารางกโิ ลเมตร 4. 22 ตารางกิโลเมตร 5. 24 ตารางกโิ ลเมตร 9. หากต้องการใช้มาตราส่วน 1 เซนตเิ มตร ต่อพนื้ ที่จรงิ 50 กโิ ลเมตรต้องใชม้ าตราสว่ นในข้อใด 1. 1 : 50 2. 1 : 500,000 3. 1 : 5,000,000 4. 1 : 15,000,000 5. 1 : 50,000,000 10. การสำรวจเพ่ือทำแผนทีอ่ ย่างง่ายๆ ควรทำสิ่งใดก่อน 1. สร้างเสน้ โครงแผนที่ 2. หาพิกดั ภูมิศาสตร์ 3. เลอื กมาตราสว่ นแผนท่ี 4. วดั ทิศทางและระยะทาง 5. กำหนดสญั ลักษณใ์ นแผนที่ 

แบบฝึกหัดที่ 3 เส้นสมมุติใน 1. เส้น………………………………….คอื เส้นที่ลากรอบโลกแลว้ แบ่งโลกออกเป็น 2 แผนที่ ส่วนเทา่ ๆ กนั ได้แก่ เส้นศูนย์สูตร และเส้นเมรเิ ดียนทอ่ี ยู่ตรงข้ามกนั 2. เส้น…………………………………..เป็นเส้นสมมตทิ ีอ่ ยู่ในแนวเหนือใต้ ระยะหา่ ง กันมากทสี่ ดุ ท่เี ส้นศนู ยส์ ตู รและบรรจบกนั ทขี่ ้ัวโลกทั้งสอง 3. เสน้ …………………………………..เปน็ เส้นสมมุตใิ นแนวตะวนั ออกตะวนั ตกทุก เสน้ ขนานกนั แตล่ ะ 1 องศา มีระยะห่างเทา่ กับ 111 ก.ม. 4. เส้น………………………………….. คือ เส้นเมริเดยี นที่ลากผ่าน ต.กรีนชิ นครลอนดอน 5. เสน้ เมรเิ ดียน………………………..องศาใชเ้ ป็นแนวลากเส้นแบ่งวัน สากล International Date Line แบบฝึกหัดที่ 4 เส้นเมริเดียนกับการ จงเตคิมำคำนตอวบณในชเอ่ วงลว่างา 1. เวลามาตรฐานของประเทศไทยเรว็ กวา่ G.M.T. …………………. ช่ัวโมง 2. เวลามาตรฐานของประเทศไทยใชเ้ สน้ เมริเดยี นที่.........ซงึ่ ลากผ่านจงั หวดั ....... 3. ถา้ ประเทศไทยเวลา 20.00 น. วันจนั ทร์ องั กฤษจะเปน็ เวลา.............. นวิ ยอรก์ เป็นเวลา.............. ลอสแองเจลสิ เปน็ เวลา................... ญปี่ นุ่ เปน็ เวลา...................... วันเดยี วกัน 4. ถ้านัดดาจะโทรศพั ท์ทางไกลจากเมือง Santos ที่ Longitude 75° ตะวนั ตกไปหาเพือ่ นที่ Cario อยู่ Longitude 30° ตะวนั ออก ให้เพ่ือนรบั โทรศัพท์เวลา 9.00 น. วันพธุ นัดดาต้องโทรจาก Santos เวลา....................... 5. เมอื ง A อยู่ที่ Longitude 165° ตะวันตก เวลา 11.30 น. วันศุกร์ เมือง B อยทู่ ี่ Longitude 155° ตะวันออก จะเป็นเวลา.................... 6. เมือง C อยทู่ ี่ Longitude 135° ตะวนั ตก เวลา 7.00 น. วันอังคาร เมือง D อยทู่ ่ี Longitude 120° ตะวนั ออก จะเป็นเวลา................... 7. เวลา G.M.T. 12.00 น. เวลาบนเรือ A 14.00 น. เวลาบนเรอื B 5.00 น. ตำแหน่งเรอื A อยู่ที่ Longitude…………….. และเรอื B อยทู่ ี่ Longitude…………… 8. เรือลำหนง่ึ เดนิ ทางมาถึงเส้นแบง่ วนั สากลเมอ่ื เวลาเที่ยงคืนวันพุธ หากเรือลำนเ้ี ดนิ ทางขา้ มเส้นแบ่งวนั สากลไปทางซีกโลกตะวันตก จะพบกบั เวลา...................วัน................... 9. ถ้าเดนิ ทางจากกรงุ เทพฯ เวลา 9.00 น. วนั จนั ทร์ที่ 11 มิถนุ ายน ไปยังฮาวาย ใช้เวลาเดินทาง 10 ช่วั โมง จะถึงฮาวายเวลา............. จงตอบเปน็ เวลาท้องถน่ิ ของฮาวาย (ฮาวายเวลามาตรฐานชา้ กว่า G.M.T. 10 ชั่วโมง) 

แบบฝึกหัดที่ 5 จับคู่ให้สัมพันธ์กัน 1. ใชก้ ลอ้ งถา่ ยภาพพ้นื ท่จี ากที่สงู ในอากาศ เพ่ือให้ได้รายละเอยี ดของพื้นท่ี ก. Remote sensing ข. GIS 2. การเขยี นภาพอธิบายเรื่องราว เช่น วัฏจกั รของนำ้ ค. GPS 3. เป็นระบบการสืบคน้ ข้อมลู การเกบ็ ข้อมลู วิเคราะห์ ง. area photography จ. satellite imagery ข้อมลู ท่ีรวดเรว็ มีประสิทธิภาพ องคป์ ระกอบหลกั ฉ. Globe คือข้อมลู ทางภมู ศิ าสตร์ คอมพวิ เตอร์ บคุ ลากร ซอฟตแ์ วร์ ช. Diagram 4. ภาพท่ไี ดต้ อ้ งแปลความหมายจากผ้เู ชี่ยวชาญ ใช้ประโยชน์ ในการสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ การสือ่ สาร การอตุ นุ ยิ มวทิ ยา การบอกตำแหนง่ สำรวจอวกาศ 5. ให้ข้อมลู เกี่ยวกับโรคไดใ้ กล้เคยี งความเปน็ จรงิ เนอื่ งจาก สณั ฐานคล้ายโลก 6. ระบบกำหนดตำแหน่งบนพ้ืนโลก โดยใชก้ ารทำงาน ของดาวเทยี ม ใชป้ ระโยชนด์ ้านการทหารไดม้ าก 7. สามารถจำแนกชนดิ และลักษณะของวตั ถตุ า่ ง ๆ ได้ ในระยะไกล แบบฝึกหัดที่ 6 จับคู่ให้สัมพันธ์กัน 1. ฝนตกเพียงครง่ึ ชว่ั โมงปรมิ าณนำ้ ฝนวดั ไดถ้ ึง 40 มลิ ลเิ มตร 2. เพอ่ื นคกู่ ายยามเดินทางไกล สำรวจปา่ ก. Compass 3. ความกดอากาศ 1,014 มลิ ลบิ าร์ ข. barometer 4. เดือนกนั ยายนของทุกปคี า่ ความชน้ื สมั พทั ธ์ของไทยจะสงู มาก ค. thermometer 5. ทิศทางลมมาจากทศิ ใต้ลมจึงแรงและช่มุ ชื้นเพราะพดั มา ง. psychrometer จ. hygrometer จากทะเล ฉ. rain gauge 6. วันนีค้ า่ ความชื้นต่ำมากเพยี ง 20% ผิวแหง้ มาก ช. anemometer 7. เมษายนปนี ีอ้ ากาศรอ้ นจัดมากอุณหภมู ิขึน้ ถงึ 40 องศา ซ. wind vane ฌ. seismometers เซลเซยี ส ไปเทย่ี วทะเลกันดกี ว่า ญ. DART buoy 8. เรือของพวกเราจะเลน่ ออกจากชายฝง่ั ไดอ้ ย่างรวดเรว็ เพราะดจู ากเครอื่ งวัดแลว้ ความเร็วลมสงู มาก 9. แผน่ ดนิ ไหวคร้ังนี้รุนแรงถงึ ระดบั 7.8 ตามมาตรารกิ เตอร์ 10. ไปเทยี่ วเกาะฝั่งทะเลอนั ดามนั คราวน้ีไม่ตอ้ งกลัวสึนามแิ ลว้ เพราะมีระบบเตือนภยั ใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี ว 


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook