Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่2.-พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิก

บทที่2.-พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิก

Published by nattharika1509, 2020-03-16 22:32:17

Description: บทที่2.-พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิก

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 2 พื้นฐานคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก หวั ขอ้ เร่ือง (Topics) 2.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์ในงานกราฟิก 2.2 การเกิดภาพบนเครื่องคอมพวิ เตอร์กราฟิก 2.3 การประมวลผลของงานคอมพวิ เตอร์กราฟิก 2.4 อปุ กรณ์คอมพิวเตอรท์ ่ใี ช้ในงานกราฟิก แนวคิดสาคญั (Main ldea) ในปจั จุบนั เทคโนโลยกี า้ วเขา้ สู่การนาสมัย ไม่วา่ จะมองไปทางใด จะพบวา่ คอมพิวเตอรไ์ ด้เขา้ มามี บทบาทในงานต่าง ๆ มากย่งิ ข้นึ รวมไปถึงงานด้านกราฟิกท่ีได้มีการนาเอาคอมพวิ เตอรเ์ ข้ามาสร้างสรรคใ์ น ช้นิ งานการออกแบบและเกิดพฒั นาอย่างต่อเน่ือง ซง่ึ ในหน่วยการเรยี นนี้จะศึกษาและทาความเขา้ ใจกบั คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานกราฟิก สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั ความหมายองค์ประกอบศลิ ป์ จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives) 1. บอกความหมายของคอมพวิ เตอรใ์ นงานกราฟิก 2. อธบิ ายการเกิดภาพกราฟิก 3. อธบิ ายเกย่ี วกบั ลักษณะการประมวลภาพในคอมพิวเตอร์ 4. บอกถึงประโยชน์ของคอมพวิ เตอรแ์ ตล่ ะประเภทไปใช้

หน่วยทีห่ นว่ ยท่ี 2 พนื้ ฐานคอมพวิ เตอร์กราฟกิ 2.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์ในงานกราฟิก การสรา้ งภาพกราฟิกในยุคแรกนน้ั จะเรมิ่ ตน้ จากกานวาดภาพระบายสี ไม่วา่ จะเปน็ ป้ายโฆษณา ภาพยนตร์เป็นภาพเขียน ตอ่ มาววิ ฒั นาการของเทคนิคในการถ่ายภาพเร่ิมพฒั นามากยง่ิ ข้นึ มที ั้งการตัดต่อและ ใส่เทคนิคพิเศษลงไปในภาพ ทาให้งานภาพกราฟิกออกได้ตรงตามจินตนาการ 2.2 การเกดิ ภาพบนเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ภาพทป่ี รากฏในจอคอมพวิ เตอร์ท่ีเราเหน็ ในทั่วไปน้ัน แบ่งไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ได้แก่ Physical Image คือ ภาพทเี่ ราเหน็ อยู่ทว่ั ไป เชน่ ภาพถา่ ย สว่ นภาพอีกประเภทหน่งึ คือ Digital Image Computer Graphic คอื ภาพทใ่ี ช้ในการประเมินผลและเก็บในคอมพิวเตอร์และ ภาพทปี่ รากฏบนหนา้ จอคอมพวิ เตอร์ เกิดจากจดุ ส่ีเหลย่ี มเลก็ ๆ ของสที ี่เราเรยี กว่า พกิ เซล ( Pixel) มาประกอบเปน็ ภาพขนาดตา่ งๆ (ก) ความละเลียดตา่ (ข) ความละเอียดสงู รูปท่ี 2.2 ลักษณะภาพจากคอมพิวเตอร์ 2.3 การประมวลผลภาพคอมพิวเตอรก์ ราฟิก ภาพทค่ี อมพิวเตอร์เก็บไว้ใน มีวิธกี ารประมวลแตกต่างกัน ดงั น้ี 2.3.1 การประมวลภาพแบบ Vector การประมวลภาพแบบ Vector เป็นการประมวลผลแบบอาศยั การคานวณทางคณติ ศาสตรโ์ ดยมรสี และตาแหนง่ ของสีที่แนน่ อน ฉะน้ันไมว่ ่าเราจะมกี ารเคลอ่ื นยา้ ยหรือยอ่ ขนาดของภาพ ภาพก็จะไม่เสยี รูปทรง ในเชิงเรขาคณติ ยกตวั อย่างเชน่ โลโก้ ตัวการ์ตูน เป็นตน้ โดยโปรแกรมท่มี ีการประมวลภาพแบบเวกเตอร์ ไดแ้ ก่ IIIustrator และ CoreIDrew 2.3.2 การประมวลภาพแบบ Bitmap การประมวลภาพแบบ Bitmap เป็นการประมวลผลแบบอาศัยการอา่ นค่าสีในแต่ละพกิ เซลมีชอื่ เรียก อยา่ งหนง่ึ วา่ Raster Image โดยแตล่ ะพิกเซลจะมกี ารเกบ็ ค่าสที ่เี จาะจงในแตล่ ะตาแหน่ง ซ่งึ เหมาะกับภาพท่มี ี ลักษณะภาพถ่าย โปรแกรมที่มกี ารประมวลผลแบบ บิตแมพ ได้แก่ Photoshop และ Paint เปน็ ต้น

2.4 ประโยชน์ของงานคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก โปรแกรม IIIustrator สามารถสรา้ งภาพโดยเริ่มต้นจากหน้ากระดาษเปล่า ในโปรแกรม IIIustrator จะมที ัง้ ปากกา พู่กัน ดินสอ และอปุ กรณว์ าดภาพอ่นื ๆ ซึ่งสามรถนามาใชง้ านได้หลากหลายรูปแบบ อาทิ งาน ส่งั พมิ พ์ ไม่ว่าจะเป็นงานโฆษณา โบรช์ วั ร์ นามบตั ร หนังสอื หนังสือนิตยสาร เรียกไดว้ ่างานสั่งพมิ พ์แบบทุก ชนิดที่ต้องการความคมชัด รูปที่ 2.3 กล่องผลิตภัณฑโ์ ปรแกรม Adobe IIIustrator CS5 2.4.1 งานออกแบบทางกราฟิก การสรา้ งภาพสามมิติ ภาพสิ่งของ ภาพโลโก้ ภาพสัญลักษณ์ต่าง ๆ 2.4.2 งานด้านการ์ตูน การสร้างภาพการ์ตนู หรอื วาดเป็นหลายเส้นต่าง ๆ รูปที่ 2.4 การ์ตูน โลโก้ และลายเสน้ 2.4.3 งานดา้ นเว็บไซต์ การสรา้ งภาพตกแตง่ เวบ็ ไซต์ เช่น ภาพพืน้ หลงั หรือปมุ่ ตอบโต้ ตลอดจนภาพประกอบเน้ือหาต่าง ๆ ที่ ปรากฏบนหนา้ เว็บ 2.5 อปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ท่ใี ช้ในงานกราฟกิ เนอ่ื งจากคอมพวิ เตอร์สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการสร้างงานกราฟกิ ไดห้ ลายประเภท ดังนน้ั จึงมี อปุ กรณ์มากมายท่ีถูกนามาใช้รว่ มกบั ตัวโปรแกรมตา่ งๆ ซง่ึ อุปกรณ์ท่ีใช้ในงานกราฟกิ ที่พบเหน็ บอ่ ยๆ มีดังนี้

2.5.1 กลอ้ งดิจิตอล (Digital Camera) เราสามารถใช้กล้องดจิ ิตอลถ่ายภาพรปู แบบดจิ ิตอลความละเอียดสงู กวา่ 3 ล้านพิกเซลขน้ึ ไปซง่ึ ภาพ ลกั ษณะนเ้ี หมาะสาหนับการนามาใชใ้ นงานส่ิงพมิ พ์ 2.5.2 สแกนเนอร์ (Scanner) สแกนเนอร์ เปน็ อปุ กรณท์ ีใ่ ชอ้ ่านและแปลภาพจากภาพบนกระดาษ (Physical Image) ไฟลภ์ าพ ดจิ ิตอล (Digital Image) รูปที่ 2.5 กล้องดจิ ิตอลและเคร่ืองสแกนเนอร์ 2.5.3 จอสัมผสั (Touch Screen) จอสัมผสั เป็นหน้าจอท่ยี อมใหผ้ ูใ้ ช้ใช้น้ิวสมั ผสั หนา้ จอ เพื่อเลอื กเมนบู นหน้าจอได้ งานทีน่ ิยมใช้ หน้าจอน้ี เชน่ เครอ่ื ง ATM เปน็ ต้น 2.5.4 ปากกาแสง (Light Pan) ปากกาแสง เป็นอุปกรณร์ บั ขอ้ มูลท่ีทางานด้วยการตรวจจับแสงบนหนา้ จอ CRT ของ คอมพวิ เตอร์ ใช้ในการคลิกเลอื กและวาดบนหนา้ จอเหมือนกับการใช้ Touch Screen แต่จะทางานด้วยการ ตรวจจบั แสงซงึ่ ใชก้ บั หนา้ จบ LCD หรอื Projector ได้ รปู ท่ี 2.6 จอสัมผัสและปากกาแสง

2.5.5 เคร่อื งพมิ พ์ (Printer) เคร่อื งพมิ พใ์ ช้แสดงผลงานลงบนกระดาษไดท้ ้ังตวั อักษรและรปู ภาพ ปจั จุบนั มใี หเ้ ลอื กหลายแบบ เพอ่ื นาไปใช้งานต่างกันดังนี้ 1. เลเซอร์พรินเตอร์ (Laser Printer) ทางานโดยการยงิ เลเซอร์เพื่อจดั เรียงผงหมึกให้เกิดเปน็ ภาพทีต่ อ้ งการ จากน้นั กใ็ ชแ้ รงดนั และความร้อนผลกั ให้หมึกจับตัวตดิ กบั เนื้อกระดาษ ผลลัพธจ์ ะมีความ ละเอียดมากที่สุด เครอ่ื งพิมพ์เลเซอร์มี 2 แบบ คอื ขาว/ดา และสี ซึง่ แบบขาว/ดา นิยมใช้งานพิมพ์เอกสารใน งานสานกั งานซ่ึงเหมาะกับงาน กราฟกิ ชั้นสูง 2. องิ กเ์ จต็ พรินเตอร์ (Inkjet Printer) ใช้หลักการพน่ หมึกผา่ นท่อพ่นหมึกเล็ก โดยใหเ้ กิดจดุ สีเลก็ ๆ เรยี งตอ่ กันเกดิ เปน็ ภาพ จะมคี วามละเอยี ดน้อยกวา่ เลเซอร์ ราคาเคร่ืองถูกแตห่ มกึ แพง และพิมพช์ ้ากวา่ เลเซอร์ เหมาะสาหรบั งานสี อาร์ตเวริ ค์ สง่ิ พิมพ์ และถ่ายสติ๊กเกอร์ หากใช้พมิ พ์งานเอกสารที่เปน็ สีขาวดา เม่ือ เปรียบเทียบราคาคณุ ภาพแล้ว เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์จะดีกว่า 3. ดอตเมทริกซ์พรินเตอร์ (Dot Matrix Printer) จะใชห้ ัวเขม็ กระแทกลงแผ่นคาร์บอน ทาใหเ้ กิด รอยหมึกเป็นข้อความและภาพ ราคาหมึกถูก ขอ้ เสยี คือพมิ พ์ชา้ และเสยี งดัง (ก) เลเซอร์พรินเตอร์ (ข) อิงกเ์ จต็ พรนิ เตอร์ (ค) ดอตเมทริกซ์พรินเตอร์

แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 2 พ้ืนฐานคอมพวิ เตอร์กราฟกิ ตอนท่ี 1 จงทาเครอื่ งหมาย√ ถกู หน้าข้อทีถ่ ูก และทาเคร่ืองหมาย × ผิดหนา้ ข้อทีผ่ ดิ ………..1. จดุ เหล่ยี มเล็ก ๆ ของสเี รยี กว่า Dot ………..2. การประมวลผลแบบอาศัยการคานวณทางคณิตศาสตร์ คือ การประมวลผลภาพแบบ Bitmap ………..3. การประมวลผลแบบอาศยั การอา่ นคา่ สใี นแตล่ ะพกิ เซล คือ การประมวลผลภาพแบบ Bitmap ………..4. Vecter เรยี กอีกชื่อหนง่ี วา่ Raster Image ………..5. งานสง่ิ พิมพเ์ ปน็ ประโยชนด์ า้ นงานคอมพวิ เตอร์กราฟกิ ………..6. โปรแกรม IIIusrator มกี ารประมวลภาพแบบ Bitmap ………..7. โปรแกรม Paint มีการประมวลผลภาพแบบ Vecter ………..8. การประมวลภาพคอมพิวเตอรก์ ราฟิกมกี ารประมวลภาพ 3 แบบ ………..9. ภาพทีป่ รากฏบนหน้าจอคอมพวิ เตอร์ทีเ่ ราเห็น แบ่งได้ 3 ประเภท ………..10. การสร้างตัวอักษรหรอื ภาพจากเคร่อื งพิมพเ์ รยี กวา่ Pixel ตอนท่ื 2 จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. ข้อเด่นของเครอ่ื งพิมพแ์ บบเลเซอร์คืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. อุปกรณืใดทาหน้าทีร่ บั ข้อมูลในการทางานด้วยการตรวจจบั แสงบนหนา้ จอ CRT ของคอมพิวเตอร์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. เครืองสแกนเนอรม์ ีการทางานแบบใด และมคี วามจาเป็นมากน้อยเพียงใดในปจั จบุ นั ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ปัจจุบนั นิยมใช้งานคอมพิวเตอรใ์ นงานกราฟิกด้านใดบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ภาพทีป่ รากฏบนหนา้ จอคอมพวิ เตอร์มีทง้ั หมดกปี่ ระเภท ไดแ้ กอ่ ะไรบา้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook