Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาเลือกบังคับ การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 ประถม พว10210

วิชาเลือกบังคับ การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 ประถม พว10210

Description: วิชาเลือกบังคับ การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 ประถม พว10210

Search

Read the Text Version

44 เครอ่ื งใชไฟฟา การใชงาน • ซกั ผา ในปริมาณเหมาะสม สมั พันธกับขนาดของเครื่องซักผา ไมโครเวฟ • ไมว างใกลอ ุปกรณไ ฟฟาอืน่ ๆ • ศกึ ษาคมู ือวิธีการใชเพ่อื การใชง านท่ีถูกตอ ง • ถอดปลั๊กเมือ่ เลกิ ใชงาน หมอ หุงขาวไฟฟา • เลือกขนาดใหเหมาะสมกับสมาชิกในครอบครัว เชน 1 - 5 คน ขนาด 1.5 ลติ ร หรอื 6-10 คน ขนาด 2 ลติ ร • ถอดปลก๊ั เม่อื เลกิ ใชงาน กระติกนํ้ารอน • ถอดปลกั๊ ออกเมื่อน้าํ เดือดหรือเลกิ ใช ไฟฟา • หมั่นทําความสะอาดลางตะกรนั ออกบอ ย ๆ • เติมนา้ํ ใหอยูในระดับที่เหมาะสม หรอื ตามทเ่ี คร่อื งระบุไว • ระวงั อยาใหน้ําแหง หรอื ปลอยใหระดับน้ําตํ่ากวาขีดที่กําหนด เพราะจะ ทําใหเกดิ ไฟฟา ลดั วงจรในกระตกิ นาํ้ รอน เปนอันตรายอยางยงิ่

45 เครอ่ื งใชไ ฟฟา การใชงาน เครอ่ื งปรับอากาศ • หม่ันทําความสะอาดแผนกรองอากาศ และลางเคร่ืองปรับอากาศปละ 2 คร้งั • ต้ังอุณหภูมิท่ี 26 องศาเซลเซยี ส • ปด ประตูและหนาตา งใหสนิท • เลอื กขนาดเครอื่ งปรบั อากาศใหเ หมาะสมกับพืน้ ที่ของหอง พนื้ ทีข่ องหอ ง (ตารางเมตร) ขนาดเครอ่ื งปรบั อากาศ ความสงู ไมเกนิ 3 เมตร (บีทยี ู : BTU) 9-14 9,000 16-17 12,000 20-24 15,000 30 18,000-20,000 เครื่องทํานํ้าอุน • เลือกเครื่องทําน้ําอุนไฟฟาใหเหมาะสมกับการใช สําหรับบานทั่วไป ไฟฟา เครื่องทํานํา้ ไฟฟาอนุ ควรใชข นาดไมเกนิ 4,500 วตั ต • ติดต้งั สายดินพรอมเครือ่ งตดั ไฟฟา ร่วั • ปรับระดบั ความรอนใหเหมาะสม • ปด เครื่องทุกคร้ังเม่อื เลิกใชง าน เตารดี • ควรรวบรวมผาท่ีจะรีดแตละครั้งใหมากพอ การรีดผาคร้ังละชุดทําให สิ้นเปลอื งไฟฟา มาก • ไมค วรพรมนาํ้ มากจนเกนิ ไป เพราะจะทาํ ใหส ูญเสียความรอนจากการรีด มาก พดั ลม • เลือกขนาดและประเภทใหเ หมาะสมกับการใชง าน

46 เคร่ืองใชไฟฟา การใชง าน • เลือกใชความแรงของลมใหเหมาะกับความตองการ ความแรงของลม ยิ่งมากย่งิ เปลอื งไฟ • ปด พดั ลมทนั ทีเม่อื ไมใ ชง าน • หมัน่ ถอดหนากากพัดลมลา งอยเู สมอ เคร่อื ง • ปดหนาจอ ถา ไมใชงานนานเกนิ 15 นาที คอมพวิ เตอร • ตดิ ตง้ั ระบบ Screen Saver เพือ่ รักษาคุณภาพหนาจอ • วางคอมพวิ เตอรในทอ่ี ากาศถายเทสะดวก • ปดและถอดปลกั๊ ทุกครัง้ เมอ่ื เลกิ ใชงาน

47 ภาพวธิ ปี ระหยดั ไฟฟา กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งท่ี 2 แนวปฏบิ ตั กิ ารประหยัดพลงั งานไฟฟา ในครวั เรอื น (ใหผเู รียนไปทาํ กิจกรรมเร่ืองที่ 2 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู)

48 บรรณานุกรม การไฟฟา ฝา ยผลิตแหง ประเทศไทย. พลังงานทดแทน. นนทบุรี: กองผลิตส่ือการสือ่ สารองคก าร ฝา ยส่อื สารองคการ กฟผ. 2554 . คูมือการพฒั นาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทน ชุดท่ี 1. ไฟฟา พลังงานลม. กรมพฒั นา พลงั งานทดแทน และอนุรกั ษพลงั งาน กระทรวงพลังงาน. 2555. คูมือการพฒั นาและการลงทนุ ผลิตพลงั งานทดแทน ชุดที่ 2. พลังงานแสงอาทติ ย. กรมพัฒนา พลงั งานทดแทน และอนุรกั ษพลังงาน กระทรวงพลังงาน. 2555. คมู ือการพัฒนาและการลงทุนผลติ พลังงานทดแทน ชุดที่ 4. ชีวมวล. กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพ ลงั งาน กระทรวงพลังงาน. 2555. นวลฉวี รุงธนเกยี รต.ิ พลงั งานนิวเคลียรเพ่อื มนุษยชาติ. กรุงเทพฯ: สาํ นกั พมิ พ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร. 2547. แผนทศ่ี ักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย. กรมพฒั นาและสงเสริมพลังงาน. 2544. วสันต เตชะวงศธ รรม. “ทิศทางใหมของสายลม” ใน เมือ่ สองมือรวมคลายโรครอ น. (หนา 86-93).กรงุ เทพฯ: สาํ นักพิมพท างชา งเผอื ก. 2552. สถาบนั เทคโนโลยีนวิ เคลยี รแ หง ชาติ. นวิ เคลียร และการใชป ระโยชนจ ากเทคโนโลยนี ิวเคลยี ร. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พส าํ นักพระพทุ ธศาสนาแหง ชาติ. 2554. สาํ นกั งานนโยบายและแผนพลงั งานกระทรวง กระทรวงพลังงาน. การใชไ ฟฟา และการผลติ ไฟฟา ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ. 2554. ส.อ.ท. คา นเปลีย่ นระบบอดั ฉีดพลังงานทดแทน. คมนาคม ลอจิสติกส สยามธรุ กิจ ฉบับที่ 1327 ประจาํ วนั ท่ี 18 สิงหาคม 2012. มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหง ชาติ ครงั้ ท่ี 2/2553 (ครง้ั ที่ 131) วนั จันทรท ี่ 28 มถิ ุนายน พ.ศ. 2553. จบั ตาดนู โยบายรบั ซ้ือไฟฟาพลงั งานหมุนเวยี นแบบ “Feed-in Tariff” วนั ศุกรท่ี 15 มถิ นุ ายน 2012 เวลา13:41 น. SCB EIC ขา วรายวัน - คอลัมน : ขาวในประเทศ สถานการณการผลิต-ใชไฟฟา ป 2556. กองวางแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟา ฝายวางแผน ระบบไฟฟา การไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย (ขอมลู ณ ธนั วาคม 2556).

49 แหลงอางอิงออนไลน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลงั งาน กระทรวงพลังงาน. (2554). รายงานไฟฟา ของ ประเทศไทยป 2554. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.dede.go.th/dede/images/stories/stat_dede /electric54_1.pdf. (วันที่คน ขอ มูล: 21 มนี าคม 2556). กรมพัฒนาพลงั งานทดแทนและอนุรกั ษพ ลงั งาน กระทรวงพลังงาน. (2557). สถานการณ พลังงานป 2556 และแนวโนมป 2557. [ออนไลน] . เขา ถึงไดจาก: http://webkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/kb00_a125_Thank%20Pr ess%209.01.2014.pdf (วนั ทคี่ นขอมูล: 14 กรกฎาคม 2557). การไฟฟา สวนภูมิภาค. [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก: http://www.pea.co.th. (วันท่ีคนขอมลู : 20 มีนาคม 2556). การไฟฟานครหลวง. [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก: http://www.mea.or.th/home/index.php?l=th. (วนั ที่คนขอ มูล: 20 มีนาคม 2556). การไฟฟาฝายผลติ แหง ประเทศไทย. [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก: http://www.egat.co.th/. (วนั ท่ีคนขอ มลู : 20 มีนาคม 2556). การไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย. ประวตั กิ ิจการไฟฟาไทย. [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก: http://www.egat.co.th/index.php?option=com_content&view%20=article&id =%20318&Itemid=472. (วนั ทคี่ นขอ มลู 20 มีนาคม 2555). คณะกรรมการกาํ กบั กจิ การพลงั งาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.erc.or.th/ERCWeb2/Front/PublicHearing/PublicHearingDetail.aspx ?rid=87#&muid=0&prid=23 (วันทีค่ นขอมูล: 10 กรกฎาคม 2557). ชดุ การสอน เรอ่ื งวงจรไฟฟา กจิ กรรมท่ี 11. [ออนไลน] . เขาถงึ ไดจ าก: http://sanchai2506.wordpress.com/. (วนั ที่คนขอมูล: 20 มีนาคม 2556). ทรปู ลูกปญ ญา. ชนดิ ของสายไฟ. [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก: http://www.trueplookpanya.com/new/ cms_detail/knowledge/16310-00/. (วันที่คนขอมลู : 21 มนี าคม 2556).

50 ประกายนคร. Tips Electrical. [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก: http://www.praguynakorn.com/tip3- (วนั ที่คนขอมูล: 21 มีนาคม 2556). ประเภทของสายไฟฟา. [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจาก: http://www.srptc.ac.th/news/05-01- 2012-InRoXHKThu52521.pdf. (วนั ท่คี นขอมลู : 21 มีนาคม 2556). มาตรการประหยดั พลงั งาน. [ออนไลน] . เขา ถึงไดจาก: http://httpwww2egatcothrenewshtm.blogspot.com/2010/07/blog-post.html. (วนั ท่ีคนขอ มูล: 20 มนี าคม 2556). วิชาการ.คอม. ไฟฟา นา รู. [ออนไลน] . เขาถงึ ไดจ าก: http://www.vcharkarn.com/electric/article/view.php?id=42701. (วนั ทีค่ นขอ มลู : 21 มนี าคม 2556). วิธีตดิ ตง้ั สายดนิ ทีถ่ ูกตอ ง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: www.clef- audio.com/pic/correct_grounding.pdf. (วันท่คี นขอมลู : 20 มีนาคม 2556). สถาบันวจิ ัยและพัฒนาพลงั งาน. (2556). พลังงานไฟฟา. [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจ าก: http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/electric4/bottee3.htm. (วนั ที่ คน ขอมลู 20 มีนาคม 2555). สํานกั งานนโยบายและแผนพลงั งาน กระทรวงพลงั งาน. (2554). การใชไฟฟา และการผลติ ไฟฟา ของประเทศไทย. [ออนไลน]. เขา ถึงไดจาก: http://www.eppo.go.th/power/power2554.pdf. (วนั ท่ีคนขอ มูล: 21 มีนาคม 2556). สํานักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลงั งาน. เครอ่ื งใชไฟฟาภายในบาน. [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก: http://www.eppo.go.th/encon/ebook/ep-51/home-utilities.pdf. (วนั ที่คน ขอ มลู : 20 มนี าคม 2556). เอสโซ (ประเทศไทย). 2012 แนวโนมพลังงานโลก-ภาพรวมถงึ ป 2040. [ออนไลน]. เขาถงึ ได จาก: http://www.esso.co.th/Thailand-Thai/PA/Files/2012eo_thai.pdf. (วันที่คน ขอ มูล: 21 มนี าคม 2556). MAC eKnowledge. วงจรไฟฟา ในบาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก: http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432209100/10.htm. (วนั ที่คน ขอมูล: 21 มีนาคม 2556).

51 ทีม่ าของภาพและขอมูล ลําดบั ภาพ/ขอมูล ซ่อื เวบ็ ไซต/แหลง ท่มี าของภาพและขอ มลู 1 ภาพการไหลของอเิ ล็กตรอน http://www.projedersi.com/index.php/bilim- ในวงจรไฟฟา kuetuephanesi/nedir/283-elektrik-ak-m-nedir 2 ภาพรถไฟฟา (BTS) ที่ใชใน http://bangkokscoop.com/2011/11/09/bts-mrt- กรงุ เทพมหานคร 3 ภาพสัญญาณไฟจราจรทาง http://www.ashlandregionalairport.com/default.htm อากาศ 1 4 ภาพสญั ญาณไฟจราจรทาง http://trichyonmove.blogspot.com/2012/01/committee- อากาศ 2 formed-for-runway-expansion.html 5 ภาพสัญญาณไฟจราจรทางบก http://guru-club.blogspot.com/2011/09/blog-post_17.html 6 ภาพสญั ญาณไฟจราจรทางนาํ้ http://www.oknation.net/blog/print.php?id=433166 ภาพผลกระทบตอ การคมนาคม 7 เหตกุ ารณไ ฟฟาดับทเ่ี มอื ง http://www.smh.com.au/articles/2003/08/15/10608717383 นิวยอรก ประเทศสหรฐั อเมรกิ า 22.html เม่ือป พ.ศ. 2546 8 ภาพผลกระทบตอการคมนาคม http://www.defence.pk/forums/world-affairs/199280-indias- เหตกุ ารณไ ฟฟาดบั ทาํ ให great-grid-collapse-20-states-affected-600-million-people- การจราจรติดขัด และเกดิ ความ suffer-2.html วุนวาย 9 ภาพโรงงานอตุ สาหกรรมส่งิ ทอ http://www.thaifranchisecenter.com/document/show.php? docuID=583 10 ภาพโรงงานอตุ สาหกรรมยาน http://www.chiangmai-cardec.com/news-id41.html ยนตและชิ้นสวน 11 ภาพขาวลาํ ปางปญหาไฟดบั http://www.mcot.net/site/content?id=519caf96150ba0e33e กระทบโรงงาน 000391#.VvSrhdJ95D8 ภาพการเพาะปลกู ไมด อกโดยใช 12 พลงั งานไฟฟา ใหแสงสวางเพือ่ http://cmtourismcm.blogspot.com/ การเจรญิ เตบิ โตอยา งตอเนือ่ ง ภาพไกตายเนอ่ื งจากขาด 13 พลังงานไฟฟา ทจี่ ายใหกบั http://www.tnews.co.th/html/contents/142047/ โรงเพาะเลีย้ งแบบปด

52 ภาพการใหบ ริการของธนาคาร 14 โดยผา นเครื่องเบกิ จายอตั โนมตั ิ http://www.posttoday.com/economy/finance/402490 ที่ตอ งใชพ ลงั งานไฟฟา ภาพขา วเหตุการณไ ฟฟา ดับ 15 ทีเ่ กาะสมยุ และเกาะพะงัน http://news.thaipbs.or.th/content สง ผลใหเกิดความเสียในดาน การทองเท่ียว 16 ภาพแหลง ทอ งเที่ยวท่ตี องอาศัย http://www.dreamdestination.in.th/trip_planner_view.aspx? แสงสวา งจากพลงั งานไฟฟา pid=136 17 ภ า พ ข า ว เ ห ตุ ก า ร ณ ไ ฟ ฟ า ดั บ http://news.voicetv.co.th/thailand/70483.html ใน 14 จงั หวดั ภาคใต 18 ภาพฟาแลบ http://bbs.tiexue.net/post2_4310769_1.html 19 ภาพฟา ผา http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/s cience03/16/images/sc40.gif 20 ภาพไดนาโม http://chicargobike.blogspot.com/2010/11/dynamo- generator-lighting-primer.html 21 ภาพการเกิดคล่นื ของไฟฟา http://www.kwachapenchang.com/index.php?PHPSESSID=u กระแสสลับ dljcrn7j1949kdm2f7s3av9t3&action=dlattach;topic=2479.0;a ttach=11214;image 22 ภาพการเกิดไฟฟา จากการ http://weerajit14.blogspot.com/2011/09/electrostartic.html เสียดสขี องวัตถุ 23 ภาพการใชไ ฟฟา แตล ะชว งเวลา http://www.egat.co.th/ ในหนึ่งวัน 24 ภาพฟวสช นิดตา ง ๆ http://tv11.prd.go.th/khonkaen/ewt_news.php?nid=2278&fi lename=index 25 เบรกเกอรแ บบตา ง ๆ http://www.sp-powerpros.com/344537/emergency-exit- light 26 ภาพสวติ ชแ บบทางเดยี ว (ซาย) http://www.maceducation.com/e-knowledge/243220 และแบบสองทาง (ขวา) 9100/10.html http://www.maceducation.com/e- 27 ภาพสะพานไฟและฟว สใน knowledge/2432209100/10.htm เรอ่ื ง วงจรไฟฟา ในบา น สะพานไฟ วันท่ี 20/3/2556

53 28 ภาพเคร่อื งตดั ไฟรวั่ http://2g.pantip.com/cafe/home/topic/R8502910/R8502910 -5.jpg 29 ภาพตวั อยา งแผงวงจรไฟฟา ใน http://www.praguynakorn.com/tip3 ครัวเรอื น 30 ภาพวธิ ปี ระหยดั ไฟฟา http://www.eppo.go.th/encon/Publication/

54 เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี น 1. ง. การเคลื่อนท่ีของอิเลก็ ตรอน 2. ข. ดา นเกษตรกรรม 3. ก. ตากับยายนั่งรถไฟฟา ไปหาหมอทีโ่ รงพยาบาล 4. ก. ดา นบรกิ าร 5. ข. อุตสาหกรรม 6. ข. รชั กาลที่ 5 7. ค. ไฟฟา กระแสสลับ 8. ก. ฟา รวั่ 9. ข. กา ซธรรมชาติ 10. ข. โรงไฟฟา พลังงานนิวเคลียร 11. ง. เมยี นมาร 12. ค. บา ยสองโมง 13. ง. การเปด ไฟอานหนงั สอื ในเวลากลางคนื 14. ง. ขาดความเช่ือมนั่ ทางดานการลงทุน 15. ก. ความลาชา จากการเดินทาง 16. ข. นวิ เคลียร 17. ค. สายไฟ สายนวิ ทรลั สายดนิ 18. ค. สะพานไฟ 19. ค. ตง้ั อณุ หภูมเิ ครอ่ื งปรบั อากาศท่ี 22 องศาเซลเซียส 20. ก. กฟผ.

55 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน 1. ข. รชั กาลที่ 5 2. ง. การเคล่อื นที่ของอเิ ลก็ ตรอน 3. ก. ตากบั ยายนงั่ รถไฟฟา ไปหาหมอท่ีโรงพยาบาล 4. ข. อตุ สาหกรรม 5. ค. ไฟฟากระแสสลบั 6. ข. โรงไฟฟาพลังงานนวิ เคลียร 7. ก. ดานบรกิ าร 8. ค. สะพานไฟ 9. ข. ดา นเกษตรกรรม 10. ก. ฟา รวั่ 11. ข. กาซธรรมชาติ 12. ง. เมยี นมาร 13. ก. กฟผ. 14. ง. การเปด ไฟอานหนังสือในเวลากลางคืน 15. ง. ขาดความเช่ือม่นั ทางดา นการลงทุน 16. ค. บา ยสองโมง 17. ก. ความลา ชา จากการเดินทาง 18. ค. ตงั้ อุณหภมู ิเครอ่ื งปรับอากาศท่ี 22 องศาเซลเซยี ส 19. ค. สายไฟ สายนิวทรัล สายดิน 20. ข. นิวเคลยี ร

56 เฉลย/แนวตอบ กิจกรรมทายเรือ่ ง หนวยการเรยี นรทู ี่ 1 รจู กั ไฟฟา กิจกรรมทา ยเรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย และความสําคญั ของไฟฟา กิจกรรมที่ 1.1 ใหเ ติมคาํ หรอื ขอความลงในชองวา งใหถ ูกตอ ง ตอบ 1) ไฟฟา คือ ราชบัณฑติ ยสถานไดใหความหมาย ของคําวา “ไฟฟา” ไววา “พลังงานรูป หนึ่งซง่ึ เกยี่ วของกับการแยกตัวออกมา หรอื การเคล่อื นท่ขี องอิเลก็ ตรอนหรือโปรตอน หรืออนุภาค อื่นท่ีมีสมบตั แิ สดงอํานาจคลา ยคลึงกบั อเิ ล็กตรอนหรอื โปรตอน ใชประโยชนกอใหเกิดพลังงานอ่ืน เชน ความรอ น แสงสวา ง การเคล่ือนที”่ 2) ประโยชนข องพลังงานไฟฟา คอื ตอบ 1. ดานคมนาคม เชน รถไฟฟา สัญญาณไฟจราจร 2. ดานอุตสาหกรรม เชน อุตสาหกรรมส่ิงทอ อุตสาหกรรมยานยนต อุตสาหกรรม อเิ ลก็ ทรอนิกส อุตสาหกรรมอาหาร 3. ดานเศรษฐกิจ เชน การผลิตบรรจุภัณฑ การแปรรูปสินคา ทางการเกษตร 4. ดานเกษตรกรรม เชน การแปรรปู ผลผลิต การบรรจุภัณฑ 5. ดา นคณุ ภาพชีวติ เชน เคร่ืองใชไ ฟฟา อุปกรณส่ือสาร เคร่ืองมือแพทย 6. ดานบริการ เชน ระบบออนไลนของสถาบันการเงินตาง ๆ การทองเที่ยว โรงแรม รานอาหาร หา งสรรพสินคา 3) ผลกระทบของการขาดพลงั งานไฟฟา คือ ตอบ 1. ดานคมนาคม ทําใหผูคนเดินทางลาชา เกิดความวุนวาย อาจกอใหเกิดอุบัติเหตุ และอาจกอ ใหเ กิดความเสยี หายในเรือ่ งของการขนสง สินคาไมท ันตามกําหนดเวลา 2. ดานอุตสาหกรรม หากเกดิ กรณีไฟฟาขัดขอ งหรือไฟดบั อาจทาํ ใหกระบวนการผลิต หยุดชะงัก ขาดความตอ เนื่อง และทาํ ใหสินคาเกิดความเสียหาย สงผลใหความเช่ือม่ันของ นักลงทุน ตา งประเทศลดลง สวนกรณรี าคาคาไฟฟา สงู ข้นึ จะสงผลใหต น ทนุ การผลิตสนิ คาสงู ข้นึ

57 3. ดานเศรษฐกิจ ภาคอุตสาหกรรมจะขาดความตอเนื่องในระบบการผลิตสินคา อาจทําใหสินคาเกิดความเสียหาย ทําใหขาดแคลนสินคา สินคามีราคาสูงขึ้น มีผลกระทบตอ การจางงานและรายไดในภาคประชาชน ยอมสงผลใหราคาสินคาสูงข้ึนตามไปดวย ทําให การสงออกสนิ คาไมสามารถแขง ขนั กับตางประเทศได 4. ดานเกษตรกรรม ผลผลิตเนาเสีย พืชท่ีเพาะเลี้ยงไวอาจตายได หรืออาจทําให การบรรจุผลติ ภณั ฑลาชา 5. ดานคุณภาพชีวิต ขาดความสะดวกสบายในการดําเนินชีวิต รวมไปถึงความ ปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ยส ิน เพราะอาจเปน ชองทางใหโจร ขโมย หรอื ผรู าย สามารถเขามาปลน หรอื ทํารายเจา ของทรัพยสินได 6. ดานบริการ การใหบริการขัดของ เชน ระบบออนไลนของสถาบันการเงินตาง ๆ การทอ งเทย่ี ว โรงแรม รา นอาหาร หางสรรพสินคา เกิดความเสียหายในเร่ืองของรายได รวมทั้ง ภาพลักษณก ารทอ งเทีย่ วของประเทศ กิจกรรมท่ี 1.2 เก็บใบแจงคาไฟฟา พรอมจดบนั ทกึ คา ไฟฟาในเดือนที่แลว และเดือนตอ ไป เพ่อื เปรียบเทยี บคาไฟฟา ของตนเอง พรอ มท้ังบอกเหตุผลของการเพมิ่ และลดของคาไฟฟาในแตล ะ เดอื น ตัวอยา ง ลาํ ดบั เดือน-ป คา ไฟฟา ในครวั เรอื น (บาท) 1 พฤษภาคม 2559 700

58 กจิ กรรมทายเรอ่ื งท่ี 2 ประวตั คิ วามเปน มาของไฟฟา ในประเทศไทย กิจกรรมท่ี 2.1 เติมคําตอบลงในชอ งวา งใหถ กู ตอ ง 1) ประเทศไทยเร่มิ มไี ฟฟา ใชในรัชสมัยใด ตอบ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยูห ัว (รชั กาลที่ 5) 2) ประเทศไทยซื้อเคร่อื งกาํ เนดิ ไฟฟาเคร่ืองแรกมาจากประเทศอะไร ตอบ ประเทศองั กฤษ 3) ประเทศไทยจา ยกระแสไฟฟาคร้งั แรกท่ใี ด ตอบ พระท่ีน่ังจกั รมี หาปราสาท 4) การไฟฟาฝา ยผลิตแหงประเทศไทยจัดต้งั ข้ึนเมอื่ ป พ.ศ. ใด ตอบ ป พ.ศ. 2512 5) ผูทีซ่ ้อื เคร่อื งกาํ เนิดไฟฟาเครื่องแรกของประเทศไทย คือ ตอบ จอมพลเจา พระยาสรุ ศกั ดม์ิ นตรี (เจิม แสงชโู ต) หรือจมนื่ ไวยวรนารถ กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 3 ประเภทของไฟฟา กิจกรรมท่ี 3.1 ทาํ การทดลองเรอ่ื งไฟฟา สถติ ดังนี้ 1) นาํ ไมบรรทัดพลาสตกิ ถูกับเสนผม แลว นําไปแตะเศษกระดาษ สงั เกตผลที่เกิดขึ้น 2) เขียนบันทึกผลการทดลอง บันทกึ ผลการทดลอง เม่ือนาํ ไมบรรทดั พลาสติกถกู บั เสนผม แลว นําไมบรรทัดไปแตะเศษกระดาษ จะทํา ใหกระดาษถูกดูดและเคล่ือนที่เขาหาไมบรรทัด เน่ืองจากการนําไมบรรทัดพลาสติกถูกับเสนผม จะทําใหเ กิดการถายเทประจุระหวางไมบรรทัดพลาสติกถูกับเสนผม ตอจากน้ันเม่ือนําไมบรรทัด ไปแตะเศษกระดาษจึงสงผลใหเ กดิ แรงดงึ ดูดเศษกระดาษขึ้น

59 กจิ กรรมที่ 3.2 เลอื กคาํ ตอบขอ ท่ถี กู ตองทส่ี ุดเพียงขอเดียว 1) ง. มอเตอรไฟฟา 2) ก. พายุ 3) ก. 2 ประเภท คอื ไฟฟา สถิต และไฟฟากระแส 4) ง. ถกู ทุกขอ 5) ก. ไฟฟา ที่มีทิศทางการไหลไปทางเดียวตลอดระยะเวลาที่วงจรไฟฟา ปด

60 หนวยการเรียนรทู ี่ 2 พลังงานไฟฟา ของประเทศไทย กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 1 สถานการณพ ลงั งานไฟฟาของประเทศไทย กิจกรรมที่ 1.1 เติมขอความในภาพใหถ ูกตอ งสมบูรณ กิจกรรมที่ 1.2 เลือกคาํ ทก่ี ําหนดเติมลงในชองวา งใหถกู ตอ ง ตาํ่ สดุ พลงั งานนิวเคลยี ร พลังน้ํา ปานกลาง สูง ตลอดเวลา 1) ความตองการไฟฟาพื้นฐาน เปนความตองการใชไฟฟา ต่ําสุด ของแตละวัน ซ่ึงในแตละวัน จะตองผลิตไฟฟาไมต่ํากวาความตองการในระดับนี้ โดยโรงไฟฟาที่ใชผลิตไฟฟาตามความ ตองการไฟฟาพ้นื ฐาน จะเปน โรงไฟฟาที่ตองเดินเครื่อง ตลอดเวลา จึงควรเปนโรงไฟฟาท่ีใช เช้ือเพลิงราคาถูกเปน ลาํ ดบั แรก ไดแก โรงไฟฟา ถานหนิ โรงไฟฟา กาซธรรมชาติ และโรงไฟฟา พลงั งานนวิ เคลียร 2) ความตองการไฟฟา ปานกลาง เปนความตองการใชไฟฟามากข้ึนกวาความตองการไฟฟา พื้นฐาน แตยังไมถึงระดับสูงสุด โรงไฟฟาที่ผลิตพลังงานไฟฟาชวงท่ีมีความตองการไฟฟา ปานกลางจะใชโรงไฟฟากาซธรรมชาติ และหากกาซธรรมชาติไมเพียงพอ จะตองใชนํ้ามัน ดีเซล หรอื พลงั งานทดแทนอื่น ๆ มาผลติ ไฟฟา จึงทําใหต น ทุนเช้อื เพลิง สูง

61 3) ความตองการไฟฟาสูงสุด เปนความตองการใชไฟฟาบางชวงเวลาเทาน้ัน สําหรับโรงไฟฟา ทผ่ี ลติ พลังงานไฟฟา ไดทนั ทใี นชวงทม่ี คี วามตอ งการสูงสุด เชน โรงไฟฟากังหันกาซที่ใชน้ํามัน ดเี ซลเปน เชอื้ เพลงิ โรงไฟฟา พลงั น้าํ กจิ กรรมที่ 1.3 เลอื กคาํ ตอบขอท่ีถกู ตองทส่ี ุดเพยี งขอเดยี ว 1) ค. เวลา 10.00 – 11.00 น. 2) ก. โรงไฟฟา ถา นหนิ 3) ข. โรงไฟฟา พลังนํ้า 4) ง. ถูกทกุ ขอ 5) ก. โรงไฟฟาฐาน คือ โรงไฟฟา ขนาดใหญ สามารถเดินเครอื่ งไดตลอด 24 ชั่วโมง กิจกรรมท่ี 1.4 ศึกษาจากเว็บไซต https://www.youtube.com/ โดยพิมพคําวา “ชุดไฟฟา นารู” เร่ือง ทําไมคาไฟแพง ไฟฟาซ้ือหรือสราง และผลิตไฟฟาอยางไรดี แลวสรุปส่ิงที่ไดเรียนรู ในประเดน็ ดังตอไปนี้ 1) สถานการณการใชไฟฟา ในปจ จบุ นั ความตองการใชไฟฟาสูงขึ้น จากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ จึงตองนําเขาเชื้อเพลิง จากตางประเทศทําใหต น ทุนการผลิตสูง 2) ควรซอ้ื ไฟฟา หรอื สรางโรงไฟฟา พรอ มใหเหตุผลประกอบ ถาไฟฟา ไมพอใชมี 2 แนวทางในการจัดหาไฟฟา คอื (1) ซอ้ื ไฟฟาและเช้อื เพลิง - ขอ ดี ไมตอ งสรางโรงไฟฟาเอง ไมต อ งใชเ งนิ ลงทนุ ในการกอสราง - ขอ เสีย เงนิ ไหลออกนอกประเทศ ขาดความมั่นคงของระบบไฟฟา เชน กรณีการปด ซอมทอ กาซ การเกิดสงคราม ตา งประเทศไมข าย (2) สรา งโรงไฟฟา - ขอดี มีความมั่นคงทางดานไฟฟาในระยะยาว เงินไมรั่วไหลออกนอกประเทศ เปน การสรา งงาน ทาํ ใหเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจและอตุ สาหกรรม - ขอ เสยี ใชเ งินลงทนุ สงู ใชระยะเวลาในการกอ สรา งโรงไฟฟานาน

62 3) ควรใชเชอ้ื เพลงิ ประเภทใดผลติ ไฟฟา (1) โรงไฟฟาพลงั งานทดแทน เชน ลม น้ํา แสงอาทิตย - ขอดี เชือ้ เพลงิ ฟรี ไมปลอ ยกาซเรอื นกระจก - ขอ เสีย คาไฟฟา แพง ประสทิ ธิภาพในการผลิตตํ่า ไมสามารถผลิตไฟฟาไดตลอด 24 ชัว่ โมง (2) โรงไฟฟา พลงั งานความรอน เชน กาซธรรมชาติ ถานหนิ นิวเคลยี ร (2.1) กาซธรรมชาติ - ขอ ดี ผลิตไฟฟาไดตลอด 24 ช่ัวโมง - ขอเสยี กาซธรรมชาติในอาวไทยจะหมดภายใน 10 - 15 ป (2.2) ถานหนิ - ขอดี ผลิตไฟฟาไดตลอด 24 ชั่วโมง เชื้อเพลิงถูก กอสรางไมแพง ตนทุน คาไฟฟาถกู - ขอ เสยี ปลอยกา ซเรอื นกระจก มีฝนุ ละออง (2.3) นิวเคลียร - ขอดี ไมปลอยกาซเรือนกระจก ผลิตไฟฟาไดตลอด 24 ช่ัวโมง ตนทุน คา ไฟฟาถกู - ขอเสยี ใชเงินลงทุนสงู และตองมกี ารบรหิ ารจดั การท่ดี ี กิจกรรมท่ี 1.5 เก็บใบแจงคาไฟฟา พรอมจดบันทึกคาไฟฟาในเดือนที่แลว และเดือนตอไป เพอ่ื เปรยี บเทียบคา ไฟฟา ของตนเองในแตล ะเดอื น พรอ มทง้ั บอกเหตุผลของการเพ่ิมและลดของคา ไฟฟา ในแตละเดอื น ตัวอยาง เดือน-ป คาไฟฟาใน เหตผุ ล ลาํ ดบั ครัวเรอื น (บาท) 1 เมษายน 2559 700 2 พฤษภาคม 2559 600 คา ไฟฟาลดลงจากเดอื นมิถนุ ายน เน่ืองจากอากาศเย็นข้นึ จงึ ประหยดั ไฟฟาดวยการเปด แอรนอยลง

63 กิจกรรมที่ 1.6 จัดอันดบั ความเหมาะสมในการใชเช้ือเพลงิ ผลิตไฟฟา สามารถพิจารณาไดดังน้ี กลุมลําดับตน ไดแก ถานหิน/กาชธรรมชาติ/นิวเคลียร เน่ืองจากเปนโรงไฟฟาท่ีสามารถ เดนิ เครือ่ งไดต ลอด 24 ชั่วโมง และมีตน ทนุ คา ไฟฟา ตาํ่ กลมุ ลําดบั รอง ไดแ ก นํา้ /แสงอาทิตย/ ลม/ชีวมวล เนอื่ งจากโรงไฟฟา ไมสามารถเดินเครื่อง ไดตลอด 24 ช่ัวโมง กลมุ ลาํ ดบั ทา ย ไดแ ก นํา้ มัน เนื่องจากเช้ือเพลิงกําลังจะหมด มรี าคาไมแ นนอน กจิ กรรมทายเรอ่ื งท่ี 2 หนวยงานทเ่ี ก่ยี วของดานพลงั งานไฟฟา ของประเทศไทย กิจกรรมท่ี 2.1 บอกบทบาทหนาท่ขี องหนวยงานท่ีรับผดิ ชอบเกี่ยวกบั ไฟฟา ในประเทศไทย 1) การไฟฟาฝา ยผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) เปนรัฐวิสาหกิจดานกิจการพลังงาน สังกัด กระทรวงพลังงาน มีภารกิจในการจัดหาพลังงานไฟฟาใหแกประชาชน โดยการผลิตไฟฟา รับซื้อไฟฟา จัดสงไฟฟา และจําหนายไฟฟาใหแกการไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค ผูใ ชไฟฟารายอนื่ ๆ ตามทกี่ ฎหมายกาํ หนด รวมท้ังประเทศใกลเ คียง 2) การไฟฟา สว นภูมิภาค (กฟภ.) การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) เปนรัฐวิสาหกิจดานสาธารณูปโภค สังกัดกระทรวง มหาดไทย มีภารกจิ ในการผลิตไฟฟา รบั ซื้อ จัดสง และจาํ หนายไฟฟาใหแกประชาชน ธุรกิจ และ อุตสาหกรรมตาง ๆ ในเขตจาํ หนา ย 74 จงั หวัดทั่วประเทศ ยกเวน กรงุ เทพมหานคร นนทบุรี และ สมทุ รปราการ 3) การไฟฟานครหลวง (กฟน.) การไฟฟา นครหลวง (กฟน.) เปนรัฐวิสาหกิจประเภทสาธารณูปโภคสาขาพลังงาน สังกัด กระทรวงมหาดไทย มภี ารกิจในการรบั ซอ้ื ไฟฟา และจําหนายไฟฟา ใหก ับประชาชนในพ้ืนที่จังหวัด กรงุ เทพมหานคร นนทบรุ ี และสมทุ รปราการ

64 4) คณะกรรมการกาํ กับกจิ การพลังงาน (กกพ.) สาํ นกั งานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) สังกัดกระทรวงพลังงาน มีภารกิจ ในการกาํ กบั ดแู ลการประกอบกิจการพลงั งาน ใหมคี วามม่นั คง และเชอ่ื ถือได มีประสิทธิภาพ เปน ธรรมตอ ท้ังผูใช และผูป ระกอบกจิ การพลงั งาน ตลอดจนเปน มิตรตอส่งิ แวดลอม กจิ กรรมท่ี 2.2 เลือกคําตอบขอทีถ่ ูกที่สุดเพยี งขอเดยี ว 1) ง. ผลติ ไฟฟา รบั ซื้อไฟฟา จัดสงไฟฟา และจําหนา ยไฟฟาใหแ ก การไฟฟา นครหลวง และการ ไฟฟาสว นภูมิภาค 2) ข. การไฟฟา สวนภมู ภิ าค (กฟภ.) 3) ก. การไฟฟา นครหลวง (กฟน.) 4) ค. การไฟฟา ฝา ยผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) 5) ค. กาํ กบั ดแู ลการประกอบกจิ การพลังงาน ใหม คี วามมัน่ คง และเชือ่ ถือได

65 หนว ยการเรียนรทู ่ี 3 อุปกรณไฟฟาและวงจรไฟฟา กิจกรรมทา ยเรอื่ งที่ 1 อุปกรณไฟฟา กิจกรรมท่ี 1.1 นําตวั อกั ษรที่อยูหนา คําตอบดานขวามือมาเตมิ ลงในชอ งวา งดา นซา ยมอื ใหถูกตอ ง ….ช.… 1. สายไฟ ก. อุปกรณทเี่ ช่ือมตอกับวงจรไฟฟาในครวั เรือน ....ค.... 2. ฟว ส ข. อปุ กรณปดหรอื เปด วงจรไฟฟา ....ซ.... 3. เบรกเกอร ค. อปุ กรณป อ งกนั กระแสไฟฟา ไหลเกิน ....ข.... 4. สวิตช ง. อปุ กรณเ สรมิ ความปลอดภยั อีกหน่ึงช้ัน สามารถตัดวงจรไฟฟากรณี เกิดไฟฟารัว่ ....จ... 5. สะพานไฟ จ. อปุ กรณสําหรับตดั ตอ วงจรไฟฟา ท้ังหมดภายในครัวเรือน ....ง.... 6. เครือ่ งตดั ไฟร่วั ฉ. อปุ กรณปด หรอื เปดวงจรไฟฟา ที่สามารถโยกปด หรือเปด วงจรไฟฟา ไดเ พียงทางเดียว ....ก.... 7. เตารับ ช. อุปกรณส ําหรับสง พลงั งานไฟฟา จากที่หนึ่งไปยังอีกท่หี นงึ่ ....ญ... 8. เตา เสียบ ซ. อุปกรณตดั ตอวงจรโดยอัตโนมตั ิ ....ฉ... 9. สวิตชทางเดยี ว ฌ. อุปกรณปดหรอื เปดวงจรไฟฟาทม่ี ีการติดต้งั สวิตช 2 จุด สามารถ โยกปดหรอื เปด วงจรไฟฟา ไดสองจุด ...ฌ... 10. สวติ ชสองทาง ญ. อุปกรณส วนทตี่ ิดอยูก ับปลายสายไฟของเคร่ืองใชไฟฟา

66 กิจกรรมท่ี 1.2 บอกขอ ควรรูข องอุปกรณไฟฟา ไดแก สะพานไฟ สวติ ช เตารับและเตาเสยี บ อุปกรณไฟฟา ขอควรรู 1) สะพานไฟ 1. สะพานไฟชวยใหเกิดความสะดวกและปลอดภัยในการ ซอ มแซมหรอื ตดิ ตง้ั อุปกรณไ ฟฟา 2) สวติ ช 2. ถาตองการใหวงจรเปด (ไมม ีกระแสไฟฟาไหลผาน) ใหสับคัน โยกลง แตถาตองการใหวงจรปด (มีกระแสไฟฟาไหลผาน) 3) เตา รบั และเตา เสยี บ ใหส บั คันโยกขน้ึ 3. ในการสบั คันโยกจะตอ งใหแ นบสนิทกบั ท่ีรองรับ 1. ไมควรใชสวิตชอันเดียวควบคุมเครื่องใชไฟฟาหลายชิ้นให ทาํ งานพรอ มกัน เพราะกระแสไฟฟาที่ไหลผานสวิตชมากเกินไป จะทําใหจุดสัมผัสเกิดความรอนสูง อาจทําใหสวิตชไหม และ เปน อนั ตรายได 2. ไมควรใชสวิตชธรรมดาควบคุมเคร่ืองใชไฟฟาท่ีมี กระแสไฟฟาไหลผานสูง เชน เคร่ืองปรับอากาศ ควรใช เบรกเกอร เพราะสามารถทนกระแสไฟฟาไดส ูงกวา 1. การใชง านควรเสยี บเตา เสียบใหแนนสนิทกับเตารับและไมใช เตาเสียบหลายอันกับเตารับอันเดียว เพราะเตารับอาจรอน จนลุกไหมได 2. เมื่อถอดปลั๊กออกควรจับที่เตาเสียบ ไมควรดึงท่ีสายไฟ เพราะจะทาํ ใหสายหลุดและเกดิ ไฟฟา ลดั วงจรได

67 กิจกรรมทา ยเรอื่ งที่ 2 วงจรไฟฟา กิจกรรมท่ี 2.1 เขียนภาพวงจรไฟฟา 3 แบบ ไดแ ก แบบอนกุ รม แบบขนาน และแบบผสม การตอ วงจรแบบผสม กิจกรรมที่ 2.2 ทดลองตอวงจรไฟฟา 1) ทดลองตอวงจรไฟฟา 3 แบบ ดังนี้ แบบอนุกรม แบบขนาน และแบบผสม โดยใชอุปกรณ คอื ถานไฟฉาย 2A จํานวน 2 กอ น สายไฟ และหลอดไฟฉาย 2) บันทกึ ผลการเรียนรทู ไ่ี ดจ กการทดลอง ผลการทดลอง 1. การตอวงจรไฟฟาแบบอนุกรม เปนการนําเอาเครื่องใชไฟฟามาตอเรียงลําดับกันไป โดยนําปลายดานหนึ่งตอเขากับปลายอีกดานหน่ึงของเครื่องใชไฟฟาแตละตัวจนถึงตัวสุดทาย แลวจงึ ตอ เขา กบั แหลง กาํ เนดิ ไฟฟา ทําใหก ระแสไฟฟา ไหลไปในทศิ ทางเดยี ว 2. การตอ วงจรไฟฟา แบบขนาน เปน การนาํ เอาเครอ่ื งใชไฟฟา 2 ชนดิ ขนึ้ ไป มาตอเรียงแบบ ขนานกนั โดยนําปลายดา นเดียวกันของเคร่อื งใชไ ฟฟาแตล ะตวั มาตอ เขา ดว ยกัน แลวตอปลายของ เครื่องใชไฟฟาแตละตัวที่ตอกันแลว ตอเขากับแหลงกําเนิดไฟฟา โดยแรงดัน ไฟฟาของ เครื่องใชไ ฟฟาแตละตวั จะมคี าเทา กัน แตก ระแสทไ่ี หลในแตล ะสาขายอยของวงจรจะมีคา ไมเ ทา กัน อยางไรก็ตามเม่อื นาํ คามารวมกนั จะไดเ ทากบั กระแสทไี่ หลผานวงจรท้งั หมด 3. การตอวงจรไฟฟาแบบผสม เปนการตอผสมกันของวงจรไฟฟาแบบอนุกรมและ วงจรไฟฟา แบบขนาน

68 กจิ กรรรมที่ 2.3 เลอื กคาํ ตอบขอท่ีถกู ตองทส่ี ุดเพยี งขอเดียว 1) ง. ไฟฟา กระแสสลับ 2) ง. 220 โวลต 3) ค. แบบขนาน 4) ค. สายไฟ สายนิวทรัล สายดิน 5) ข. กจิ กรรมทายเรอื่ งที่ 3 สายดนิ และหลกั ดนิ กจิ กรรมที่ 3.1 ทําเครื่องหมายถกู () หนา ชอ่ื เคร่ืองใชไ ฟฟา ท่ีตดิ ตง้ั สายดนิ และหลักดนิ .............................1. เตารีด ........................2. เครื่องทาํ นาํ้ อุน ไฟฟา .............................3. พดั ลม ........................4. เครือ่ งซกั ผา ........................5. ตูเย็น .............................6. โทรทัศน ........................7. เครือ่ งปรบั อากาศ .............................8. เคร่ืองเลนดวี ีดี .............................9. กระตกิ น้ํารอนไฟฟา ........................10. เคร่อื งคอมพิวเตอร

69 หนว ยการเรยี นรูที่ 4 การประหยัดพลงั งานไฟฟา กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 1 กลยุทธก ารประหยดั พลงั งานไฟฟา กจิ กรรมที่ 1.1 บอกกลยุทธท ีใ่ ชใ นการประหยดั พลังงานไฟฟา 1) กลยทุ ธ อ. 1 อปุ กรณป ระหยดั ไฟฟา เปล่ียนมาใชเคร่ืองใชไฟฟาท่ีมฉี ลากเบอร 5 2) กลยทุ ธ อ. 2 อาคารประหยดั ไฟฟา ไดแ ก การบริหารการใชไฟฟา การปรับปรุงระบบปองกัน ความรอนเขาสูอาคาร การใชระบบปรับอากาศประสิทธิภาพสูง การปรับปรุงระบบแสงสวาง และการจัดการอบรมใหความรดู านการใชพ ลังงานอยางถกู ตอ ง 3) กลยุทธ อ. 3 อุปนสิ ยั ประหยดั ไฟฟา เปนการปลกู จิตสํานึกและอุปนิสัยใหคนไทย โดยเฉพาะ อยางย่ิงเยาวชนไทย ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ เชน ปดสวิตชไฟและเคร่ืองใชไฟฟา เมอ่ื เลกิ ใชง าน ตัง้ อุณหภมู ิเครอื่ งปรบั อากาศที่ 26 องศาเซลเซียส และปลดปล๊ักทุกครั้งหลังการใช เครื่องใชไ ฟฟา กจิ กรรมท่ี 1.2 เขยี นวธิ ีการดูฉลากเบอร 5 ทีถ่ ูกตอ ง มาอยา งนอ ย 3 ขอ

70 กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งท่ี 2 แนวปฏบิ ตั กิ ารประหยดั พลงั งานไฟฟา ในครวั เรือน กิจกรรมที่ 2.1 ใหเ ขียนเครอ่ื งหมายถกู (√) หนาขอที่ถกู และเขยี นเคร่อื งหมายกากบาท (×) หนาขอที่ผดิ ........ √..... 1. เลือกซ้ือเครื่องใชไฟฟาที่ไดมาตรฐานดูฉลากแสดงประสิทธิภาพใหแนใจทุกคร้ัง กอนตดั สนิ ใจซอ้ื หากมอี ปุ กรณไ ฟฟา เบอร 5 ตองเลอื กใชเบอร 5 ......... √.... 2. จัดวางตูเย็นในจุดที่อากาศถายเทไดสะดวกและหางจากผนังประมาณ 15 เซนติเมตร ……… X …. 3. ควรรดี ผาครง้ั ละนอ ย ๆ เพอ่ื ประหยดั ไฟฟา ……… X …. 4. ควรปรบั จอโทรทัศนใ หสวา งและเปด เสียงใหด งั จะทาํ ใหป ระหยัดไฟมากขนึ้ ......... √..... 5. ตัง้ อุณหภูมเิ ครื่องปรับอากาศที่ 26 องศาเซลเซียส เพราะการปรับอุณหภูมิท่ีลดลง 1 องศาเซลเซยี ส จะตองใชพ ลังงานเพ่ิมขน้ึ รอยละ 5 – 10 ......... X.... 6. เปด จอภาพคอมพิวเตอรต ลอดเวลาถงึ แมว าไมม กี ารใชง าน ........ √......7. หมัน่ ถอดหนากากพดั ลมลา งอยูเ สมอ ........ X..... 8. ควรติดต้ังเคร่ืองใชไฟฟาท่ีปลอยความรอน เชน กาตมน้ํารอนไฟฟา เครื่องถาย เอกสาร ไวใ นหองทาํ งานท่ตี ดิ เครือ่ งปรบั อากาศ เพ่อื สะดวกตอ การใชง าน ........ X......9. ควรนําตนไมมาปลูกในหองที่มีเคร่ืองปรับอากาศ เพราะตนไมจะคายไอนํ้าทําให อากาศเย็นข้นึ ........ √.....10. ถอดปลั๊กหมอหงุ ขา วไฟฟา เม่อื เลกิ ใชงาน

71 กิจกรรมที่ 2.2 นําความรูจากการศึกษา เร่ืองการประหยัดพลังงานไฟฟาไปปรับใช ในชวี ติ ประจําวัน และเปรยี บเทียบคาไฟฟาของตนเองกอนและหลังการปฎิบัติการประหยัดไฟฟา พรอ มใหเ หตุผลประกอบ คาไฟฟา ใน เดอื น ครวั เรอื น วธิ กี ารประหยดั ไฟฟา (บาท) 1. ยา ยตเู ยน็ ออกหางจากฝาผนงั อยา งนอ ย 15 ซม. มนี าคม 520 บาท 2. ทาํ ความสะอาดเคร่อื งปรบั อากาศ ไมนาํ ของรอ นเขาหอ งแอร 3. ตัง้ อฯุ หภมู ิแอรท่ี 26 องศาเซลเซยี ส 1. รีดผา อาทติ ยล ะ 1 ครง้ั ทั้งครอบครัว เมษายน 480 บาท 2. เวลาตมน้ํารอนใสนํ้าเฉพาะปริมาณที่ตองการใชเมื่อใชเสร็จ ถอดปลั๊ก แลว กรอกใสก ระตกิ เก็บความรอ น พฤษภาคม 450 บาท 1. ปดหนา จอคอมพิวเตอรเมอื่ ไมใ ชงานนานกวา 15 นาที 2. ถอดปล๊ักโทรทศั นออกทุกคร้ังเม่ือเลิกใช

72 คณะผูจดั ทํา คณะทปี่ รกึ ษา เลขาธกิ าร กศน. สํานักงาน กศน. นายสุรพงษ จําจด รองเลขาธกิ าร กศน. สํานักงาน กศน. นายประเสรฐิ หอมดี รองผวู าการพฒั นาโรงไฟฟา นายรัตนชัย นามวงศ ผูช ว ยผวู า การวศิ วกรรมโรงไฟฟา นายทนงรักษ แสงวฒั นะชัย ผอู าํ นวยการสาํ นักงาน กศน.จังหวัดพิษณุโลก นายนรา เหลา วชิ ยา ผูอ ํานวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา นางตรีนุช สขุ สุเดช ตามอัธยาศัย ผูอาํ นวยการฝา ยบรหิ ารงานวิศวกรรมโรงไฟฟาและ นายสรุ พงษ คลอวฒุ ิเสถียร พลงั งานนวิ เคลียร ผชู วยผอู าํ นวยการฝา ยบรหิ ารงานวศิ วกรรมโรงไฟฟา นายศุภผล รัตนากร และพลงั งานนวิ เคลียร การไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย หวั หนาแผนกปฏกิ รณนวิ เคลียร การไฟฟาฝายผลิตแหง นางสาวนทกี ลู เกรยี งชัยพร ประเทศไทย คณะทาํ งาน ครเู ชย่ี วชาญ สาํ นกั งาน กศน. อาํ เภอเมอื งอุทยั ธานี นางสาวอนงค ชูชยั มงคล จ.อทุ ัยธานี นกั วิชาการศึกษาชํานาญการพเิ ศษ ศูนยเ ทคโนโลยี นางภัทรา พานิชเจริญ การศึกษา วิศวกร ระดับ 9 การไฟฟา ฝายผลิตแหง ประเทศไทย นายพิชัย ชูกาญจนพทิ ักษ วศิ วกร ระดับ 6 การไฟฟาฝา ยผลิตแหง ประเทศไทย นางสาวนิธิมา ศรพี านิช วิศวกร ระดับ 6 การไฟฟาฝา ยผลติ แหงประเทศไทย นางสาวภัทรา ศรีสวัสด์ิ ครู กศน. ตาํ บลกระบีใ่ หญ กศน. อาํ เภอเมอื งกระบี่ นายธีรยุทธ พันธชนะ จ.กระบ่ี ครู กศน. ตาํ บลกดุ นา้ํ ใส กศน. อําเภอนํ้าพอง จ.ขอนแกน นายมนตรี ศรีบญุ เรือง นักวิชาการศึกษา สาํ นกั งาน กศน. นางวรรณี ศรีศริ วิ รรณกุล

73 คณะบรรณาธกิ าร นางสาววมิ ลรัตน ภรู ิคปุ ต ผอู าํ นวยการ กศน. เขตบางเขน สํานักงาน กศน. กรงุ เทพฯ นางสาวอนงค ชูชัยมงคล ครเู ช่ยี วชาญ สาํ นักงาน กศน. จงั หวัดอุทยั ธานี นายสพุ จน เชีย่ วชลวทิ ย ครเู ชี่ยวชาญ กศน. เขตประเวศ กรงุ เทพฯ นางสาวพจนยี  สวัสด์ริ ตั น ครชู ํานาญการพเิ ศษ สํานกั งาน กศน.จังหวดั กาํ แพงเพชร นายเชาวลติ ธาดาสิทธิเวท ครชู าํ นาญการพเิ ศษ สถาบนั การศกึ ษาทางไกล นางกมลวรรณ มโนวงศ ครูชํานาญการพิเศษ สํานักงาน กศน. จงั หวัดเชียงใหม นางญาณศิ า สุขอดุ ม นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ สํานกั งาน กศน. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป นักวชิ าการศึกษาชํานาญการพเิ ศษ สาํ นกั งาน กศน. นางสาวนิธิมา ศรพี านชิ วศิ วกร ระดับ 6 การไฟฟาฝา ยผลิตแหง ประเทศไทย นางสาวกาญจนา กิติดี นกั วทิ ยาศาสตร ระดบั 6 การไฟฟา ฝายผลติ แหง ประเทศไทย นางสาวนภากาญจน สวุ รรณคช นกั วทิ ยาศาสตร ระดบั 6 การไฟฟาฝายผลติ แหงประเทศไทย นางสาวจริ ดา วิทยพิบลู ย วิศวกร ระดบั 6 การไฟฟาฝายผลติ แหงประเทศไทย นางสาวศริ กุล กาญจนปฐมพร นักวทิ ยาศาสตร ระดบั 5 การไฟฟาฝายผลติ แหงประเทศไทย นายบุญชนะ ลอ มสริ ิอุดม ครู คศ. 1 กศน. เขตหนองแขม กรงุ เทพฯ นายธณัลฐวิ รรธน ภคพัฑวฒั นฐากรู ครศู ูนยการเรยี นชมุ ชน กศน. เขตหนองแขม กรุงเทพฯ

74