Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002-2560

ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002-2560

Description: ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002-2560

Search

Read the Text Version

94 เรอ่ื งที่ 2 ขนั้ ตอนการเขียนโครงการพัฒนาอาชีพ ขอ มลู ท่ตี อ งใชในการเขยี นโครงการพัฒนาอาชีพ 1. ขอมูลที่นํามาใชกําหนดโครงการพัฒนาอาชีพ จะคลายกับการจัดทําแผนแตจะมีรายละเอียด ของแตละกิจกรรมมากกวาขอ มูลท่ีจาํ เปน เหลา นี้ ไดแ ก 1. ความตองการของตลาด กอนที่จะเลือกการประกอบอาชีพใด ๆ จะตองมีการสํารวจ สภาพและความตอ งการของชุมชนที่จะใชเปนแหลงประกอบอาชีพ เชน จํานวนประชากรในชุมชน มีเด็ก ผูใหญ ผูหญิง คนสูงอายุประกอบอาชีพอะไร มีฐานะอยางไร มีรายไดโดยเฉล่ีย สภาพความเปนอยู ความนยิ มสนิ คาหรอื บรกิ ารในลกั ษณะใด ซ่ึงสนิ คา หรอื บริการที่ตัดสนิ ใจจะผลติ น้นั มผี ดู าํ เนินการอยูหรอื ไม หรือมีอยูแลว ไมเพยี งพอหรือไมม ีคุณภาพ สว นของเราน้ันจะพัฒนาใหแตกตางจากสินคาของผูอื่นอยางไร การสํารวจความตองการนี้อาจมีวิธีการสอบถาม การสังเกต สถิติจากหนวยงานของภาครัฐและเอกชน เพือ่ ทราบปรมิ าณความตอ งการของตลาดวา ผลติ สนิ คาไปแลว คมุ ทุนหรือไม 2. ความพรอมในการประกอบอาชีพ เมื่อตัดสินใจเลือกอาชีพแลว จะตองพิจารณา ความพรอมดานตา ง ๆ ของอาชีพนน้ั ๆ วามมี ากนอ ยพียงใด ไดแก 2.1 ความรูความสามารถเกย่ี วกับอาชีพ โดยพิจารณาวา จะตองใชค วามรูค วามสามารถ ดานใดบาง ผปู ระกอบการมพี ้นื ความรูมากนอยเพียงใด ความรูที่ยังขาดอยูจะสามารถศึกษาความรูเพ่ิมเติม ดวยวิธีใด 2.2 สถานที่ ที่จะใชประกอบการก็มีความสําคัญที่จะตองพิจารณา การประกอบ อาชีพบางอยางขึน้ อยกู ับการใชส ถานท่ดี วย เชน ใชเ น้ือท่มี ากสาํ หรบั การประกอบอาชีพเกษตร สถานท่ีตอง อยใู นแหลงชุมชนสําหรับอาชีพคาขาย เปน ตน 2.3 เงินทุน ตองใชเงินทุนเทาใดสําหรับอาชีพท่ีประกอบการ มีเงินทุนหรือยัง หากยงั ไมมจี ะจดั หาอยา งไร ที่ใด 2.4 วัสดุอุปกรณ จะตองใชวัสดุอุปกรณอะไรบางและมีหรือยัง หากยังไมมี มวี ิธีการที่จดั หาไดอยา งไร แหลง ซือ้ อยูทีใ่ ด 2.5 ผรู ว มงาน ตอ งพิจารณาผรู วมงานวามคี วามจาํ เปน ตองมีกี่คน ใครบา ง แตละคน มคี วามรูค วามสามารถดา นใดบาง หรือควรมอบหมายงานดานใดใหรบั ผดิ ชอบ 2. ขอมูลเพือ่ เขยี นโครงการพฒั นาอาชีพ การใหไดขอมูลเพื่อการเขียนโครงการพัฒนาอาชีพ มีหลายวิธี ซ่ึงผูเรียนอาจใชวิธีเดียว หรอื หลายวธิ ปี ระกอบกนั ก็ได วธิ กี ารเหลา น้ี ไดแก 1. จากเอกสาร หนังสือ ไดแก หนังสือทั่วไป หนังสือรายป หนังสืออางอิง หนังสือพิมพ เอกสารรายงานตาง ๆ 2. จากสอื่ ทางไกลตา ง ๆ เชน จากรายการโทรทัศน วิทยุ

95 3. จากหนวยงานตาง ๆ การดาํ เนนิ งานของหนว ยงานจะมีขอ มลู ท่นี า สนใจ เชน ราคาขายสง ขายปลกี ในรอบป ปริมาณการผลิต ลักษณะของสินคาท่ีตลาดตองการ หนวยงานเหลานี้ เชน กรมสงเสริม การเกษตร พาณิชยจงั หวดั กรมสง เสรมิ อตุ สาหกรรม 4. ผูรใู นชุมชน โดยการสอบถามผรู ูในชุมชน เชน ผนู ําในหมูบ าน ครู อาจารย นักวิชาการ 5. จากการสํารวจ เราสามารถดําเนินการสํารวจภายในชุมชนดวนตนเอง เพื่อใหไดขอมูล ทีช่ ดั เจนและถกู ตอ ง เชน สาํ รวจราคาของสินคา เราอาจสอบถามจากผูขายไดโดยตรงหลาย ๆ คน 6. จากการสังเกต อาจใชว ิธีการสังเกตก็ได เชน สงั เกตวิธกี ารขายของผูประกอบการบางคน ท่ที าํ ใหสนิ คา ขายดีกวาผอู น่ื 7. การสัมภาษณ ใชว ธิ ีน้ีเพ่อื ใหไดข อมูลท่มี รี ายละเอียด เชน วิธีและเทคนิคการทําขนมจีบ เราอาจจะตองใชเวลาสัมภาษณนานกวาวิธีอ่ืน ๆ ซึ่งจะตองจดหัวขอไปลวงหนากอน เพ่ือใหไดขอมูล ทีค่ รบถว นสมบรู ณ 3. การเขยี นโครงการพัฒนาอาชพี โครงการเปนการกําหนดรายละเอียดในส่ิงที่จะทําอยางมีความสัมพันธ เพ่ือใชในการควบคุม การดาํ เนินงานอาชีพใหดําเนินไปอยา งเปน ระบบ การเขยี นโครงการพฒั นาอาชพี มรี ายการทต่ี อ งจดั ทาํ ขอมูลและรายละเอียด ดงั นี้ 1) ชือ่ โครงการ ชื่อโครงการจะตองมีความชัดเจน เฉพาะเจาะจงเขา ใจงายวา จะกระทาํ สง่ิ ใด เชน โครงการเล้ียงไกเน้ือ โครงการปลกู กลว ยน้าํ วา 2) หลักการและเหตผุ ล การเขยี นหลกั การและเหตุผล เปน การนําเสนอขอ มลู ที่แสดงใหเ ห็นถึงเหตุผลและความจําเปน หรือความสําคัญและท่ีมาของโครงการ โดยผูเขียนจะตองระบุถึงสภาพปญหา เหตุผลความจําเปน พรอมจัดหาขอมูลมาสนับสนุนใหชัดเจน เชน สถิติขอมูลจากหนวยงานภาครัฐ สภาพปญหาของชุมชน ท่ีผานการประชุมประชาคม หรือนโยบายภาครัฐจากสวนกลาง สวนทองถ่ินซ่ึงจะตองแสดงใหเห็น ถงึ ความสอดคลอ งและชใ้ี หเ หน็ ถงึ ขอ ดีของการดําเนนิ งานโครงการและขอเสยี หากไมมกี ารดาํ เนนิ งานโครงการ 3) วัตถุประสงค วัตถุประสงคเปนขอความที่แสดงถึงความตองการหรือผลของการกระทําสิ่งหน่ึงสิ่งใด ท่ีชัดเจน สามารถปฏิบัติวัดและประเมินผลได โครงการหนึ่ง อาจจะมีวัตถุประสงคเพียงขอเดียวหรือ หลายขอ ก็ได 4) เปา หมาย เปาหมาย เปน การกําหนดผลงานตามโครงการไวลวงหนาวา เม่ือดําเนินงานตามโครงการ ไปแลว จะไดผ ลอะไร อยา งไร การกําหนดเปาหมาย จะมีการกาํ หนดใน 2 ลกั ษณะ คือ (1) เปาหมายเชิงปริมาณ เปนการกําหนดผลงานในดานปริมาณวาจะไดงาน กี่ช้ิน กี่คน ก่เี ลม กี่ชดุ กี่ตําบล กี่แหง ฯลฯ

96 (2) เปาหมายเชิงคุณภาพ เปนการกําหนดคุณภาพของผลงานที่ระบุไวในเชิงปริมาณ วางานท่ไี ดจ ากโครงการน้นั ดีอยางไร มคี ณุ คาอยา งไร เกดิ ประโยชนอยางไร ฯลฯ 5) วิธดี ําเนนิ การ วิธีดําเนินการ เปนการเขียนข้ันตอนรายละเอียดภารกิจที่จะตองปฏิบัติ เพ่ือใหงานบรรลุ ตามวตั ถุประสงคข องโครงการ ดงั นน้ั ในการเขยี นวธิ ดี ําเนนิ งานจงึ ควรคาํ นึงถงึ ประเดน็ ตอไปนี้ (1) จาํ แนกเปนกิจกรรมยอยหลาย ๆ กิจกรรมเรียงตามลําดับ ตั้งแตเร่ิมตนการดําเนินงาน จนกระทัง่ เสร็จสนิ้ โครงการใหชัดเจน (2) กิจกรรมแตละกิจกรรมจะตอ งกําหนดระยะเวลา โดยกําหนดเปน ปฏิทนิ ปฏิบตั งิ าน ตวั อยาง ปฏิทนิ ปฏบิ ตั ิโครงการปลูกกลวยนาํ้ วา 2 ไร ที่ กิจกรรม ระยะเวลาปฏิบัตงิ านตงั้ แต 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 53 หมาย ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เหตุ 1 ศึกษาขอมูลตาง ๆ เชน ดานตลาด แหลงขาย ปจ จยั การผลิต เขียนโครงการ 2 จัดหาและรวบรวม 3 วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ เงินทุน สถานที่ แรงงาน ทักษะ ตา ง ๆ 4 เ ต รี ย ม แ ป ล ง ปลูกกลวย 5 ปลกู กลว ย 6 ดูแลรกั ษาโดยให ปุย ปองกันกําจัด 7 ศตั รพู ชื ตัดกลวยและจัด จาํ หนา ย 8 ตกแตงกอกลวย

97 เมื่อจัดทําปฏิทินปฏิบัติงานแลวจะตองตรวจสอบความพรอมของปจจัยการผลิต ความรู ความสามารถของเจา ของ แรงงาน เงินทุน แหลงจําหนาย ทเ่ี ก่ียวของกบั การดาํ เนินงานอาชีพ เปนการเตรียม ความพรอ มกอนการดาํ เนินงานโดยใชการตรวจสอบรายการตาง ๆ ดังตวั อยางตอ ไปน้ี ที่ รายการ มี ไมมี จดั หาไดอยางไร 1 รถแทรกเตอรสาํ หรบั เตรยี มดนิ พอเพียง ขาด 2 จอบ / 3 วัสดุ อปุ กรณ / 4 ปยุ 5 สารเคมีปราบศัตรูพืช / 6 หนอกลวย / 7 ทีด่ ิน 8 แรงงาน / 9 เงินลงทนุ / 10 แหลงจาํ หนา ย / ฯลฯ / / 6) ระยะเวลาในการดําเนนิ งานโครงการ การกําหนดระยะเวลาดําเนินกิจกรรมตามโครงการใหระบุการเร่ิมตนกิจกรรมจนกระท่ัง สนิ้ สดุ เชน ตั้งแต 1 มกราคม 2553 ถงึ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2553 7) งบประมาณ การกําหนดงบประมาณเปนการแสดงขอมูลในรูปของตัวเงิน หรือส่ิงของท่ีตีคาเปนเงิน โดยจะตองแจกแจงใหชัดเจนวาจะใชเงินในรายการใดบาง เชน คาแรงงาน คาขนสง คาวัสดุอุปกรณ ในแตละรายการจะกําหนดใชงบประมาณเทาไร ถาจะใหสมบูรณควรประมาณรายไดที่คาดวาจะไดรับไวดวย เพื่อจะไดนําไปใชในการจัดการงานอาชีพ ใหมีความคลองตัวและใชในการปรับงบประมาณ คาใชจาย เพอ่ื ใหเกดิ ความสมดลุ หรอื ผลกําไรในการดําเนินงานอาชพี ดังตัวอยา งตอไปน้ี

98 ตัวอยา งการจดั ทํางบประมาณคา ใชจ ายโครงการปลกู กลวยนาํ้ วา 2 ไร งบประมาณที่ตอ งใช รายไดท ่คี าดวาจะไดร บั ที่ รายการ จํานวนเงนิ ท่ี รายการ จาํ นวนเงนิ (บาท) (บาท) 1 คาแรงเตรยี มแปลงปลูก 3 วนั 300 วันละ 100 บาท 1 ตดั กลว ยขาย 10,000 ลูก 1,000 750 2 คาหนอ กลวย 150 หนอ ๆ ละ (รอ ยละ 10 บาท) 5 บาท 400 2 ตัดกลว ยขาย 20,000 ลกู 4,000 3 คาแรงปลกู กลว ย 4 วัน ๆ ละ 100 บาท (รอ ยละ 20 บาท) 4 คา ปุย 3 กระสอบ ๆ ละ 3 ขายใบตอง 500 100 บาท 300 4 ขายหนอ กลวย 100 หนอ ๆ ละ 500 5 คา สารเคมีกําจดั ศตั รพู ืช 6 คา แรงตดั กลว ย 10 วนั ๆ ละ 5 บาท 100 บาท 500 5 ขายปลีกลว ย 300 7 คาสกึ หรอของรถแทรกเตอร 8 คาเชาทด่ี นิ 1,000 รวม 4,250 9 คาดอกเบย้ี 10 คา นา้ํ มันรถ 200 300 รวม 200 300 6,300 8) เครอื ขาย เครอื ขาย หมายถงึ หนว ยงานทั้งภาครัฐและเอกชน กลุมบุคคล ชุมชนและแหลงวิทยาการ ทีม่ ีสวนรวมสงเสริม สนับสนุน ประสานงานและมีการจัดกิจกรรมเชื่อมโยงและเก้ือหนุนกัน ในการระบุ เครือขายจึงตองกําหนดใหชัดเจนวา เครือขายมีหนวยงานหรือบุคคลใดบาง และมีสวนเก่ียวของกับ การดาํ เนนิ งานโครงการนอ้ี ยางไร 9) การประเมนิ ผลและรายงานผลโครงการพฒั นาอาชพี การประเมินผลและรายงานผลโครงการพัฒนาอาชีพ เปนการระบุวาการดําเนินงาน โครงการนีก้ ําหนดจะประเมินผลโครงการนี้อยา งไร ดวยวิธกี ารใด การประเมินโครงงานนี้สามารถแบงเปน 3 ระยะ คือ 1. ประเมนิ ผลกอนดําเนนิ โครงการ เปน การตรวจสอบความพรอมของปจ จัยตาง ๆ ท่ีตองใช ไดแก เงินลงทุน วัสดุ อุปกรณ แรงงาน ตลาด ระบบการจัดการ ความถนัด ความสอดคลองของอาชีพ กับชุมชน เพือ่ ไมใหเ กดิ ความผดิ พลาดในระยะเรม่ิ ตน โครงงาน

99 2. ประเมนิ ผลระหวางดําเนินโครงการ เปนการประเมินระหวางการดําเนินงานเพ่ือทราบ ความกาวหนา ของงาน แนวโนม ความสาํ เร็จของโครงการ และมปี ญ หาอปุ สรรคอะไรบางเพ่ือหาวิธแี กไ ข 3. ประเมินผลเม่ือสิ้นสุดโครงการ เปนการประเมินผลเพื่อหาขอสรุปเม่ือส้ินสุดโครงการ แลววา ประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงคและเปาหมายหรือไม เพราะเหตุใด มีปญหาอุปสรรคอยางไร และมีวิธีแกไ ขอยางไร วิธีการประเมินผลมีหลายวิธี อาจใชหลาย ๆ วิธีประกอบกันก็ได เชน แบบประเมิน การอภิปราย โดยดําเนินการเม่ือโครงการสิ้นสุดลงตามระยะเวลาที่กําหนด จากน้ัน ประมวลขอมูล การดําเนินงานสรุปเปน รายงานทุกครง้ั เพ่อื ใชเ ปน ขอ มลู ในการดําเนนิ งานครง้ั ตอไป หรอื รายงานใหเจา ของ กจิ การอาชพี ทราบ 10) ผูรบั ผดิ ชอบโครงงานพัฒนาอาชีพ กําหนดระบุชื่อผูรับผิดชอบโครงการพัฒนาอาชีพ ในกรณีท่ีเปนโครงการท่ีมีผูรวมงาน หลายคน ใหร ะบไุ วดวยวา มีกคี่ น ใครบา ง รับผิดชอบการดําเนินงานดา นใดของโครงการพัฒนาอาชีพนน้ั ๆ 11) ความสมั พนั ธกับโครงงานอื่น การระบุความสัมพันธกับโครงการอื่น เปนการระบุวาโครงการที่ดําเนินงานน้ี เอ้ือประโยชนตอเน่ืองหรือประสานงานกับโครงการอื่นอยางไร นอกจากน้ียังเปนการตรวจสอบดวยวา โครงการตา ง ๆ ทรี่ ะบุดําเนนิ งานมคี วามสัมพันธก ัน หรอื มคี วามซํา้ ซอนกนั หรอื ไม 12) ผลท่ีคาดวาจะไดร ับ ผลที่คาดวาจะไดรับ เปนการกําหนดผลผลิตในดานตาง ๆ ที่จะเกิดข้ึนทันทีเมื่อส้ินสุด โครงการพัฒนาอาชีพรวมถงึ ผลลัพธ ในดานตา ง ๆ ทคี่ าดวาจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต

100 กิจกรรมท่ี 2 การเขยี นโครงการพัฒนาอาชีพ ใหผ เู รยี นเขียนโครงการพฒั นาอาชพี ตามทีผ่ เู รียนสนใจ คนละ 1 โครงการ ตามหวั ขอ ตอ ไปนี้ 1. ช่อื โครงการ 2. หลกั การและเหตผุ ล 3. วัตถปุ ระสงค 4. เปา หมาย 5. วิธีดาํ เนนิ การ 6. ระยะเวลาในการดาํ เนินงานโครงการ 7. งบประมาณ 8. เครือขา ย 9. การประเมินผลและรายงานผลโครงการ 10. ผรู ับผิดชอบโครงการ 11. ความสัมพนั ธกบั โครงการอ่ืน 12. ผลท่คี าดวาจะไดร ับ

101 เรอ่ื งที่ 3 การเขียนแผนปฏิบัติการ การดําเนินงานอาชพี เมอื่ จัดทาํ โครงการเรียบรอ ยแลว เพ่ือใหการปฏิบัติงานเปนไปอยางมี ระบบ ผูดาํ เนินงานโครงการควรตอ งจัดทําแผนปฏิบตั กิ ารโดยนําข้นั ตอนที่ระบุไวในวิธีดําเนินการมาจัดทํา รายละเอียดตามแบบฟอรม กิจกรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค กลมุ พ้ืนท่ดี ําเนนิ การ ระยะ งบประมาณ เปา หมาย เปา หมาย หมูบา น ตาํ บล อาํ เภอ เวลา

102 เร่ืองท่ี 4 การตรวจสอบโครงการพัฒนาอาชีพ การดําเนนิ งาน โครงการพัฒนาอาชีพ ใหประสบความสําเรจ็ การตรวจสอบตดิ ตามโครงการ และการควบคุมโครงการ เปน ระบบทีส่ ําคัญตอการจัดการโครงการไดดาํ เนินการไปอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ การตรวจสอบโครงการ หมายถึง กระบวนการการวัดและการตรวจสอบท่ีทําเปนประจํา ในแตละระยะของการดําเนินงานโครงการ โดยจะทําการวดั และตรวจสอบปจ จยั นาํ เขา ไดแก ความพรอม ของทุน แรงงาน ตลาด การจัดการ ความถนัด ความสอดคลองของอาชีพกับชุมชน กระบวนการ ดําเนินงาน ตรวจสอบการดําเนินงานโครงการวาเปนไปตามแผนหรือไม และติดตามผลผลิต ผลิตภัณฑ บริการที่เกิดข้ึนวาเปนอยางไร โดยการติดตามโครงการ มีจุดมุงหมายเพ่ือใหขอมูลแกฝายบริหารในการ ชี้ใหเหน็ สถานการณข องโครงการเกย่ี วกบั การใชท รพั ยากร การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตา ง ๆ หรือผลผลิต ผลติ ภณั ฑ บริการของโครงการเพือ่ การแกไ ขปรับปรงุ สถานการณต าง ๆ ของโครงการท่เี ปน ปญ หาไดทนั ทวงที การควบคุมโครงการ หมายถงึ กระบวนการท่ีบงั คับใหก จิ กรรมตา ง ๆ เปนไปตามแผนงาน และวัตถุประสงคที่ไดกําหนดไว การควบคุมโครงการจะชวยกระตุนใหผูบริหารโครงการ ตลอดจน ผูปฏิบัติงานโครงการใหสนใจชวงการดําเนินงาน เพื่อไมใหการดําเนินงานเบ่ียงเบนไปจากแผน และเพ่อื แกไขขอผดิ พลาดเมอ่ื สถานการณไมเปนไปตามท่ีวางแผนไว เพื่อใหโครงการประสบความสําเร็จ ระบบการควบคุมโครงการเกี่ยวกับสิ่งตา ง ๆ ควรควบคุมโครงการใน 5 ดาน ดังน้ี 1. การควบคุมทรัพยากรทางกายภาพ ไดแก การตรวจสอบวาวัตถุประสงค อุปกรณ เครื่องมือ อาคาร ท่ีดิน และบุคลากร ผูปฏิบัติงาน มีปริมาณและลักษณะตามท่ีกําหนดไวสําหรับ การปฏบิ ัตงิ านเพือ่ ใหเกดิ การประหยดั ในการบรรลุวัตถุประสงค 2. การควบคมุ กระบวนการปฏบิ ัติงาน ไดแก การตรวจสอบกํากับดูแลเทคนิค เครื่องจักร เคร่ืองมือตาง ๆ และวิธีปฏิบัติงานของบุคลากร ผูปฏิบัติใหถูกตองตรงตามหลักการที่กําหนดไวสําหรับ การปฏิบัติงานประเภทน้ัน ๆ 3. การควบคุมผลการปฏิบัติงาน เปนการจัดการใหโครงการการผลิตไดปริมาณตามที่ กาํ หนดไวตามคณุ ภาพ และตามชว งเวลาท่กี าํ หนดไว 4. การควบคุมดา นการเงิน ไดแ ก การควบคุมดา นรายจาย การควบคุมดา นงบประมาณ และ ดานการบัญชี เพ่ือใหเกิดความม่ันใจวารายรับและรายจายของโครงการเปนไปตามแผนและโครงการ สามารถทาํ ใหเ กดิ ผลผลติ ผลิตภัณฑ บรกิ ารตามวตั ถุประสงค 5. การควบคุมบุคลากร เปนการควบคุมพฤติกรรมการปฏิบัติงานของทีมงานโครงการ ใหเปนไปตามวิธีการท่ีกําหนดไว และใหเปนไปตามกําหนดการโครงการ การควบคุมการปฏิบัติงาน ของบุคลากรอาจใชการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านแบบเปนระบบและเปนทางการ การติดตามและการควบคุมโครงการเปนกิจกรรมที่เก่ียวเนื่องกัน และมักใชควบคูกัน เพ่ือปรับการปฏิบตั งิ านใหไปสูทิศทางที่ตองการ กลาวคือ เม่ือไดติดตามดูผลการปฏิบัติงานวาเปนอยางไร แลวตองมีการควบคุมเพือ่ ปรบั การปฏบิ ตั งิ านใหไ ปสูทิศทางทีก่ าํ หนดไวในแผน เพ่ือชวยใหโครงการบรรลุ

103 สิ่งท่ีเปนวัตถุประสงคของโครงการ ในการดําเนินงานโครงการ การติดตามและการควบคุมจึงชวยให โครงการมีความเปนอนั หนงึ่ อันเดียวกันทง้ั ระบบตลอดอายุของโครงการ การรายงานผลเปนการสรุปจากผลการประเมินวาเปนไปตามโครงการหรือไม มีปญหา อุปสรรคอยางไร เพ่ือหาแนวทางแกไข และสงเสริมใหการปฏิบัติงานตามโครงการน้ันมีประสิทธิภาพ มากยงิ่ ข้ึน การประเมินผลโครงการ นอกจากจะประเมินความสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดไวแลว ผปู ระกอบการควรทําการประเมินดานคุณธรรม จริยธรรมของตนเองดวย เพราะผูประกอบการสวนใหญ จะนึกถึงแตผ ลกําไรโดยไมคํานึงถึงคุณธรรม จริยธรรม ซ่งึ จะมีผลตอความมนั่ คงของอาชพี ในระยะยาวดว ย

104 กิจกรรมท่ี 3 ใหผูเรียนบันทึกขอมูล สรุปผลการดําเนินงานโครงการพัฒนาอาชีพของตนเอง ตามแบบฟอรมท่กี าํ หนด รายงานผลเมอื่ สิน้ สดุ โครงการ 1. ระยะเวลาดําเนนิ งาน เร่มิ โครงงานวันท่.ี ....................เดือน.............................................พ.ศ. ........................................ สนิ้ สดุ โครงงานวนั ท.่ี ...............เดือน.............................................พ.ศ. ........................................ รวมเวลาดําเนินงาน..................ป. ..................................เดอื น.................................วัน................. 2. ตน ทนุ การผลติ /การบริการ................................................................................................บาท 3. จาํ นวนผลผลิตทไี่ ด/ การบริการทง้ั หมด..................................................................................... 4. การจัดจาํ หนา ย/บริการ............................................................................................................. .................................................................................................................................................. 5. ราคาจาํ หนายตอหนวย ราคาตํา่ สดุ หนว ยละ............................................................................................................บาท ราคาสูงสุดหนวยละ...........................................................................................................บาท ราคาเฉลยี่ หนวยละ............................................................................................................บาท 6. แหลงจําหนา ย ก. ..................................................................................................................... ข. ..................................................................................................................... ค. ..................................................................................................................... 7. รายได กําไร ขาดทุน..........................................................................................................บาท 8. การแบงผลกําไร ขาดทุน (ถามผี ูรว มงาน) ............................................................................... ................................................................................................................................................. 9. ทรัพยส นิ คงเหลอื 9.1 ..............................จํานวน.......................................มูลคา................................บาท 9.2 ..............................จํานวน.......................................มูลคา................................บาท 9.3 ..............................จํานวน.......................................มูลคา................................บาท 9.4 ..............................จาํ นวน.......................................มูลคา ................................บาท 10. ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไ ข ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 11. การตัดสนิ ใจ 11.1 ดําเนินงานตอ ระบเุ หตุผล......................................................................................... .................................................................................................................................

105 11.2 ดาํ เนินงานตอ ระบเุ หตุผล......................................................................................... ................................................................................................................................. 11.3 ดําเนินงานตอ ระบุเหตผุ ล......................................................................................... ................................................................................................................................. 11.4 ดําเนินงานตอ ระบเุ หตผุ ล......................................................................................... ................................................................................................................................. ขอคดิ เหน็ ของผูร ู......................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................. (...............................................) วันที่........เดอื น.................พ.ศ. .........

106 บรรณานกุ รม ฤทยั ภักด์ิ สมบรู ณ. (2551). พฒั นาอาชพี ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน นนทบุรี.สํานกั พมิ พล องไลฟ เอ็ด จาํ กดั . คณะอาจารย กศน. สาระการเรียนรูหมวดวชิ าพฒั นาอาชพี กรงุ เทพฯ บรษิ ทั ไผมีเดยี เซ็นเตอร จํากดั . ศูนยฝ กและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแกว . (2552) แผนปฏบิ ัติการปงบประมาณ 2552 ศนู ยฝ ก และพฒั นาอาชพี ราษฎรไ ทยบรเิ วณชายแดนสระแกว. กจิ ฐเชต ไกรวาส. (2550). การวเิ คราะหแ ละประเมนิ ผลโครงการ, ชลบรุ ี. วทิ ยาลัยการบริหารรัฐกจิ มหาวิทยาลยั บรู พา. กองแผนงาน กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น. (2537). คูมอื การดําเนนิ งานโครงการ. กรงุ เทพฯ หา งหนุ สว น จาํ กัด อารต โปรเกรส. กองพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น. (2541). ชดุ วชิ าการฝก ทกั ษะและฝก ประกอบการเฉพาะอาชีพ กรุงเทพฯ: โรงพมิ พช ุมนุมสหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย จาํ กดั . สํานักบรหิ ารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น. (2548). คูมือดาํ เนินงานจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน เพอ่ื สราง ชุมชนเขม แข็ง เศรษฐกิจพอเพยี งพน ความยากจน. กรุงเทพฯ: รกั ษการพมิ พ. กิตตพิ นั ธ ดาสวัสดเ์ิ กยี รต.ิ (2551). การจดั การความเส่ยี งและตรวจสอบอนุพันธเ บอื้ งตน กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเบียรส นั เอ็ดดูเคชน่ั . สํานักบริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น. แนวทางจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาอาชีพ. (กพอ.) กรุงเทพมหานคร: รงั สีการพิมพ. สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2551). แนวทางการจดั การเรยี นรูที่เนน ผเู รยี นเปน สําคญั . แหลงทมี่ า http://www.oncc.go.th/publication/50051 กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน. สอนใหค ดิ . โรเนยี ว. มยุรี อนมุ านราชธน. (2548). การบรหิ ารโครงการ. กรงุ เทพฯ: สํานักพิมพคะนงึ นจิ การพมิ พ. ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบภาคกลาง. (2544). พัฒนาอาชีพ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน กรุงเทพฯ: สาํ นกั พิมพ บริษทั เอกพมิ พไ ท จาํ กัด.

107 ทีป่ รกึ ษา บญุ เรือง คณะผูจ ดั ทาํ 1. นายประเสรฐิ อม่ิ สุวรรณ 2. ดร.ชัยยศ จําป เลขาธิการ กศน. 3. นายวัชรนิ ทร แกวไทรฮะ รองเลขาธิการ กศน. 4. ดร.ทองอยู ตณั ฑวุฑโฒ รองเลขาธิการ กศน. 5. นางรกั ขณา ทปี่ รึกษาดานการพัฒนาหลกั สูตร กศน. ผูอาํ นวยการกลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น ผเู ขยี นและเรียบเรยี ง ศนู ยฝ ก และพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน นางสาวกฤษณา โสภี จงั หวดั สระแกว ผูบ รรณาธิการ และพฒั นาปรับปรุง ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม 1. นางอบุ ล ทัศนโกวทิ สํานกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ตราด 2. นายสธุ ี วรประดษิ ฐ ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอสันทราย จงั หวดั เชยี งใหม 3. นางสาวสวุ ิชา อินหนองฉาง ศูนยฝ กและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน จงั หวัดอตุ รดิตถ 4. นายเสกขภทั ร ศรเี มอื ง กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางดุษฎี ศรีวัฒนาโรทัย กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 6. นางพรทิพย เข็มทอง 7. นางสาวเยาวรัตน คาํ ตรง คณะทํางาน กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 1. นายสุรพงษ มน่ั มะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 3. นางสาววรรณพร ปท มานนท กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวศริญญา กุลประดษิ ฐ กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจติ วัฒนา

108 ผ้พู ฒั นาและปรับปรุงครังที (วนั ที - พฤศจกิ ายน ) 1. นางอญั ชลี ธรรมวธิ กี ุล 2. นางดุษฎี ศรวี ัฒนาโรทยั 3. นายสธุ ี วรประดษิ ฐ 4. นางสาวกฤษณา โสภี 5. นายสุภาพ เมอื งนอ ย 6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเรือน ผพู มิ พต น ฉบบั กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน นางสาวเพชรนิ ทร เหลอื งจิตวัฒนา กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน ผอู อกแบบปก นายศภุ โชค ศรรี ัตนศลิ ป

109 คณะผูปรบั ปรุงขอ มลู เกยี่ วกับสถาบนั พระมหากษตั ริย ป พ.ศ. 2560 ทีป่ รกึ ษา จําจด เลขาธกิ าร กศน. หอมดี รองเลขาธกิ าร กศน. 1. นายสุรพงษ สขุ สเุ ดช ผูอํานวยการกลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบ 2. นายประเสรฐิ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั 3. นางตรนี ุช กศน.เขตบางซือ่ กรงุ เทพมหานคร ผปู รบั ปรุงขอ มูล กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย นางสาวลลิตา แกวมณี กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั คณะทาํ งาน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 1. นายสรุ พงษ มัน่ มะโน กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 2. นายศภุ โชค ศรีรตั นศิลป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อําไพศรี 4. นางเยาวรัตน ปน มณวี งศ 5. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวา ง 6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รือน 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน 8. นางสาวชมพูนท สงั ขพ ิชยั

110 คณะผปู รบั ปรุงขอ มลู เกีย่ วกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ  ป พ.ศ. 2560 ทปี่ รกึ ษา จาํ จด เลขาธิการ กศน. หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ 1. นายสุรพงษ ปฏิบตั ิหนาทร่ี องเลขาธิการ กศน. 2. นายประเสรฐิ สขุ สุเดช ผูอํานวยการกลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย 3. นางตรีนชุ กศน.เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร ผปู รบั ปรงุ ขอมลู กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย นางสาวปรญิ ญารตั น มา ทอง กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั คณะทาํ งาน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 1. นายสรุ พงษ มนั่ มะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 2. นายศภุ โชค ศรีรัตนศิลป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาํ ไพศรี 4. นางเยาวรัตน ปนมณวี งศ 5. นางสาวสุลาง เพช็ รสวา ง 6. นางสาวทิพวรรณ วงคเรอื น 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น 8. นางสาวชมพนู ท สังขพชิ ัย