รายงาน ผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (ORDINARY NATIONAL EDUCATIONAL TEST) เพื่อพัฒนาคุึณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2565 ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 สรุปรายงาน โดย นางสาวโสภา พันธ์พรหม ตำแหน่ง ศึกษานิเทศก์ นางระวิยา ศิริพันธ์ ตำแหน่ง ศึกษานิเทศก์
คำนำ รายงานผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary national education test : o - net) ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอข้อมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับผลการทดสอบ การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary national education test : o - net) ปีการศึกษา 2565 ของนักเรียนระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบผล สัมฤทธิ์ระหว่างปีการศึกษา 2563 - 2565 เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาต่อไป ขอขอบพระคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมทำให้รายงานฉบับนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี หวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพยิ่งๆ ขึ้นไป นางสาวโสภา พันธ์พรหม ศึกษานิเทศก์ นางระวิยา ศิริพันธ์ ศึกษานิเทศก์ คณะผู้จัดทำ
สารบัญ เรื่อง หน้า 1 บทนำ 1 เหตุผลและความสำคัญ 1 วัตถุประสงค์ 2 นิยามศัพท์เฉพาะ 3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 5 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 5 แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ.2566 – 2570) 5 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 6 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 9 มาตรฐานทางการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 13 จุดมุ่งหมายของแต่ละมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ 14 แนวดำเนินงานการประเมินการจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Education Testing : O – NET) ปีการศึกษา 2565 15 โครงสร้างการบริหารการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับขาติขั้นพื้นฐาน (O – NET) 16 3 แนวทางการดำเนินการ 20 กลุ่มเป้าหมาย 20 ขอบเขต และสาระการทดสอบ 21 วิธีการดำเนินการ 46 การวิเคราะห์ข้อมูล 47 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 48
สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า 4 การวิเคราะห์ผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน 49 ตอนที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 50 รายกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยใช้ข้อมูลย้อนหลังสามปีการศึกษา (ปีการศึกษา 2563 – 2565) เพื่อดูความ 58 เปลี่ยนแปลงและแนวโน้มของคะแนนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนา คุณภาพการศึกษานาวัง 1 62 ตอนที่ 2 วิเคราะห์เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 66 ปีการศึกษา 2565 เพื่อจัดกลุ่มคุณภาพของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 จำแนกรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ 66 71 ตอนที่ 3 วิเคราะห์ข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยใช้ข้อมูลปีการศึกษา 2565 เพื่อดูความเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มของคะแนน ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ รายสาระการเรียนรู้ รายโรงเรียน ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพ การศึกษานาวัง 1 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ สรุปผล ข้อเสนอแนะการนำผลการวิเคราะห์ไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภาคผนวก 76 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 76 ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1
สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 แสดงตารางสอบและข้อปฏิบัติในการสอบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 19 ตารางที่ 2 จำนวนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดศูนย์เครือข่าย 20 พัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 จำนวน 9 โรงเรียน จำแนกนักเรียนตามระดับชั้น 50 ตารางที่ 3 วิเคราะห์ข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รายกลุ่ม 52 สาระการเรียนรู้ โดยใช้ข้อมูลย้อนหลังสามปีการศึกษา (ปีการศึกษา 2563 – 2565) เพื่อดูความเปลี่ยนแปลง และแนวโน้มของคะแนนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา 54 นาวัง 1 จำแนกรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตารางที่ 4 วิเคราะห์ข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รายกลุ่ม 56 สาระการเรียนรู้ โดยใช้ข้อมูลย้อนหลังสามปีการศึกษา (ปีการศึกษา 2563 – 2565) เพื่อดูความเปลี่ยนแปลง 58 และแนวโน้มของคะแนนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพ 59 การศึกษานาวัง 1 จำแนกรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (อังกฤษ) 60 ตารางที่ 5 วิเคราะห์ข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รายกลุ่ม สาระการเรียนรู้ โดยใช้ข้อมูลย้อนหลังสามปีการศึกษา (ปีการศึกษา 2563 – 2565) เพื่อดูความเปลี่ยนแปลง และแนวโน้มของคะแนนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา นาวัง 1 จำแนกรายกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตารางที่ 6 วิเคราะห์ข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รายกลุ่ม สาระการเรียนรู้ โดยใช้ข้อมูลย้อนหลังสามปีการศึกษา (ปีการศึกษา 2563 – 2565) เพื่อดูความเปลี่ยนแปลง และแนวโน้มของคะแนนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา นาวัง 1 จำแนกรายกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตารางที่ 7 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 เพื่อจัดกลุ่มคุณภาพโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 จำแนกรายกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตารางที่ 8 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 เพื่อจัดกลุ่มคุณภาพโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 จำแนกรายกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ตารางที่ 9 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 เพื่อจัดกลุ่มคุณภาพโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 จำแนกรายกลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
สารบัญตาราง (ต่อ) หน้า ตารางที่ 10 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 61 2565 เพื่อจัดกลุ่มคุณภาพโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 จำแนกรายกลุ่ม 62 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 63 64 ตารางที่ 11 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนและระดับ 65 ประเทศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา นาวัง 1 จำแนกรายสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตารางที่ 12 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนและระดับ ประเทศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา นาวัง 1 จำแนกรายสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ตารางที่ 13 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนและระดับ ประเทศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา นาวัง 1 จำแนกรายสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตารางที่ 14 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนและระดับ ประเทศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา นาวัง 1 จำแนกรายสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน 51 และระดับประเทศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 – 2565 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 53 ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 55 57 ภาพที่ 2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน และระดับประเทศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 – 2565 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (อังกฤษ) ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 ภาพที่ 3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน และระดับประเทศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 – 2565 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 ภาพที่ 4 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน และระดับประเทศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 – 2565 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 1 บทที่ 1 บทนำ เหตุผลและความสำคัญ การเตรียมเยาวชนให้เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพมีศักยภาพ และมีความสามารถในการแข่งขันได้ในอนาคต การให้ การศึกษาที่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายจึงต้องให้นักเรียนสามารถใช้ความรู้ในชีวิตจริง สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหา ได้ ดังนั้นการเตรียมเยาวชนให้สามารถดำเนินชีวิตและมีส่วนร่วมในสังคมที่วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นพื้นฐาน ที่ส่ง ผลกระทบต่อทุกชีวิตในทุกระดับ ทั้งตัวบุคคล ในอาชีพการงานและในสังคมวัฒนธรรม ทาให้บุคคลสามารถรับรู้และ ตัดสินประเด็นปัญหาของสังคมที่เกิดจากผลกระทบของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีความรู้ความเข้าใจ มีส่วนร่วม ในสังคมระดับชุมชน ระดับประเทศ และระดับโลก อย่างเต็มภาคภูมิ เป้าหมายหลักของการจัดการศึกษาทุกระบบ คือการเตรียมเยาวชนสำหรับอนาคตให้เป็นกำลังคนที่มีศักยภาพใน อนาคต การให้การศึกษาที่สอดคล้องกับเป้าหมายจึงต้องให้นักเรียนสามารถใช้ความรู้ในชีวิตจริง สามารถคิดวิเคราะห์ และแก้ปัญหาได้ เพื่อให้มีศักยภาพในการแข่งขันในอนาคต แต่ในการปฏิบัติ แม้ว่าจุดมุ่งหมายของการศึกษาจะวางไว้ อย่างไร แต่นักเรียนและครูจะให้ความสำคัญเฉพาะกับการรู้ข้อเท็จจริง การรู้เนื้อหาสาระเท่านั้น ทั้งนี้เพราะการประเมิน ผลการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นการสอบผ่านชั้นเรียนหรือการสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น เน้นเฉพาะการวัด ความรู้ตามการเรียนการสอนในห้องเรียนที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของภาคทฤษฎี นั่นคือ วัดความรู้ในทางด้านเนื้อหาเป็นต้นว่า วัดทฤษฎี หลักการ นิยาม แนวคิดหลักเท่านั้น การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test : O-net) มีความจำเป็น และสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งจะทำให้ทราบว่านักเรียนมีคุณภาพการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด และมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หรือไม่ ในประเทศไทย หน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง คือ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นมา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อบริหาร จัดการ และดำเนินการเกี่ยวกับการศึกษา วิจัย พัฒนา และให้บริการทางการประเมินผลทางการศึกษา และทดสอบการ ศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาในระดับชาติและระดับนานาชาติ โดยมีภาระหน้าที่สำคัญอย่างหนึ่ง คือ จัดการทดสอบวัดผลระดับชาติให้แก่นักเรียนทุกคน เป็นแบบสอบทางการศึกษา แห่งชาติขั้นพื้นฐาน เป็นการวัดผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับนักเรียน โดยจะวัดความรู้ความสามารถทางการ ศึกษา หลังจากที่เรียนจบระดับชั้นหนึ่งๆ เพื่อโรงเรียนจะได้นำผลประเมินที่ได้ไปปรับปรุงการเรียนการสอน ซึ่งใน ปัจจุบันจะทำการทดสอบนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยจัด สอบ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) โดย ลักษณะข้อสอบและการประเมินผล O – NET จะเป็นแบบทดสอบ แบบปรนัย และอัตนัย ในอัตราส่วนระหว่าง 80% wค–ำ9ตw0อ%บwสั:้น1ๆ0.r%(eSh–ao2rlt0l%Ayngขs้wอrสeeอr)บaเแวบลtาบsใปนitรกนeาัยร.ทจcำะเขo้ปอ็นสmขอ้อบสขออบงแแบต่วบิช4า ตัวเลือก สำหรับข้อสอบอัตนัยจะเป็นข้อสอบแบบเขียน แต่ละระดับชั้นจะกำหนดไว้ไม่เท่ากัน ข้อสอบแต่ละข้อ
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 2 กคาะรแเนรีนยนอราู้กจจาระสไมอ่เบท่เาป็กนันบขึร้ินกอายรู่ขกัอบงครวัฐาใมห้ยแากก่นงั่กายเร ีขยอนงทขุ้กอคสนอโบดยข้ไอมส่ตอ้อบงคเสรียอคบ่าคใลชุ้มจ่สายารใดะแๆละทักษะสำคัญของ 8 กลุ่มสาระ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งบทบาทของการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับเขตพื้นที่ การศึกษาดำเนินการเป็นการประเมินเพื่อปรับปรุงและพัฒนา (FORMATIVE EVALUATION) ให้โรงเรียนพร้อมรับการ ประเมินระดับชาติ และนำผลการสอบไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียนและนำผลการทดสอบ ไปใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน และนำผลการประเมินมาวิเคราะห์ สรุปและเขียนรายงาน ในภาพรวม ระดับของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อนำผลการประเมินไปใช้วางแผนในการปฏิบัติเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนได้ อย่างเป็นรูปธรรมชัดเจนในปีการศึกษา 2565 ตามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรียนต่อไป ผู้รายงานในฐานะศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จึงนำข้อมูลผลการ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ORDINARY NATIONAL EDUCATIONAL TEST : O-NET) มาวิเคราะห์ และจัดทำรายงานผลการทดสอบทางการศึกษา ปีการศึกษา 2565 ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 เพื่อนำข้อมูลผลการทดสอบที่สามารถสะท้อนคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาได้อย่างแท้จริงมีความน่าเชื่อถือ และให้สถานศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องนำไปใช้เป็นข้อมูลสารสนเทศวางแผนและกำหนดแนวทาง ในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับแนวทางการวัดและประเมินผลของข้อสอบ O-NET และส่งเสริม ปรับปรุง พัฒนาคุณภาพผู้เรียนต่อไป สารสนเทศไปใช้ประโยชน์ ในการพัฒนาคุณภาพนักเรียนและการบริหารจัดการ ศึกษาในระดับศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวิเคราะห์และรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 ปีการศึกษา 2565 2. เพื่อเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 ปีการศึกษา 2563 – 2565 3. เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลสารสนเทศจากการสรุปผลรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน ปีการศึกษา 2565 ไปใช้ในการวางแผน พัฒนา และปรับปรุงคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องต่อไป www.reallygreatsite.com
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 3 ขอบเขตของการรายงาน 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เป็นการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนตามจุด มุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยประเมินจำนวน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย, ภาษาอังกฤษ, คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 2. ขอบเขตด้านระยะเวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทำการทดสอบ ในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2565 3. เป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทุกคนและทุกโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 นิยามศัพท์เฉพาะ 1. การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test : O-NET) หมายถึง การประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทั่วประเทศ ซึ่งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงานที่ดำเนินการจัดสอบผู้เรียน โดยทำการ ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่าง ประเทศกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2. ศูนย์การบริหารและจัดสอบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) โดยสถาบันทดสอบ ทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) มอบให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 เป็น ผู้รับผิดชอบดำเนินการประสานและบริหารงานการจัดสอบกับทุกโรงเรียนในสังกัด 3. ผลการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา หมายถึง ค่าสถิติผลการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษาของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ที่เข้าสอบจากทุกโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 4. ผลการทดสอบระดับประเทศ หมายถึง ค่าสถิติผลการทดสอบระดับประเทศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ที่เข้าสอบจากโรงเรียนทุกสังกัดในประเทศ 5. สถานศึกษา หมายถึง โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 ที่อยู่ใน ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 6. ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 หมายถึง โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 จำนวนทั้งหมด 9 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบ้านนากลาง โรงเรียนเกษตรนาสมหวัง โรงเรียน wบ้านwนาสwมนึ.กreโรaงเรlียlนyบg้านrโeคกaกะtทsอitโรeงเ.รีcยนoบ้mานโคกนาเหล่า โรงเรียนเทพคีรีพิทยาคม โรงเรียนชุมชนโปร่งวังม่วง โรงเรียนบ้านภูเขาวง และโรงเรียนบ้านหินตั้งบังพระจันทร์
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. โรงเรียนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีและใช้ข้อมูลสารสนเทศด้านคุณภาพของนักเรียนในการวางแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา สถานศึกษา ห้องเรียนและกลุ่มสาระการเรียนรู้ของนักเรียนรายบุคคลนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป 2. โรงเรียนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ทราบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และคุณภาพผู้เรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทั้งรายโรงเรียนและภาพรวมระดับเขตพื้นที่การศึกษา สำหรับใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา และวางแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในปีการศึกษาต่อไป 3. โรงเรียนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลไปใช้สำหรับกำหนดนโยบาย กำกับ ติดตาม พัฒนาคุณภาพ การศึกษาและวางแผนการนิเทศของสถานศึกษาในสังกัด www.reallygreatsite.com
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 5 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การรายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ของศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 ได้ดำเนินการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการสอน ดังนี้ 1. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 2. แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ.2566 – 2570) 3. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 5. มาตรฐานทางการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 6. จุดมุ่งหมายของแต่ละมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ 7. แนวดำเนินงานการประเมินการจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Education Testing : O – NET) ปีการศึกษา 2565 8. โครงสร้างการบริหารการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O – NET) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 หมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษา มาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน ตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา ให้สถานศึกษาใช้วิธีการที่หลากหลายในการจัดสรรการเข้า ศึกษาต่อ และให้ผลการประเมินผู้เรียนตามวรรคหนึ่ง มาใช้ประกอบการพิจารณาด้วย แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ.2566 - 2570) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566 – 2570) เพื่อกำหนดทิศทางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลง ที่สำคัญและส่งผลกระทบต่อระบบการ ศึกษา ระบบเศรษฐกิจและสังคม ประเทศไทยจะได้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน และหน่วยงานในสังกัดของสำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกระดับสามารถนำแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566 - 2570) ของสำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไปใช้เป็นกรอบและแนวทางในการดำเนินงานต่อไป โดยการกำหนดเป้าประสงค์ ตัวชี้วัด แนวทางการพัฒนา ภายใต้กลยุทธ์ 4 เรื่อง กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบ กลยุทธ์ที่ 2 เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน กลยุทธ์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพการศึกษา wใwห้สอwดค.ล้rอeงกัaบกlาlรyเปgลี่ยrนeแปaลtงใsนศitตวeรร.ษcทีo่ 2m1 และ กลยุทธ์ที่ 4 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 6 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการได้มีคำสั่งให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในโรงเรียนต้นแบบ และโรงเรียนที่มีความพร้อมในการใช้หลักสูตร ในปีการศึกษา 2552 และใช้ในโรงเรียนทั่วประเทศ ในปีการศึกษา 2553 หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรที่ใช้แนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน (Standards-based Curriculum) กล่าวคือ เป็นหลักสูตรที่กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนโดยมาตรฐานการเรียนรู้ได้ระบุ สิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ เมื่อสำเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้ ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาได้ยึด เป็นแนวทางในการดำเนินการพัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้บรรลุคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ดังกล่าวด้วยการ ดำเนินการบริหารจัดการอิงมาตรฐาน (Standards-based Instruction) การวัดและประเมินผลที่สะท้อนมาตรฐาน (Standards-based Assessment) เพื่อให้กระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ (สำนัก วิชาการและมาตรฐาน การศึกษา, 2554 : คำนำ) การจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีสาระสำคัญ ดังนี้ 1. ระดับการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1.1 ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6) เป็นระดับการศึกษาที่มุ่งเน้นทักษะพื้นฐาน ด้านการอ่านการ เขียน การคิดคำนวณ การคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และ 7 พื้นฐาน ความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้ง ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และ วัฒนธรรม โดยเน้น จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ 1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3) เป็นระดับการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียน ได้สำรวจความถนัด และความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตนมีทักษะในการคิดอย่างมี วิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทักษะในการดำรงชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือ ในการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบ ต่อสังคม มีความสมดุลทั้ง ด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจ ในความเป็นไทย ตลอดจนใช้เป็นพื้นฐาน ในการประกอบอาชีพ หรือการศึกษาต่อ 1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6) เป็นระดับการศึกษาที่มุ่งเน้น การเพิ่มพูนความรู้และ ทักษะเฉพาะด้านสนองตอบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียนแต่ละคน ทั้งด้านวิชาการ และวิชาชีพ มีทักษะในการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี ทักษะ กระบวนการคิดขั้นสูงสามารถ นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ ในการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ มุ่งพัฒนาตน และประเทศตาม บทบาทของตน สามารถเป็นผู้นำ และผู้ให้บริการชุมชนใน ด้านต่างๆ 2. วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็น มนุษย์ที่มีความสมดุลทั้ง ด้านร่างกาย ความรู้คุณธรรมมีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็น พลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการ www.reallygreatsite.com
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 7 ศึกษา ต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ บนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคน สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ 3. จุดหมายของหลักสูตร 3.1 มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเองมีวินัยและ ปฏิบัติตนตามหลักธรรม ของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 3.2 มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมี ทักษะชีวิต 3.3 มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย 3.4 มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต และการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 3.5 มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต สาธารณะที่ มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 4.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 4.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 4.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 5.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5.2 ซื่อสัตย์สุจริต 5.3 มีวินัย 5.4 ใฝ่เรียนรู้ 5.5 อยู่อย่างพอเพียง 5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน 5.7 รักความเป็นไทย 5.8 มีจิตสาธารณะ 6. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 6.1 ภาษาไทย 6.2 คณิตศาสตร์ 6.3 วิทยาศาสตร์ www6.4.rสัeงคaมศlึlกyษาgศrาeสนaา tแsละiวtัฒeน.ธcรรoมm 6.5 สุขศึกษาและพลศึกษา
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 8 6.6 ศิลปะ 6.7 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6.8 ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึง ประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้น พื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อน พัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐาน การเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจ สอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา โดยใช้ระบบ การประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่ง รวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบ เพื่อประกันคุณภาพดัง กล่าวเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยสะท้อนภาพ การจัดการศึกษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่มาตรฐานการเรียนรู้ กำหนดเพียงใดแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ได้กำหนดองค์ความรู้ ทักษะ สำคัญและคุณลักษณะ ที่สำคัญที่เป็นจุดเน้นในการพัฒนาผู้เรียน องค์ความรู้ ทักษะสำคัญ และคุณลักษณะในหลักสูตร แกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะ และ วัฒนธรรมการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ความชื่นชม การเห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทย และภูมิใจในภาษาประจำชาติ คณิตศาสตร์ : การนำความรู้ ทักษะและ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปใช้ในการ แก้ปัญหา การดำเนินชีวิต และศึกษาต่อ การมีเหตุ มีผล มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ วิทยาศาสตร์ : การนำความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และ แก้ ปัญหาอย่างเป็นระบบการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ : ความรู้ ทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรม การใช้ ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร การแสวงหา ความรู้และการประกอบอาชีพ สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม : การอยู่ร่วมกันใน สังคมไทยและสังคมโลก อย่างสันติสุข การเป็นพลเมืองดี ศรัทธา ในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณค่าของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ความรักชาติ และภูมิใจในความเป็นไทย สุขศึกษาและพลศึกษา : ความรู้ ทักษะ และเจตคติในการสร้างเสริม สุขภาพพลานามัยของตนเอง และผู้อื่น การ ป้องกันและปฏิบัติต่อสิ่งต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพอย่างถูกวิธี และทักษะในการดำเนินชีวิต ศิลปะ : ความรู้และทักษะในการคิดริเรีมจินตนาการสร้างสรรค์งานศิลปะสุนทรียภาพ และการเห็นคุณค่าทาง ศิลปะ การงานอาชีพและเทคในโลยี : ความรู้ ทักษะ และเจตคติในการทำงาน การจัดการ การดำรงขึวีต การประกอบ อาชีพ และการใช้เทคโนโลยี www.reallygreatsite.com
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 9 7. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒน าตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้าน เพื่อความเป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและ สร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการ ตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมี ความสุข คุณลักษณะในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิด ตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้ อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้ คำปรึกษาแก่ ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนา ผู้เรียน 2. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบการ ทำงานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือ แบ่งปันกัน เอื้ออาทร และ สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุก ขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุง การทำงาน เน้นการทำงานร่วมกัน เป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของ สถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรม นักเรียนประกอบด้วย 2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ และนักศึกษาวิชาทหาร 2.2 กิจกรรมชุมนุม ชมรม 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละ ต่อ สังคม มีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่างๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม การวัดประเมินผล การวัดและประเมินผลการศึกษาตามแนวนโยบายการศึกษาไทย 1. การวัดและประเมินผลในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542) (แก้ไขเพิ่มเดิม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545) หมวด 4 ที่ว่าด้วยแนวทางจัดการศึกษาในมาตรา 26 โดยกล่าวไว้ว่า “ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดย พิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม และการทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความ เหมาะสมของแต่ละระดับ และรูปแบบการศึกษา” “ให้สถานศึกษาใช้วิธีการที่หลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเข้าศึกษาต่อให้นำผลการประเมิน ตามวรรค หนึ่งมาใช้ประกอบการพิจารณาด้วย” จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาตินั้นได้ให้ความสำคัญกับการประเมินในลักษณะที่หลากหลาย และ เหมาะสมกับสภาพของผู้เรียน รวมถึงการใช้ประโยชน์จากผลของการประเมิน ในการจัดการศึกษาด้วยเช่นกัน www.reallygreatsite.com
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 10 2. การวัดและประเมินผลในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรี ยนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 อยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน และเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบผลสำเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนา และประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็น ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับ ชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูล และ สารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อ การส่งเสริมให้ผู้เรียน เกิดการพัฒนา และเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่ การศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ โดยผู้สอนดำเนินการ เป็นปกติ และสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน และใช้เทคนิคการประเมินอย่าง หลากหลาย เช่น การซักถาม การ สังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเอง หรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อประเมินเพื่อน ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณีที่ ไม่ผ่านตัวชี้วัด ให้มีการดำเนินการสอนซ่อมเสริมชิ้น การประเมินระดับชั้นเรียนเป็น การตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน หรือไม่ และมากน้อย เพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริม ด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียน การสอนของตนด้วย ทั้งนี้โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด 2.2 การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดำเนินการเพื่อตัดสินการเรียนรู้ ของผู้เรียน รายปี/ รายภาค ได้แก่ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยทำให้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมี จุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา เปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการ ประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุง นโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการ เรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพ การศึกษา และการรายงานผลการจัดการศึกษา ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง และชุมชน 2.3 การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่ การศึกษาตาม มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อใช้เป็น ข้อมูลพื้นฐานในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดำเนินการ โดยประเมินคุณภาพของ ผู้เรียนด้วยวิธีการ และเครื่องมือที่เป็นมาตรฐานซึ่งจัดทำ และดำเนินการ โดยเขตพื้นที่การศึกษา หรือด้วยความร่วมมือ กับหน่วยงานต้นสังกัด/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังสามารถ ดำเนินการได้ด้วยการตรวจสอบข้อมูลการประเมิน ระดับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา www.reallygreatsite.com
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 11 การศึกษ2า.4ขั้นกพาื้รนปฐราะนเมพิุนทรธะศดัักบรชาาชติ2เ5ป็5น1กสารถปานระศึเกมิษน าคุตณ้อภงจาัดพใผูห้เ้รผูี้ยเรนียตนาทมุกมคานตรที่ฐเราียนนกใานรเชัร้ีนยปนรรู้ะตถามมศึกหษลัากปสีูทตี่ร3แกชั้นนกปลราะงถม ศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เข้ารับการประเมิน โดยผลจากการประเมินเป็น ข้อมูลผ่าน การเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่างๆ เพื่อนำไปใช้ในการวางแผน ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจน เป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจระดับนโยบายของประเทศ ข้อมูลการประเมินในระดับต่างๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวน พัฒนา คุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริม เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จำแนกตาม สภาพปัญหา และความ ต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มี ผลสัมฤทธิ์ต่ำ กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหา ด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาทาง เศรษฐกิจและสังคม กลุ่มผู้เรียนมีความ พิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจสำคัญของสถานศึกษาในการดำเนินการช่วย เหลือผู้เรียนได้ทันพ่วงที อันเป็นโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนา และประสบความสำเร็จในการเรียน สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องทำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล การเรียนของสถาน ศึกษาให้สอดคล้อง เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกำหนดของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายถือปฏิบัติร่วมกัน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็น กระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรู้ และการพัฒนาการด้านต่างๆ ของผู้เรียน ตามมาตรฐาน การ เรียนรู้/ตัวชี้วัดของหลักสูตร นำผลไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการที่เป็นระบบ เพื่อให้การดำเนินการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้เป็นไปอย่างมีคุณภาพ และประสิทธิภาพ ผลการประเมินตรงตามสภาพความรู้ ความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน ถูกต้องตามหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รวมทั้งสามารถรับการประเมิน ภายใน และการประเมินภายนอก ตาม ระบบประกันคุณภาพการศึกษาได้ สถานศึกษาจึงควรกำหนดหลักการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อเป็นแนวทางใน การตัดสินใจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ของสถานศึกษา ดังนี้ 1. สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 2. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้อง และครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดตาม กลุ่มสาระการ เรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตร และจัดให้มีการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตลอดจน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3. การประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน การร่วม กิจกรรม และการทดสอบควบคู่กันไปในกระบวนการเรียนการสอน ตามความเหมาะสม ของแต่ละระดับ และรูปแบบ การศึกษา 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอน ต้องดำเนินการด้วยเทคนิค วิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถวัดและประเมินผลผู้เรียนได้อย่างรอบด้าน ทั้งด้าน ความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรม และเจตคติ เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด ธรรมชาติวิชา และระดับชั้นของผู้เรียน โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานความ เที่ยงตรง ยุติธรรม และเชื่อถือได้ www.reallygreatsite.com
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 12 เรียน 5. การประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมายเพื ่อปรับปรุงพัฒนาผู้เรียน พัฒนาการจัดการเรียนรู้ และ ตัดสินผลการ 6. เปิดโอกาสผู้เรียน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้ 7. ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษา และรูปแบบการศึกษาต่างๆ 8. ให้สถานศึกษาจัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเป็นหลักฐานการประเมินผลการเรียนรู้ รายงานผลการ เรียน แสดงวุฒิการศึกษา และรับรองผลการเรียนของผู้เรียน จากการกำหนดการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ และความสำคัญ ของการประเมินที่ต่างก็มีจุดมุ่ง หมายแตกต่างกัน และมีเป้าหมายปลายทางเดียวกัน คือการพัฒนาคุณภาพ และศักยภาพของผู้เรียนให้ เป็นไปตาม คุณลักษณะ และคุณสมบัติของหลักสูตรที่ได้กำหนดขึ้น 3. องค์ประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาชั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาชั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) กำหนด จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และมาตรฐานการเรียนรู้ซึ่งเป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก โดยกำหนด ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดที่กำหนดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ มีความสามารถ ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการวัด และประเมินผลการเรียนรู้มีองค์ ประกอบต่างๆ ดังนี้ 3.1 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ ผู้สอนทำการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ผู้ เรียนเป็นรายวิชา ตามตัวชี้วัดที่กำหนดในหน่วยการเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้ได้ผลการประเมินตาม ความสามารถที่แท้ จริงของผู้เรียน โดยทำการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ การสังเกต พัฒนาการและความประพฤติของผู้เรียน การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม และการทดสอบ ซึ่งผู้สอนต้อง นำนวัตกรรมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น การประเมิน สภาพจริง การประเมินการปฏิบัติงาน การประเมินจากโครงงานและการประเมินจากแฟ้มสะสมงาน ไปใช้ ในการประเมินผล การเรียนรู้ควบคู่ไปกับการใช้แบบ ทดสอบแบบต่างๆ และต้องให้ความสำคัญกับการประเมิน ระหว่างปี/ภาค มากกว่าการประเมินปลายปี/ภาคโดยกลุ่ม สาระการเรียนรู้ทั้ง 8 ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่ม สาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 3.2 การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เป็นการประเมินศักยภาพของผู้เรียนในการอ่าน การฟัง การดูและ การรับรู้ จากหนังสือ เอกสารและสื่อต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง แล้วนำมาคิดวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่นำไปสู่การแสดงความ คิดเห็น การสังเคราะห์ สร้างสรรค์ในเรื่องต่างๆ และถ่ายทอดความคิดนั้น ด้วยการเขียนซึ่งสะท้อนถึง สติปัญญา ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา และสร้างสรรค์จินตนาการอย่างเหมาะสม และมี www.reallygreatsite.com
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 13 มีเหตุผคลุณแคล่าะแลกำ่ตดันบเชอั้นงตสอังนคใมนแกลาะรปนรำะเสเทนศอชสาาติมพารร้ถอ สมรด้้าวงยคปวราะมสเบข้กาาใจรณแ์กแ่ผูล้อะ่าทนักไษด้อะใย่นากงชาัรดเเขจียนนตทาี่มมีรสะำดนับวนควภาามษสาาถูมกาตร้อถง ในแต่ละระดับชั้นการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน สรุปผลเป็นรายปี/รายภาค เพื่อวินิจฉัยและใช้เป็นข้อมูล เพื่อประเมินการเลื่อนชั้นเรียน และการจบการศึกษาระดับต่างๆ 3.3 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และตามที่สถานศึกษากำหนดเพิ่มเดิม เป็นการประเมินรายคุณลักษณะแล้วรวบรวมผลการประเมินจากผู้ประเมิน ทุกฝ่ายนำมาพิจารณาสรุปผลเป็นรายปี/รายภาค เพื่อใช้เป็นข้อมูลประเมินการเลื่อนชั้นเรียน และการจบการศึกษา ระดับต่างๆ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ได้แก่ รักชาติศาสน์กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริตมีวินัยใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่ง มั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ 3.4 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นการประเมินการปฏิบัติกิจกรรมตามจุดประสงค์ และเวลาในการเข้า ร่วมกิจกรรมตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ในแต่ละกิจกรรมและใช้เป็นข้อมูลประเมินการเลื่อน ชั้นเรียนและการจบ การศึกษาระดับต่างๆ ได้แก่ ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ และนักศึกษาวิชาทหาร ชุมนุมชมรม จากการกำหนดแนวทางการประเมินผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดที่กำหนดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม สาระ ความสามารถด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และการเข้าร่วม กิจกรรมพัฒนาผู้ เรียนนั้น แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของความรู้ ความคิด ทักษะและคุณธรรม เพื่อเป็นมนุษย์ สมบูรณ์ มาตรฐานทางการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กำหนดมาตรฐานการทดสอบแห่งชาติขึ้นครอบคลุมโครงสร้างและการดำเนินงานของสถาบันทดสอบทางการ ศึกษาแห่งชาติ (องค์กรมหาชน) และสามารถนำไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลเป็นรูปธรรมได้ โดยมาตรฐานการทดสอบ ทางการศึกษาแห่งชาติ ประกอบด้วย 5 ด้าน ดังนี้ 1. มาตรฐานการบริหารการทดสอบ เป็นมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพว่า ระบบการบริหารการทดสอบ มีความชัดเจน สามารถปฏิบัติได้จริง มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ในระดับชาติและระดับนานาชาติ 2. มาตรฐานด้านการทดสอบ เป็นมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพว่าบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบ มีคุณภาพ คุณสมบัติและหน้าที่เทียบตามมาตรฐานสากล 3. มาตรฐานด้านการพัฒนา นำแบบทดสอบเป็นมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพว่าแบบทดสอบที่ใช้ในการวัด และประเมินมีการพัฒนาอย่างมีระบบ มีขั้นตอนการดำเนินการที่เป็นมาตรฐานเชื่อถือได้ มีสารสนเทศเชิงประจักษ์และ เป็นแบบทดสอบที่มีคุณภาพด้านความตรง ความเที่ยงและมีความยุติธรรม 4. มาตรฐานด้านการรับ-ส่ง การตรวจและการประมวลผล เป็นมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพว่าระบบการ พิมพ์แบบทดสอบและกระดาษคำตอบมีการควบคุมและกำกับการดำเนินงานอย่างมีขั้นตอนที่ชัดเจนมีมาตรการด้าน ความปลอดภัยและมีการเก็บรักษาความลับอย่างรัดกุม มีกระบวนการตรวจให้คะแนนที่ถูกต้อง มีระบบชัดเจนและ สามารถตรวจสอบความผิดพลาดได้และมีการรายงานผลด้วยคะแนนที่มีความหมายและมีการแปลคะแนนอย่างเหมาะ สมเทียบเคียงกับผลการทดสอบแต่ละปี ww5.wมาต.rรeฐาaนกlาlรyราgยงrาeนผaลแtลsะiกtาeรผ.ลcไปoใชm้ เป็นมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพว่าการรายงานผลและการนำ ผลไปใช้มีความถูกต้องเหมาะสมและเป็นธรรม
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 14 จุดมุ่งหมายของแต่ละมาตรฐานการทด สอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 1. มาตรฐานการบริหารการทดสอบ จุดมุ่งหมาย (1) เพื่อให้มีระบบการบริหารการทดสอบที่ชัดเจนสามารถปฏิบัติได้จริง (2) เพื่อให้ระบบการบริหารการทดสอบมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับเชื่อถือได้ในระดับชาติ และระดับนานาชาติ 2. มาตรฐานบุคลากรด้านการทดสอบ จุดมุ่งหมาย (1) เพื่อให้ได้บุคลากรที่มีคุณภาพและเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติมารวมดำเนินการการ ทดสอบ (2) เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบมีคุณสมบัติและหน้าที่ตามมาตรฐานสากล 3. มาตรฐานการพัฒนาแบบทดสอบ จุดมุ่งหมาย (1) เพื่อให้การพัฒนาแบบทดสอบมีระบบ มีขั้นตอนการดำเนินการที่ชัดเจน เชื่อถือได้ มีสารสนเทศ เชิงประจักษ์ (2) เพื่อให้ได้แบบทดสอบที่มีคุณภาพด้านความตรง ความเที่ยง และมีความยุติธรรม 4. มาตรฐานการพิมพ์การรับ/ส่ง การตรวจ การประมวลผลและการแปลผล จุดมุ่งหมาย (1) เพื่อให้การจัดพิมพ์และการรับ/ส่งแบบทดสอบ มีการควบคุมและกำกับการดำเนินงานมีขั้นตอน ที่ชัดเจน มีมาตรการด้านความปลอดภัยและมีการเก็บรักษาความลับอย่างรัดกุม (2) เพื่อให้การตรวจให้คะแนนที่ยึดหลักการความถูกต้อง และความเหมาะสมขององค์ความรู้ของศาสตร์แต่ละ สาขา มีกระบวนการตรวจให้คะแนนเป็นระบบชัดเจน และสามารถตรวจสอบความผิดพลาด คลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น ได้ (3) เพื่อให้มีการรายงานผลการทดสอบด้วยคะแนนมีความหมาย มีวิธีการแปลผลคะแนนอย่างเหมาะสม สามารถแปลผลคะแนนเทียบเคียงกับผลการทดสอบที่แตกต่างกัน 5. มาตรฐานการรายงานผลและการนำผลไปใช้ จุดมุ่งหมาย (1) เพื่อให้การรายงานผลมีความถูกต้องและเหมาะสมต่อการนำไปใช้ (2) เพื่อให้การนำผลการทดสอบไปใช้เป็นไปอย่างถูกต้อง และเป็นธรรม www.reallygreatsite.com
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 15 แนวดำเนินงานการประเมินการจัด สอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Education Testing : O – NET) ปีการศึกษา 2565 สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือสทศ. เป็นองค์การมหาชน เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2548 ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) พ.ศ.2548 ภายใต้การกำกับ ดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาดังกล่าว คือ เนื่องจากมีความ จำเป็นต้องมีสถาบันทดสอบทางการศึกษา รวมทั้งเป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาในระดับชาติ และนานาชาติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบริหารจัดการและดำเนินการเกี่ยวกับการศึกษา วิจัย พัฒนา และให้บริการ ทางการประเมินผลทางการศึกษา และทดสอบทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการ ทดสอบทางการศึกษาในระดับชาติ และระดับนานาชาติ โดยมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้ 1. ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำระบบ วิธีการทดสอบ และพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลตามมาตรฐาน การศึกษา 2. ดำเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการจัดการศึกษา และการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ตลอดจนให้ ความร่วมมือ และสนับสนุนการทดสอบทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา 3. ดำเนินการเกี่ยวกับการทดสอบทางการศึกษา บริการสอบวัดความรู้ความสามารถ และการสอบวัดมาตรฐาน วิชาการ และวิชาชีพ เพื่อนำผลไปใช้เป็นส่วนหนึ่งในการเทียบระดับ และการเทียบโอนผลการเรียนที่มาจากการศึกษาใน ระบบเดียวกับ หรือการศึกษาต่างระบบ 4. ดำเนินการเกี่ยวกับศึกษาวิจัย และเผยแพร่วัฒนธรรมเกี่ยวกับการทดสอบทางการศึกษาตลอดจนเผยแพร่ เทคนิคการวัดและประเมินผลการศึกษา 5. เป็นศูนย์กลางข้อมูลการทดสอบทางการศึกษา ตลอดจนสนับสนุน และให้บริการผลการทดสอบแก่หน่วยงาน ต่าง ๆ ได้ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ 6. พัฒนาและส่งเสริมวิชาการด้านการทดสอบ และประเมินผลทางการศึกษารวมถึงการพัฒนาบุคลากรด้านการ ทดสอบและประเมินผล ด้านการติดตาม และประเมินผลคุณภาพบัณฑิต รวมทั้งการให้การรองรับมาตรฐานของระบบ วิธีการ เครื่องมือวัดของหน่วยงาน การประเมินผลและการทดสอบทางการศึกษา 7. เป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ จากวัตถุประสงค์และหน้าที่ของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) พบว่า ภารกิจหนึ่งที่สำคัญ คือ การจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ORDINARY NATIONAL EDUCATION TESTING : O-NET) ให้ กับนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2565 ทั้งหมด 4 กระทรวง/เทียบเท่า ใน 10 สังกัด ดังนี้ 1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาชั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 2) สำนักบริหารคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ 3) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัย กระทรวงศึกษาธิการ) 4) สำนักงานการศึกษาพิเศษ www5.)rสeถaาบัlนlกyาgรพrลeศึกaษาtsite.com
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 16 6) กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 7) สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ( โรงเรียนปริยัติธรรม) 8) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (โรงเรียนเทศบาล, โรงเรียนองค์การบริหารส่วนตำบล, โรงเรียนองค์การ บริหารส่วนจังหวัด) 9) สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร 10) สำนักการศึกษาเมืองพัทยา โครงสร้างการบริหารการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับขาติขั้นพื้นฐาน (O – NET) เพื่อกำหนดนโยบายเกี่ยวกับการทดสอบให้การดำเนินการเป็นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุตามเป้าประสงค์มี ประสิทธิภาพ มีความยุติธรรมและโปร่งใส 1. ระดับศูนย์สอบ มีหน้าที่หลักของศูนย์สอบ ดังนี้ 1) ประสานงานกับ สทศ. ดำเนินการตามนโยบายและแนวปฏิบัติของสทศ. โดยเฉพาะการดำเนินงาน ตามมาตรฐานการบริหารการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ด้านมาตรฐานการบริหาร การทดสอบและบุคลากรด้าน การทดสอบ 2) กำกับและติดตามให้โรงเรียนในความรับผิดชอบของศูนย์สอบดำเนินการส่งข้อมูลโรงเรียน รายชื่อนักเรียน ให้ครบถ้วนและถูกต้อง เป็นไปตามกำหนดการแนวปฏิบัติที่ สทศ. กำหนด 3) กำหนดสนามสอบโดยเลือกโรงเรียนในความรับผิดชอบของศูนย์สอบ และจัดห้องสอบ ในแต่ละสนามสอบ ให้ ครบถ้วน ผ่านระบบ O-NET ภายในเวลาที่กำหนด 4) จัดประชุมชี้แจงคณะทำงานระดับศูนย์สอบ และคณะทำงานระดับสนามสอบ เพื่อให้ทราบขั้นตอน การดำเนินการสอบ 5) พิจารณาอนุมัติในกรณีมีผู้ข้าสอบกรณีพิเศษที่ไม่มีเลขที่นั่งสอบ โดยตรวจสอบว่านักเรียนเป็นผู้มีสิทธิ์ สอบ และแจ้งสนามสอบทราบในวันสอบ 6) แต่งตั้งตัวแทนศูนย์สอบและส่งไปปฏิบัติหน้าที่ประจำสนามสอบ 7) แต่งตั้งคณะทำงานระดับศูนย์สอบ และคณะกรรมการระดับสนามสอบ 8) ควบคุม กำกับให้การดำเนินการจัดสอบของศูนย์สอบและสนามสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและ มีประสิทธิภาพ 9) แก้ปัญหาในการดำเนินการจัดสอบของศูนย์สอบและสนามสอบ 10) บริหารค่าใช้จ่ายในการดำเนินการจัดสอบ จากเงินจัดสรรที่ได้รับจาก สทศ. 11) รายงานสรุปผลการดำเนินการจัดสอบ และสรุปค่าใช้จ่ายในการจัดสอบ แจ้งให้ สทศ. ทราบภายใน 60 วัน หลังเสร็จสิ้นการสอบ และดำเนินการคืนเงินจัดสรรคงเหลือ ภายใน 60 วันหลังเสร็จสิ้นการสอบ 2. มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ระดับศูนย์สอบ wสwอบwO1)-.NrกEำeกสัaบำใหlหร้lัผบyู้ทีก่gเรกีร่ยrมวeกข้าaอรงคtปุมsฏสิบiอัtตบิeตอาย.ม่cาคงู่oมเืคอรm่กงาครรัจดัดสอบ O NET สำหรับสนามสอบและกรรมการกลางและคู่มือการจัด
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 17 2) แต่งตั้งคณะทำงานระดับศูนย์สอบและคณะกรรมการระดับสนามสอบเพื่อกำกับดูแลการบริหารการจัดสอบ ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ 3) จัดสนามสอบขนาดใหญ่ประกอบด้วยหลายโรงเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ใช้หลักการหนึ่งกลุ่มเครือข่าย โรงเรียน (กลุ่มคุณภาพ กลุ่มประสิทธิภาพ กลุ่มโรงเรียน) เป็นหนึ่งสนามสอบในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หนึ่งกลุ่มเครือข่าย โรงเรียนหรือหนึ่งอำเภอเป็นหนึ่งสนามสอบ หากมีความจำเป็นอย่างอื่นให้อยู่ในดุลยพินิจของประธานศูนย์สอบ แต่ต้อง คำนึงถึงความโปร่งใสและยุติธรรมในการสอบ 4) แต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ ซึ่งประกอบด้วย ตำแหน่งหัวหน้าสนามสอบซึ่งเป็นผู้อำนวยการ โรงเรียนหรือผู้บริหารที่ศูนย์สอบได้พิจารณาว่าเป็นบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการบริหารการทดสอบ กรรมการ กลางและกรรมการคุมสอบ ซึ่งเป็นครูจากต่างกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนที่เป็นสนามสอบทั้งชุดโดยใช้วิธีการหมุนไขว้กัน ยกเว้นเจ้าหน้าที่ประสานงานระดับสนามสอบ เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์เจ้าหน้าที่พยาบาลซึ่งเป็นครูอาจารย์โรงเรียน ที่ เป็นสนามสอบ 5) รับกล่องแบบทดสอบและกระดาษคำตอบจาก สทศ. และนำไปจัดเก็บรักษาไว้ในห้องมั่นคงหรือสถานที่ ที่ ปลอดภัยและเป็นความลับ ก่อนกระจายให้สนามสอบในตอนเช้าวันสอบหากสนามสอบใดไม่สามารถดำเนินการได้ ใน ตอนเข้าสอบขอให้ศูนย์สอบจัดศูนย์สอบย่อยประจำอำเภอ และต้องมีระบบการเก็บรักษาให้ปลอดภัย 6) แต่งตั้งตัวแทนศูนย์สอบไปประจำทุกสนามสอบ สนามสอบละ 2 คน เพื่อกำกับดูแลการจัดสอบให้เป็นไปตาม แนวปฏิบัติในคู่มือฯ และเพื่อให้เกิดความยุติธรรม โปร่งใสและเป็นไปตามมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษา แห่งชาติ 7) กำกับให้ตัวแทนศูนย์สอบเป็นผู้รับกล่องบรรจุแบบทดสอบและกล่องบรรจุ กระดาษคำตอบจากศูนย์สอบ เพื่อ ส่งให้สนามสอบในตอนเชวันสอบ 8) กำกับให้ตัวแทนศูนย์สอบประจำสนามสอบ นำกล่องบรรจุชองกระดาษคำตอบกลับและเอกสาร การจัดสอบ ส่งมอบให้ศูนย์สอบหลังจากเสร็จสิ้นการสอบในแต่ละวัน 9) ศูนย์สอบต้องจัดเก็บรักษากล่องกระดาษคำตอบและเอกสารการจัดสอบ (เช่น สก.5 , สทศ.6) ในห้อง ที่ปลอดภัยก่อนส่งมอบให้สทศ. 10) สทศ.อนุญาตให้ศูนย์สอบ/สนามสอบ ดำเนินการทำลายแบบทดสอบภายใน 30 วัน หลังสทศ. ประกาศ ผลสอบ 3. แนวปฏิบัติเพื่อความโปร่งใสในการจัดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2565 1) การจัดสนามสอบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้จัดสนามสอบ กำหนด 1 กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนเป็น 1 สนามสอบ โดยรวมโรงเรียนในกลุ่มทั้งหมดแล้วศูนย์สอบพิจารณาเลือกโรงเรียนใดโรงเรียนหนึ่งในกลุ่มที่มีความเหมาะสมเป็นสนาม สอบ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้จัดสนามสอบโดยกำหนด 1 อำเภอหรือกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนเป็น 1 สนามสอบ 2) การแต่งตั้งตัวแทนศูนย์สอบไปประจำที่สนามสอบ ศูนย์สอบพิจารณาแต่งตั้งตัวแทนศูนย์สอบไปประจำ ที่สนามสอบ โดยให้ศูนย์สอบพิจารณาแต่งตั้งจากบุคลากรภายในศูนย์สอบครูต่างเครือข่ายที่มีคุณสมบัติเหมาะสมหรือ จากหน่วยงานอื่น ๆ ตามความเหมาะสม อัตรา 2 คน/สนามสอบ เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลความเรียบร้อยภายในสนาม สอบ www.reallygreatsite.com
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 18 3) การแต่งตั้งตัวแทน สทศ.ประจำสนามสอบ ในวันสอบจะมีบุคลากร ครู อาจารย์และนักศึกษาระดับปริญญา เอก โท ตรี หรือนิสิต/นักศึกษาชั้นปีที่ 34 มหาว ิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยรัฐ เข้าสังเกตการปฏิบัติงาน ของสนามสอบและรายงานผลให้สถาบันทดสอบฯ ทราบ 4) การแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ ศูนย์สอบแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ ตำแหน่งหัวหน้า สนามสอบ กรรมการกลางและกรรมการคุมสอบ จากต่างกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนที่สนามสอบทั้งชุดโดยใช้วิธีการหมุนไขว้ กัน 5) การรับ-ส่งกล่องแบบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบ เมื่อศูนย์สอบได้รับกล่องแบบทดสอบและกล่อง กระดาษคำตอบจาก สทศ. ศูนย์สอบต้องเก็บรักษากล่องแบบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบในห้องมั่นคงหรือห้องที่ ปิดมิดชิด มีผู้ที่คอยดูแลตลอดเวลาก่อนส่งมอบให้ตัวแทนศูนย์สอบนำกล่องบรรจุแบบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบ ให้สนามสอบในตอนเช้าวันสอบ หลังจากเสร็จสิ้นการสอบในแต่ละวัน ให้ตัวแทนศูนย์สอบเป็นผู้รับผิดชอบนำกล่องบรรจุ ซองกระดาษคำตอบเพื่อส่งกลับ สทศ. พร้อมเอกสารประกอบการสอบส่งมอบให้ศูนย์สอบหลังเสร็จสิ้นการสอบ 6) กล่องบรรจุแบบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบ กล่องบรรจุแบบทดสอบต้องปิดแน่นหนาแล้วปิดทับด้วยเทป กาวเฉพาะของ สทศ. และมัดด้วยสายรัดเฉพาะของ สทศ. โดยสทศ. อนุญาตให้หัวหน้าสนามสอบเปิดกล่องบรรจุแบบ ทดสอบได้ไม่เกิน 1 ชั่วโมงก่อนถึงเวลาสอบต่อหน้ากรรมการกลางและตัวแทนศูนย์สอบ 7) จำนวนชุดข้อสอบที่ใช้ ข้อสอบแต่ละวิชามีจำนวน 6 ชุด ในแต่ละชุดจะมีการจัดเรียงลำดับข้อที่แตกต่างกัน โดย ข้อสอบได้จัดสลับชุดข้อสอบไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว กรรมการคุมสอบต้องแจกเป็นรูปตัว U ตามที่ สทศ. กำหนด 8) การติดตามการบริหารการทดสอบ สทศ. ร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัดในการติดตามการบริหารการทดสอบ ตามมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ โดยคณะทำงานจะเข้าตรวจเยี่ยมศูนย์สอบและสนามสอบ ในช่วงก่อนวันสอบวันสอบและหลังวันสอบ 9) การรับแจ้งเรื่องร้องเรียน เรื่องความไม่โปร่งใสในการสอบ สทศ. เปิดช่องทางรับแจ้งเรื่องร้องเรียนในความไม่ โปร่งใส่ในการสอบ 4 ช่องทาง คือ สายตรงผู้บริหาร จดหมาย E-mail : [email protected] และ call center 0- 2217-3800 10) ระเบียบ สทศ. ว่าด้วยแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการทดสอบ พ.ศ.2557 สทศ. ขอให้บุคลากรประจำ สนามสอบปฏิบัติตามระเบียบของสทศ. ว่าด้วยแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการทดสอบ พ.ศ.2557 อย่างเคร่งครัด เพื่อให้การทดสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ 4. มาตฐานการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ระดับสนามสอบ 1) ปฏิบัติตามคู่มือการจัดสอบ O-NET สำหรับสนามสอบและกรรมการกลางและคู่มือการจัดสอบ O-NET สำหรับ กรรมการคุมสอบอย่างเคร่งครัด 2) ปฏิบัติตามประกาศของ สทศ. และระเบียบการเข้าห้องสอบอย่างเคร่งครัด 3) เตรียมความพร้อมก่อนการสอบ เกี่ยวกับสถานที่สอบ ห้องสอบ และจัดให้มีการประชาสัมพันธ์ ก่อนการสอบ www.reallygreatsite.com
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 19 4) ตัวแทนศูนย์สอบประจำสนามสอบ ทำ หน้าที่รับ-ส่งแบบทดสอบและกระดาษคำตอบกับศูนย์สอบ ในเช้าวันสอบ ตามวันและเวลาที่ศูนย์สอบนัดหมายและจัดเก็บรักษาให้ปลอดภัย 5) หัวหน้าสนามสอบเปิดกล่องบรรจุแบบทดสอบก่อนเวลาสอบไม่เกิน 1 ชั่วโมงตามตารางสอบต่อหน้าตัวแทน ศูนย์สอบหรือผู้ที่ศูนย์สอบมอบหมาย แล้วบันทึกรายละเอียดในเอกสารให้ครบถ้วน 6) กรรมการกลางต้องแจกแบบทดสอบและกระดาษคำตอบให้ตรงตามตารางสอบห้ามไม่ให้กรรมการ คุมสอบนำแบบทดสอบที่ยังไม่ถึงเวลาสอบไปเก็บไว้เพื่อรอการสอบ 7) ก่อนกรรมการคุมสอบเปิดซองแบบทดสอบต้องมีการตรวจสอบความเรียบร้อยและมีตัวแทนผู้เข้าสอบ 2 คน ลงชื่อรับรองในใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สกศ.2) 8) หลังเสร็จสิ้นการสอบของแต่ละวิชา กรรมการคุมสอบต้องตรวจนับกระดาษคำตอบให้ครบถ้วนตาม จำนวนผู้เข้า สอบ และนำส่งกรรมการกลางในทันที 9) กรรมการกลางต้องตรวจนับจำนวนกระดาษคำตอบให้ถูกต้องอีกครั้ง แล้วบรรจุลงในซองกระดาษ คำตอบปิดผนึกซองกระดาษคำตอบให้เรียบร้อย แล้วจึงมอบให้ตัวแทนศูนย์สอบทำหน้าที่นำสติ๊กเกอร์แบบทำลายตัวเอง ปิดทับที่ปากซองกระดาษคำตอบ 10) ห้ามบุคคลอื่นที่ไม่ใช่กรรมการคุมสอบประจำห้องสอบเข้ามาภายในห้องสอบระหว่างการสอบ 11) หัวหน้าสนามสอบและกรรมการกลางเดินตรวจความเรียบร้อยระหว่างการสอบ 12) หัวหน้าสนามสอบและกรรมการกลางบรรจุชองกระดาษคำตอบลงกล่องปรับขนาด (กล่องสำหรับบรรจุ ซอง กระดาษคำตอบกลับ สทศ. และปิดผนึกให้เรียบร้อย แล้วนำส่งศูนย์สอบหลังเสร็จสิ้นการสอบในแต่ละวัน 13) หัวหน้าสนามสอบ ต้องกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ตามคู่มือ การจัดสอบฯ ให้มีความโปร่งใส ยุติธรรมและดำเนินการตามนโยบายของ สทศ. 5. ตารางสอบและข้อปฏิบัติในการสอบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตาราง 1 แสดงตารางสอบและข้อปฏิบัติในการสอบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 20 บทที่ 3 แนวทางการดำเนินการ รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ของศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 มีประเด็นสำคัญในการนำเสนอ ดังต่อไปนี้ 1. กลุ่มเป้าหมาย 2. ขอบเขต และสาระการทดสอบ 3. วิธีการดำเนินการ 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล กลุ่มเป้าหมาย โรงเรียนในสังกัดศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 จำนวน 9 โรงเรียน จำแนกนักเรียนตามระดับ ชั้น โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ตาราง 2 จำนวนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพ การศึกษานาวัง 1 จำนวน 9 โรงเรียน จำแนกนักเรียนตามระดับชั้น ดังนี้ บ้านนากลาง จำนวนนักเรียน บ้านโคกนาเหล่า 26 บ้านภูเขาวง 15 1 เกษตรนาสมหวังสามัคคี 8 บ้านนเนาสมนึก 9 บ้านนโคกกะทอ 14 เทพคีรีพิทยาคม 8 ชุมชนโปร่งวังม่วง 11 9 บ้านหินตั้งบังพระจันทร์ 8
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 21 2. ขอบเขตของแบบทดสอบ (SCOPE OF TEST) 1. สาระการทดสอบ คือ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O NET) เป็นการทดสอบ เพื่อวัด ความรู้และความคิดของนักเรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งในปัจจุบันมีการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน จำนวน 4 รายวิชา ได้แก่ วิชาภาษาไทย วิชาภาษา อังกฤษ วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาวิทยาศาสตร์ 2. เครื่องมือ คือ แบบทดสอบทางการศึกษา โดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยโครงสร้างการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) (TEST BLUEPRINT) มีรายละเอียดจำแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 22
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 23
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 24
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 25
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 26
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 27
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 28
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 29
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 30
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 31
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 32
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 33
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 34
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 35
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 36
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 37
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 38
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 39
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 40
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 41
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 42
รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ปีการศึกษา 2565 : ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานาวัง 1 43
Search