มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศึกษา และการประเมินคุณภาพภายนอก มาตรฐานและตัวบง่ ช้คี ุณภาพการศกึ ษา และการประเมนิ คุณภาพภายนอก 1 ด้านมาตรฐานและตัวบง่ ชี้คุณภาพการศึกษา ความหมายของมาตรฐานการศกึ ษา ความหมายของมาตรฐานการศึกษา (สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 2551 : 1) มาตรฐานการศกึ ษา เป็นขอ้ กาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพทพี่ งึ ประสงค์ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ หลกั ในการ เทยี บเคยี ง สาหรบั ส่งเสรมิ กากบั ดูแล ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และเพือ่ การประกันคณุ ภาพการศกึ ษามาตรฐาน การศกึ ษา มดี ังนี้ 1. มาตรฐานการศึกษาของชาติ 2. มาตรฐานการศกึ ษาของแต่ละระดับการศึกษา 2.1 มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย 2.2 มาตรฐานการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 2.3 มาตรฐานการศกึ ษาพิเศษ 3. มาตรฐานการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตร มาตรฐานการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน เพ่อื นาไปใชพ้ ัฒนาและเตรียมความพรอ้ มในการรับการประเมินจาก บุคคลภายนอก ซง่ึ มีรายละเอียดที่สาคัญดงั น้ี มาตรฐานการศึกษาข้นั พื้นฐาน ของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 2551 : 8 – 14) มาตรฐานท่ี 1 ผเู้ รยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมท่พี ึงประสงค์ (6 ตัวบง่ ช)้ี มวี ินยั มคี วาม รบั ผิดชอบ มาตรฐานที่ 2 ผ้เู รยี นมจี ติ สานกึ ในการอนุรักษแ์ ละพฒั นาสง่ิ แวดล้อม (2 ตวั บง่ ช)้ี มาตรฐานที่ 3 ผู้เรยี นมที กั ษะในการทางาน รกั การทางาน สามารถทางานร่วมกบั ผูอ้ ืน่ ได้ และมเี จตคติ ที่ดีต่ออาชีพสจุ ริต (5 ตวั บง่ ชี้)
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศึกษา และการประเมินคณุ ภาพภายนอก มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ สงั เคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มคี วามคิด 2 สรา้ งสรรค์ คดิ ไตร่ตรองและมวี ิสยั ทัศน์ (4 ตวั บ่งช้)ี มาตรฐานท่ี 5 มคี วามรู้และทกั ษะที่จาเป็นตามหลักสตู ร (5 ตวั บ่งช)ี้ มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมที กั ษะในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง รักการเรียน และพัฒนาตนเองอย่าง ตอ่ เนอ่ื ง (3 ตวั บง่ ช)้ี มาตรฐานท่ี 7 ผูเ้ รยี นมีสุขนสิ ยั สุขภาพกาย และสขุ ภาพจิตท่ีดี (5 ตัวบง่ ช)ี้ มาตรฐานที่ 8 ผ้เู รยี นมีสุนทรียภาพและลักษณะนสิ ยั ด้านศิลปะ ดนตรี และกฬี า (จานวน 3 ตัวบง่ ช้ี) 8.1 ช่นื ชม รว่ มกจิ กรรม และมผี ลงานดา้ นศิลปะ(สมศ.3.1) มาตรฐานท่ี 9 ครมู วี ุฒิ/ความร้คู วามสามารถตรงกบั งานที่รับผดิ ชอบ หม่ันพัฒนาตนเอง เขา้ กับชมุ ชน ไดด้ แี ละมคี รพู อเพยี ง (จานวน 7 ตัวบ่งช)ี้ มาตรฐานที่ 10 ครูมคี วามสามารถในการจดั การเรียนการสอนอยา่ งมีประสิทธภิ าพและเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ(จานวน 7 ตวั บง่ ช)้ี (สมศ.9) มาตรฐานท่ี 11 ผบู้ รหิ ารมีภาวะผู้นา และมีความสามารถในการบริหารจดั การศึกษา (จานวน 4 ตวั บง่ ช)ี้ มาตรฐานท่ี 12 สถานศกึ ษามีการจดั องค์กร โครงสร้าง ระบบการบรหิ ารงานและพฒั นาองคก์ ร อย่างเป็นระบบครบวงจร (จานวน 5 ตัวบง่ ชี)้ มาตรฐานที่ 13 สถานศกึ ษามกี ารบรหิ ารและจดั การศกึ ษาโดยใช้สถานศกึ ษาเปน็ ฐาน (จานวน 5 ตวั บ่งช้)ี มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษามีการจดั หลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ทีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั มาตรฐานท่ี 15 สถานศกึ ษามีการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ภาพผู้เรยี นอย่างหลากหลาย (สมศ.12.3) มาตรฐานที่ 16 สถานศึกษามกี ารจัดสภาพแวดลอ้ มและการบรกิ ารที่สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนพัฒนาตา ธรรมชาตเิ ต็มศกั ยภาพ (สมศ.12.1)
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศึกษา และการประเมินคณุ ภาพภายนอก มาตรฐานที่ 17 สถานศึกษามกี ารสนับสนนุ และใชแ้ หลง่ เรียนรแู้ ละภูมิปัญญาในท้องถิ่น1 3 มาตรฐานที่ 18 สถานศึกษามีการรว่ มมือกันระหวา่ งบา้ น องคก์ รทางศาสนา สถาบันทางวชิ าการ และ องคก์ รภาครัฐและเอกชน เพ่อื พฒั นาวถิ ีการเรียนรใู้ นชุมชน จากการศึกษามาตรฐานทงั้ 18 มาตรฐาน ทาให้ทราบถงึ แนวทางการดาเนนิ งาน ตวั บ่งชี้ ในแตล่ ะดา้ น ทาให้เข้าใจวา่ การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ตอ้ งสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา และมาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานตามทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประกาศกาหนด และตอ้ งครอบคลุมสาระการเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ รวมทงั้ คานงึ ถงึ ศักยภาพของ ผเู้ รียน ชุมชน และทอ้ งถ่นิ ด้วย ความหมายของดัชนบี ่งช้ีคุณภาพ ดชั นบี ่งชี้คณุ ภาพ หมายถงึ ตวั บง่ ชวี้ า่ การดาเนินงานในแตล่ ะองค์ประกอบคณุ ภาพเปน็ ไป ตามเกณฑ์ และมาตรฐานการศึกษาที่กาหนด ประโยชน์ของการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาจะทาให้ทกุ ฝ่ายท่เี ก่ยี วขอ้ งมโี อกาสไดเ้ ข้ามามีสว่ นร่วมในการ จัดการและการพฒั นาการศกึ ษาทกุ ขัน้ ตอนตั้งแต่การกาหนดเป้าหมาย/การวางแผน การทาตามแผน การ ประเมนิ ผลและการนาผลการประเมินมาปรบั ปรงุ การดาเนินงาน นอกจากนีก้ ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษายัง เป็นประโยชนแ์ กผ่ ทู้ ีม่ สี ่วนเกีย่ วข้องดังนี้ 1. ผู้เรียนและผู้ปกครองมีหลักประกันและความม่นั ใจวา่ สถานศกึ ษาจะจัดการศกึ ษาที่มีคุณภาพเปน็ ไป ตามมาตรฐานทก่ี าหนด 2. ครูไดท้ างานอยา่ งมอื อาชีพ ไดท้ างานทเี่ ป็นระบบทด่ี ี มีประสทิ ธิภาพมีความรับผิดชอบท่ีตรวจสอบได้ และเน้นวัฒนธรรมคุณภาพได้พัฒนาตนเองและผเู้ รียนอยา่ งตอ่ เนอ่ื งทาให้เปน็ ท่ยี อมรับของผ้ปู กครองและ ชมุ ชน 3. ผบู้ ริหารได้ใช้ภาวะผนู้ า และความรูค้ วามสามารถในการบรหิ ารงานอยา่ งเป็นระบบและมีความโปร่งใส เพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มคี ุณภาพเป็นที่ยอมรบั และนยิ มชมชอบของผปู้ กครองและชุมชนตลอดจนหนว่ ยงาน ทีเ่ กีย่ วขอ้ งก่อใหเ้ กิดความภาคภมู ใิ จและเปน็ ประโยชนต์ อ่ สงั คม
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศกึ ษา และการประเมินคุณภาพภายนอก 4. หน่วยงานทก่ี ากบั ดแู ลไดส้ ถานศึกษาท่ีมคี ุณภาพและศักยภาพในการพัฒนาตนเอง ซึ่งจะชว่ ยแบ่งเบา 4 ภาระในการกากับดูแลสถานศึกษา และกอ่ ให้เกดิ ความม่ันใจในคุณภาพทางการศึกษาและคุณภาพของ สถานศกึ ษา 5. ผูป้ ระกอบการ ชุมชน สงั คม และประเทศชาตไิ ด้เยาวชนและคนที่ดีมีคุณภาพและศักยภาพทจ่ี ะชว่ ย ทางานพฒั นาองคก์ ร ชมุ ชน สังคมและประเทศชาตติ ่อไปขอให้มีความสขุ กับการแลกเปลี่ยนเรียนรูด้ ้วยความ ปรารถนาดีจากฝ่ายประกนั คุณภาพ มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการศึกษาแหง่ ชาต\"ิ 3 มาตรฐาน 11 ตวั บง่ ชี้ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยทพี่ ึงประสงค์ท้ังในฐานะพลเมอื งและพลโลก คนไทย เปน็ คนเก่ง คนดี และมีความสุข 1.1 กาลังกาย กาลังใจทส่ี มบรู ณ์ 1.2 ความรู้และทักษะท่ีจาเปน็ และเพยี งพอในการดารงชีวิตและการพัฒนาสงั คม 1.3 ทักษะการเรยี นรแู้ ละการปรับตวั 1.4 ทักษะทางสงั คม 1.5 คุณธรรม จิตสาธารณะ และจิตสานกึ ในความเป็นพลเมืองไทย และพลโลก มาตรฐานที่ 2 แนวการจดั การศึกษาจดั การเรยี นรู้ทมี่ ุ่งพัฒนาผเู้ รียนเปน็ สาคญั และการบรหิ าร โดยใชส้ ถานศกึ ษาเปน็ ฐาน 2.1 การจัดหลกั สตู รการเรยี นรแู้ ละสภาพแวดล้อมที่ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นได้ พฒั นาตามธรรมชาติและ เตม็ ตามศกั ยภาพ 2.2 มีการพัฒนาผบู้ ริหาร ครู คณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางการศึกษาอยา่ ง เป็นระบบมคี ุณภาพ 2.3 มีการบรหิ ารจัดการทใ่ี ชส้ ถานศกึ ษาเปน็ ฐาน
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศึกษา และการประเมินคณุ ภาพภายนอก มาตรฐานท่ี 3 แนวการสร้างสังคมแหง่ การเรยี นร/ู้ สงั คมแห่งความรู้ การสร้างวิถีการเรยี นรู้และ 5 แหลง่ การเรยี นรู้ใหเ้ ขม็ แขง็ 3.1 การบรกิ ารวิชาการและสร้างความร่วมมือระหวา่ งสถานศึกษากบั ชมุ ชนใหเ้ ป็นสังคมแห่งการ เรยี นร/ู้ สังคมแห่งความรู้ 3.2 การศึกษาวิจยั สร้างเสรมิ สนับสนุนแหลง่ การเรียนรู้ และกลไกการเรียนรู้ 3.3 การสร้างและการจดั การความรู้ในทกุ ระดบั ทุกมิตขิ องสงั คม มาตรฐานการศึกษาและตวั บง่ ชีค้ ณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวยั มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย( 12 มาตรฐาน 53 ตวั บ่งช้)ี มาตรฐานที่ 1 เดก็ มีพัฒนาการดา้ นรา่ งกาย มี 5ตวั บ่งช้ี มาตรฐานที่ 2 เด็กมพี ฒั นาการด้านอารมณ์และจิตใจ มี 5ตัวบง่ ช้ี มาตรฐานที่ 3 เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นสงั คม มี 5ตวั บ่งชี้ มาตรฐานท่ี 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา มี 5ตวั บง่ ช้ี มาตรฐานท่ี 5 ครูปฏิบตั ิงานตามบทบาทหนา้ ที่อย่างมปีระสทิ ธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล มี 20ตัวบ่งชี้ มาตรฐานท่ี 6 ผ้บู รหิ ารปฏิบัติงานตามบทบาทหนา้ ท่ีอยา่ งมปรี ะสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผล มี 20ตวั บ่งชี้ มาตรฐานท่ี 7 แนวการจัดการศกึ ษา มี 20 ตวั บ่งชี้ มาตรฐานที่ 8 สถานศกึ ษามกี ารประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กาหนดใน กฎกระทรวง มี 5ตัวบง่ ชี้ มาตรฐานที่ 9 สถานศกึ ษามกี ารสรา้ ง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเปน็ สงั คมแหง่ การ เรยี นรู้ มี 5ตัวบ่งช้ี
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศกึ ษา และการประเมินคุณภาพภายนอก มาตรฐานท่ี 10 การพัฒนาสถานศึกษาใหบ้ รรลุเปา้ หมายตามปรัชญาวิสยั ทัศนแ์ ละจุดเน้นของ 6 การศึกษาปฐมวยั “เรยี นรู้ คู่คณุ ธรรม นาชุมชน” มี 5ตัวบ่งช้ี มาตรฐานที่ 11 การพัฒนาสถานศกึ ษาตามนโยบายและแนวทางปฏิรปู การศกึ ษาเพื่อยกระดบั คุณภาพให้สูง มี 5ตวั บง่ ช้ี มาตรฐานท่ี 12 เดก็ ทาสมาธิได้ ไหว้พระก่อนนอน และไหว้สวย มี 5ตัวบง่ ช้ี มาตรฐานการศกึ ษาและตวั บง่ ช้ีคุณภาพการศึกษาการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน( 16 มาตรฐาน 67 ตวั บ่งช)ี้ มาตรฐานท่ี 1 ผู้เรยี นมีสุขภาวะที่ดีและมีสุทรียภาพ มี 5ตวั บง่ ชี้ มาตรฐานท่ี 2 ผ้เู รียนมีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มที่พ่ึงประสงค์ มี 5ตวั บง่ ช้ี มาตรฐานท่ี 3 ผเู้ รียนมที กั ษะในการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพฒั นาตนเอง อยา่ งต่อเนอื่ ง มี 5ตวั บ่งชี้ มาตรฐานที่ 4 ผเู้ รียนมีความสามารถในการคิดอยา่ งเป็นระบบ คิดสรา้ งสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหา ได้อยา่ งมสีตสิ มเหตุผล มี 5ตัวบ่งช้ี มาตรฐานที่ 5 ผ้เู รยี นมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร มี 5ตัวบง่ ช้ี มาตรฐานที่ 6 ผเู้ รียนมที กั ษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานรว่ มกบั ผอู้ ่ืนได้ และ มีเจตคตทิ ่ีดีตอ่ อาชีพสุจรติ มี 5ตัวบง่ ช้ี มาตรฐานที่7 ครปู ฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหน้าทอี่ ยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธิผล มี 10ตวั บ่งชี้ มาตรฐานที่ 8 ผู้บรหิ ารปฏิบัติงานตามบทบาทหนา้ ท่ีอย่างมปรี ะสิทธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผล มี 10ตวั บง่ ชี้
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศกึ ษา และการประเมินคณุ ภาพภายนอก มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการสถานศกึ ษา และผู้ปกครอง ชมุ ชนปฏิบัตงิ านตามบทบาทหน้าท่ี 7 อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ประสทิ ธผิ ล มี 5ตัวบ่งช้ี มาตรฐานที่ 10 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรยี นรู้และกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพ ผเู้ รยี นอย่างรอบดา้ น มี 10ตวั บง่ ช้ี มาตรฐานท่ี 11 สถานศึกษามกี ารจัดสภาพแวดล้อมและการบรกิ ารท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนา เตม็ ศกั ยภาพ มี 10ตวั บง่ ช้ี มาตรฐานที่ 12 สถานศกึ ษามีการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาตามทกี่ าหนดใน กฎกระทรวง มี 5ตัวบ่งช้ี มาตรฐานที่13 สถานศกึ ษามีการสร้าง สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษาเป็นสังคมแหง่ การ เรียนรู้ มี10ตวั บง่ ช้ี มาตรฐานท่ี 14 การพฒั นาสถานศกึ ษาให้บรรลุเป้าหมายวสิ ยั ทัศน์ ปรัชญา และจดุ เน้นที่ กาหนดข้ึน มี 5ตัวบง่ ช้ี มาตรฐานที่ 15 การจัดกจิ กรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏริ ปู การศึกษาเพ่ือพฒั นา มี 5ตวั บ่งช้ี มาตรฐานท่ี 16 ผเู้ รียนทา สมาธิได้จาสูตรคูณ และไหว้สวย มี 5ตัวบ่งชี้ มาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งช้ีคณุ ภาพการศกึ ษาระดับอาชีวศกึ ษา มาตรฐานท่ี 1 ดา้ นผลการจดั การศกึ ษาผู้สาเรจ็ การศกึ ษาเป็นคนดี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามอตั ลกั ษณ์ของสถานศึกษาคุณธรรมมีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาวชิ าชพี ของหลักสูตรแตล่ ะ ระดับและแต่ละสาขาวชิ า สาขางาน เป็นท่ีพงึ พอใจของตลาดแรงงาน และมีสัดสว่ นผูส้ าเรจ็ การศึกษาเทียบกบั ผู้เรียนแรกเข้า ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด จานวน 2 ตัวบ่งช้ี คอื ตัวบง่ ชี้ท่ี 1.1 ระดบั ความพึงพอใจตอ่ คณุ ภาพผสู้ าเร็จการศกึ ษา ตวั บง่ ชี้ที่ 1.2 ร้อยละของผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาเทียบกับจานวนผเู้ ขา้ เรียน มาตรฐานที่ ๒ ด้านบริหารจัดการศกึ ษา
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศกึ ษา และการประเมินคุณภาพภายนอก คุณธรรม ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2.1 ระดับคณุ ภาพในการดาเนินการบริหารจัดการศกึ ษาตามแนวทางสถานศกึ ษา 8 ตัวบ่งชท้ี ี่ 2.2 ระดบั คณุ ภาพในการดาเนนิ การตามนโยบายสาคัญของหน่วยงานต้นสงั กัด ตวั บ่งชี้ที่ 2.3 ระดบั คุณภาพในการบรหิ ารจดั การดา้ นบุคลากร ตัวบ่งชที้ ี่ 2.4 ระดบั คณุ ภาพในการบริหารจดั การด้านการเงนิ ตัวบ่งช้ที ่ี 2.5 ระดบั คุณภาพในการบรหิ ารจดั การด้านอาคารสถานท่ี ด้านครุภัณฑ์และดา้ น ฐานขอ้ มูลสารสนเทศ ตวั บง่ ช้ที ่ี 2.6 ระดบั คณุ ภาพในการประสานงานความรว่ มมือเพ่ือการบริหารจัดการ มาตรฐานที่ 3 ด้านการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานคณุ วฒุ ิอาชวี ศกึ ษาแต่ละระดบั ตามหลักสูตรและ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ ดว้ ยการจดั การศึกษาและการประเมินผลการเรียนของแต่ละหลกั สตู รสง่ เสรมิ สนับสนุน กากบั ดแู ลใหค้ รูจดั การเรียนการสอนรายวชิ าให้ถกู ตอ้ ง ครบถ้วนสมบูรณ์ มกี ารพฒั นารายวชิ าหรือ กาหนดรายวชิ าใหมห่ รือกลุ่มวิชาเพิ่มเติมให้ทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของ ตลาดแรงงาน จานวน 4 ตัวบง่ ช้ี คือ ตัวบ่งช้ีที่ 3.1 ระดบั คุณภาพในการจดั การเรยี นการสอนรายวชิ า ตัวบ่งชท้ี ี่ 3.2 ระดบั คุณภาพในการพัฒนารายวชิ าหรือกลมุ่ วิชา ตวั บง่ ชท้ี ่ี 3.3 ระดบั คุณภาพในการจัดการศึกษา ตวั บ่งชที้ ี่ 3.4 ระดับคุณภาพในการจดั กิจกรรมเสริมหลกั สูตร มาตรฐานท่ี 4 ดา้ นการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาจดั ใหม้ ีระบบการประกันคุณภาพภายใน และดาเนนิ การเพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศึกษา และพฒั นามาตรฐานการศึกษาประกอบด้วยการประเมนิ คุณภาพภายใน การติดตามตรวจสอบคณุ ภาพ การศึกษา และการพฒั นาคุณภาพการศึกษา จานวน 2 ตัวบง่ ชี้ คือ
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศกึ ษา และการประเมินคณุ ภาพภายนอก ตัวบง่ ชี้ท่ี 4.1 ระดับคณุ ภาพในการดาเนนิ การประกนั คณุ ภาพภายใน 9 ตัวบง่ ชี้ที่ 4.2 ร้อยละของตัวบง่ ช้ที ี่มีการพฒั นา มาตรฐานการศึกษาและตัวบง่ ช้ีคุณภาพการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 1 ปรัชญา วสิ ยั ทัศน์ เป้าหมาย วตั ถปุ ระสงค์ กลยุทธ์และแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ตวั บ่งชี้ 1.1 ปรัชญา วสิ ยั ทัศน์ เปา้ หมาย วตั ถปุ ระสงค์ กลยุทธ์ การดาเนนิ งานสอดคลอ้ งกัน ตัวบ่งชี้ 1.2 แผนนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและแผนปฎบิ ัติการประจาปี ตัวบง่ ช้ี 1.3 การกากับตดิ ตามการดาเนินงานเปน็ ไปตามแผนและนาผลไปใช้ในการพฒั นา มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานนอกระบบ ตวั บ่งชี้ 2.1 การพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา ตัวบ่งช้ี 2.2 ส่ือและแหลง่ เรียนรู้ทีส่ อดคล้องกับหลกั สูตรและกิจกรรมการเรยี นรู้ของผู้เรียน ตวั บง่ ชี้ 2.3 การจดั การเรียนรูท้ ่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ตัวบ่งชี้ 2.4 ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีความสามารถในการจัดการเรยี นรู้ ตามหลักการ จัดการศึกษานอกระบบ ตวั บง่ ชี้ 2.5 คณุ ภาพครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตัวบ่งชี้ 2.6 ความรู้ความสามารถของผ้สู าเร็จการศึกษานอกระบบ มาตรฐานท่ี 3 การพัฒนาหลักสตู รและโปรแกรมการเรียนรเู้ พอ่ื การพฒั นาอาชีพ ทกั ษะชีวิตและ พัฒนาสงั คมและชมุ ชน ตวั บง่ ช้ี 3.1 การพัฒนาหลักสูตรท่สี อดคลอ้ งกับสภาพปญั หาและความตอ้ งการของทอ้ งถน่ิ ตัวบง่ ช้ี 3.2 สอ่ื และการเรียนร้สู อดคลอ้ งกับหลักสูตรและกิจกรรมการเรยี นรู้ ตวั บง่ ช้ี 3.3 ครแู ละผู้สอนมีคณุ ลักษณะที่เหมาะสม ตัวบง่ ชี้ 3.4 คณุ ภาพของผู้เรียน ผรู้ ับบรกิ าร
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศึกษา และการประเมินคุณภาพภายนอก มาตรฐานที่ 4 การจดั การศึกษาตามอัธยาศยั 10 ตัวบง่ ชี้ 4.1 คุณภาพของการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานที่ 5 การบรหิ ารจดั การ ตวั บง่ ช้ี 5.1 คุณภาพของการพัฒนาบุคลากร ตวั บง่ ช้ี 5.2 การจัดระบบขอ้ มลู เพ่อื การบรหิ ารจดั การ ตวั บ่งชี้ 5.3 ผบู้ รหิ ารมีสมรรถนะในการบริหารองค์กร ตวั บ่งช้ี 5.4 คุณภาพของการบริหารจดั การ ตัวบง่ ช้ี 5.5 มรี ะบบประกนั คุณภาพภายใน มาตรฐานท่ี 6 การทางานร่วมกับภาคีเครือข่าย ตวั บ่งช้ี 6.1 การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย ตัวบง่ ช้ี 6.2 การสนับสนนุ ใหภ้ าคีเครอื ขา่ ยจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานการศกึ ษาและตัวบง่ ช้ีคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา วธิ ีการประกนั คุณภาพภายใน 1. สถาบนั วางแผนการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในประจาปี การศกึ ษาใหม่ 2. สถาบนั เกบ็ ข้อมลู ระยะ 12 เดือน ตามตวั บง่ ช้ีท่ีไดป้ ระกาศใช้บนระบบ CHE QA Online และใหม้ กี ารประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในเปน็ ประจาทุกปี ทงั้ ระดับหลกั สูตร คณะวชิ า และสถาบนั 3. หลกั สูตรเตรยี มการประเมินตนเองระดับหลักสตู รและจดั ทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตรผ่านระบบ CHE QA Online
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศกึ ษา และการประเมินคุณภาพภายนอก 4. คณะหรือหน่วยงานเทียบเท่านาผลการประเมนิ ระดับหลักสตู รมาจดั ทารายงานการ 11 ประเมินตนเอง (SAR) ระดับคณะ 5. คณะหรอื หน่วยงานเทียบเทา่ ประเมนิ ตนเองบนระบบ CHE QA Online และยืนยนั ผลการ ประเมินหลักสูตรท่ีไดป้ ระเมนิ ไปแลว้ 6. สถาบนั นาผลการประเมินระดบั หลักสูตร ผลการประเมินระดับคณะวิชา มาจัดทา รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ระดบั สถาบนั 7. สถาบนั ประเมนิ ตนเองบนระบบ CHE QA Online และและยนื ยนั ผลการประเมินตนเอง ระดับหลกั สูตร คณะวิชา พร้อมท้ังนาผลการประเมนิ เสนอสภาสถาบนั เพื่อพจิ ารณา วางแผนพฒั นาสถาบนั ในปี การศกึ ษาถดั ไป 8. ผู้บรหิ ารสถาบันอุดมศึกษานาผลการประเมินและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ประเมนิ คณุ ภาพภายในท่สี ถาบนั แตง่ ตัง้ (รวมทง้ั ข้อเสนอของสภาสถาบนั ) มาวางแผน ปรับปรุงการดาเนินงาน แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี และแผนกลยทุ ธ์ 9. สง่ รายงานประจาปี ท่ีเป็นรายงานการประเมนิ คุณภาพภายในผ่านระบบ CHE QA Online ภายใน 120 วัน นับจากวันส้ินปี การศกึ ษา กรอบการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในระดับหลกั สูตร 1. การกากบั มาตรฐาน ตัวบง่ ช้คี อื 1.1 การบรหิ ารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กาหนดโดย สกอ. (เกณฑ์ 12 ขอ้ ) 2. บณั ฑติ ตัวบ่งชคี้ อื 2.1คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ 2.2 การไดง้ านทาหรอื ผลงานวจิ ัยของผูส้ าเร็จการศกึ ษา
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศกึ ษา และการประเมินคุณภาพภายนอก 3. นักศกึ ษา ตวั บง่ ชคี้ อื 12 3.1 การรับนกั ศึกษา 3.2 การสง่ เสริมและพัฒนานักศกึ ษา 3.3 ผลที่เกดิ กับนกั ศกึ ษา 4. อาจารย์ ตัวบง่ ชี้คือ 4.1 การบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.3 ผลท่ีเกดิ กับอาจารย์ 5. หลกั สูตร การเรียนการสอน การประเมินผ้เู รยี น ตัวบ่งช้ีคือ 5.1 สาระของรายวิชาในหลกั สตู ร 5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรยี นการสอน 5.3 การประเมินผู้เรยี น 5.4 ผลการดาเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศกึ ษา 6. สงิ่ สนบั สนุนการเรียนรู้ ตวั บ่งชค้ี ือ 6.1 สิง่ สนบั สนุนการเรียนรู้
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศกึ ษา และการประเมินคณุ ภาพภายนอก ด้านการประเมินคณุ ภาพภายนอก 13 ความหมายและความสาคัญของการประกนั คณุ ภาพภายนอก การประเมินคุณภาพภายนอก คือ การประเมนิ คณุ ภาพการจัดการศกึ ษา การติดตาม การตรวจสอบ คุณภาพและ มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา โดยผปู้ ระเมินภายนอกท่ีได้รบั การรบั รองจากสานักงาน รับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศกึ ษา โดยผู้ประเมนิ ภายนอกท่ีไดร้ บั การรบั รองจากสานกั งาน รบั รองมาตรฐานและ ประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา(องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เพ่อื มงุ่ ใหม้ คี ุณภาพดียิ่งขึน้ ผู้ ประเมนิ ภายนอกมีความเปน็ อสิ ระ และเป็นกลาง ไมม่ ผี ลประโยชน์ขัดแย้งกันการประเมินคุณภาพภายนอกจะ นาไปส่กู ารเขา้ ถงึ คณุ ภาพการศึกษาด้วยความเป็นกลาง เพ่ือสรา้ งสรรค์พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา อย่างแท้จรงิ ความสาคญั ของการประเมินคุณภาพภายนอก การประเมินคุณภาพภายนอก มคี วามสาคัญและมีความหมายต่อสถานศึกษาหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้อง และสาธารณชน ดงั ต่อไปน้ี 1. เปน็ การส่งเสรมิ ให้สถานศึกษาพฒั นาเขา้ สู่เกณฑม์ าตรฐานและพัฒนาตนเองให้เต็มตามศกั ยภาพ อย่างต่อเน่อื ง 2. เพิ่มความมน่ั ใจและค้มุ ครองประโยชน์ใหผ้ ูร้ บั บริการทางการศึกษาว่าสถานศึกษาไดจ้ ดั การศึกษามงุ่ สู่ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาทีเ่ นน้ ให้ผู้เรียนเปน็ คนดี มีความสามารถ และมีความสุขเพอื่ เปน็ สมาชกิ ที่ดี ของสังคม 3. สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทก่ี ากับดแู ล เช่น คณะกรรมการสถานศึกษา หนว่ ยงานต้นสงั กดั สานักงาน เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา รวมท้ังหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งและชมุ ชนทอ้ งถ่นิ มขี ้อมลู ทีจ่ ะช่วยตัดสนิ ใจในการ วางแผนและดาเนินการเพือ่ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาให้เปน็ ไปในทิศทางทีต่ ้องการและ บรรลุ เป้าหมายตามท่กี าหนด 4. หน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้องในระดับนโยบายมขี ้อมูลสาคญั ในภาพรวมเกีย่ วกบั คณุ ภาพและมาตรฐานของ สถานศกึ ษาทุกระดบั ทุกสงั กัด เพื่อใชเ้ ปน็ แนวทางในการกาหนดแนวนโยบายทางการศกึ ษาและการ จดั สรร งบประมาณเพอื่ การศึกษาอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศึกษา และการประเมินคณุ ภาพภายนอก หลกั การประเมินคุณภาพภายนอก 14 การประเมินภายนอกของ สมศ. เปน็ การประเมินโดยใชร้ ูปแบบ “ กัลยาณมิตรประเมิน” โดยมี วัตถปุ ระสงค์เพอื่ 1. เพื่อตรวจสอบ ยนื ยันสภาพจริงในการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา ตาม มาตรฐานการศึกษาที่กาหนด 2. เพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อมลู ซง่ึ ช่วยสะทอ้ นใหเ้ หน็ จุดเดน่ -จดุ ดอ้ ยของสถานศึกษา เงื่อนไขของความสาเร็จ และ สาเหตุของปัญหา 3. เพือ่ ชว่ ยเสนอแนะแนวทางปรบั ปรงุ และพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาแก่สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานต้น สงั กดั 4. เพือ่ สง่ เสริมใหส้ ถานศึกษามีการพฒั นาคุณภาพและประกนั คุณภาพภายในอย่างต่อเนือ่ ง 5. เพอื่ รายงานผลการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาตอ่ หน่วยงานที่ เกีย่ วข้องและสาธารณชน วัตถุประสงคข์ องการประเมินคุณภาพภายนอก วัตถุประสงค์ของการประเมินคณุ ภาพภายนอก มีดงั ต่อไปน(้ี สานักงานรับรอง- มาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน), 2550) 1. เพอ่ื ตรวจสอบ ยืนยนั สภาพจริงในการดาเนนิ งานของสถานศึกษา และ ประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานการศกึ ษาทีก่ าหนด 2. เพื่อให้ได้ข้อมลู ซึ่งจะช่วยสะทอ้ นให้เห็นจุลเดน่ จดุ ท่คี วรพฒั นาของ สถานศกึ ษา สาเหตุของปัญหา และเงือ่ นไขของความสาเรจ็ 3. เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางปรับปรุง และพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาแก่ สถานศึกษา และหนว่ ยงาน ต้นสังกัด 4. เพ่ือส่งเสรมิ ให้สถานศกึ ษามีการพัฒนาคณุ ภาพ และประกันคณุ ภาพภายใน อยา่ งต่อเน่อื ง
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศึกษา และการประเมินคุณภาพภายนอก 5. เพอ่ื รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ต่อหน่วยงาน 15 เก่ียวขอ้ งและสาธารณชนหลกั การของการประเมินคณุ ภาพภายนอก ขัน้ ตอนของการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก 1.สถานศึกษาประเมินตนเอง (Self-Assessment) แลว้ จัดสง่ รายงานการประเมินตนเองใหห้ น่วยงาน ต้นสังกดั วิเคราะห์ SAR ส่งให้ สมศ. ตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่กาหนด 2.สมศ. วิเคราะหข์ อ้ มูลพนื้ ฐานของสถานศึกษา (Pre-Analysis) จากฐานข้อมลู ของหนว่ ยงานต้นสังกดั 3.คณะผ้ปู ระเมนิ พจิ ารณาผลการดาเนินงานของสถานศกึ ษาพร้อมกบั วเิ คราะหข์ ้อมลู พ้นื ฐาน (Pre- Assessment) เพอ่ื วางแผนการลงพน้ื ท่ตี รวจเย่ียม โดยกาหนดไว้ 3 รูปแบบ คือ – Non-visit (ไม่มกี ารลงพน้ื ท)ี่ – Partial-visit (ลงพ้ืนท่ี 1-2 วนั ) – Full-visit (ลงพืน้ ที่ 3 วนั ) 4.คณะผปู้ ระเมนิ ภายนอกลงพืน้ ทต่ี รวจเยยี่ ม (Site Visit) เพอ่ื ประชุมเสวนาสร้างสรรค์รว่ มกบั ผมู้ สี ว่ น ไดส้ ่วนเสีย และเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพกับบุคลากร หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์และหนว่ ยงาน/บุคคลที่มีส่วน เก่ียวขอ้ งเพิ่มเตมิ รวมท้งั ทารายงานผลประเมินด้วยวาจา 5.คณะผูป้ ระเมนิ ภายนอกจดั ทารายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก (EQA Report) พรอ้ ม ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรับปรงุ พัฒนาคุณภาพการศึกษา แล้วจดั สง่ ให้ สมศ. เพ่อื พจิ ารณาใหก้ ารรบั รองผลการ ประเมิน จากนัน้ สมศ. จะจดั สง่ ให้กบั สถานศึกษาและหน่วยงานตน้ สงั กดั หรอื หนว่ ยงานทก่ี ากบั ดแู ล ความสมั พนั ธร์ ะหว่างการประกนั คุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายใน เป็นการตรวจสอบ การควบคุม การตดิ ตาม ประเมินผลคุณภาพและ มาตรฐานการศกึ ษาของสถาบันการศกึ ษาจากภายในโดยบคุ ลากรของสถาบันการศกึ ษานนั้ เอง หรือโดย หนว่ ยงาน ต้นสังกัดท่ีมีหนา้ ทกี่ ากบั ดแู ลสถาบนั การศกึ ษาน้ัน ผลจากการตรวจสอบคุณภาพภายใน คอื มีการ วางระบบงานทีม่ ีระบบและกลไกชดั เจนมกี ารดาเนินงานรวมทงั้ มีการพฒั นาฐานข้อมูลในด้านต่างๆสว่ นการ ประกันคุณภาพภายนอกเป็นการประเมินคุณภาพการจัดการศกึ ษา การตดิ ตามการตรวจสอบคณุ ภาพและ
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศกึ ษา และการประเมินคณุ ภาพภายนอก มาตรฐานการศึกษาของสถาบันการศกึ ษาซ่ึงกระทาโดยสานักงานภายนอกหรือผปู้ ระเมินภายนอกเพ่ือมุ่งใหม้ ี 16 การพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานของสถาบนั การศึกษาให้ดียิง่ ขึน้ การประเมินคณุ ภาพภายใน จะเนน้ การตรวจสอบและการประเมนิ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาด้านต่างๆ ของปัจจัยนาเข้า (Input) และกระบวนการ (Process) สว่ นการประกนั คณุ ภาพภายนอกจะเน้นการประเมิน คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในด้านต่างๆ ของผลผลิต (Output) และผลลพั ธ์ (Outcome) ดังนน้ั การ ประกันคณุ ภาพภายในย่อมส่งผลถงึ การประกนั คุณภาพภายนอกโดยตรง การประเมนิ คุณภาพภายนอก จะใช้ตวั บ่งช้ตี ามมาตรฐานต่างๆ ในการประเมนิ ผลการดาเนินงานของ สถาบนั การศกึ ษารวมทั้งการตรวจเย่ียมสถาบัน ซ่ึงในการประเมนิ ตอ้ งคานงึ ถึงปรชั ญา พนั ธกิจ และลักษณะ การเรยี นการสอนของแตล่ ะสถาบนั การศึกษา โดยสถาบันการศกึ ษาจะต้องมกี ารจัดทารายงานประจาปี เตรยี ม เอกสาร ขอ้ มูลในดา้ นต่างๆ รวมถงึ ข้อมูลตามตวั บ่งชี้ และรายงานการประเมนิ ตนเองอย่างนอ้ ย ๓ ปีการศึกษา โดยสามารถจดั ทาในรปู แบบ CD – ROM หรือ E – SAR (Electronic SelfAssessment Report) เพอ่ื พรอ้ ม รบั การประเมินภายนอกจากสานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษาหรอื สมศ. ต่อไป กล่าวไดว้ า่ การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาทัง้ ภายในและภายนอกจะมีความเกย่ี วขอ้ งคือการประกนั คณุ ภาพ ภายในยอ่ มส่งผลถงึ การประกันคณุ ภาพภายนอกโดยตรง
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศกึ ษา และการประเมินคุณภาพภายนอก ข้อสอบ 17 1. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ความหมายของมาตรฐานการศกึ ษา ก. มาตรฐานการศึกษา เป็นข้อกาหนดเกยี่ วกับคุณลกั ษณะ คณุ ภาพท่พี ึงประสงค์ ข. หลักในการเทยี บเคยี ง สาหรับสง่ เสรมิ กากบั ดูแล ตรวจสอบ ประเมินผล และเพือ่ การประกันคณุ ภาพ การศึกษามาตรฐานการศึกษา ค. การจดั การศึกษา การตดิ ตาม การตรวจสอบคณุ ภาพและ มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ง. ไม่มีข้อใดถูก 2. ขอ้ ใดคือความหมายของดชั นบี ง่ ชคี้ ุณภาพ ก. ตวั บง่ ชว้ี ่าการดาเนนิ งานในแต่ละองค์ประกอบคณุ ภาพเปน็ ไป ตามเกณฑ์ และมาตรฐานการศกึ ษาท่ี กาหนด ข. ตวั บง่ ช้คี อื มาตรฐานการศกึ ษา เป็นขอ้ กาหนดเก่ยี วกบั คุณลักษณะ คณุ ภาพท่ีพึงประสงค์ ค. การจดั การศกึ ษา การติดตาม การตรวจสอบคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ง. ถกู ทุกข้อ 3. “ระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาจะทาให้ทกุ ฝ่ายทเี่ กย่ี วขอ้ งมีโอกาสได้เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการ จดั การและการพฒั นาการศึกษาทุกขนั้ ตอนตงั้ แตก่ ารกาหนดเป้าหมาย/การวางแผน การทาตามแผน การ ประเมินผลและการนาผลการประเมินมาปรับปรงุ การดาเนินงาน นอกจากนี้การประกันคุณภาพการศกึ ษา ยังเปน็ ประโยชน์แก่ผทู้ ่มี สี ่วนเกี่ยวขอ้ ง” ขอ้ ความดงั กลา่ วคอื ความหมายของขอ้ ใดต่อไปน้ี ก. ความหมายของมาตรฐานการศกึ ษา ข. ความหมายของดชั นบี ่งชี้คณุ ภาพ ค. มาตรฐานการศึกษาและตวั บ่งชี้คณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวยั ง. ประโยชน์ของการประกนั คณุ ภาพการศึกษา
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศกึ ษา และการประเมินคณุ ภาพภายนอก 4. ข้อใดคอื มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ 18 ก. มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยทพ่ี งึ ประสงคท์ ้ังในฐานะพลเมอื งและพลโลก คนไทยเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสขุ ข. มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศกึ ษาจัดการเรียนรทู้ มี่ งุ่ พัฒนาผ้เู รียนเป็นสาคัญและการบรหิ ารโดยใช้ สถานศึกษาเปน็ ฐาน ค. มาตรฐานท่ี 3 แนวการสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้/สงั คมแห่งความรู้ การสร้างวิถีการเรยี นรู้และแหล่งการ เรยี นรู้ให้เขม็ แข็ง ง. ถกู ทกุ ขอ้ 5. “มาตรฐานที่ 1 เด็กมีพฒั นาการด้านร่างกาย มาตรฐานที่ 2 เด็กมพี ัฒนาการดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจ มาตรฐานท่ี 3 เด็กมพี ฒั นาการดา้ นสังคม” ทง้ั 3มาตรฐานเปน็ มาตรรฐานของการศึกษาระดับใด ก. มาตรฐานการศกึ ษาและตัวบ่งชคี้ ณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวัย ข. มาตรฐานการศกึ ษาและตัวบง่ ช้ีคณุ ภาพการศึกษาการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ค. มาตรฐานการศกึ ษาและตัวบง่ ชคี้ ณุ ภาพการศึกษาระดับอดุ มศึกษา ง. มาตรฐานการศึกษาและตวั บง่ ชี้คณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 6. ขอ้ ใดคือมาตรฐานการศกึ ษาและตัวบ่งชค้ี ณุ ภาพการศกึ ษาการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ก. มาตรฐานท่ี 4 ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการคิดอยา่ งเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตดั สนิ ใจ แก้ปัญหา ไดอ้ ยา่ งม สีตสิ มเหตุผล มี 5ตัวบ่งช้ี ข. มาตรฐานท่ี 5 ผเู้ รียนมีความรู้และทักษะที่จาเปน็ ตามหลักสูตร มี 5ตวั บง่ ชี้ ค. มาตรฐานที่ 6 ผูเ้ รียนมีทกั ษะในการทางาน รกั การทางาน สามารถทางานร่วมกบั ผูอ้ น่ื ได้ และมเี จตคติทด่ี ี ตอ่ อาชพี สุจริต มี 5ตวั บ่งช้ี ง. ถูกทุกขอ้
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศึกษา และการประเมินคณุ ภาพภายนอก 7. “มาตรฐานที่ 1 ด้านผลการจัดการศึกษาผูส้ าเรจ็ การศึกษาเปน็ คนดี มีคุณธรรม จรยิ ธรรมตามอัตลักษณ์ 19 ของสถานศกึ ษาคุณธรรมมีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาวชิ าชพี ของหลักสตู รแต่ละระดบั และแต่ละสาขาวชิ า สาขางาน เปน็ ท่พี ึงพอใจของตลาดแรงงาน และมสี ดั ส่วนผูส้ าเรจ็ การศึกษาเทยี บกบั ผเู้ รียนแรกเข้า ตามเกณฑ์ทก่ี าหนด จานวน 2 ตัวบง่ ช้ี” ขอ้ ความดังกลา่ วคอื ความหมายของขอ้ ใดตอ่ ไปนี้ ก. มาตรฐานการศึกษาและตัวบง่ ช้ีคุณภาพการศึกษาระดบั อาชวี ศกึ ษา ข. มาตรฐานการศกึ ษาและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศึกษาระดับอดุ มศึกษา ค. มาตรฐานการศึกษาและตัวบง่ ชี้คุณภาพการศกึ ษาปฐมวยั ง. มาตรฐานการศึกษาและตวั บ่งชี้คุณภาพการศกึ ษาการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน 8. “ มาตรฐานท่ี 1 ปรชั ญา วสิ ยั ทัศน์ เปา้ หมาย วตั ถปุ ระสงค์ กลยุทธ์และแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา” ขอ้ ความดงั กล่าวคอื ความหมายของข้อใดต่อไปน้ี ก. มาตรฐานการศึกษาและตวั บง่ ชี้คุณภาพการศกึ ษาระดับอาชวี ศึกษา ข. มาตรฐานการศึกษาและตัวบง่ ชี้คุณภาพการศกึ ษาระดบั อุดมศึกษา ค. มาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ง. มาตรฐานการศกึ ษาและตวั บง่ ช้คี ุณภาพการศกึ ษาการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 9. ข้อใดไมไ่ ดอ้ ยูใ่ นมาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาระดบั อุดมศกึ ษา ก. การจดั การศกึ ษา การตดิ ตาม การตรวจสอบคุณภาพและ มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ข. มาตรฐานการศึกษา เป็นข้อกาหนดเกี่ยวกบั คุณลักษณะ คณุ ภาพทพ่ี ึงประสงค์ ค. หลกั ในการเทียบเคียง สาหรบั สง่ เสรมิ กากบั ดูแล ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และเพอื่ การประกันคุณภาพ การศกึ ษามาตรฐานการศึกษา ง. ไม่มีข้อใดถกู
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศึกษา และการประเมินคณุ ภาพภายนอก 10. ขอ้ ใดคือความหมายและความสาคญั ของการประกันคุณภาพภายนอก 20 ก. การประเมินคณุ ภาพการจดั การศึกษา การติดตาม การตรวจสอบคณุ ภาพและ มาตรฐานการศกึ ษาของ สถานศกึ ษา โดยผู้ประเมินภายนอกท่ีไดร้ บั การรบั รองจากสานักงานรบั รองมาตรฐาน และประเมนิ คณุ ภาพ การศึกษา ข. ผู้ประเมินภายนอกทไ่ี ด้รบั การรับรองจากสานกั งานรับรองมาตรฐานและ ประเมนิ คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เพื่อมุ่งใหม้ ีคุณภาพดียิ่งขึ้น ค. ผู้ประเมนิ ภายนอกมีความเป็นอสิ ระ และเปน็ กลาง ไม่มีผลประโยชน์ขดั แย้งกนั การประเมินคุณภาพ ภายนอกจะ นาไปสู่การเข้าถงึ คณุ ภาพการศกึ ษาด้วยความเปน็ กลาง เพื่อสรา้ งสรรค์พัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศกึ ษา อย่างแท้จริง ง. ถกู ทุกขอ้
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศึกษา และการประเมินคณุ ภาพภายนอก การอา้ งอิง 21 ดา้ นมาตรฐานและตัวบง่ ชี้คณุ ภาพการศึกษา https://buangam.wordpress.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3 %E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0% B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2/ ความหมายของดชั นบี ่งช้ีคุณภาพ https://www.eg.mahidol.ac.th/qa/index.php?option=com_content&view=article&id=70&I temid=102#:~:text=%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B5 %E0%B8%9A%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0 %B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%20%E0% B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2,%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8% 95%E0%B8%A3%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E 0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8 %97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99 %E0%B8%94&text=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B 1%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0 %B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%20%E0%B8%AB%E0 %B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%96%E0%B8%B6%E0%B8%87,%E0%B9 %81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3 %E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%20% E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%87%E0%B 8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%94
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศกึ ษา และการประเมินคุณภาพภายนอก ประโยชน์ของการประกันคุณภาพการศกึ ษา 22 http://qa.pn.psu.ac.th/news2.html มาตรฐานการศึกษาของชาติ https://www.facebook.com/kruoffza/posts/379307902155606/ มาตรฐานการศึกษาและตวั บ่งช้ีคณุ ภาพการศึกษาปฐมวยั https://www.lto.ac.th/uploads/20151119102313XfIh1jh/contents/file_20151124140127.p df มาตรฐานการศึกษาและตวั บง่ ช้คี ุณภาพการศึกษาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน https://www.lto.ac.th/uploads/20151119102313XfIh1jh/contents/file_20151124140127.p df มาตรฐานการศึกษาและตวั บ่งชี้คุณภาพการศึกษาระดับอาชวี ศกึ ษา http://www.cmcat.ac.th/main/images/FilePDF/SAR/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8 %95%E0%B8%A3%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2 %E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0 %B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B259.pdf มาตรฐานการศกึ ษาและตัวบง่ ชค้ี ุณภาพการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศกึ ษา และการประเมินคุณภาพภายนอก https://npnfe.wordpress.com/2009/06/01/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0 23 %B8%A3%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99- %E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B9%88%E0%B8%87%E0 %B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%89- %E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0/ มาตรฐานการศกึ ษาและตัวบ่งช้คี ุณภาพการศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษา https://www.spu.ac.th/uploads/contents/2018042392526.pdf ความสาคญั ของการประเมินคณุ ภาพภายนอก https://sites.google.com/site/jatupatschool/ed461-kar-brihar-kar-suksa/kar-prakan- khunphaph-kar-suksa หลกั การประเมนิ คุณภาพภายนอก https://sites.google.com/site/jatupatschool/ed461-kar-brihar-kar-suksa/kar-prakan- khunphaph-kar-suksa วัตถุประสงค์ของการประเมนิ คุณภาพภายนอก https://bunjirabunmas.wordpress.com/2014/02/11/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8 %A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B4 %E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0% B8%9E%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%8 1/
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศกึ ษา และการประเมินคณุ ภาพภายนอก 24 ขน้ั ตอนของการประเมนิ คุณภาพภายนอก https://www.kruupdate.com/23960/ ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก https://www.eqa.rmutt.ac.th/?page_id=877
มาตรฐานและตวั บ่งช้ีคุณภาพการศึกษา และการประเมินคณุ ภาพภายนอก 25
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: