การบญั ชีภาษีอากร หน่วยที่ 1 กฎหมายท่เี กยี่ วข้องกบั การจดั ทา บัญชีและประมวลรัษฎากร ครูประจาวชิ า ครูวาสนา คงพกุ า
คาอธิบายรายวชิ า) การภาษีอากร ศึกษาถึงความแตกต่างระหวา่ งหลกั เกณฑ์ การคานวณกาไร สุทธิทางบญั ชี ตามหลกั การบญั ชีที่รับรองทว่ั ไปกบั กาไรสุทธิ เพือ่ เสีย ภาษีตามประมวลรัษฎากร และศึกษาหลกั การบนั ทึกบญั ชีของบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ภาษี ปะเภทต่างๆตาม ประมวลรัษฎากร
บทที่ 1 กฎหมายทเี่ กย่ี วข้องกบั การจดั ทาบัญชีและประมวลรัษฎากร - ความหมาย และวตั ถุประสงคข์ องการบญั ชีภาษีอากร - ขอบเขตของวชิ าการบญั ชีภาษีอากร - การจดั ทาบญั ชีตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการบญั ชี - หลกั เกณฑก์ ารรับรู้รายการและการคานวณกาไรทางบญั ชี - การคานวณกาไรเพือ่ เสียภาษี
การบญั ชีภาษอี ากร หมายถึง การจดั ทาบญั ชีของธุรกิจ รวมท้งั การจดั ทาบญั ชีพเิ ศษและรายงานภาษีต่างๆตามที่กฎหมาย กาหนด วตั ถุประสงค์ของการบญั ชีภาษีอากร เพือ่ ใหไ้ ดข้ อ้ มูลท่ีตอ้ งใชใ้ นการคานวณภาษสรพากร และภาษี อากรประเภทอ่ืนที่ธุรกิจมีหนา้ ท่ีเสียภาษี รวมท้งั ภาษีที่ตอ้ งหกั ณ ท่ีจ่าย และนาส่งภาษีไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งครบถว้ น ตามเวลาที่ กฎหมายกาหนด
ขอบเขตของวชิ าการบญั ชีภาษีอากร เป็นการจดั ทาบญั ชีที่จะใหข้ อ้ มูลเพ่ือการเสียภาษี และนาส่ง ภาษีสรรพากร ซ่ึงแก่ ภาษีเงินได้ ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่าย ภาษีมลู ค่าเพ่ิม และภาษีธุรกิจเฉพาะ โดยกิจการตอ้ งยนื่ แบบ แสดงรายการภาษีพร้อมท้งั ชาระค่าภาษี และยนื่ แบบเพอ่ื นาส่ง ภาษีหกั ณ ท่ีจ่าย ภายในเวลาที่กาหนด
การจดั ทาบญั ชีตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการบญั ชี พระราชบญั ญตั ิการบญั ชี (พ.ศ.2543) เป็นกฎหมายวา่ ดว้ ยการ บญั ชีท่ีมีผลบงั คบั ใชใ้ นปัจจุบนั มีบทบญั ญตั ิใหธ้ ุรกิจมีการจดั ทา บญั ชีท่ีใหข้ อ้ มลู ในงบการเงินเช่ือถือได้ โดย กาหนดผรู้ ับผดิ ชอบ ในการจดั ทาบญั ชีของธุรกิจ แนวปฏิบตั ิในการจดั ทาบญั ชี และ หน่วยงานท่ีมีหนา้ ท่ีในการกากบั ดูแลการจดั ทาบญั ชีของธุรกิจ พร้อมท้งั บทลงโทษ
หลกั เกณฑก์ ารรับรู้รายการและการคานวณกาไรทางบญั ชี หลกั เกณฑก์ ารรับรู้รายการและการคานวณกาไรทางบญั ชี ที่ตอ้ ง นาไปปรับปรุงใหเ้ ป็นไปตามเง่ือนไขการคานวณกาไรเพื่อเสีย ภาษีตามกฎหมาย สรุปสาระสาคญั ไดด้ งั น้ี
แม่บทการบัญชี เป็นแนวคิดเก่ียวกบั การจดั ทาและนาเสนองบ การเงิน วตั ถุประสงคง์ บการเงิน ขอ้ สมมติในการจดั ทางบการเงิน ลกั ษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน องคป์ ระกอบและการรับรู้ องคป์ ระกอบของงบการเงิน การวดั มลู คา่ องคป์ ระกอบของงบ การเงิน รวมท้งั แนวคิดเกี่ยวกบั ทุนและการรักษาระดบั ตน้ ทุน การรับรู้รายการ เป็นองคป์ ระกอบของงบการเงินแม่บทการ บญั ชีกาหนดใหม้ ีการรับรู้รายการ องคป์ ระกอบของงบการเงิน โดยใหค้ วามหมาย และเงื่อนไขของการรับรู้รายการไว้ ดงั น้ี
การรับรู้รายการ หมายถึง การรวมรายการเขา้ เป็นส่วนหน่ึงของ งบดุลหรืองบกาไรขาดทุน หากรายการน้นั เป็นไปตามคานิยาม ขององคป์ ระกอบ และเขา้ เง่ือนไข ท้งั 2 ขอ้ 1. เม่ือมีความเป็นไดท้ ่ีค่อนขา้ งแน่ท่ีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจใน อนาคตของรายการจะเขา้ กิจการหรือออกกิจการ 2. รายการดงั กล่าวมีราคาทุนหรือมลู คา่ ที่สามารถวดั ไดอ้ ยา่ ง น่าเชื่อถือ
การคานวณกาไรเพอื่ เสียภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล การคานวณกาไรสุทธิเพ่ือเสียภาษี ซ่ึงสรุปหลกั เกณฑ์ และ เงื่อนไขการคานวณกาไรสุทธิเพ่ือเสียภาษี หรือกาไร(ขาดทุน) ทางภาษี ดงั น้ี
1. เกณฑท์ ี่ใชใ้ นการคานวณกาไรเพอื่ เสียภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล ระบุใหเ้ งินไดท้ ่ีตอ้ งเสียภาษี คือ กาไรสุทธิที่คานวณจากรายได้ ของกิจการในรอบระยะเวลาบญั ชี หกั ดว้ ยรายจ่ายตามเง่ือนไขที่ ระบุไว้ สรุปไดว้ า่ การคานวณกาไรสุทธิเพอื่ เสียภาษี ใชเ้ กณฑค์ ง คา้ งตามหลกั การบญั ชีที่รายไดแ้ ละค่าใชจ้ ่ายของงวดบญั ชีน้นั
2. การผ่อนปรนการใช้เกณฑ์สิทธิ สาหรับรายไดข้ องธุรกิจบางประเภทที่การคานวณตามเกณฑ์ สิทธิน้นั อาจแสดงรายไดท้ ่ีไม่สอดคลอ้ งกบั ความเป็นจริง จึงไดม้ ี การผอ่ นปรนการใชส้ ิทธิสาหรับการคานวณรายไดข้ องกิจการ บางประเภท
3. เงื่อนไขเกี่ยวกบั รายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ ่าย เง่ือนไขที่เกี่ยวกบั รายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ ่ายของกิจการที่มีท้งั เหมือน และต่างไปจากหลกั เกณฑท์ างบญั ชี เพือ่ ใหเ้ กิดความเป็นธรรม ในการจดั เกบ็ ภาษี ไดแ้ ก่ - มาตรา 65 ทวิ - มาตรา 65 ตรี - มาตรา 70 ตรี
ภาระหนา้ ที่ของผมู้ ีหนา้ ที่เสียภาษี บุคคลธรรมดา และนิติบุคคลที่มีเงินไดม้ ีหนา้ ท่ีในการยน่ื แบบแสดงรายการภาษีเงินไดต้ ามเวลาท่ีกาหนด ดงั น้ี 1. บุคคลธรรมดา 1.1 ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาประจาปี ภาษี ในกรณีผมู้ ีเงินได้ ตามมาตรา 40(1) ใหผ้ มู้ ีเงินไดถ้ ึงเกณฑย์ น่ื แบบแสดง รายการภาษีภายในเดือน มีนาคม ปี ถดั ไป ไม่วา่ จะมีภาษีท่ี ตอ้ งชาระหรือไม่ ผมู้ ีเงินไดห้ ลายประเภทท่ีมิใช่นิติบุคคล ใหย้ นื่ แบบแสดง รายการภาษีเงินได้ (ภ.ง.ด.90)
1.2 ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาคร่ึงปี ใหผ้ มู้ ีเงินไดต้ าม มาตรา 40(5) ท่ีมีหนา้ ที่เสียภาษีเงินได้ ยนื่ แบบแสดงรายการ ภาษีเงินไดค้ ร่ึงปี (ภ.ง.ด.94) ภายในเดือนกนั ยายนของทุกปี 2. ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลประจาปี 2.1 ภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลประจาปี ใหย้ น่ื แบบแสดงรายการภาษี เงินได้ ภายใน 150 วนั นบั แต่วนั สิ้นรอบระยะเวลาบญั ชี 2.2 ภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลคร่ึงรอบระยะเวลาบญั ชี ใหย้ นื่ แบบ แสดงรายการ (ภ.ง.ด.51) ภายใน 2 เดือน นบั แต่ในคร่ึงรอบ ระยะบญั ชี
ความรับผดิ ชอบของผ้มู ีหน้าทเ่ี สียภาษี 1. ความรับผดิ ทางอาญา ผเู้ สียภาษีท่ีไม่ปฏิบตั ิตาม บทบญั ญตั ิเกี่ยวกบั การขอประจาตวั ผเู้ สียภาษี ไม่จดั ทา บญั ชีหรือรายงานท่ีกาหนด และหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร มีความผดิ อาจตอ้ งรับโทษทางอาญา 2. ความรับผดิ ทางแพ่ง ผมู้ ีหนา้ ที่เสียภาษีสรพากรท่ี มิไดย้ นื่ แบบแสดงรายการภาษีและชาระภาษีหรือไม่นาส่ง ภาษีตามกาหนดเวลา มีความผดิ อาจตอ้ งรับโทษทางแพง่
การขอคนื ภาษีสรรพากร กรณีท่ีผมู้ ีหนา้ ท่ีเสียภาษีถกู หกั ณ ท่ีจ่าย เป็นจานวนเงินเกินกวา่ ค่าภาษีที่ควรตอ้ งชาระ หรือยนื่ แบบแสดงรายการและชาระภาษี ไวเ้ กินกวา่ ภาษีท่ีควรชาระ ผเู้ สียภาษีมีสิทธิขอคืนเงินภาษีท่ีถูก หกั ไวเ้ กินหรือที่ไดช้ าระภาษีไวเ้ กินกวา่ จานวนท่ีควรชาระโดย ปฏิบตั ิดงั น้ี
1. ใหผ้ ทู้ ี่ชาระภาษีไวเ้ กินขอคืนภาษีไดภ้ ายใน 3 ปี นบั แต่วนั สุดทา้ ยกาหนดเวลายน่ื รายการภาษี หรือนบั แต่วนั ท่ียน่ื รายการ โดยยนื่ คาร้อง(แบบ ค.10) ณ สนง.สรรพากรพ้นื ท่ีเขตการขอคืน ภาษี ในต่างจงั หวดั ใหย้ น่ื ต่อผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ณ ท่ีวา่ กาอาเภอ โดยแนบเอกสารที่เกี่ยวขอ้ งใหค้ รบถว้ น
2. ผทู้ ่ีชาระภาษีหรือถูกหกั ภาษีไวเ้ กินกวา่ จานวนภาษีที่ตอ้ งเสีย จะขอคืนภาษี โดยใหย้ นื่ คาร้อง (แบบ ค.10) กไ็ ด้ ซ่ึงตอ้ งรอใหถ้ ึง ระยะเวลาการยน่ื แบบแสดงรายการภาษีเงินไดป้ ระจาปี และ กรอกขอ้ ความและลงนามในช่องขอคืนเงินภาษีพร้อมท้งั แนบ เอกสารท่ีเก่ียวขอ้ งใหค้ รบถว้ น
การแยกหน่วยภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา เนื่องจากบุคคลธรรมดาเสียภาษีในอตั รากา้ วหนา้ ดงั น้นั การ แยกหน่วยภาษีจะทาใหฐ้ านภาษีเงินไดข้ องผปู้ ระกอบธุรกิจแคบ ลง เป็นการลดภาระภาษีเงินได้ ถา้ ผปู้ ระกอบการท่ีแยกหน่วยภาษี ไม่เสียภาษีใหถ้ ูกตอ้ งอาจถูกประเมินภาษี ซ่ึงผเู้ ป็นหุน้ ส่วนหรือ บุคคลในคณะบุคคลตอ้ งรับผดิ ชอบ โดยท่ีคนใดคนหน่ึงหรือทุก คนอาจถูกอายดั ทรัพยส์ ินเพอื่ ขายทอดตลาดและนาเงินท่ีไดม้ า ชาระภาษีท่ีคา้ งจ่าย ตามมาตรา 12
การจัดทาบัญชีและเกณฑ์ทใี่ ช้ในการรวบรวมเงินได้ของผู้ ประกอบธุรกจิ ผปู้ ระกอบการธุรกิจท่ีมีหน่วยภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาไม่ตอ้ ง จดั ทาบญั ชีตาม พ.ร.บ.การบญั ชี พ.ศ.2543 แต่ตอ้ งจดั ทาบญั ชี ตามตรา 17 วรรค 2 แห่งประมวลรัษฎากร เก่ียวกบั ภาษีเงินได้ (ฉบบั ที่ 161) ซ่ึงตอ้ งบนั ทึกรายการที่เกิดข้ึนตาม เกณฑ์คงค้าง เพื่อใหไ้ ดข้ อ้ มูลทางการเงินท่ีครบถว้ น เป็นประโยชนต์ ่อการ ตดั สินใจ
แต่ในการคานวณภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาของผปู้ ระกอบธุรกิจ ยงั คงตอ้ งใช้ เกณฑเ์ งินสด ในการรวบรวมรายไดท้ ี่เป็นเงินไดพ้ ึง ประเมิน เพื่อคานวณเงินไดส้ ุทธิที่จะใชเ้ ป็นฐานในการคานวณ ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา
การผ่อนปรนการใช้เกณฑ์เงินสด เกณฑท์ ี่ใชใ้ นการรวบรวมรายไดท้ ี่เป็นเงินไดพ้ งึ ประเมิน เพอ่ื คานวณเงินไดส้ ุทธิที่จะใชเ้ ป็นฐานในการคานวณภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา ใช้ เกณฑเ์ งินสด แต่เงินไดร้ ับล่วงหนา้ กลบั เป็น ภาระทางภาษีเน่ืองจากตอ้ งนามาเสียภาษีตามอตั รากา้ วหนา้ จึง ใหม้ ีการผอ่ นปรนการใชเ้ กณฑเ์ งินสดเฉพาะเงินที่ไดร้ ับล่วงหนา้
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: