Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวบ่งที่ 13 กิจกรรมเด่น

ตัวบ่งที่ 13 กิจกรรมเด่น

Published by sintop_2526, 2022-05-25 01:28:02

Description: ตัวบ่งที่ 13 กิจกรรมเด่น

Search

Read the Text Version

กิจกรรมเด่น (Best practice) ส่งเสริมบ้านต้นแบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดา้ นการทาเกษตรอินทรีย์ โคก หนอง นา โมเดล



กิจกรรมเดน่ (Best practice) กิจกรรม / โครงการสง่ เสริมบ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง 1. ชอื่ ผลงาน กจิ กรรมส่งเสริมบา้ นต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการทาเกษตรอนิ ทรีย์ โคก หนอง นา โมเดล 2. หนว่ ยงาน/สถานศึกษา/กศน.ตาบล กศน.ตาบลหนองลาน ม.6 บา้ นหนองไม้แก่น ตาบลหนองลาน อาเภอท่ามะกา จังหวดั กาญจนบุรี 3. ชอื่ เจ้าของผลงาน นางสาวหน่งึ ฤทยั สนิ ธพ โทรศัพท์ 086-0395062 โทรสาร 034-561779 อีเมล์ [email protected] ผูบ้ รหิ าร นายศักดิ์ชยั นาคเอีย่ ม ผอ.กศน.อาเภอท่ามะกา 4. ความสอดคล้อง สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 ด้านความมั่นคง การพัฒนาและเสริมสร้างคนใน ทกุ ภาคส่วนใหม้ ีความเข้มแขง็ มคี วามพรอ้ ม ตระหนักในเร่อื งความม่ันคง และมีสว่ นร่วมในการแก้ปญั หา นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ 2565 ด้านการจัดการ เรียนรู้คุณภาพ ข้อท่ี 1.1 น้อมนาพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดารทิ กุ โครงการ และโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ 5. ทีม่ าและความสาคัญของผลงาน ท่ามกลางปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ท่ีมีสาเหตุหลักมาจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างไร้ขอบเขตของมนุษย์ ได้ส่งผลกระทบในวงกว้างต่อสมดุลระบบนิเวศและส่ิงแวดล้อม การเกิด ปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เป็นภัยคุกคามต่อแหล่งผลิตอาหาร เช่น ความแห้งแล้ง น้าท่วม โรคระบาดศัตรูพืช และ อื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาวะวิกฤตที่สง่ ผลกระทบต่อภาคการเกษตรอยา่ งมาก คือ การเกิดภัยแล้งที่นบั วันจะ มีความรุนแรงเพ่ิมขึ้นในทุกปีท่ีผ่านมา ประเทศไทยรับมือกับปัญหาภัยแล้งในหลากหลายรูปแบบ เช่น การ สรา้ งอา่ งเกบ็ น้า การสรา้ งเข่อื น หรอื การจัดทาระบบชลประทาน ซึ่งรปู แบบเหล่านี้สามารถใชแ้ ก้ไขปญั หาได้ใน บางพื้นท่ีของประเทศไทยเท่าน้ัน สาหรับพื้นท่ีห่างไกลนอกเขตชลประทานท่ีมีพ้ืนท่ีถึง 121,200,000 ไร่ ยังคง ต้องประสบกบั ปัญหาการขาดแคลนน้าเพ่ือใช้ในการเกษตร การขับเคลื่อนบ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการทาเกษตรอินทรีย์ โคก หนอง นา โมเดล มีวัตถุประสงค์เพื่อบูรณาการการขับเคล่ือนงาน/โครงการของหน่วยงานต่างๆ กศน.ตาบลหนองลาน จึงได้ จัดทา(Best practice) ที่มีเป้าหมายลงพ้ืนที่ในระดับหมู่บ้านร่วมกันตามแนวทางประชารัฐโดยมุ่งให้เกิดผล สัมฤทธ์ิ โดยพัฒนา/แก้ไขปัญหาในมิติด้านเศรษฐกิจ สังคม และความม่ันคง และสร้างความตระหนักรู้ถึง บทบาทหน้าท่ีของประชาชนในการมสี ว่ นร่วมในการพฒั นาประเทศและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

6. วัตถุประสงค์ เพ่ือส่งเสริมบ้านต้นแบบการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการทาเกษตรอินทรีย์ โคก หนอง นา โมเดล 7. วธิ ดี าเนินการ กิจกรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย พืน้ ทดี่ าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ กจิ กรรมส่งเสริม 1 เพ่อื ให้ประชาชนในตาบล บ้านต้นแบบ 1 แหง่ ศนู ย์เรียนรู้ ตลุ าคม - บา้ นตน้ แบบ หนองลานมีการใช้ ศนู ยเ์ รียนรู้ เรยี นรู้เศรษฐกิจ 2564 เศรษฐกจิ พอเพยี ง ชีวิตประจาวนั ตามหลกั ของ เรียนรู้ พอเพยี งบ้าน - ด้านการทาเกษตร ความพอเพียง ความพอดี เศรษฐกจิ ต้นแบบ กันยายน อินทรีย์ โคก การใช้ชวี ติ อย่างรอบคอบ พอเพยี ง ด้านการทา 2565 หนอง นา โมเดล ไมฟ่ ุ่มเฟือย ใชช้ ีวิตในความ เกษตรอนิ ทรยี ์ ไม่ประมาท ใชท้ รัพยากรทมี่ ี โคก หนอง นา อย่ใู ห้เกิดประโยชนม์ คี ุณค่า โมเดล และเกดิ รายได้2 เพ่อื สง่ เสริม สนับสนุนใหช้ ุมชน เกดิ การเรยี นรู้ตลอดจน สรา้ งภาคีเครือขา่ ยให้ทุก ภาคส่วนมสี ว่ นรว่ มในการ จัดกจิ กรรม 8. ตัวชวี้ ัดความสาเร็จ 8.1 ตวั ชว้ี ดั ผลผลติ (Outputs) ศนู ยเ์ รียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี งไดร้ ับการสง่ เสรมิ ใหเ้ ป็นบา้ นตน้ แบบ 8.2 ตัวชีว้ ัดผลลพั ธ์ (Outcomes) ศูนย์เรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง สามารถพ่ึงพาตนเองได้ 9. การประเมนิ ผลและเครือ่ งมอื การประเมนิ ผล 9.1 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ/ข้อเสนอแนะ 9.2 สรุป/รายงานผลการดาเนนิ งาน

10. ผลการดาเนนิ งาน ผลการดาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและจุดประสงค์ของ Best Practice ที่ต้ังไว้ สามารถส่งเสริม บ้านตน้ แบบเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการปลกู พืชเกษตรอินทรีย์ ทาเกิดการเรียนรู้ตลอดจนสร้างภาคีเครือข่าย ใหท้ ุกภาคส่วนมีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง จากการจดั กิจกรรมกจิ กรรมส่งเสริมบา้ นเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบ ปรากฏว่าผลการดาเนนิ งานดงั น้ี 1. กิจกรรมเศรษฐกจิ พอเพียง โครงการอบรมใหค้ วามร้ตู ามรอยพ่ออย่อู ยา่ งพอเพยี ง การปลูกพืช เกษตรอินทรีย์ 2. กิจกรรมศกึ ษาแหลง่ เรยี นร้ขู อง นกั ศกึ ษา กศน.ตาบลหนองลาน และประชาชนทั่วไป 3. กิจกรรมสรรหาผู้มีผลงานดีเดน่ สาขาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั โดยมูลนธิ ิสมาน – คณุ หญิงเบญจา แสงมะลิ 11. บทสรปุ 1.ด้านบริบทหรือสภาวะแวดล้อม ผลการประเมินโครงการด้านบริบทหรือสภาวะแวดล้อมกิจกรรม ส่งเสริมบ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณารายข้อพบว่า รายการท่ีมี คา่ เฉลีย่ สูงสุด คอื โครงการมคี วามสอดคล้องกบั สภาพปัญหาของประชาชน อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด รองลงมาคือ วิธีการดาเนินกิจกรรมในโครงการมีความเหมาะสมและปฏิบัติได้จริง อยู่ในระดับมากท่ีสุด และสอดคล้องกับ วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 2. ด้านปัจจัย ผลการประเมินโครงการด้านปัจจัยของกิจกรรมส่งเสริมบ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เพ่ือสร้างบ้านที่เป็นต้นแบบด้านเศรษฐกิจพอเพียง ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณารายข้อพบว่า รายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ผู้บริหารให้ความสาคัญต่อโครงการน้ี อยู่ในระดับมากท่ีสุด รองลงมา คือ มี ขนั้ ตอนและระยะเวลาในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมของโครงการท่เี หมาะสม อยู่ในระดบั มากท่สี ุด 3. ด้านกระบวนการ ผลการประเมินโครงการด้านกระบวนการของกิจกรรมส่งเสริมบ้านเศรษฐกิจ พอเพียงต้นแบบ เพ่ือสร้างสร้างบ้านที่เป็นต้นแบบด้านเศรษฐกิจพอเพียง ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือ พิจารณารายข้อพบว่ารายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ผู้บริหารและครู มีการวางแผนงานและวัตถุประสงค์ของ โครงการรว่ มกนั อยู่ในระดบั มากทสี่ ุดรองลงมา มกี ารประชุมช้ีแจงการดาเนินกจิ กรรมต่าง ๆ ให้บุคลากรทราบ อยใู่ นระดับมากท่ีสดุ 4. ด้านผลผลิต ผลการประเมินโครงการด้านผลผลิตของกิจกรรมส่งเสริมบ้านเศรษฐกิจพอเพียง ต้นแบบ เพ่ือสร้างสร้างบ้านท่ีเป็นต้นแบบด้านเศรษฐกิจพอเพียง ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณา รายข้อพบว่า รายการท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ประชาชนสนใจการทาการเกษตรในแบบเกษตรอินทรีย์เพ่ิมขึ้น จานวนมากข้ึนหลังรว่ มกิจกรรมอยู่ในระดับมากท่ีสุด รองลงมา คือประชาชนให้ความสนใจในแหล่งเรยี นรู้ อยู่ ในระดับมากท่สี ดุ 12. กลยทุ ธ์หรอื ปจั จัยทีท่ าใหป้ ระสบความสาเร็จ การสง่ เสรมิ บา้ นตน้ แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง ไมใ่ ชเ่ ร่อื งท่ที ากันงา่ ยๆ หรอื ถา้ จะพูดวา่ เปน็ เรอ่ื งท่ีทาได้ ยากมากทีส่ ดุ ก็คงไม่มีใครปฏิเสธ เพราะการสร้าง “นสิ ัย” ไม่ใชเ่ รอ่ื งท่ีจะสรา้ งกนั ได้สาเร็จภายในระยะเวลา สัน้ ๆ และความแตกจา่ งของเด็กแต่ละคนก็ย่อมเปน็ ปัจจยั สาคญั ทจี่ ะส่งผลต่อระดับความสาเร็จดว้ ย

จากการถอดบทความจากการสมั ภาษณ์ นายวันชัย ญาตคิ า 1. ความพอประมาณ รู้จักประมาณตนตามวิถีความพอเพียง ถ้าเราทุกคนรู้จักคาว่าพอเพียงโดยใช้หลักการของ ในหลวง รัชกาลที่ 9 สิ่งท่ีเราจะได้กลับมา คือความสุขทางกาย ความสุขทางใจ เน่ืองจากเราจะไม่มีการเบียดเบียน ใคร ซึ่งในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงเคยสอนเราเสมอว่า เรากินอะไร ก็ให้ปลูกสิ่งนั้น แต่ไม่จาเป็นต้องทาเป็น จานวนมาก ๆ ทาเท่าที่เราพอกนิ 2. ความมเี หตผุ ล จากการที่ได้ไปอบรม ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ได้นาองค์ความรู้ท่ีได้รับ มาปรับใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั จงึ ได้มาลองทานา้ หมักต่าง ๆ เพ่ือไว้ใชเ้ อง เชน่ การทาฮอร์โมนไข่ เรง่ ดอก เร่งผลผลิต การ ทาสารไล่เมลง โดยใช้สมุนไพรที่หาได้จากท้องถิ่น นามาหมักทิ้งไว้เพ่ือฉีดพ่นไล่แมลงที่เป็นศัตรูพืช เช่น นา้ หมักจากตน้ ผกากรอง น้าหมักจากบอระเพ็ด น้าหมักจากพริก ผลท่ไี ดก้ ็คอื ข้าวทีป่ ลอดสารพิษ ทาให้ชวี ติ ดีขึ้น สุขภาพดีข้ึน แข็งแรงข้ึน เพราะกินผัก ผลไม้ปลอดสารพิษ นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างรายได้อีกทาง หนง่ึ ด้วย 3. มีภูมคิ ้มุ กัน มกี ารวางแผนการทางานตามวิถีความเพียง โดยการใช้หลกั ทฤษฎี นา้ ดไี ล่นา้ เสยี เชน่ การทานาข้าว ปลอดสารพิษ จะใช้ปุ๋ยธรรมชาติ ท่ีได้จากมูลของเป็ด มูลสุกร มูลปลา ซึ่งน้าเสียน้ีก็จะอยู่ในบ่อเลี้ยงปลา และน่ันก็คือปุ๋ยที่ได้จากธรรมชาติ เราจะไล่น้าเสียโดยการรับน้าคลองเข้ามาเล้ยี งปลาแทน เพ่ือดันน้าเสียเขา้ ไปในนาใหเ้ กดิ เปน็ ปุย๋ ธรรมชาติให้แกต่ น้ ข้าว 4. เงอ่ื นไขความรู้ มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับวิถีเศรษฐกิจพอเพียง โดยการศึกษาจากการดูโทรทัศน์และการศึกษาดู งานจากสถานที่ต่าง ๆ แล้วนาความรู้ท่ีได้มาปรับประยุกต์ใช้ เช่น การทาปุ๋ยหมัก ยาฆ่าแมลงปลอดจาก สารเคมี และการทาฮอรโ์ มนไข่ ฯลฯ 5. เงอ่ื นไขคุณธรรม มีความขยัน ความเพียร และอดทนต่อการทางาน พยายามทาไปเรื่อยๆ ทาไปตามแรงกายที่เรา สามารถทาได้ โดยเน้นแรงงานจากครอบครวั เป็นหลกั และจะนาความรูท้ ตี่ นเองมไี ปเผยแพร่ใหก้ บั ผู้ท่สี นใจ

การบูรณาการปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ในการจัดการเรียนการสอน 1. ครูนานกั ศึกษาไปศึกษาแหลง่ เรียนร้นู อกสถานที่ “เรอ่ื ง การทาเกษตรปลอดสารพิษ” โดยการให้ นักศึกษานาแนวคิด 3 ห่วง 2 เงือ่ นไขมาปรบั ใชก้ บั ชวี ิตประจาวนั ของตนเอง 2. นักเรยี นได้นาหลักการของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ประโยชน์ ในดา้ นตอ่ ไปน้ีอย่างไร ด้านความมีเหตผุ ล - การนาไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน ด้านความพอประมาณ - ใช้ทรพั ยากรธรรมชาติทมี่ ีอยอู่ ย่างจากัดใหม้ ีคุณค่า ด้านการมีภมู ิคุ้มกัน - การใชน้ า้ หมักชีวภาพแทนการใช้สารเคมี ด้านความมีคณุ ธรรม - คานึงถงึ ความปลอดภัยของผูบ้ รโิ ภค - คานึงถึงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ด้านความเรว็ ความเขา้ ใจการพร้อมรบั ความเปลีย่ นแปลง - นาความร้ทู ไ่ี ด้รับไปเผยแพร่ใหแ้ กผ่ ู้ทสี่ นใจ 13. ข้อเสนอแนะ - 14. การอ้างองิ เอกสารประกอบโครงการอบรมการเขียนผลการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ (Best Practice)สาหรับ ครู กศน. ประจาปีงบประมาณ 2565 15. ภาคผนวก

ภาพกกาารรศบกึ ูรษณาแากหาลรง่ ปเรรียัชนญราู้นเอศกรษสถฐากนิจทพ่ีอ“เเพรื่อียงง กใานรกทาารเจกัดษกตารรปเรลียอนดกสาารรสพอษิ น” นกั ศกึ ษาชว่ ยกนั ทาแปลงเกษตรสาธติ ไวท้ ่ี กศน.เพอ่ื เปน็ แหล่งเรยี นรู้

ภาพกจิ กรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โครงการเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อชุมชน วันที่ 27 เดอื นธันวาคม พ.ศ. 2564 ณ ศูนย์เรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง โคก หนอง นา โมเดล หมทู่ ่ี 8 บ้านหนองไม้แกน่ ตาบลหนองลาน อาเภอทา่ มะกา จังหวัดกาญจนบรุ ี วิทยากรบรรยายใหค้ วามรูเ้ ร่อื งศาสตรพ์ ระราชาสปู่ รัชญาโคก หนอง นา โมเดล

ภาพกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี งเพ่ือชุมชน วนั ที่ 27 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2564 ณ ศนู ยเ์ รยี นรู้เศรษฐกิจพอเพียง โคก หนอง นา โมเดล หมูท่ ่ี 8 บา้ นหนองไมแ้ กน่ ตาบลหนองลาน อาเภอท่ามะกา จังหวดั กาญจนบุรี บรรยาย/สาธติ การทานา้ หมักจลุ นิ ทรยี ส์ ังเคราะห์แสงและฮอรโ์ มนไข่ การขยายพันธ์ุพชื โดยการตอนก่งิ

ภาพกิจกรรมการเรียนร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โครงการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี งเพ่อื ชมุ ชน วนั ที่ 27 เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2564 ณ ศนู ยเ์ รยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง โคก หนอง นา โมเดล หมทู่ ี่ 8 บ้านหนองไมแ้ กน่ ตาบลหนองลาน อาเภอท่ามะกา จงั หวัดกาญจนบุรี ประชาชนศกึ ษาดูงานแหล่งเรียนรู้ โคก หนอง นา โมเดล

ภาพกิจกรรม นักศกึ ษาเทยี บระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานและคณะครู กศน.อาเภอทา่ มะกา เขา้ ศึกษาดงู านแหล่งการเรียนรู้ ศนู ยเ์ รียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง โคก หนอง นา โมเดล เร่ือง แนวคดิ การทาเศรษฐกิจพอเพยี ง โคก หนอง นา โมเดล ณ ศูนยเ์ รยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพียง โคก หนอง นา โมเดล ตาบลหนองลาน อาเภอทา่ มะกา จงั หวดั กาญจนบรุ ี โดยมี นายวันชยั ญาติคา เป็นปราชญ์ชาวบา้ นผู้ให้ความรู้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook