ค่มู ือการศึกษาฐานเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่อื ฐานเรียนรู้ การศกึ ษาตลอดชวี ิต ผรู้ ับผิดชอบ นายกฤษดากร เหล่าประเสรฐิ นางสาวกรรภิรมย์ ทศั นสุวรรณ นางสาวศศพิ มิ พ์ เชอ้ื หนองปรง นักศกึ ษาแกนนา นายจักรภพ ตันยะสิทธ์ิ นายนลธวฒั น์ ทรพั ย์สมบตั นายไพศาล สงั ขวรรณะ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภออ่ทู อง สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดสพุ รรณบรุ ี
คู่มือการศกึ ษาฐานเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภออู่ทอง .................................................................................................................... ชือ่ ฐานการเรยี นรู้ การศกึ ษาตลอดชวี ติ ผ้จู ัดทา 1. นายกฤษดากร เหล่าประเสรฐิ 2. นางสาวกรรภิรมย์ ทัศนสุวรรณ 3. นางสาวศศพิ ิมพ์ เช้อื หนองปรง ความเป็นมา การศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong Education)หมายถึง การจัดกระบวนการทางการศึกษา เพื่อให้เกิด การเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นการจัด การศึกษาในรูปแบบของการศึกษาในระบบโรงเรียน (Formal Education) การศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non - Formal Education) และการศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) โดยมุ่งให้ผู้เรียนเกิดแรงจงู ใจที่จะเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Self - directed Learning) ม่งุ พัฒนาบุคคล ให้สามารถพัฒนาตนเอง และปรบั ตนเองให้กา้ วทันความเปลีย่ นแปลงของสังคมการเมอื งและเศรษฐกิจของโลก และห้องสมุดประชาชน เป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีสามารถส่งเสริมสนับสนุนให้คนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตกล่าวคือ ห้องสมดุ เปน็ แหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศท่ีหลากหลายและมปี ระโยชน์ กอ่ ให้เกิดการเรียนรู้อย่างไม่มีที่ ส้ินสุด กระตุ้นให้รักการอ่านและการศึกษาค้นคว้า ก่อให้เกิดการศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เป็น สื่อกลางในกระบวนการเรียนการสอน และตอบสนองความต้องการในการแสวงหาความรู้เฉพาะบุคคล ซึ่งใน ปัจจุบันในห้องสมุดประชาชนยังมีการบริการต่างๆมากมาย ให้ใช้บริการด้านการเรียนรู้ เช่น wifi ฟรี คอมพิวเตอร์ ไว้ใช้สืบค้นหาข้อมูลที่ต้องการเรียนรู้ หนังสือ สื่อ นิทรรศการเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ ต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภออู่ทอง จึงเห็นความสาคัญของการเรียนรู้ ตลอดชีวิต โดยมีนโยบายในการพัฒนาห้องสมุดประชาชนอาเภออู่ทองให้ เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต ตาม นโยบาย 5 ดี กลา่ วคือ บรรณารักษ์ดี บรรยากาศดีเอือ้ ต่อการเรียนรู้ กิจกรรมดี เครือขา่ ยดี และมนี วตั กรรม ดี โดยมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ นักศึกษาและประชาชนเข้ามาศึกษาเรียนรู้ ณ ห้องสมุดประชาชน และปลูก ผังนักศึกษา ให้เป็นอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน นักเรียนรู้นาความรู้ไปใช้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง จึงได้จดั ทาฐานการเรยี นรู้ “การศึกษาตลอดชีวติ ” ข้ึน วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้นกั ศึกษาและประชาชนรกั การอา่ นและการเรียนรตู้ ลอดชีวิต 2. เพื่อสง่ เสริมใหน้ ักศกึ ษาและประชาชนมคี วามรู้ความเข้าใจ ในการมาใช้บรกิ ารท่หี ้องสมดุ ประชาชนอาเภออูท่ อง 3. เพื่อสง่ เสรมิ ให้นกั ศึกษาแลระชาชนผ้สู นใจสามารถนาความรู้ ไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ความรู้ เป็นแหลง่ เรียนรทู้ ีส่ ามารถสง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้คนเกิดการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต สอดคล้องกบั หลกั สตู ร 1. วชิ าทกั ษะการเรยี นรู้ 2. วิชาเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั ท่ี 1 ขน้ั นา 1) วิทยากรกลา่ วทักทายผูเ้ รียน และแนะนาตนเอง แนะนาชื่อฐานการเรยี นรู้ \"การศึกษาตลอดชีวิต\" แนะนาจดุ ประสงค์และความสาคญั ของการเรยี นรู้ โดยผา่ นส่ือ ปา้ ยนิเทศ แผนภมู ปิ ้าย ขัน้ ที่ 2 ขั้นสอน 1) วทิ ยากร อธิบายวธิ ีการใช้หอ้ งสมดุ และแจกเอกสารประกอบ 2) วิทยากร อธิบาย มมุ บริการต่างๆ ในหอ้ งสมุดประชาชนอาเภออทู่ อง 3) วิทยากร อธิบายถึงแหล่งเรียนสาคัญที่จาไปศึกษาข้อมูลเพ่ิมเติมได้ และวิธีการเรียนรู้ในรูปแบบ ต่างๆ เชน่ การอ่านจากแผน่ พับ การสแกน QR Code อา่ นจากปา้ ยนิเทศ Online เปน็ ต้น ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป วทิ ยากรให้เวลาผูเ้ รียนในการศกึ ษาเพิ่มเตมิ และทาใบงานและมอบหมาย ให้ไปสรปุ ความรทู้ ่ีได้ลงใน สมุดบันทึกการเรียนรู้ ขั้นที่ 4 ขน้ั นาไปใช้ ผเู้ รียนร่วมกนั ถอดองค์ความรู้ ในดา้ นความรทู้ ีไ่ ดร้ บั ด้านคุณธรรม ดา้ นความพอประมาณ ดา้ นความ มีเหตุผล ด้านภูมิคุ้มกัน และเช่ือมโยงสู่ เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อมและวัฒนาธรรม อย่างไร ลงใน กระดาษบรฟู๊ สอ่ื อุปกรณ์การเรียนรู้ 1) วิทยากรประจาฐาน 2) ปา้ ยนเิ ทศความรู้ 3) แผ่นพบั YouTube, QR Code 4) สมดุ บันทึกการเรียนรู้ 5) ใบงาน การวัดผลประเมนิ ผล 1.การสังเกต 1.1 พฤติกรรมการเรยี นรู้ 1.2 การถอดบทเรยี นและการนาเสนอ 2.ตรวจผลงาน 2.1 บนั ทกึ การเรยี นรู้ 2.2 ใบงาน 2.3 แผนผงั การถอดบทเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ปศพพ)
ความสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เงอื่ นไขความรู้ 1. การเขา้ ใช้บริการตา่ งๆ เช่น การยม-คนื 2. รับรู้ข่าวสาร 3. ถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ใหผ้ อู้ น่ื ได้ 4. รู้กฎระเบยี บการใช้หอ้ งสมดุ เง่อื นไขคุณธรรม 1. มีวินยั ในการทาตามกฎการเข้าใช้ห้องสมุดประชาชน 2. มีความขยันหม่ันเพยี ร 3. มีความรับผดิ ชอบ หลกั การ มีเหตุผล มีภมู ิคุม้ กนั ในตวั ที่ดี พอประมาณ 1. ตอ้ งการมคี วามรู้ใน 1. พัฒนาตนเองใหม้ ีความรู้ การศึกษาค้นควา้ เพม่ิ ข้ึน 1. ใชเ้ ทคโนโลยี/อปุ กรณ์ อยา่ งรคู้ ุณค่า 2. ศกึ ษาค้นคว้าจากแหลง่ 2. ใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ไดอ้ ย่าง เรียนรไู้ ดด้ ้วยตนเอง ถูกต้อง 2. จดั กิจกรรมได้ หลากหลาย 3. ใชเ้ ทคโนโลยีผลติ สอ่ื 3. ถ่ายทอดองคค์ วามรู้ 4. ใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่คุ้มค่า ให้แก่ผอู้ ื่นอย่างถกู ต้อง 3. คร/ู นักเรียน รว่ มกันจดั กจิ กรรมจากส่ือท่ีมีอยู่ 4. ปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บ การใชห้ ้องสมุดอย่าง 4. ใช้เวลาอย่างคุ้มคา่ ถูกต้อง สมดุลยั่งยนื 4 มติ ิ เศรษฐกิจ สังคม สง่ิ แวดล้อม วฒั นธรรม 1. มแี หล่งเรยี นรู้ไว้ 1. สามารถถ่ายทอด 1. พัฒนาแหล่งเรียนรู้ 1. มีนิสยั รกั การอา่ น ศึกษาคน้ คว้าดว้ ย ความรู้ให้แกผ่ ู้อ่ืน 2. มนี ิสยั รักความเปน็ 2. ใฝ่รู้ใฝเ่ รยี น ตนเอง อยา่ งถูกต้อง 3. ภมู ิใจในสถาบัน ระเบยี บและ 2. มสี ่ือ/หนังสือเพื่อ 2. รบั รู้ขา่ วสารท่ี สะอาด ของตนเอง การเรียนรู้ ถูกต้อง 3. สรา้ งบรรยากาศ 4. มคี วามสามัคคี เอ้อื ต่อการบริการ 3. ประหยัดค่าใช้จ่าย 3. มีจติ อาสาในการ 4. สร้างบรรยากาศ 4. ใช้ทรัพยากรทมี่ ยิ ู่ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ เอื้อต่อการบรกิ าร คุ้มคา่ 4. แบ่งปนั ความรู้ เชน่ หนงั สอื ปนั สขุ ปนั ความร้สู ่ชู ุมชน
กิจกรรมการเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศนู ยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นการศกึ ษา การถอดบทเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ฐานท่ี 7 การศกึ ษาตลอดชีวติ
ภาคผนวก
ใบความรู้ ห้องสมดุ ประชาชน บทบาทและหน้าท่ีของห้องสมุดประชาชนและบรรณารักษ์ในวันนี้ท่ีจะเอื้ออานวยต่อการเรียนรู้ ของประชาชนท่ัวไปและผู้เรียนไดอ้ ย่างแทจ้ ริง ห้องสมุดเป็นแหล่งความรู้ท่ี นักเรียน นักศึกษา สามารถค้นหาความรู้ด้วยตนเอง โดยห้องสมุดมี บทบาท ในการเสริมความรู้ และสนับสนุนการศึกษาในระบบ และให้โอกาสในการเขา้ ถึงการศึกษา ไดใ้ ช้ศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาอาชีพให้ทันกับวิทยาการ และเทคโนโลยี ให้แก่ผู้ท่ีไม่มีโอกาสเข้าศึกษาในโรงเรียน หรือผทู้ ไ่ี ดส้ าเร็จการศกึ ษาแลว้ ห้องสมุดในปัจจุบัน ทาหน้าที่เก็บรวบรวม จัดระบบ เพื่อให้บริการส่ือสารนิเทศต่างๆ ตลอดจนถึง เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีทางการส่ือสาร อีกทั้งยังมีเครื่องมือในการค้นหาและดาเนินการ ให้บรกิ ารสอื่ ต่างๆ เกิดประโยชน์สงู สดุ แก่ผใู้ ชห้ ้องสมดุ การจัดตั้งห้องสมุด เป็นการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับ เรื่องการศึกษาตามอัธยาศัยและการศึกษา ตลอดชีวิต มีความมุ่งหวังให้ห้องสมุด ได้เป็นแหล่งการเรียนรู้เพ่ือการพัฒนาตนเองตลอดชีวิต และส่งเสริมให้ ประชาชนเปน็ ผู้ที่ใฝเ่ รียนรู้ การที่จะดึงดูดความสนใจใหผ้ ู้คนเข้ามาใช้ห้องสมุดมากๆ นั้นห้องสมุดจะต้องมีการ พฒั นารูปแบบใหม้ คี วามแตกตา่ งไปจากห้องสมดุ ทเี่ คยเป็นมาในอดีต น่นั คอื การทาให้ ห้องสมุด เปน็ หอ้ งสมุดท่ี มีชีวิต (Living Library) เป็นห้องสมุดที่มีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา เพ่ือตอบสนองความต้องการของ ผใู้ ช้บริการทุกเพศ ทุกวยั ไมจ่ ากดั หอ้ งสมุดมีบริบทอะไรบา้ ง เป็นศนู ย์การเรยี นรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารทที่ ันสมัย เป็นศูนย์ข้อมูล ทั้งในเชิงจัดการฐานข้อมูล (Knowlegde Management) และการสงวนรักษาและ อนุรกั ษ์ เอกสารโบราณ เอกสารตน้ ฉบบั ตัวเขียน เพ่ิมศักยภาพความเป็นห้องสมดุ อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Library) ให้มีความสมบูรณ์ และมีการเปล่ยี นแปลง สู่การเป็นแหลง่ ความรรู้ ะบบดิจทิ ัล มีการร่วมมือกันระหวา่ งหน่วยงานทัง้ ทีเ่ ปน็ ห้องสมดุ ดว้ ยกันเอง และ หนว่ ยงานอนื่ ๆ การบรกิ ารของหอ้ งสมุด ห้องสมุดมีหน้าท่ีคอยให้บริการแก่ผ้เู ข้าใชห้ ้องสมุด เพ่ือเป็นศูนย์กลางการศึกษาค้นคว้าให้มีมาตรฐาน ย่งิ ขน้ึ ไป เพ่ิมพนู ความรู้ ขา่ วสารท่ีทันเหตกุ ารณ์ ดังน้นั ห้องสมุดจงึ ใหบ้ รกิ ารดังนี้… 1. บริการการอ่าน เป็นบริการหลักของห้องสมุดท่ีจดั หาและคัดเลือกหนังสือ ส่ิงพิมพ์ ต่างๆ มาไว้เพ่ือ ให้บริการ และจัดเตรียมสถานที่ให้อานวยความสะดวกต่อการอ่าน เพื่อตอบสนอง ความต้องการ และความ สนใจของผู้ใชม้ ากทสี่ ุด 2. บริการยืม - คืนหนังสือ ให้บริการยืมหนังสือท่ัวไป หมวด 000 - 900 หนังสือ นวนิยาย เรื่องสั้น หนงั สอื วรรณกรรมเยาวชน ในกรณที ่ยี ืมเกนิ กาหนดผู้ยมื จะต้องเสยี ค่าปรับตาม อัตราทีห่ อ้ งสมุดกาหนด 3. บริการหนังสือจอง ในกรณีท่ีหนังสือบางวิชามีน้อยหรือไม่เพียงพอ ผู้สอนจะส่ังจอง เก็บไว้ที่แผนก ใหย้ มื และห้องสมดุ จะกาหนดวนั ยืมใหน้ ้อยลง โดยยมื ได้เพยี ง 1 คืนเท่านน้ั 4. บรกิ ารวารสาร หนังสือพิมพห์ อ้ งสมุดได้จดั บรกิ ารการอา่ น/การค้นควา้ วารสารและหนังสือพิมพ์
5. บรกิ ารตอบคาถามและชว่ ยการค้นคว้า บริการนี้ได้จัดไว้เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ ท่มี าใชบ้ รกิ ารของ ห้องสมุดโดยจะมผี ใู้ ห้บริการ 6. บริการหนังสืออ้างอิง หนังสืออ้างอิงท่ีใช้ค้นคว้าหาคาตอบในเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้ อย่างรวดเร็ว หนังสอื อ้างอิงจะจัดเรียงไวต้ ามหมวดหมรู่ ะบบทศนยิ มดวิ อ้ีและไมอ่ นุญาตให้ยืม ออกนอกห้องสมุด 7. บริการอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตที่สนใจได้ทั่วโลก ซึ่งทาให้ผู้ใช้ สามารถเขา้ ถึงสารสนเทศท่ที นั สมยั ได้มากขน้ึ ตรงตามความต้องการและสะดวก รวดเร็ว ระเบียบการใช้ห้องสมดุ 1. ถอดรองเท้ากอ่ นเข้าหอ้ งสมุด 9. เมอื่ อ่านหนังสือ วารสาร หนงั สือพมิ พ์ เสร็จแลว้ ต้อง 2. เข้าห้องสมุดทางด้านซ้ายมือและลงช่ือ เกบ็ เข้าที่เดมิ ทกุ ครั้ง การเข้าใช้หอ้ งสมดุ 3. แตง่ กายสุภาพ เรียบร้อย 10. เมอ่ื ตอ้ งการยืมหนังสอื วารสาร หนงั สอื พิมพ์ ให้ติดต่อ 4. ไมส่ ง่ เสียงดงั ภายในหอ้ งสมดุ บรรณารกั ษ์ 5. ไม่นาของมีคมเข้าหอ้ งสมดุ 6. ไม่นาสมั ภาระ (กระเป๋า หนังสือ 11. เมื่อต้องการให้อินเตอร์เน็ต โทรทัศน์ โปรเจคเตอร์ ใหต้ ิดตอ่ บรรณารกั ษ์ สว่ นตวั ฯลฯ) เขา้ ห้องสมดุ 7. เมอ่ื ลกุ จากท่ีนั่งต้องเกบ็ เก้าอ้ีเข้าท่ีเดมิ 12. รกั ษาสาธารณสมบัติ ใชอ้ ย่างคุ้มค่า และประหยดั เช่น 8. ไมข่ ีดเขียนข้อความใด ๆ หรือฉกี ชว่ ยปดิ ไฟ ปิดพัดลม ช่วยเก็บเกา้ อี้ เกบ็ หนงั สอื เขา้ ทใี่ ห้ เรยี บร้อยถกู ต้อง เป็นต้น หนงั สอื วารสาร สิง่ พิมพท์ กุ ชนดิ 13. ดแู ลทรพั ยส์ นิ ของห้องสมุดดุจของตน ปอ้ งกัน ขดั ขวาง ผ้ทู าลาย เช่น ผทู้ แี่ อบตดั ฉีกหนังสือขโมยหนังสือ เป็นต้น ระเบยี บและมารยาทการใช้ คอมพิวเตอร/์ Internet/Wi-Fi 1. ติดต่อบรรณารักษ์ 2. บันทึกรายละเอียดลงในบันทึกการใช้บรกิ ารอินเตอร์เน็ต 3. นกั เรียนใชบ้ ริการสบื ค้นโต๊ะละ 1 คนเท่านนั้ 4. ใชส้ าหรบั ค้นหาขอ้ มลู เกยี่ วกับการเรยี น สงิ่ ท่ีมสี าระ สรา้ งสรรคใ์ นทางที่ดี 5. การใช้อุปกรณ์ในการบันทึกขอ้ มูลจาก Internet ต้องอยู่ในสภาพเรียบรอ้ ยไม่มีไวรัส 6. ใช้คอมพิวเตอร์อยา่ งระมัดระวงั เปดิ -ปดิ ตามขน้ั ตอน 7. อนญุ าตให้ใชค้ อมพวิ เตอร์คนละ 30 นาที 8. ไมอ่ นญุ าต ใหน้ ักเรียนเลน่ เกม หรอื สืบคน้ ข้อมลู ท่ีไมเ่ หมาะสม 9. นักเรียนเลน่ FACEBOOK ไดไ้ ม่เกิน 10 นาที (กรณีเกี่ยวกบั การเรียน) 10. นกั เรียนฝ่าฝืนไม่ปฏิบตั ิตามกฎ ตัดสิทธิการใช้ Internet 1 สัปดาห์
ระเบียบ มารยาทและคุณธรรมจริยธรรม ในการใชห้ ้องสมุด ห้องสมุดเป็นหน่วยงานบริการท่ีเก่ียวข้องกับผู้ใช้เป็นจานวนมาก ดังนั้นเพ่ือให้เกิดความ เป็นธรรมแก่ ผู้รับบริการ ห้องสมุดจึงต้องมีระเบียบ เพ่ือให้ทุกคนปฏิบัติอันจะทาให้เกิดความ เสมอภาค ในขณะเดียวกัน ผรู้ ับบรกิ ารก็จะตอ้ งมีมารยาทใหเ้ กียรติแก่สถานทดี่ ว้ ย ความหมาย ของระเบยี บและมารยาท พอสรปุ ได้ ดงั น้ี ระเบียบ หมายถึง ข้อบังคับที่จะให้ปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติ อย่างใดอย่างหน่ึง เพ่ือให้สังคมอยู่ อย่างสงบสุขและเป็นธรรม ผู้ฝ่าฝืนจะได้รับโทษ เช่น การห้ามสูบบุหร่ีใน ห้องสมุด การยืมหนังสือในห้องสมุด การปรับหนังสือเกินกาหนดส่ง เป็นต้น ระเบียบของห้องสมุด แต่ละแห่งอาจมีข้อปฏิบัติแตกต่างกันไป ท้ังนี้ ข้ึนอยู่กับ สภาพห้องสมุดและวัตถุประสงค์ของห้องสมุดนั้น ๆ อย่างไรก็ตาม ระเบียบของห้องสมุดที่เป็น สาระสาคัญกย็ งั คงคล้ายคลึงกัน ซง่ึ จะมขี อ้ กาหนดหลัก ๆ ดงั น้ี 1.1 เวลาทาการ 1.2 ผใู้ ชบ้ รกิ ารและสิทธหิ นา้ ท่ี 1.3 ระเบียบการยืม เช่น ผู้ยืมวัสดุต้องใช้บัตรห้องสมุดของตนเอง ยืมวัสดุได้ตาม จานวนท่ีห้องสมุด กาหนด เปน็ ต้น 1.4 บทลงโทษ กรณีท่ีมีการกระทาท่ีฝ่าฝืนระเบียบการใช้ห้องสมุด เช่น การนา หนังสือออกจาก ห้องสมุดโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต การตัด การฉกี ภาพ หรือข้อความจากวารสาร เปน็ ตน้ มารยาท เป็นขอ้ พงึ ปฏิบัติ โดยเกิดจากการสานึก รจู้ กั การควรไม่ควรของผนู้ ั้นเอง เช่น ไม่ควรส่งเสียง ดังเกินสมควรในห้องสมดุ ผู้ทไ่ี มม่ ีมารยาทมกั ไมค่ านึงถึงความรู้สึกของผ้อู ื่นอาจพูดด้วยเสยี งปกติแต่ค่อนข้างดัง แม้ไม่ผิดระเบียบ ไม่ได้รับโทษโดยระเบียบ แต่สังคม ก็ไม่ยอมรับเท่ากับถูกลงโทษเช่นกัน มารยาทในการใช้ ห้องสมุด การใช้สาธารณสมบัติร่วมกันในห้องสมุด ผู้ใช้ควรมี จิตสานึกท่ีจะช่วยกันรักษาทรัพย์สินและสร้าง บรรยากาศทดี่ ี ให้เกยี รติซง่ึ กนั และกนั ให้เกียรติ สถานท่ดี ้วย ผู้มมี ารยาทและคณุ ธรรมพึงปฏิบัตติ น ดังน้ี 1. แตง่ กายสุภาพ เหมาะกับกาลเทศะ 2. วาจาสุภาพ ใชเ้ สียงเท่าทจ่ี าเป็น 3. งดนาอาหาร เคร่ืองด่มื หรอื ของขบเคย้ี วมารบั ประทาน 4. รักษาสาธารณสมบัติ ใช้อย่างคุ้มค่า และประหยัด เช่น ช่วยปิดไฟ ปิดพัดลม ช่วยเก็บเก้าอี้ เกบ็ หนงั สอื เข้าทีใ่ ห้เรยี บร้อยถกู ตอ้ ง เป็นต้น 5. ดูแลทรัพย์สินของหอ้ งสมุดดุจของตน ป้องกนั ขดั ขวางผู้ทาลาย เชน่ ห้ามตดั /ฉกี หนังสอื หา้ มขโมย หนงั สือ เป็นต้น
ใบงาน เร่อื ง ห้องสมุดประชาชน คาสง่ั ตอบคาถามต่อไปน้ีให้ถูกต้อง 1. ห้องสมุด หมายถึงอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จงบอกประโยชนข์ องห้องสมดุ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ระเบยี บ มารยาท คุณธรรม จรยิ ธรรม ในการใช้ห้องสมุดมอี ะไรบา้ ง (ตอบแบบสรปุ โดยยอ่ ) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. การบริการหอ้ งสมุดมีอะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบความรู้ เรือ่ ง การศึกษาตลอดชีวติ การศึกษา (Education)ในมาตรา 4 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 นิยาม ความหมายของการศึกษา มคี วามหมายว่า \"กระบวนการเรยี นรเู้ พ่อื ความเจรญิ งอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถา่ ยทอดความรู้ การฝกึ การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรมการสรา้ งสรรค์จรรโลงความกา้ วหน้า ทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคมการเรียนรู้ และปัจจัยเก้ือหนุน ให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต\" และมาตรา 15 ได้กาหนดระบบการศึกษา ในการจัดการศึกษามี สามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 4 ได้บัญญัติความหมายของการศึกษาตลอดชีวิตไว้ว่า หมายถงึ การศกึ ษาที่เกิดจากการผสมผสานระหวา่ งการศกึ ษาในระบบการศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศยั เพ่ือให้สามารถพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ได้อยา่ งต่อเน่อื งตลอดชวี ติ นอกจากนี้ในพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 มาตรา 8 การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาตามอัธยาศัย ก็ได้ให้ความสาคัญต่อผู้เรียน โดยได้ระบุไว้ ว่า \"ผู้เรียนได้รับความรู้และทักษะพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ที่จะเอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต\" ใน ความหมายของการศึกษาตลอดชีวิตดังกล่าว สอดคล้องกับความหมายของการศึกษา ซึ่งมีสถานที่และ ระยะเวลาเช่นเดียวกัน คือเป็นการศึกษาท่ีเกิดในทุกสถานท่ี และตลอดระยะเวลาในชีวิตของบุคคลบุคคลหน่งึ นอกจากน้ี การศกึ ษาตลอดชีวติ ยงั จะต้องเปน็ การผสมผสานกันระหวา่ งการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอีกด้วยในการจัดการศึกษาของประเทศจึงให้ความสาคัญกับการศึกษาตลอดชีวิต เป็นอย่างสูง โดยเห็นได้จากความหมายของการศึกษา และความหมายของการศึกษาตลอดชีวิตดังกล่าว พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติเองก็ได้บัญญตั ิไว้ในมาตรา 8 โดยในการจัดการศึกษาใหย้ ึดหลัก 3 ประการ คือ เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน, ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และพัฒนาสาระ และกระบวนการเรยี นรูใ้ หเ้ ป็นไปอย่างตอ่ เน่อื ง ในหนงั สอื กศน. ได้ให้ความหมายของ การศกึ ษาตลอดชวี ิต ไว้ดงั นี้ • การศึกษาที่เกิดขึ้นจากการผสมผสานระหวา่ งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศกึ ษาตามอัธยาศัย เพื่อให้สามารถพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ไดอ้ ย่างตอ่ เน่ืองตลอดชวี ติ • การศกึ ษาทีเ่ กิดขน้ึ อย่างต่อเน่อื ง ตั้งแต่เกดิ จนตาย • พัฒนาคนใหไ้ ดเ้ รียนร้ใู นรูปแบบต่างๆตามความสามารถของตนเอง เพ่ือก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของ โลก สามารถทางานและอย่รู ว่ มกันในสังคม การเรียนรู้ตลอดชีวิต หมายถึง การรับรู้ความรู้ ทักษะ และเจตคติ ตั้งแต่เกิดจนตายจากบุคคลหรือ สถาบนั ใดๆ โดยสามารถ จะเรยี นรดู้ ว้ ยวิธีเรยี นต่างๆ อย่างมรี ะบบหรอื ไมม่ ีระบบ โดยตงั้ ใจหรือโดยบงั เอิญก็ได้ ทั้งนี้สามารถทาให้บุคคลน้ันเกิดการพัฒนาตนเองการศึกษาตลอดชีวิต ( Lifelong Education) หมายถึง การจัดกระบวนการทางการศึกษา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นการจัด การศึกษาในรูปแบบ ของการศึกษาในระบบโรงเรียน (Formal Education) การศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non - Formal Education) และการศึกษาตามอัธยาศยั (Informal Education) โดยมุง่ ให้ผเู้ รียนเกิดแรงจงู ใจทีจ่ ะเรียนรู้ด้วย ตนเอง (Self - directed Learning) มุ่งพัฒนาบุคคลให้สามารถพัฒนาตนเอง และปรับตนเองให้ก้าวทันความ เปล่ยี นแปลงของสงั คมการเมอื งและเศรษฐกจิ ของโลก
การศึกษาตลอดชวี ิต หมายถึง การศึกษาท่ีเกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาท่ีกาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซ่งึ เปน็ เงื่อนไขสาคญั ของการสาเรจ็ การศกึ ษาที่แน่นอน การศกึ ษานอกระบบ เปน็ การศกึ ษาท่มี ีความยดื หยุ่นใน การกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดผลประเมินผล ซ่ึงเป็น เง่ือนไขสาคัญของการสาเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพ ปัญญาและความต้องการของกล่มุ แต่ละกลุม่ ก า ร ศึ ก ษ า ต ล อ ด ชี วิ ต Phillip H. Coombs (ผู้ เ ขี ย น ห นั ง สื อ The World Crisis in Education : The View from the Eighties) พบว่ารูปแบบการศึกษาในระบบโรงเรียนของประเทศด้อย พัฒนา และประเทศกาลังพัฒนา ไม่สามารถให้บริการแก่ประชาชน ได้อย่างท่ัวถึงทาให้เกิดวิกฤตการณ์ทาง การศึกษา (Educational Crisis) เพราะประชาชนที่มีฐานะดีเท่านั้นที่มีโอกาสได้รับการศึกษา ส่วนคนยากจน จะขาดโอกาสในการศึกษา แม้รัฐบาลต่างๆ ได้ทุ่มเทงบประมาณด้านการศึกษาสูงมากก็ตาม แต่การศึกษาไม่ สามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตการศึกษาของประชาชน โดยเฉพาะผู้อยู่ในท้องถิ่นห่างไกล รัฐบาลยิ่งพัฒนา คนรวยกลับรวยย่ิงขึ้น คนจนกลบั จนลง จึงทาให้มีการเรียกร้องให้มีการปฏริ ูปการศึกษา หมายเหตุ : หนังสือที่ กลา่ วถึงในขา้ งบน แปลเปน็ ภาษาไทยในชอ่ื วิกฤตการณ์ของโลกในทางการศกึ ษา: ทัศนะในทศวรรษ 1980 ซง่ึ เป็นหนังสือแปล อันดับท่ี 87 ของ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพฯ ปี 2535 โดย ดร. กอ่ สวสั ดพิ าณิชย์
ใบงาน เรอ่ื ง การศกึ ษาตลอดชวี ิต คาสัง่ ให้ตอบคาถามต่อไปนี้ 1. การศึกษาตลอดชวี ติ หมายถึง .............................................................................................................. ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ................................ ..................................................................................................................................................................... 2. การศกึ ษา (Education)ในมาตรา ของพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 นิยาม ความหมายของการศึกษา มีความหมายว่าอยา่ งไร ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 3. การศกึ ษาตลอดชีวิต Phillip H. Coombs (ผู้เขยี นหนังสอื The World Crisis in Education : The View from the Eighties) บอกความหมายวา่ อย่างไร ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 4. ผเู้ รยี นมีความเขา้ ใจในการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ว่าอยา่ งไร ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ช่ือ - สกลุ ....................................................................ระดับชัน้ ......................................................
ใบงาน เร่ือง การศึกษาตลอดชวี ติ ถอดบทเรยี นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ฐานเรยี นรู้ ...................................................................................... ความรู้ คณุ ธรรม ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล การมีภมู ิคมุ้ กนั ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. .......... .......... .......... ดา้ นวฒั นธรรม ดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ นสงั คม ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ......................................
(ภาพตวั อย่าง) การถอดบทเรยี นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จาก นักศึกษา ฐานท่ี 7 ฐานการศึกษาตามอธั ยาศยั
(ภาพตวั อย่าง) การถอดบทเรยี นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จาก นักศึกษา ฐานท่ี 7 ฐานการศึกษาตามอธั ยาศยั
แบบสอบถามความพงึ พอใจ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภออู่ทอง ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. เพศ ชาย หญิง 2. อายุ ตา่ กวา่ 15 ปี 16-30 ปี 31-40 ปี 41-50 ปี 51-60 ปี 61 ปขี ้ึนไป 3. ระดบั การศึกษา ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ปริญญาตรี สูงกวา่ ปริญญาตรี อน่ื ๆ ระบุ......... 4. อาชพี รบั จ้าง เกษตรกรรม คา้ ขาย ขา้ ราชการ นักเรียน/นกั ศกึ ษา อน่ื ๆ ระบุ.............. ตอนท่ี 2 คาชีแ้ จงให้ท่านทาเคร่ืองหมาย ลงในช่องระดับความพึงพอใจตามความคิดเหน็ ทแ่ี ท้จรงิ ของ ทา่ น ระดบั ความพึงพอใจ รายการ ดีมาก ดี พอใช้ ควร ตอ้ ง ปรับปรงุ ปรับปรงุ 1. กระบวนการ/สถานท/่ี ระยะเวลา การให้บริการ 1.1 การ ชแ้ี จงลาดบั ขั้นตอนของกจิ กรรม 1.2 ความเหมาะสมของสถานทเ่ี อื้อตอ่ การเรยี นรู้ 1.3 ความเหมาะสมของระยะเวลาในการเรียนรู้ 2. วทิ ยากรผ้ถู ่ายทอดความรู้ 2.1 บุคลิกภาพ/อัธยาศยั ของวทิ ยากร 2.2 ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 2.3 รปู แบบของกิจกรรม 3. ดา้ นสื่อประกอบการเรยี นรู้ 3.1 สือ่ ประกอบการเรยี นรู้เพียงพอ 3.2 ส่อื ประกอบการเรียนรูเ้ หมาะสม 3.3 ส่ือประกอบการเรียนรู้ทันสมยั 4. ดา้ นความรูแ้ ละประโยชนท์ ่ไี ด้รบั 4.1 ทา่ นได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ ๆ 4.2 ท่านสามารถนาส่งิ ท่ีได้รับไปใช้ในชีวติ ประจาวนั 4.3 ประโยชนท์ ที่ ่านไดร้ ับจากฐานการเรยี นรู้ 5. ความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมของฐานการเรียนรู้ ขอ้ เสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…..……. *** ขอขอบคุณในความร่วมมือตอบแบบสอบถาม ***
ภาพผลการดาเนินงาน การประเมนิ การใชฐ้ านการเรยี นรู้ การศกึ ษาตลอดชีวิต โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการศนู ย์การเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียง สาหรบั นักศกึ ษา กศน.อาเภออูท่ อง ภายใต้โครงการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน ณ แหล่งเรียนรภู้ ายในศูนย์การเรยี นรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงอาเภออทู่ อง (ฐานการเรียนรกู้ ารศึกษาตลอดชวี ติ ) วันท่ี 25 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2564
ภาพผลการดาเนินงาน การประเมนิ การใช้ฐานการเรยี นรู้ การศึกษาตลอดชีวติ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการขบั เคลือ่ นศูนย์การเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ภายใตโ้ ครงการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น ณ แหล่งเรยี นรภู้ ายในศนู ยก์ ารเรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี งอาเภออูท่ อง (ฐานการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาตลอดชวี ติ ) วนั ที่ 26 มกราคม พ.ศ.2565
ภาพผลการดาเนินงาน การประเมนิ การใช้ฐานการเรยี นรู้ การศกึ ษาตลอดชีวติ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการพัฒนาแกนนานกั ศึกษาเพ่ือขับเคล่ือนศนู ยก์ ารเรียนรู้ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ระยะท่ี 2 ภายใต้โครงการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น ณ แหลง่ เรียนรู้ภายในศนู ยก์ ารเรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี งอาเภออทู่ อง (ฐานการเรยี นรูก้ ารศึกษาตลอดชวี ิต) วันท่ี 7 มิถนุ ายน พ.ศ.2565
ภาพผลการดาเนินงาน การประเมนิ การใช้ฐานการเรยี นรู้ การศกึ ษาตลอดชีวิต โครงการสง่ เสรมิ การเรียนรกู้ ารใชส้ ือ่ สงั คมออนไลน์และพฒั นาทกั ษะการดาเนนิ ชีวติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ภายใตโ้ ครงการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น ณ แหลง่ เรียนรภู้ ายในศนู ยก์ ารเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงอาเภออู่ทอง (ฐานการเรียนรกู้ ารศึกษาตลอดชีวติ ) วนั ที่ 15 มถิ ุนายน พ.ศ.2565 น
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: