CANCERTECHNOLOGYALTERNATIVECENTER ARCH.THESIS.RMUTT.2017 SATAMETPRAKAW
เร่ือง สารบัญ บทท่ี 1 บทนำ หนา 1-1 1.1 ความเปนมาของโครงการ 1-5 1.2 จุดประสงคหลักของการศึกษาโครงการ 1-5 1.3 ขอบเขตของการศึกษาโครงการ 1-6 1.4 ขนั้ ตอนและวิธีการดำเนนิ การศึกษา 1-6 1.5 ประโยชนท่ไี ดร บั จากการศกึ ษาโครงการสารบญั บทที่ 2 การประมวลเอกสารท่ีเกย่ี วขอ ง 2-1 2.1 ความหมายและคำจำกัดความ 2-1เร่ือง 2.1.1 ความหมาย 2-1บทคดั ยอ 2.1.2 คำจำกดั ความ 2-2กติ ติกรรมประกาศ 2.2 การศึกษาเรอื่ งราวทางประวตั ศิ าสตรข องเร่อื งทศี่ ึกษา 2-2สารบญั 2.2.1 ความเปน มาของโรคมะเร็ง 2-2สารบัญภาพ 2.2.2 ท่ีมาของคำวา Cancer (โรคมะเร็ง) 2-3สารบญั ตาราง 2.2.3 สาเหตขุ องมะเร็งในความคิดของแพทยส มัยกอน 2-4สารบญั แผนภูมิ 2.2.4 ทฤษฎอี ่นื ๆ เกยี่ วกับสาเหตขุ องโรคมะเร็ง 2-5 2.2.5 วธิ ปี อ งกนั มะเรง็ เบอ้ื งตน 2-7 2.3 แผนพฒั นาทเี่ ก่ียวขอ ง 2-8 2.4 ทฤษฎที ่เี ก่ยี วขอ ง 2-8 2.4.1 การดูแลสขุ ภาพแบบองคร วม (Holistic Care) 2-9 2.4.2 ทฤษฎสี ังคม 2.10 2.4.3 ทฤษฎจี ติ บำบดั (Psychotherapy) 2-16 2.5 หลกั การหรอื เกณฑมาตรฐานตา งๆทเี่ กยี่ วกบั การออกแบบสถาปตยกรรม 2-16 2-16 หนา 2.5.1 การออกแบบอาคารสถานบริการสขุ ภาพ 2-18 ก 2.5.2 กระบวนการออกแบบงานสถาปตยกรรม 2-19 ข 2.5.3 การออกแบบเพอ่ื คนทุกกลุม ทกุ เพศ ทกุ วัย ( Universal Design ) 2-21 ฃ 2.5.4 หลกั การออกแบบสว นจัดแสดงนทิ รรศการ 2-25 ฅ 2.5.5 หลักการออกแบบหองประชุม (Auditorium Design) 2-25 ง 2.5.6 กระบวนการในการวางแผนและออกแบบสวนสาธารณะ ง 2.5.7 หลักทัว่ ไปในการจดั แผนผงั สำนักงาน ฃ
สารบญั (ตอ) หนา เร่อื ง สารบญั (ตอ ) 2-26 4.4 รายละเอยี ดผใู ชโครงการ หนาเรอ่ื ง 2-28 4-5 2.6 การศึกษาอาคารตัวอยาง 2-31 4.4.1 การกำหนดผใู ชโ ครงการ 4-5 2.6.1 อาคารตัวอยา งในประเทศไทย 3-1 4.4.2 สรปุ ผใู ชโ ครงการ 4-6 2.6.2 อาคารตวั อยา งในตางประเทศ 3-2 4.4.3 การคาดการณ จำนวนผใู ชโ ครงการ 4-6 2.7 พระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคารท่เี ก่ยี วของ 3-2 4.4.4 ชว งเวลาเปรยี บเทยี บกบั ผูใ ชโ ครงการ 4-7 3-2 4.5 การกำหนดรายละเอียดของกจิ กรรม 4-8บทที่ 3 การเลอื กตำแหนง ท่ีต้งั และวเิ คราะหท ต่ี ้งั 3-3 4.5.1 กิจกรรม 4-8 3.1 ศึกษาประวัตคิ วามเปนมาของทีต่ งั้ โครงการ 3-3 4.5.2 Program 4-9 3.2 ศกึ ษาและวิเคราะหท ำเลท่ตี ั้งโครงการ 3-4 4.5.3 Function 4-10 3.2.1 ศกึ ษาประวตั คิ วามเปนมาของที่ตง้ั โครงการ 3-4 4.6 พ้ืนท่ใี ชส อยโครงการ 4-14 3.2.2 ท่ีต้งั และอาณาเขต 3-4 4.7 การประมาณงบประมาณของโครงการ 4-17 3.2.3 การแบงเขตการปกครอง 3-5 4.8 ระบบวิศวกรรมท่เี ก่ียวของ 4-18 3.2.4 สภาพทว่ั ไปของชุมชนเมอื งชะอำ 3-6 บทท่ี 5 แนวความคดิ และผลงานการออกแบบ 3.2.5 ลักษณะภูมอิ ากาศ 3-7 5.1 แนวความคิดในการออกแบบ 5-1 3.2.6 เศรษฐกจิ เมืองชะอำ 3-7 5.2 แนวความคดิ ในการออกแบบอาคาร 5-2 3.2.7 ศักยภาพ 3-9 5.3 การพัฒนาแบบสถาปต ยกรรมครั้งท่ี 1 5-3 3.3 การวิเคราะหศ ักยภาพทต่ี ง้ั 3-10 5.4 การพัฒนาแบบสถาปตยกรรมครัง้ ท่ี 2 5-4 3.4 สถานทส่ี ำคญั บรเิ วณโดยรอบท่ีตัง้ 3-11 5.5 การพัฒนาแบบสถาปตยกรรมคร้ังท่ี 3 5-5 3.5 ศกึ ษาและวเิ คราะหเลอื กทต่ี ั้งโครงการ 3-11 5.6 ผลงานการออกแบบ 5-6 3.5.1 เกณฑในการเลือกทตี่ ั้งโครงการ 3-12 5.7 รปู ถายหุน จำลอง 5-19 3.5.2 วเิ คราะหส ภาพภูมอิ ากาศและมลภาวะ บทที่ 6 บทสรุปและขอ เสนอแนะ 3.5.3 วเิ คราะหมมุ มองจากทีต่ ้ังโครงการ 4-1 6.1 บทสรปุ 6-1 3.6 ศึกษาและวิเคราะหทางดานพระราชบัญญัติควบคมุ อาคาร 4-2 6.2 ขอเสนอแนะคณะกรรมการ 6-5 ของทีต่ ้งั โครงการ 4-3 บรรณานุกรม ธ 3.6.1 กฎกระทรวงบงั คับผังเมอื งรวมจงั หวดั เพชรบรุ ี 3.7 สรปุ ที่ต้งั โครงการบทที่ 4 รายละเอยี ดโครงการ 4.1 ความเปนมาของโครงการ 4.2 จุดประสงคห ลกั ของโครงการ 4.3 โครงสรา งงานบรหิ ารของโครงการ ค
สารบญั ภาพ ภาพท่ี สารบัญภาพ(ตอ) หนา 2.21 หนา ภาพที่ 1-1 2.22 ภาพรปู แบบหองประชมุ รูปพดั 2-22 1.1 ภาพจำนวนเปอรเ ซนมะเร็งแตละชนดิ 1-1 2.23 ภาพรปู แบบหองประชุมทรงเกือกมา 2-22 1.2 ภาพเซลลม ะเร็ง 1-2 2.24 ภาพรูปแบบหองประชุมแบบรูปวงกลม 2-23 1.3 ภาพมะเรง็ ชนดิ ไหนท่ีคราชีวิตคนไทยมากท่สี ุด 1-3 2.25 ภาพรูปเวทปี ลายหอง 2-23 1.4 ภาพTargeted Therapy 1-3 2.26 ภาพเวทOี pen Stage (เวทเี ปด) 2-24 1.5 ภาพยบั ยง้ั เสน เลอื ดหยดุ ยงั้ มะเรง็ 1-4 2.27 ภาพเวทีอารีนา ( ARENA STAGE ) 2-24 1.6 ภาพพิม ซาซา 1-4 2.28 ภาพเวทปี รับได 2-24 1.7 ภาพความสขุ ผูปวย 1-4 2.29 ภาพสวนสาธารณะ 2-25 1.8 ภาพ\"Patch Adams\" 1-5 2.30 ภาพรปู แบบการจัดสำนกั งาน 2-25 1.9 ภาพ CANCER 1-5 2.31 ภาพอาคารสวนโมกขก รุงเทพฯ 2-26 1.10 ภาพการรักษาผูป ว ยมะเร็ง 2-2 2.32 ภาพแปลนอาคารและรปู ภายในอาคาร 2-27 2.1 ภาพHippocrates 2-3 2.33 ภาพRehabilitation Centre Groot Klimmendaal 2-28 2.2 ภาพWilliam Harvey 2-4 2.34 ภาพUbuntu Center provides pediatric HIV testing and treatment 2-29 2.3 ภาพทฤษฏีนำ้ เหลอื ง 2-5 2.35 ภาพผังเมอื งรวมจังหวัดเพชรบุรี 2-31 2.4 ภาพผักและผลไม 2-6 2.36 ภาพระยะดง่ิ อาคาร 2-32 2.5 ภาพเขียว 2-8 2.37 ภาพระยะดิ่งอาคาร 2-33 2.6 ภาพดแู ลสุขภาพ 2-9 2.38 ภาพระยะรนอาคาร 2-35 2.7 ภาพทฤษฎสี ังคมเชงิ พทุ ธปญ ญา 2-12 2.39 ภาพระยะรน อาคาร 2-36 2.8 ภาพทฤษฎจี ติ บำบดั 2-13 2.40 ภาพระยะรน อาคาร 2-36 2.9 ภาพตวั อยา งลานกิจกรรม 2-13 2.41 ภาพระยะรนอาคาร 2-37 2.10 ภาพตัวอยางครัวสอนทำอาหาร 2-14 2.42 ภาพระยะรนอาคาร 2-37 2.11 ภาพตวั อยางspace ที่นา สนใจ 2-14 2.43 ภาพระยะรน อาคาร 2-38 2.12 ภาพตัวอยางลานกจิ กรรมท่ผี ูปว ยใชรว มกนั 2-15 2.44 ภาพระยะรน อาคาร 2-38 2.13 ภาพตวั อยางลานแสดง 2-15 2.45 ภาพระยะรน อาคาร 2-39 2.14 ภาพตวั อยางหอ งบำบัดกลมุ 2-17 3.1 ภาพขนาดทจี่ อดรถ 2-40 2.15 ภาพตวั อยา ง CIRCULATION 2-18 3.2 ภาพพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหัวเสดจ็ เยยี่ มราษฎร ณ 3-3 2.16 ภาพหลักการ Universal Design 2-19 3.3 3-5 2.17 ภาพรูปแบบการจัดนทิ รรศการ 2-20 3.4 สำนกั งานเทศบาลตำบลชะอำในอดตี 3-6 2.18 ภาพรูปแบบการจัดนิทรรศการ 2-20 ภาพลกั ษณะเมอื งชะอำ บรเิ วณทีต่ ง้ั โครงการ 3-7 2.19 ภาพรปู แบบตวั อยางการจัดนิทรรศการ 2-21 ภาพสถานท่สี ำคัญบริเวณโดยรอบที่ตง้ั โครงการ 2.20 ภาพรูปแบบหองประชมุ สี่เหล่ยี มผืนผา ภาพทางเลือกทตี่ ง้ั โครงการ ฅ
สารบญั ภาพ(ตอ ) สารบญั ภาพ(ตอ)ภาพที่ หนา ภาพที่ หนา3.5 ภาพท่ีต้ังโครงการ 3-8 5.12 3rd FLOOR PLAN 5-103.6 ภาพภูมอิ ากาศและมลภาวะ 3-9 5.13 4th FLOOR PLAN 5-113.7 ภาพบรบิ ทโดยรอบ 3-10 5.14 ROOF FLOOR PLAN 5-113.8 ภาพพระราชบัญญัตกิ ารใชประโยชนทดี่ ิน 3-11 5.15 SECTION 5-123.9 ภาพสรุปทตี่ ัง้ โครงการ 3-12 5.16 ELEVATION 5-134.1 ภาพจดุ ประสงคของโครงการ 4-2 5.17 EXTERIOR PERSPECTIVE 5-154.2 ภาพกจิ กรรมภายในโครงการ 4-8 5.18 EXTERIOR PERSPECTIVE 5-164.3 ภาพProgram 4-9 5.19 EXTERIOR PERSPECTIVE 5-174.4 ภาพระบบโครงสรางอาคาร 4-18 5.20 INTERIOR PERSPECTIVE 5-184.5 ภาพระบบโครงสรา งพ้นื 4-18 5.21 รูปถา ยหนุ จำลอง 5-194.6 ภาพระบบผนงั อาคาร 4-19 6.1 ความเปน มาของโครงการ 6-14.7 ภาพระบบไฟฟา 4-19 6.2 สรุปท่ีต้ังโครงการ 6-24.8 ภาพระบบนำ้ ใช 4-20 6.3 องคป ระกอบของโครงการ 6-34.9 ภาพระบบระบายนำ้ 4-204.10 ภาพระบบบำบดั น้ำเสีย 4-204.11 ภาพระบบปรับอากาศ 4-214.12 ภาพระบบปอ งกันอคั คภี ยั 4-214.13 ภาพระบบสระวายน้ำประเภทSkimmer และเครอ่ื งปรบั อุณหภมู ินำ้ 4-224.14 ภาพPM Motor และโครงสรางลฟิ ตแ บบไมม ีหองเคร่ือง 4-225.1 แนวความคิดในการออกแบบ 5-15.2 แนวความคดิ ในการออกแบบ 5-25.3 แนวความคดิ ในการออกแบบอาคาร 5-35.4 การพัฒนาแบบรา งคร้งั ที่ 1 5-45.5 การพัฒนาแบบรา งคร้ังที่ 2 5-55.6 การพฒั นาแบบรางคร้งั ท่ี 3 5-65.7 LAY-OUT ของโครงการ 5-75.8 SITE PLAN ของโครงการ 5-85.9 FIRST FLOOR PLAN 5-95.10 SECOND FLOOR PLAN 5-95.11 3rd FLOOR PLAN 5-10 ฆ
สารบญั แผนภูมิ หนา 1-6แผนภมู ิท่ี 3-1 1.1 ขนั้ ตอนและวธิ กี ารดำเนินการศึกษา 3-2 3.1 จำนวนผูปว ยมะเร็งรายใหม ป พ.ศ.2558 4-3 3.2 แผนท่ีประเทศไทย, จงั หวดั เพชรบรุ ,ี อำเภอชะอำ 4-4 4.1 โครงสรางงานบริหารของโครงการ 4-5 4.2 เจา หนา ทีภ่ ายในโครงการ 4.3 จำนวนผูใ ชโครงการ หนา 2-30สารบญั ตาราง 2-31 3-8ตารางท่ี 4-6 2.1 ตารางแสดงการวเิ คราะหอ าคารตวั อยาง 4-10 2.2 พระราชบญั ญตั คิ วบคมุ อาคารทเ่ี กีย่ วขอ ง 4-14 3.1 เกณฑการเลอื กทีต้ังโครงการ 4-18 4.1 ชว งเวลากับผใู ชโ ครงการ 4.2 Function 4.3 รายละเอียดพืน้ ท่ี 4.4 ระบบวิศวกรรม ง
CHAPTER1
CANCERTECHNOLOGYALTERNATIVECENTER บทที่1บทนำ 1.1ความเปนมาของโครงการภาพท่ี1.1:ภาพจำนวนเปอรเซน็มะเร็งแตละชนดิที่มา:www.phukethospital.com,2560 ในปจจุบันโรคมะเรง็เปนปญหาสาธารณะสขุของประชากรทั่วโลก ซึง่องคการอนามัยโลกพบวาโรคมะเรง็เปน สาเหตุของการเสยีชีวิตอันดับตนๆของผคูนท่ัวโลกและมีแนวโนม วาจำนวนจะเพม่ิข้นึสูงในทุกๆปโดยเมื่อยอนกลับไปในปพ.ศ.2551 พบวามีผเูสียชวีติจากโรคมะเร็งทวั่โลกในปนัน้ราว7.6ลานคนตอมาในป พ.ศ.2555จำนวนของผเูสยีชีวติจากโรคมะเรง็ทั่วโลกมจีำนวนถึง8.2 ลานคนนอกจากน้ียงัมีการคาดการณวาประมาณปพ.ศ.2573 จะมีผเูสยีชีวติจากโรคมะเร็งท่ัวโลกเพม่ิขึ้นเปนจำนวน13ลานคนอกีดวย สำหรบัประเทศไทยน้นัโรคมะเร็งก็ถอืวาเปนสาเหตขุองการเสียชวีติอนัดบั1 ของคนไทยรองลงมาคอือุบตัิเหตุและโรคหวัใจตามลำดับ ซงึ่ขอมลูลาสุดจากกระทรวงสาธารณะสขุ พบวาคนไทยเสยีชวีติจากโรคมะเร็งประมาณ60,000คนตอป หรือเฉล่ียช่วัโมงละเกือบ7รายโดยมสีาเหตกุารเสียชวีิตจากโรคมะเรง็5 อนัดับแรกไดแกมะเรง็ตบัและทอนำ้ดี มะเรง็ปอดมะเรง็เตานมมะเรง็ลำไสใหญและทวารหนกัและมะเร็งปากมดลกู ทม่ีา:แผนการปองกนัและควบคมุโรคมะเรง็แหงชาติ(พ.ศ.2556-2560) www.naewna.comภาพท1ี่.2:ภาพเซลลมะเรง็ท่ีมา:http://www.bangkokhealth.com/health/article 1-1
CANCERTECHNOLOGYALTERNATIVECENTER ซ่งึเม่ือจำแนกตามเพศจะพบวาในเพศชายมีจำนวนผเูสยีชวีติจากโรคมะเรง็5 อันดบัแรกไดแกมะเรง็ตบัและทอน้ำดีมะเรง็ปอดมะเรง็ลำไสใหญและทวารหนัก มะเร็งชองปากและคอหอยและมะเรง็เมด็เลือดขาวสวนในเพศหญิง มีจำนวนผูเสยีชวีติจากโรคมะเร็ง5อันดับแรกไดแกมะเร็งตบัและทอนำ้ดี มะเร็งปอดมะเรง็เตานมมะเรง็ปากมดลูกและมะเร็งลำไสใหญและทวารหนัก จากขอมูลขางตน ทำใหทราบวาโรคมะเร็งเปนภัยรายท่ีคราชีวิตผคูนไปจำนวนมากมายในแตละป และมีททีาวาจะเพ่มิขึ้นเร่ือยๆอยางไรก็ตามสถิตโิรคมะเรง็สามารถลดลงได เพียงคุณใสใจดแูลตนเองหมนั่ตรวจสขุภาพและตรวจคัดกรองหาโรค โดยสง่ิสำคัญท่ีอยากจะเนนยำ้วา“โรคมะเรง็”สามารถปองกนัและรักษาใหหายได หากตรวจพบและรักษาอยางถูกตองและทนัเวลา ท่มีา:แผนการปองกนัและควบคมุโรคมะเรง็แหงชาติ(พ.ศ.2556-2560) www.naewna.comภาพที1่.3:มะเร็งชนดิไหนที่คราชีวติคนไทยมากทีส่ดุที่มา:https://www.traveleatenjoy.com,2560 1-2
CANCERTECHNOLOGYALTERNATIVECENTER การรกัษามะเรง็ดวยแพทยแผนปจจุบันไดพฒันาไปอยางมากจนทำใหผปูวยมีชีวิตรอดจากมะเรง็มากข้นึมชีีวิตยนืยาวขน้ึทง้ันีก้็เนือ่งจากนวตักรรมความกาวหนาในการวินจิฉัยและรักษาโรคมะเรง็ทมี่ีประสิทธิภาพและปลอดภัย พฒันาจากการรักษาแบบดั้งเดมิทเี่คยใชตั้งแตอดีตกาลสามารถสรปุไดเปน10 นวัตกรรมดังน้ี1.การรกัษาโรคมะเร็งตามเปาหมาย(TargetedTherapy) ภาพที1่.4:TargetedTherapy2.ยับยง้ัเสนเลอืดหยดุย้ังมะเร็ง ทีม่า:https://curesearch.org,25603.ยายับยั้งกระดูกหยดุยัง้มะเรง็4.วัคซีนรักษาโรคมะเร็ง5.ฮอรโมนบำบัด6.ยาปองกนัโรคมะเร็ง7.ศลัยกรรมผาตัดเล็ก8.รังสีพุงเปา9.การแพทยปจเจกบุคคล10.เซลลตนกำเนดิบำบัดมะเรง็ท่ีมา:วารสารโรงพยาบาลกรงุเทพคริสเตียน ภาพท1ี่.5:ยับยง้ัเสนเลือดหยุดยั้งมะเรง็ ทมี่า:http://www.siamca.com,2560 1-3
CANCERTECHNOLOGYALTERNATIVECENTER ในปจจุบนัการรักษามะเรง็มีความกาวหนาไปอยางมาก แตหลงัจากท่ีไดรบัการรกัษาผปูวยตองการกำลังใจและตองการวธิีทจี่ะดแูลสขุภาพ เพื่อฟนฟูตัวเองใหดขีึ้นและดำเนินชวีติไดอยางปกตไิรกังวล จึงเกิดเปน“โครงการศูนยเทคโนโลยทีางเลือกรักษาโรคมะเร็ง” เพื่อเปนทบี่ำบัดรักษาและฟนฟูผปูวยโรคมะเร็งหลงัไดรบัการรกัษาจากโรงพยาบาล เปนแหลงใหคำปรึกษาการดำเนนิชีวิตผปูวยมะเรง็ ทำใหผูปวยหาทางออกทด่ีีใหกับตัวเองและครอบครัว ภาพที่1.7:ความสุขของผูปวย ท่ีมา:http://www.onenee.com,2560ภาพที1่.6:พิมพซาซาทมี่า:http://www.edtguide.com/lifestyle/445551 ภาพที่1.8:\"PatchAdams\" ทม่ีา:ภาพยนต\"PatchAdams\" 1-4
CANCERTECHNOLOGYALTERNATIVECENTER1.2จดุประสงคหลกัของโครงการ 1.2.1เพื่อเปนศูนยบำบัดรักษาและฟนฟูผูปวยมะเร็ง 1.2.2เพ่ือใหผปูวยมะเรง็และครอบครวัมคีุณภาพชวีิตทีด่ี 1.2.3เพ่ือเปนที่ใหความรผูปูวย 1.2.4มรีะบบการบริหารจดัการในการดำเนนิการตรวจดูแลรกัษา ผปูวยมะเรง็ภทามี่พาท:1่ีh.t9tp::/C/AwNwCwE.laRdy108.com,2560 ภทามี่พาท:ี่1h.t1tp0:/:/กwารwรwักษ.eาlผbูปloวgยdมeะเlรaง็salud.es,25601.3ขอบเขตของการศึกษาโครงการ 1.3.3ศกึษาวิเคราะหการออกแบบสถาปตยกรรม 1.3.2 ศึกษาดานทต่ีง้ัโครงการ 1.3.3.1ศึกษาทฤษฎีทเ่ีก่ยีวของกับโครงการ1.3.1ศกึษาความเปนไปไดของโครงการ 1.3.2.1ศึกษาบรบิทโดยรอบที่ตั้งโครงการ วิเคราะหปญหาในดานตางๆ 1.3.3.2ใชรปูแบบสถาปตยกรรมเขามาแกปญหา 1.3.1.1ศกึษาถงึเรอ่ืงราวการดำเนนิชวีิต ท้ังการสญัจรของคนการสญัจรของรถและพ้ืนทีพ่ักผอนบรเิวรใกลเคยีงโครงการที่ไดจากการวิเคราะหในดานตางๆ 1.3.2.2ศึกษาพระราชบญัญัตคิวบคมุอาคารทีเ่กยี่วของขอกำหนดการใช 1.3.3.3ศึกษาอาคารตัวอยางวเิคราะหแลวนำมาของผูปวย ท่ีดนิท่วีางโดยรอบความสงูอาคารพนื้ทๆ่ีสามารถกอสรางไดสงูสดุ และ ปรับใชกับโครงการ 1.3.1.2ศึกษาถงึนวัตกรรมเทคโนโลยใีหมที่ ผลกระทบกับสิง่แวดลอม 1.3.3.4สรุปขอมูล,ออกแบบทางสถาปตยกรรมนำมาใชรักษาโรคมะเร็งและฟนฟูผูปวย 1-5
CANCERTECHNOLOGYALTERNATIVECENTER ขนั้ตอนและวิธีการดำเนนิงาน ........................................................... 1.4ข้นัตอนและวิธกีารดำเนินการศึกษาโครงการพัฒนาศูนยเทคโนโลยทีางเลือกรักษาโรคมะเรง็ ..... ................... เหตผุลทท่ีำใหเกิดโครงการดำเนนิการวางแผน.......................................................วเิคราะหและคนควา.......................................การสรางแนวความคิดจดัทำโครงรางของโครงการ .......... ............. .......................................................................................... ................. 1.5ประโยชนทีไ่ดรบัจากการศึกษา ............... โครงการ.............. 1.5.1.ไดศกึษาขอมูลเร่อืงราวความตองการของ..................สรปุรายละเอยีดโครงการ............... การสรางทางเลือก ผปูวยโรคมะเรง็ 1.5.2ไดศึกษาและเขาใจถึงนวตักรรมท่ีใชรักษาและปรับปรุงแกไขขอมูล การออกแบบเบอื้งตน ฟนฟผูปูวยโรคมะเรง็ 1.5.3ไดศกึษาเร่อืงการดแูลสุขภาพจดัทำรายงานภาคขอมลู พัฒนาแบบ 1.5.4สามารถนำขอมูลทไ่ีดจากการศึกษาวเิคราะห................................................................. ขอมูล,แบบสถาปตยกรรม,หุนจำลอง ไปใชในการพัฒนาพน้ืทไี่ดอยางมปีระสิทธิภาพสงูสดุ 1.5.5ไดทำการออกแบบทางสถาปตยกรรม ท่ตีอบ นำเสนอผลงานการออกแบบ ............................... สนองความตองการของบรบิทและผูปวยไดจรงิแผนภมูิท่ี1.1ข้ันตอนและวิธีการดำเนนิการศึกษาที่มา:จากการวเิคราะห(ศตเมธพระแกว,2560) 1-6
CHAPTER2
หลักการออกแบบและทฤษฎีทเี่ กย่ี วของ2.1 ความหมายและคำจำกดั ความ2.1.1 ความหมาย 2.1.2 คำจำกัดความโครงการพัฒนาศูนยเ ทคโนโลยที างเลือกรกั ษาโรคมะเร็ง(พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตสถาน,2554) โครงการพฒั นาศูนยเทคโนโลยที างเลอื กรักษาโรคมะเร็งโครงการ คือ โครงการพฒั นาเพอื่ เปน ศูนยบำบัดฟนฟผู ปู วยโรคมะเร็งพัฒนา หมายถงึ แผนหรือเคาโครงตามที่กาหนดไว ใหผูปว ยไดมีสขุ ภาพทีด่ ขี ึ้นและดูแลสุขภาพตัวเองไดอยางถกู วธิ ีศูนย หมายถึง ทำใหเจรญิ เปนแหลงเรียนรวู ธิ ีการดแู ลสุขภาพของผูป ว ยมะเร็ง และเทคโนโลยี หมายถึง จดุ กลาง, ใจกลาง, แหลงกลาง, แหลง รวม เปน แหลง ใหผูปวยไดม ีทสี่ ำหรับศึกษาปญ หาและวธิ กี ารดแู ล หมายถงึ วทิ ยาการทน่ี ำเอาความรูทางวทิ ยาศาสตรมาใช สุขภาพของผูปวยดว ยกนั เอง ทำใหผ ปู วยมกี ำลังใจในการ ใหเ กิดประโยชนใ นทางปฏิบตั ิ อตุ สาหกรรม ดำเนินชีวติ ตอไปทางเลือก หมายถงึ ชองทาง,โอกาส,หนทาง,ลูท าง,วธิ ีเลือก,วถิ ีทางรกั ษา หมายถงึ เยียวยาโรค หมายถงึ ภาวะท่ีรางกายทำงานไดไ มเปนปรกติมะเร็ง เน่ืองจากเชอ้ื โรคเปนตน หมายถึง เนอื้ งอกชนิดรา ยเกิดขนึ้ เพราะเซลลแบง ตวั อยาง รวดเร็ว ควบคุมไมไ ด แลว แทรกไปตามเนื้อเยื่อขา งเคยี งและ สามารถหลดุ จากแหลงเร่มิ ตนไปแบง ตวั เพิ่มจำนวนท่ีบรเิ วณ อืน่ ๆ ได รกั ษาไมค อ ยหาย 2-1
2.2 การศกึ ษาเรอื่ งราวทางประวัติศาสตรของเร่อื งที่ศกึ ษา2.2.1 ทีม่ าของคำวา Cancer (โรคมะเรง็ ) ฮปิ โปเครตีส (Hippocrates) แพทยชาวกรกี และเปนบิดาแหงการแพทย เปน ผูสรางคำนีข้ ึน้ มาHippocrates นำคำวา คารซนิ อส(Carcinos) และคารซิโนมา (Carcinoma) ในภาษากรกี มาใชอธิบายเนอ้ื รา ย และจงึ เรยี กโรคมะเร็งวา คารค ินอส (Karkinos)เปน ภาษากรกี ทเ่ี อาไวใ ชเ รียก ปู เพราะวาHippocrates คดิ วาเนือ้ รา ยนมี้ ลี กั ษณะคลา ยกับปู ถงึ แมว า Hippocrates จะเปน คนทนี่ ิยามคำวาCancer แตก ็ไมใ ชคนแรกท่คี นพบโรคนีค้ วามเปน มาของมะเรง็ จรงิ ๆแลวเริม่ ตน มากอ นหนา นั้นอกี2.2.2 โรคมะเรง็ ทม่ี กี ารบันทกึ เปน ครั้งแรก การบนั ทึกโรคมะเร็งที่เกาแกทส่ี ดุ ในโลก มาจากสมยั อียิปตโ บราณในชวง 1,500 ปก อ นครสิ ตกาลการบนั ทึกรายละเอียดทำบนกระดาษปาปรุส จดบนั ทึกเกยี่ วกบั เน้อื รา ยท่ที รวงอกจำนวน 8 รายวธิ กี ารจัดการกบั โรคนี้ คอื การทำการจดี้ ว ยเคร่ืองมือทม่ี ีความรอน เรยี กวา The Fire Drill เพือ่ ทำลายเน้อื เย่ือตอนนนั้ ยังมกี ารบันทึกดวยวา ยังไมมกี ารรกั ษาสำหรบั โรคน้ี มีแตการดแู ลผูปว ยแบบประคับประคอง(Palliative Treatment)มีหลักฐานวา ชาวอียิปตโบราณสามารถบอกไดถงึ ความแตกตางระหวา งเนอื้ ดีและเนอ้ื ราย ตามท่มี ีการจารึกไวการเอาเนอ้ื รายบนพืน้ ผิวออกในตอนน้ันใชว ธิ ที ีค่ ลายคลึงกบั ในปจ จุบนั น้ี ภาพที่ 2.1 Hippocrates ที่มา : www.emaze.com,25602-2
2.2.3 สาเหตขุ องมะเรง็ ในความคิดของแพทยสมยั กอ น 2.2.4 ตนกำเนิดของการชันสตู รทางพยาธวิ ิทยา (Pathological autopsy) ภาพที่ 2.2 William Harvey ท่ีมา : th.wikipedia.org,2560 ปจจุบันนี้ ความรเู กย่ี วกับรา งกายมนุษยม ีมากมายแตแ พทยใ นยคุ กรกี โบราณ การชันสตู รคร้งั แรกที่ทำโดยคณุ ฮารเวย (Harvey) ในป ค.ศ.1629ไมไ ดม ีความรขู นาดน้ี Hippocrates เช่ือวา รา งกายมนุษยป ระกอบไปดวยของเหลวสอ่ี ยา ง ไดปูทางสูการเรยี นรเู กยี่ วกบั กายวิภาคศาสตร และสรีรวทิ ยาของมนุษยไดม ากข้นึไดแ ก เลอื ด เสมหะ น้ำดีเหลอื ง (Yellow Bile) และ นำ้ ดดี ำ (Black Bile)เขาเช่ือวาน้ำดีดำ มีการคน พบการไหลเวยี นของเลือด เปด ประตูใหก ับการทำงานวจิ ยั เกีย่ วกบั โรคตา ง ๆทีม่ ีมากเกนิ ไปในสว นใด ๆ ของรา งกายทำใหเ กดิ มะเรง็ แลว ความเช่อื นี้กก็ ลายมาเปน ความคิด ไดมากข้ึน การชันสตู รเพอื่ หาสาเหตุการเสียชีวติ ของผปู วยไดเ กิดขน้ึ เมื่อป ค.ศ. 1761เรือ่ งสาเหตุของโรคมะเร็งหลงั จากน้ันมาเรอ่ื ย ๆ อีก 1,400 ป คนแรกทีท่ ำคอื คณุ จิโอวานน่ี มอรแกกนี่ (Giovanni Morgagni) จากเมอื งพาดวั (Padua)ในยุคอยี ปิ ตโบราณ เปน ความเชื่อวาพระเจา เปนผทู ำใหเกิดโรคมะเร็ง 2-3
2.2.5 ทฤษฎอี น่ื ๆ เกี่ยวกับสาเหตขุ องโรคมะเร็งทฤษฎีนำ้ เหลืองเกิดขึน้ ในศตวรรษท่ี 17 จนกระทงั่ ในศตวรรษที่ 19 ในศตวรรษท่ี 20มาแทนที่ทฤษฎีน้ำดีดำของฮิปโปเครตีสในเรอ่ื งของสาเหตุของ รูดอฟห เวอรโชว (Rudolph Virchow) ไดส ังเกตเหน็ วา เปนความกาวหนาครง้ั ยิง่ ใหญทีส่ ุดในการทำวิจยั โรคมะเรง็มะเรง็ การคน พบระบบน้ำเหลืองใหขอ มลู ใหม ๆ วาอะไรบาง เซลลตา งๆหรอื แมก ระทง่ั เซลลม ะเร็งเองมตี นตอ มาจากเซลลอ น่ื มีการคนพบงานวจิ ยั บง ชีส้ ารกอ มะเรง็ (Carcinogens)ทอี่ าจจะเปน สาเหตุของโรคมะเรง็ ได และไดม ีความเชอ่ื วา จากน้ันทฤษฎีอ่ืน ๆ ก็มีมาเรอ่ื ย ๆ อกี เชนโรคมะเร็งมีสาเหตมุ า การทำเคมบี ำบดั การฉายแสง และวิธีการวนิ ิจฉยั ท่ดี ขี ้ึนความผิดปกติในระบบน้ำเหลอื งเปน สาเหตขุ องโรคมะเร็ง จากการบาดเจ็บ ปรสติ และมกี ารเช่อื กนั วา มะเร็งแพรกระจาย ปจจบุ ันน้ี เราสามารถรกั ษามะเรง็ บางประเภทไดแลว และยงั มี แบบของเหลว ไดม กี ารสรุปกันในตอนหลัง การทำงานวิจยั อยเู ร่ือยๆการทดลองทางคลนิ ิคและการทำงาน ศึกษาวิจยั เปน กญุ แจหลักในการหายารกั ษาโรค หรอื หาวธิ ี โดยคารลธีรส(KarlThiersch)ศัลยแพทยช าวเยอรมันวา ปอ งกัน มะเรง็ แพรกระจายผานทางเซลลเนื้อราย ในป ค.ศ. 1926 ท่ีตรงจุด มีการมอบรางวัลโนเบลใหอ ยา งผิดพลาดใหก ับการคน พบท่ีบอ กวา สาเหตุของมะเรง็ กระเพาะอาหารคอื หนอน (ปรสิต) ท่มี า : www.honestdocs.co,2560ภาพที่ 2.3 ทฤษฏีน้ำเหลอื งทม่ี า : www.4lifesecret2u.com,2560 2-4
2.2.6 วธิ ปี อ งกนั มะเรง็ เบื้องตน2.2.6.1 ตรวจรา งกายเปน ประจำทุกปเปน สิ่งจำเปนมากเพ่ือท่ีจะรูว า เรามสี ขุ ภาพทส่ี มบูรณแ ขง็ แรงอยูหรอื ไม สว นใหญค นท่ีเปน มะเรง็ แลว รกั ษาไมห ายหรือรักษาไมทนั เพราะกวา ผปู วยจะรแู นวาตนเปน โรคมะเรง็ก็มอี าการอยูในขน้ั ที่ถือวารุนแรงแลว บางคนปวดทอ งมาตลอดก็คิดเอาเองวา เปน โรคกรดไหลยอ นบาง โรคกระเพาะบาง ก็ซือ้ ยามากนิ เอาเองตามท่ีเขาใจไมย อมไปพบแพทยบางคนปวดหัวกค็ ดิ เอาเองวา เครียดหรอื อาจเปน ไขนิดหนอย กินยาแกป วดเอาเองก็ได แตจ รงิ ๆ แลวอาการเหลานีอ้ าจเปนอาการเตือนเราถงึ โรคทร่ี ายแรงกวานนั้ เชนโรคมะเร็งกไ็ ด ดงั น้นันอกจากการตรวจรางกายประจำทุกปแ ลวกค็ วรรบี ไปพบแพทยท ุกครงั้ เมือ่ เกดิ อาการเจบ็ ปว ย หรือมีส่งิ ผิดปกตติ า งๆ ของรางกาย เชน มีตุมหรอื เนอื้ งอกเกดิ ข้นึ ทีส่ วนใดสวนหนึง่ ของรางกายหรือมเี ลอื ดออกผดิ ปกติ จะทำใหเ รายังมีเวลาท่ีจะรักษาอาการไดไ ปอกี นาน 2.2.6.1 เลือกรับประทานอาหารทชี่ วยตา นมะเรง็มงี านวจิ ยั ทีก่ ลา วถึงอาหารทม่ี าจากผกั และผลไมหลายชนดิ ทีม่ ีสารตานมะเรง็ ได ซึง่ ไดแก 2.2.6.1.ก ผกั และผลไม บางประเภทมีสารทช่ี วยกระตุนภูมคิ ุมกันในการทำลายเซลลทก่ี อ มะเร็ง สามารถเปลีย่ นเซลลม ะเร็งใหเ ปนเซลลปกตไิ ด อีกทั้งสามารถยับย้ังการเกิดสารมะเรง็ ในรา งกายและมสี ารตานมะเร็ง ไดแ กค ะนา บร็อกโคลี กะหล่ำปลี กะหลำ่ ดอก มะเขอื เทศ กระเทียม หวั หอม ขึ้นฉาย ผักโขม แครอท แอปเปล สม บีทรูท เห็ดหลนิ จอืภาพท่ี 2.4 ผักและผลไม 2-5
2.2.6.1.ข ชาเขียว ประกอบดวย สารคาเทชินและสารเคมอี กี หลายชนดิ ซึ่งเปนสารตอตานอนุมลู อิสระในระดับที่สูง จงึ ชวยปองกนั โรคมะเร็ง รวมถงึ ลดการเตบิ โตของมะเรง็ ได ภาพท่ี 2.5 ชาเขยี ว ควบคุมสมดลุ กรดดา งและยังนำสารอาหารทีม่ ีประโยชนเขาสูเซลลด วย ที่มา : http://sukkaphap-d.com,2560 2.2.6.1.ฃ น้ำสะอาด ชวยทำความสะอาดและขจดั สารพิษสิง่ สกปรกออกจากเซลลใ นรา งกายจึงควรด่ืมน้ำสะอาดในอุณหภูมิปกติใหไ ดว นั ละอยางนอ ย 6-8 แกว 2.2.6.1.ค ธัญพชื ตางๆ เชน ขา วกลอง ขา วซอมมอื ขา วสาลี ชวยปอ งกนั มะเร็งในลำไสใ หญ งาดำ มสี ารแอนตอิ อกซิแดนทท ช่ี วยตอตา นมะเรง็ ลกู เดือยชวยยับย้งั การเจริญเติบโตของเนอ้ื งอกจงึ ลดการเกิดโรคมะเร็งไดการหยุดรับประทานเนื้อสัตวสีแดงและหันมาเลือกรับประทานอาหารที่เปนพวกธัญพืชแทนจะทำใหรางกายสะอาดและชวยลดอาการของโรคมะเร็งไดผูเขียนรูจักคนหลายคนท่ีเปน มะเรง็ แลว สามารถหายจากโรคมะเร็งท่ีเปนอยไู ดโดยการรับประทานอาหารที่เปน พวกธญั พชืที่มา : ดร.แพง ชนิ พงศ ,25602-6
2.3 แผนพัฒนาท่เี ก่ยี วของ 2.3.2.6 สงเสรมิ และสนับสนนุ สรางความรอบรดู านสขุ ภาพ เพอื่ ปรบั เปล่ียนพฤติกรรมการบรโิ ภค แผนยุทธศาสตรชาตริ ะยะ 20 ป (ดานสาธารณสุข) (พ.ศ. 2560 - 2579) 2.3.2.7 ผลกั ดนั และบังคบั ใชก ฎหมายยุทธศาสตรท่ี 1 สงเสริมสุขภาพและปอ งกนั โรคเปน เลศิ 2.3.2.8 บรหิ ารจัดการสงิ่ แวดลอมที่เอื้อตอการมสี ขุ ภาพทด่ี ี(Prevention & Promotion Excellence) 2.3.2.9 สนบั สนนุ การมีสว นรวมของเครอื ขาย2.3.1 วัตถุประสงค 2.3.3เปาหมายการพฒั นา : 2.3.3.1 ประชาชนทุกกลุมวัยมสี ขุ ภาพท่ีดี 2.3.1.1 เพอื่ สงเสริมใหป ระชาชนทุกกลมุ วยั มสี ุขภาพดี ได 2.3.3.2 มีระบบปอ งกนั ควบคุมโรค ระบบเฝาระวังโรคทีส่ ามารถรบั การสงเสริมสุขภาพ ปอ งกนั ควบคมุ โรคและภัยสุขภาพและลดปจจัยเสีย่ งดานสขุ ภาพ โดยมรี ะบบตอบสนองตอ ภยั สุขภาพตา งๆ ตอบสนองไดท นั ทีตลอดจนมกี ารคมุ ครองผบู ริโภคดา นสขุ ภาพที่ดี อยูในสภาพแวด 2.3.3.3 มีระบบคมุ ครองผบู ริโภคที่มีประสิทธิภาพลอ มทเ่ี อ้ือตอการมสี ขุ ภาพดสี ง ผลใหอายุขัยเฉล่ียและคุณภาพชวี ิต 2.3.3.4 มีระบบการบริการจัดการสิ่งแวดลอมท่เี ออื้ ตอ สุขภาพของดขี น้ึ2.3.2. แนวทางการพฒั นา ประชาชน 2.3.3.5 ทุกภาคสวนมสี วนรว มในการสงเสริมสขุ ภาพ ปอ งกันโรค 2.3.2.1 พัฒนาระบบสง เสริมสขุ ภาพโดยการพฒั นาศกั ย ภาพคนไทยทกุ กลมุ วยั (ดานสขุ ภาพ) 2.3.2.2 พัฒนาคณุ ภาพมาตรฐานการบรกิ าร (ANC / WCC /NCD) 2.3.2.3 พฒั นาระบบฐานขอ มูลรายบคุ คล และเช่ือมโยงระ บบขอ มูลกับหนวยงานทเ่ี กยี่ วขอ ง 2.3.2.4 สง เสรมิ การผลติ และพฒั นาศักยภาพบุคลากร 2.3.2.5 เสริมสรางความเขม แขง็ ของปองกนั ควบคุมโรค และภยั สุขภาพ 2-7
2.4 ทฤษฎีทเี่ กย่ี วขอ ง2.4.1 การดูแลสุขภาพแบบองคร วม (Holistic Care)การดูแลสขุ ภาพแบบองครวม หมายถึง การดแู ลสขุ ภาพบุคคลใหมีความสมดลุ ท้ังดา นรางกาย จิตใจ อารมณ สิ่งแวดลอม และสงั คมรวมทั้งความสามารถในการปฏิบตั หิ นาท่ีตามความเก่ียวของสัมพันธ์กับสงั คม สขุ ภาพแบบองครวม (holistic health) เปน แนวคิดที่ไดจากแนวคิดเกี่ยวกับความตอเนือ่ งของสขุ ภาพ โดยนำมาผสมผสานกับความเชอ่ื เกี่ยวกบั มนษุ ย สขุ ภาพแบบองครวมนี้เชอื่ วาคนทง้ั คนเปนภาพรวมไมใ ชการนำเอาสว นตางๆ มาประกอบกนั และพจิ ารณาวาเหตุการณตางๆ ทีม่ ีผลกระทบตอ คนนัน้ จะกระทบตอคนโดยสวนรวมไมใ ชส วนใดสว นหนึง่ ของรา งกาย การพยาบาลแบบองคร วมนน้ัพยาบาลจะตองทำความเขา ใจเกี่ยวกบั ความรูสกึ ความเชอ่ื คา นิยมการดำเนนิ ชวี ิตและพฤตกิ รรมตา งๆ ของประชาชนหรือผมู ารับบรกิ ารเพราะสง่ิ เหลานี้เปน เครอื่ งบง ชคี้ วามเปน องคร วมของบุคคลเพือ่ ใหคำแนะนำหรือการชวยเหลือ ตองเปน การชว ยคนซ่ึงเปนองครวมของกาย จิต วญิ ญาณ และสิ่งแวดลอ ม โดยพยาบาลจะตองมีความตระหนกั ในความเปนบุคคลของคนอ่นื ใหเ วลารูจ ักการเปนผฟู งแสดงถงึ ความเคารพผูร ับบริการในฐานะบคุ คล(ทัศนา บุญทอง, 2560) ภาพที่ 2.6 ดแู ลสุขภาพ ทมี่ า : www.healthy2balance.com,2560 2-8
2.4.2 ทฤษฎสี ังคม ทฤษฎีสงั คม คอื คำอธบิ ายเร่ืองของคนและความสมั พนั ธระหวา งคนตามหลักเหตผุ ล และความสมั พนั ธร ะหวา งสว นตา งๆของคนหรอื ระหวางคนตอคน คนตอ กลมุ คนตอสภาพแวดลอ ม อยา งมีระบบจนสามารถพยากรณไ ด ทฤษฎีสงั คมตามความหมายดังกลา ว จงึ มีขอบเขตกวา งขวางเปนคำอธิบายเกยี่ วกบั คนแตละบุคคล กลมุ คน ความสัมพันธระหวางคนตา งๆรวมไปถึงคำอธิบายความสัมพันธ ระหวา งคนกบัส่งิ แวดลอมทง้ั ทีเ่ ปน สง่ิ มชี วี ิตและไมมชี ีวิต ขอสำคัญนน้ั จะตอ งเปนไปตามหลกั เหตุผล มรี ะบบระเบยี บพอทจ่ี ะเปนฐานในการพยากรณเร่อื งทำนองเดยี วกันในอนาคตได Jame Miley “โดยทว่ั ไป ความพยายามท่ีจะอธบิ ายสวนหน่งึ สวนใดของสังคม(Social life) ถือไดวาเปนทฤษฎสี ังคม”และ Henry P Fairchild ใหค วามหมายวา“ทฤษฎสี ังคม คือ การวางนยั ทั่วๆไปหรอื ขอสรุปทใ่ี ชไดท ่วั ไป เพอ่ือธิบายปรากฏการณสงั คมอยางใดอยา งหนง่ึ ” ภาพท่ี 2.7 ทฤษฎีสงั คมเชงิ พุทธปญญา ที่มา : www.kroobannok.com,2560 2-9
2.4.3 ทฤษฎจี ติ บำบดั (Psychotherapy) 1.2) จิตบำบัดแบบ Distributive-Synthesis ตามแนวคดิ ของ Adof Meyer วธิ กี ารนี้จิตบำบดั จิตบำบดั เปน การรักษาทางจติ ชนิดหนึ่ง ดวยการ Adof Meyer เนน วธิ กี ารใหผปู ว ยเลา ประสบการณใ นอดตี และผูร กั ษาวเิ คราะหส ถานการณพดู คุยกับผูปว ยโดยผูบำบัดวเิ คราะหส ภาพปญ หา หาสาเหตขุ อง และสาเหตุ และรวมกันหาทางแกไ ขตอ ไปปญหาและรวมกนั ในการแกไ ขสิ่งที่เปน ปญ หา หรือความทุกขความคบั ของใจของผูป ว ย สวนวิธีการทำจิตบำบดั 2. จติ บำบัดระดับตน (Superficial Psychotherapy) เนนการบำบดั เบอ้ื งตน 3 ลกั ษณะ คือโดยท่ัวไปมี 2 วธิ ี คอื - จิตบำบดั แบบประคบั ประคอง (Supportive psychotherapy)1. จิตบำบดั ระดับลกึ (Genetic-dynamic Therapy / เนนการพดู คุยและบำบัดชว ยเหลือประคบั ประคองเบ้อื งตนDeep Psycho-therapy) - จติ บำบัดเนน การระบายปญหา (Superficial expressive psycho-therapy)เปนการทำจติ บำบัดในเชิงลกึ เนนการเปลย่ี นบุคลิกภาพระยะยาวใน เนน การระบายปญหา ความทกุ ข ความคับขอ งใจผูปว ยโดยการสืบคน ปญหา ความคบั ขอ งใจ ความวิตกกงั วล ใน - จิตบำบดั เนนการกดเกบ็ (Suppressive psychotherapy) เนนการใหข อ เสนอแนะจิตใตสำนกึ (preconscious) และจิตไรส ำนกึ (unconscious) เพื่อลดภาวะเครยี ด ความวิตกกังวล และปญ หาทไ่ี มลึกของผปู วยซึ่งกดเก็บไว การทำจิตบำบดั มี 2 แบบคอื ลกั ษณะของการทำจิตบำบดั ลักษณะของการทำจิตบำบัด แบง เปน 2 ลักษณะ คือ1.1) จิตวเิ คราะห (Psychoanalysis) ตามแนวคดิ ของซกิ มนั ด - จิตบำบัดรายบคุ คลฟรอยด ซ่งึ ใชวธิ ีการ - จติ บำบดั กลุม- Free-association เนน การปลอ ยใหผ ูปว ยเกดิ ความรูสึกอสิ ระสบาย และผอนคลาย เพือ่ ใหผ ปู วยเลาเหตกุ ารณท เี่ ปนปญหา และความทกุ ขอ อกมา- Dream interpretation เนน การใหผ ูปว ยเลาความฝน และผูรักษาดีความจากความฝน- Transference เนนการโอนถา ยความรูส กึ ไปยังบคุ คลอื่น 2-10
จิตบำบัดกลุม (Group Psychotherapy) ความหมายและความ ป ค.ศ. 1931 Moreno ไดบัญญัติศัพทกลุมบำบัด (Group Therapy)เปน มาจิตบำบดั กลุม หรอื Group Psychotherapy เปน การ ขน้ึ ใชและตอมาไดเ ปลีย่ นเปน Group Psychotherapy ในป ค.ศ. 1932บำบดั ทางจติ ชนดิ หนง่ึ ในผทู ีม่ ปี ญ หาทางจิตใจ อารมณ และ เปนการเริ่มจิตบำบดั กลุม อยา งแทจริงพฤติกรรม ดว ยการใชก ระบวนการของกลุมทม่ี กี ารวางแผน โดย ป ค.ศ. 1947 Slavson ไดจกั กลมุ จิตบำบดั โดยเนน การสรา งสมั พันธภาพพูดคยุ ถกเถยี งบุคลากรวิชาชพี เฉพาะทางทีไ่ ดรบั การศึกษาอบรมมาโดยเฉพาะ มีเปา และใหขอ เสนอแนะหมายเพือ่ ใหผเู ขากลมุ รูจ ักตนเอง เขาใจตนเอง เขาใจผูอืน่ ยอมรับ ความสำคญั ของจติ บำบดั กลุมตนเองและผอู ืน่ ได ตลอดจนสามารถปรับเปลยี่ นความคิด เจตคติ มนษุ ยเราสว นใหญมวี ถิ ชี ีวิตท่ีผกู พันกบั สงั คมและพฤติกรรม อันจะนำไปสูการแกป ญหาไดอยางถูกตองเหมาะสม ตองมีสัมพันธภาพกบั บคุ คลในสงั คมบุคลกิ ภาพของมนุษยนั้นยอมถกู เสริมสรา งขึ้นโดยกลมุ ชนน้ันๆลกั ษณะของกลุม เปนการจดั ใหผ ปู ว ยมารวมกลมุ กัน โดยมผี บู ำบดั ความสขุ สบายใจมั่นคงและชว ยกันพัฒนาเสริมและบุคคลากรวิชาชีพเขารว มกลมุ ดว ย กระบวนการกลุม เนน สรางกลุม ชนนนั้ แตม บี ุคคลเปน จำนวนมากท่ีขาดความอบอุน ขาดความสขุ มคี วามทุกขทรมานการสนทนาแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น การใหข อเสนอแนะเพื่อการ ฉะน้นั การบำบัดแบบ Group Psychotherapyปรบั ปรงุ เปลยี่ นแปลงเจตคติ และการแกปญหาท่บี กพรอ งของ ทเ่ี นนการสอนและฝกหัดผูท่ีไมมีความสุขในกลุมบุคคลตา งๆใหไ ดรับประสบการณใ หรูจักการปรบั ตัวใผูป วยในกลุม หัวใจหลักของกลมุ จิตบำบดั ก็คอื การใหผูปว ย หเ ขา สงิ่ แวดลอมและหาวธิ กี ารแกไขปญหาเพื่อใหชวยกันเองในกลมุ ไดมกี ารใชกระบวนการกลุมต้งั แตป ความทกุ ขนัน้ หมดไปค.ศ. 1905 โดย Dr. J. Pratt นำมาใชในกลุม ของผปู ว ยวณั โรค วัตถปุ ระสงค เพื่อใหผเู ขา รว มกลุมโดยการสอนการปฏบิ ัตติ ัวและการปฏิบตั งิ าน - สรางความเชื่อม่ัน ไววางใจซึ่งกนั และกันป ค.ศ. 1914 Moreno ไดใ ชกลุมบำบัดทางจติ ใจในเดก็ จรจัด - ผอนคลายความเครยี ดและหญงิ โสเภณี และตอ มาไดใ ชจ ติ บำบัดโดยเนน การนำผปู วยมาน่งั - แกไ ขความคับขอ งใจและอุปสรรคในใจของผปู ว ยในกลุมสนทนากัน ระบายอารมณและความรสู ึกรวมกนั ซ่งึ จะมสี ว นในการรวมความทกุ ขซ่ึงกันและกนัป ค.ศ. 1920 Trigent Burrow นำวธิ กี ารจิตวิเคราะหม าใชบำ - รจู ักใชกลไกทางของจติ ทถ่ี ูกตอ งและเหมาะสมบดั ในผปู ว ยจิตเภท เรียกวา กลุมวิเคราะหจ ติ โดยเนน การแนะนำวิธี - รูจกั การควบคุมอารมณ การแสดงออกพฤตกิ รรมที่เหมาะสมปฏิบัตไิ ปดวย - รจู ักสรางสัมพนั ธภาพที่ดีตอ กันในกลุม - พฒั นาความเขาใจตนเองใหถูกตอ ง 2-11
ชนดิ ของจติ บำบัดกลุมชนดิ ของจิตบำบัดกลุม มีหลายชนดิ แตพ อจะแบงยอๆ ได 5 ชนดิ ดังนี้ 3. Repreessive interaction group วิธนี ี้ไดแ ก1. Didactic group การทำกลมุ ลกั ษณะนี้ตอ งอาศยั ความรูเปนหลัก ผรู ักษาในกลมุ การพบปะสนทนากันและทำกิจกรรมรวมในสง่ิ ท่ีมีประโยชน เชน การออกกำลังกายรว มกนัมหี ลกั พงึ ระลึกวา จะตอ งนำเรอื่ งราวตา งๆ มาพูดและชแี้ นะผปู วยการบำบดั แบบนี้จำเปน การรวมกลมุ กันรอ งเพลง รวมกลุม กนั ทำงาน แบบนใี้ ชไดทง้ั โรคจติ โรคประสาท ติดเหลาตอ งอาศยั เชาวนปญญาของผปู ว ยเพื่อทำความเขา ใจถึงปญ หาตางๆ ทางอารมณของ และผูป ว ยทอ่ี ยใู นโรงพยาบาลตนและสาเหตกุ ารเกิดปญหานัน้ ๆ จงึ จะสามารถจะเขาถึงปญ หาตางๆทางอารมณของ 4. Free-interaction group อาจเรียกวา group-centered คือผปู ว ยไดเ ร็วขึน้ การรักษาแบบน้ี เหมาะสมสำหรับผปู วยทอี่ ยูในโรงพยาบาลจิตเวชท่มี ี การพูดคยุ แสดงความคดิ เหน็ อยา งอิสระโดยมเี ปาหมาย เพือ่ ชว ยเหลือซึง่ กนั และกันอยางอาการดขี ้นึ พอควร จรงิ ใจทำใหเกิดความเขาใจตนเองและผอู น่ื2. Therapeutic social วธิ ีการแบบนี้ทำไดโ ดยทผี่ ูป วยเลือกผูแ ทนของตนข้ึนมา 5. Psychodrama (ละครจิตบำบัด) หมายถงึแลว ผแู ทนเหลา น้มี สี ว นชว ยในการท่จี ะบริหารกจิ กรรมตา งๆ ในกลุม น้ันๆผรู กั ษา กลุมทใ่ี หผ ปู วยแสดงละครโดยมีจุดมุง หมายเพ่อื ใหผ ปู วยไดระบายอารมณ ความรูสกึ นกึ คดิเปน เพยี งมีสวนชว ยใหก ารปรกึ ษา และเลอื กสมาชิกในกลุม ใหค วามมุงหมายในการทำ และปญหาออกมาในรูปของการแสดง เพ่อื สะทอ นใหผปู วยท่ีรวมแสดงและมสี ว นรว มทุกคนแบบนี้กเ็ พอ่ื จะตอ งกำจดั ความเคยชนิ และความเฉ่อื ยชาอันมอี ยใู นตัวผปู ว ยกอ นเขามา เขา ใจปญ หา สภาพการณ และพฤติกรรมของตนเองไดด ีข้นึในโรงพยาบาล ซ่ึงสวนมากไมม คี วามกระตือรือรน ไมรูจ กั ตนเอง แยกตวั เองและไมม ีความภาคภูมิใจในตวั เอง วิธีน้เี หมาะสมสำหรับผปู วยทีไ่ ดจ ำหนายออกจากโรงพยาบาลแลว ภาพที่ 2.8 ทฤษฎจี ิตบำบัด ทมี่ า : www.wikiwand.com,2560 2-12
2.4.4 จากทฤษฎที ่เี ก่ียวของนำมาใชโดยภาพที่ 2.9 ตัวอยา งลานกจิ กรรม ภาพท่ี 2.10 ตวั อยางครัวสอนทำอาหารที่มา : www.huffingtonpost.com,2560 ทีม่ า : www.admissionpremium.com,2560 2.4.4.1 การดูแลสขุ ภาพแบบองครวม (Holistic Care)การจัดใหม พี ืน้ ที่สวนกลางใหผูปว ยไดม ีพ้ืนทอี่ อกกำลังกายและพ้นื ที่ลานกจิ กรรม เพ่อื ใหผูป ว ยไดใ ชรวมกัน และใหผ ปู วยมีพน้ื ที่อบรมการเลือกทานอาหาร การทำอาหารเพอื่สขุ ภาพ และมีการแนะนำในการดำเนนิ ชีวติ ของผปู วย 2-13
ภาพที่ 2.11 ตวั อยางspace ที่นาสนใจท่ีมา : www.robaid.com,2560 2.4.4.2 ทฤษฎสี ังคมการจดั ใหม พี น้ื ทใหผ ปู วยไดใ ชร ว มกัน ไดม กี ารพบปะพูดคุย เปน การบำบัดโดยผูปวยไดคุยถงึ ปญหาในการดำเนินชวี ิตของแตละคน ทำใหเ กดิ การใหก ำลังใจกนั และกนั ภาพที่ 2.12 ตวั อยา งลานกจิ กรรมท่ผี ูปว ยใชร วมกนั ทีม่ า : www.pinterest.com,2560 2-14
ภาพท่ี 2.13 ตวั อยางลานแสดงทม่ี า : pinterest.com,2560 2.4.4.3 ทฤษฎีจติ บำบัด (Psychotherapy)สรางกิจกรรมใหผ ูป วยไดทำรวมกนั เพอ่ื ไมใหผ ปู ว ยคดิ มาก และไดใชเวลาใหเกิดประโยชนโดยการใชกจิ กรรมท่ีผปู วยสนใจ เชน การแสดง การรอ งเพลง ฯลฯ ภาพที่ 2.14 ตวั อยา งหองบำบัดกลุม ท่ีมา : www.pinterest.com,2560 2-15
2.5 หลักการหรอื เกณฑม าตรฐานตา งๆทเ่ี กีย่ วกบั การออกแบบสถาปตยกรรม2.5.1 การออกแบบอาคารสถานบรกิ ารสุขภาพ 1. ประโยชนใ ชสอยหลัก (Main Function)อาคารสถานบริการสุขภาพ จะมพี ้นื ทใี่ ชสอยและรายละเอยี ดสวนประกอบที่แตกตา ง คอื ประโยชนใ ชส อยท่ีจะเอ้อื อำนวยประโยชนห รอื สนองตอบตอ กลุมผใู ชห ลัก ตามประเภทของอาคารจากอาคารท่วั ไป ตามประเภทของอาคารที่ใหบริการ หรอื อาคารทจี่ ะมาสนับสนุน 2. ประโยชนใชสอยรอง (Minor Function) คือ สว นของประโยชนใ ชสอย ท่ีจะมาคอยเกอ้ืการใหบ ริการดา นสขุ ภาพองคประกอบของอาคารจะตองมคี วามสัมพันธก นั เพื่อผูใหบ ริการ หนุนสง เสรมิ แกประโยชนใ ชสอยหลกั ใหม ีความสมบูรณครบถว นยง่ิ ขึน้ใชอ าคารดวยความสะดวก รวดเร็ว และถูกตอ งตามหลักการการใหบรกิ ารรกั ษาพยาบาล 2.5.2.2 ความตอ งการภายในอาคาร (Building Require-และผูร ับบริการไดร ับการบรกิ ารอยา งมีมาตรฐานเทาเทยี มกันรายละเอยี ดท่จี ะกลาวในบทนี้ ment)ความตอ งการภายในอาคารน้นั ขน้ึ อยูเปน รายละเอียดท่วั ไป ทเี่ กยี่ วขอ งกับการออกแบบอาคารสถานบรกิ ารสุขภาพเพื่อ กับกจิ กรรม (Activity) ที่มาจากผใู ชอาคารเปนหลกั กิจกรรมภายในอาคารกาหนดไดโดยความเขาใจในการออกแบบและ กำหนดพน้ื ท่ีใชส อยของอาคาร การกำหนดความตอง การหลัก (Main Requirement) และความตอ งการรอง (Minor Requirement) ของผูใชอ าคารซงึ่ ตอ งตัง้ อยูบนพน้ื ฐานของความตอ งการทีแ่ ทจ ริงความ2.5.2 กระบวนการออกแบบงานสถาปตยกรรม ตอ งการขนาดพืน้ ทใี่ ชสอยในอาคาร (Area Requirement) ความตอ งการของขนาดพ้นื ทีใ่ ชสอยในงานออกแบบอาคารสถานบริการสขุ ภาพตอ งมกี ารตง้ั วัตถปุ ระสงค (Objec- ในอาคารนัน้ ขึ้นอยูกับปริมาณของผใู ชอาคาร (User) และความสมดลุ กับกจิ กรรม (Activity)tive) ในการออกแบบเสมอ เชน จะออกแบบเพอ่ื ตอบสนองอะไรอนั เปน เปาหมายหลัก ที่ใหบริการรวมท้งั การกาหนดครุภัณฑในอาคาร และภายนอกอาคารตองกำหนดใหเ หมาะสมจะทำใหเราสามารถที่จะทราบถึงกลมุ ผใู ช(User) ท่ีจะมาใชอาคารไดและที่สาคัญ กบั จำนวนผูใ ชอาคารนนั้ ทั้งนีจ้ ากการประมวลผลของขอ มลู ตา ง ๆ เพ่อื ทีจ่ ะใหไดม าซ่งึ พน้ื ท่ใี ชสอยจะตองทราบถงึ กลมุ ผใู ชอาคารหลัก และกลุม ผูใชอ าคารรองโดยลำดบั ความสำคัญ ในอาคารสามารถกำหนดเปน รปู แบบทางกายภาพได 2 ลกั ษณะ คอืของกลมุ ผใู ช ซง่ึ แบง เปน ๒ กลมุ หลัก คือ กลมุ ผมู ารบั บริการ ( ผปู วยและญาตผิ ูปวย ) 1. ขนาด ขนาดของพ้นื ทใี่ ชสอยภายในอาคารตอ งสอดคลองและสามารถรองรบั กจิ กรรมและกลุมผใู หบรกิ าร ( แพทย พยาบาล เภสชั กร เจา หนา ทเี่ ทคนคิ พนักงาน ฯลฯ ทเ่ี กี่ยวของกับผใู ช และจานวนของผใู ช ไดอยางพอดแี ละเหมาะสม ซงึ่ ทาใหเราสามารถจะทราบจานวนตามประเภทของอาคาร) ส่งิ ทีจ่ ะตองทราบตอ ไปคอื พฤตกิ รรมของผูใชอ าคารนนั้ ขนาด ของครภุ ัณฑภ ายในอาคาร และขนาดของอาคาร รวมถึงความตอ งการดา นคุณภาพเปนอยา งไร จะทาใหทราบวา ผูใชต อ งการใชอ าคารทำอะไรซ่ึงจะมีผลใหส ามารถตัดสินใจ และประสิทธภิ าพในการใชส อยท่ีอาจแตกตา งกนั ได(Decision Making) ไดว าจะเลอื กประโยชนใชสอย (unction)อะไรใหเหมาะสมกับ 2. รูปราง รปู รา งของพ้นื ที่ใชส อยจะมลี กั ษณะใดมกั จะข้นึ กบั ลกั ษณะของกจิ กรรมทเ่ี กดิผูใ ชอาคาร และสามารถตอบสนองตอ ผใู ชอ าคารไดสูงสุด เมือ่ ทราบถงึ ประโยชน ขึ้นและขนาด ประเภทของเครอ่ื งมอื อปุ กรณท่ีใช ซึ่งจะสง ผลถงึ รปู ทรง (Form)ของอาคารโดยตรงของอาคาร แลว กส็ ามารถทจี่ ะรถู งึ ปริมาณ/ขนาดพนื้ ท่ีของแตล ะองคประกอบวา จะใช 2.5.2.3 ทางสัญจรภายใน (Circulation)ปริมาณเทา ใดโดยไดม าจาก จำนวนของผูใชในแตละองคป ระกอบนนั้ ๆซงึ่ จะเปนตัวกำหนด ในการออกแบบตองกำหนดทางสัญจรใหช ดั เจนซึง่ จะสมั พนั ธเ กย่ี วขอ งกบั พฤติกรรม (Behavior)ความตอ งการของอาคาร (Building Requirement) และประโยชนใ ชสอยของอาคาร และกิจกรรม (Activity) ของผูใชอ าคาร (User) เปนสำคญั รปู แบบขนาดและทศิ ทาง(Function) ของทางสญั จร2.5.2.1 ประโยชนใชส อยของอาคาร (Function) ทช่ี ดั เจน (Circulation) จะเปนตัวเชอ่ื มโยงกลุม ของประโยชนใชส อย(Function) ตางๆ ใหเกิดการมักเกิดตามมาหลงั จากทีเ่ ราทราบวา วตั ถุประสงคข องอาคาร (Objective) ติดตอ หรือตดั ความสัมพนั ธแ ละควบคุมไมใหเกดิ ความสบั สน และกอ ให เกิดความปลอดภยั ไดคอื อะไรและใครคือผใู ชอ าคาร (User) การกำหนดประโยชนใชส อยของอาคาร หรอื ทางสญั จรในอาคารนนั้ สามารถแบงประเภทไดเปนเสนทางสัญจรหลกั (MainCirculation) และพน้ื ท่ใี ชสอยตา ง ๆ ควรจะข้ึนกับพฤติกรรมและกิจกรรมของผูใ ชอาคาร (User) เสนทางสญั จรรอง (Minor Circulation) ทางสัญจรสามารถจดั แบงตามกลุมผใู ชอ าคารไดเปนเราสามารถแบงประโยชนใชสอยออกเปน 2กลมุ หลักๆไดแก 3 กลมุ คอื 2-16
2.5.2.3.ก ทางสญั จรของผูใหบริการ (Staff Circulation) 3. เขตสว นตวั (Private Zone) คือ เขตสวนตัวที่ผใู ชอ าคารท่วั ไปไมสามารถที่จะเขา ถึงไดซ่งึทางสญั จรของผูใ หบริการ (Staff Circulation) คือทางสัญจรของเจาหนา ที่ เปน เขต ทจ่ี ากดั กลมุ ผูใ ชอาคารเพอ่ื ใหมีความเปน สว นตัวและปลอดภยั นอกจากน้ีอาคารบางประเภทสถานบรกิ ารสุขภาพทเ่ี ปนผใู หบรกิ ารแกผูปว ยท่มี ารับบรกิ าร ควรแยกตา งหากจาก บางแผนกของสถานบริการสุขภาพ ยังมีการแบง พ้ืนที่ เพื่อควบคมุ ดานความสะอาดและปอ งกนัทางสัญจรของผูรบั บรกิ าร ทั้งน้ีข้นึ อยูกบั การใหบ ริการวาเปนลกั ษณะใดโดยพจิ ารณาจาก การติดเชื้อ ซงึ่ ในการออกแบบจะตองคานึงถงึ ความสมั พนั ธของการวางพนื้ ท่หี อ งและสว นประกอบขอกำหนดของลักษณะงาน ดา นตา งๆดว ย2.5.2.3.ข ทางสัญจรของผูรับบริการ (User Circulation) 2.5.2.4วสั ดทุ ี่ใช (Material)ทางสัญจรของผรู บั บรกิ าร (User Circulation) คอื ทางสัญจรของผใู ชจ ากภายนอก วัสดุตกแตง ท่ีใชใ นงานสถาปตยกรรมตัง้ แตอ ดีตถงึ ปจ จุบนั มกี ารพัฒนาท้ังทางดา นเทคโนโลยีอาคารทจี่ ะเขา มาใชภายในอาคาร การจดั วางเสนทางการสัญจรไมควรซบั ซอนวกวน การผลติ และดานวัสดศุ าสตร ทำใหม วี สั ดุจานวนมากมายหลายชนดิ หลายรูปแบบหากจำแนกเปนซึง่ จะเปน ปญ หาแกผ มู าใชบริการ การวางเสน ทางสญั จรเปน แกนตรงจะสามารถทำใหเขาใจ ประเภทตามองคประกอบเชิงระนาบ ในงานสถาปตยกรรม สามารถแบงออกไดเ ปน 3 ประเภท คอืไดงา ยมากกวาเสน ทางซง่ึ เปน รูปอ่นื ๆ เชน เลี้ยวหกั มุมมากกวา 2 มมุ เล้ยี วขึน้ ไป เปนตน 1. วสั ดตุ กแตงผิวพื้นหากเลีย่ งไมไดควรพยายามใหเ กิดมุมเลยี้ วนอยท่สี ดุ และใชป า ยบอกทางชวย ตัวอยา งเชน 2. วัสดุตกแตงผิวผนังทางสญั จรในโรงพยาบาลทต่ี อ งการเสนทางสัญจรท่ีตดิ ตอไดร วดเร็ว ไมซ บั ซอนวกวน 3. วัสดตุ กแตงฝา เพดานการจดั ทางสัญจร เพ่อื เชื่อมตอกิจกรรมท้งั สองแบบขา งตน ตอ งจดั ลาดับความสาคัญ การพิจารณาเลือกใชวัสดปุ ระเภทใด ใหเหมาะสม และถกู ตองกบั การใชงาน ตามประเภทของอาคารของประโยชนใ ชสอยวา ประโยชนใ ชสอยใดสาคัญมากทสี่ ุดมีผใู ชม ากและ บอ ยท่สี ดุ กค็ วรท่ี ข้ึนอยกู ับวัตถปุ ระสงค ของการใชง านในสวนนั้นๆ โดยจะตอ งพิจารณาถึงผลดี ผลเสยี ท่ีเกดิ ขึ้นจากจะเขาถงึ ไดส ะดวกรวดเรว็ การใชง านหรอื ผลกระทบตอสิง่ แวดลอ มโดยรวม เชน2.5.2.3.ค ทางสญั จรสว นสนับสนนุ บริการ (Support & Service - หอ งผาตัด เปนพ้นื ทท่ี ่ีตอ งการความสะอาด ปลอดเชื้อ วัสดุท่นี ามาใชจ ะตอ งไมมีรอยตอ หรือมีCirculation) คือทางสัญจรเฉพาะของการขนสง ขนยาย ของใช อปุ กรณวสั ดทุ าง รอยตอ นอยท่ีสดุ เพือ่ ไมใ หเปน ที่ฝงตัวของเชอื้ โรคการแพทย ของเสียจาการรักษาพยาบาล ฯลฯ ซ่งึ จะตองมีเสน ทางท่ีไมป ะปนกับ - การใชว ัสดทุ ่ที นกรด ทนดาง ในพ้ืนที่ท่ีมสี ารสงั เคราะห กรณีหองปฏบิ ัติการทางเคมีทางสญั จรของ ผูใหบ รกิ าร (Staff Circulation) และทางสัญจรของผูร บั บรกิ าร - การใชว สั ดทุ ีไ่ มกอ ใหเกิดเสียงดงั รบกวนผปู วย กรณพี ื้นหองในหอผปู วยทั่วไป หอผูปว ยหนัก(User Circulation) ระดบั ความสาคัญของทางสัญจรนข้ี ึ้นอยกู ับขอกำหนดของงาน - การเลอื กใชว สั ดุโดยรวม จะตองคานึงถึงอันตรายทอี่ าจเกิดกับผใู ชอ าคาร โดยเฉพาะผปู วยแตล ะแผนก การแบง สว นประกอบของอาคาร เปน กลุมการใชงานและกลุม พ้ืนท่ี (Group- ความล่ืนของพ้นื ผิว การดูแลรกั ษา ทาความสะอาด ความมน่ั คงแขง็ แรง และงา ยตอ การซอ มแซมing&Zoning) เม่ือกำหนดทางเขา -ออกของโครงการรวมท้งั ตำแหนงอาคารท่ีเหมาะสมตรงตามวัตถปุ ระสงคแ ลว ก็จะตองแบง กลมุ ประโยชนใ ชส อย (Function) ออกเปน 3สวนหลัก คอื1. เขตสาธารณะ (Public Zone) คือบริเวณท่ีจะใหบรกิ ารกลมุ ผใู ชอาคารดา นหนาซึง่ สวนใหญจะประกอบไปดวยกลุม ผูใ ชอาคารหลายกลมุ ทง้ั ผใู หบริการ (StaffCirculation) และ ผรู ับบรกิ าร (User Circulation)2. เขตก่งึ สาธารณะ (Semi-Public Zone) คอื พื้นท่ใี หบ ริการแกก ลุมผใู ชอาคารเฉพาะกลุมหรือเปนพน้ื ท่เี ปนเขตกึ่งสว นตัว (Semi-Private Zone) ไมม คี วามพลกุ พลา นเทา เขตสาธารณะ ภาพท่ี 2.15 ตวั อยาง CIRCULATION ทม่ี า : Huashan Hospital,2560 2-17
2.5.3 การออกแบบเพ่ือคนทกุ กลมุ ทกุ เพศ ทกุ วยั ( Universal Design ) 2.5.3.1 องคป ระกอบและหลักการของ Universal Designในการออกแบบอาคารสถานบรกิ ารสขุ ภาพในปจจุบนั สง่ิ หนง่ึ ท่ีจะตอ งคานงึ ถึง หลักการ Universal Design ประกอบดวยหลักสาคัญ 7 ประการ คือคอื การออกแบบเพอ่ื ใหเ กดิ ความทัดเทียม ในการตอบสนองการใชป ระโยชนข องบคุ คล Principles of Universalทุกกลมุ ทกุ เพศ ทุกวัย โดยใชในการออก แบบผลิตภณั ฑ อาคารสถานทแี่ ละสภาพแวดลอม ทเี่ รยี กวา Universal Designการออกแบบเพอ่ื มวลชนเกดิ ข้ึนจากการประดิษฐค ิดคนของใชสว นตวั ของ Mr.Ronald L. Mace (Professor of University of North Carolina USA)ซงึ่ เปนผูพกิ าร โดยไดท ดลองดัดแปลงของใชส วนตวั ใหส ามารถใชกบั ผพู ิการได หลังจากน้ันไดน าหลกั การน้มี าใชส าหรบั การพฒั นาและออกแบบผลติ ภณั ฑส ำหรบั ผพู กิ ารเพื่อเพ่ิม ภาพท่ี 2.16 หลักการ Universal Designความสะดวกสบาย ความปลอดภยั และกลายมาเปน ตน แบบของการออกแบบ ท่มี า : http://www.adaptiveenvironments.org,2560Universal Design (Universal Design, 2008) 2.5.3.1.ก Fairness ความเสมอภาค ทุกคนในสงั คมสามารถใชง านไดอยา งเทา เทียมกันUniversal Design เปน แนวคดิ เรอื่ งการออกแบบสง่ิ แวดลอม การสรางสถานที่ ไมม ีการแบง แยก และเลอื กปฏบิ ตั ิ เชน การติดต้งั ตโู ทรศพั ทสาธารณะสองระดบั ระดับทว่ั ไปสำหรบัและสิง่ ขอตางๆเพือ่ ใหทกุ คนท่ีอยูในสงั คมสามารถใชประโยชนจากสงิ่ เหลาน้นั ไดอ ยางเต็มที่ ผูใหญ และระดบั ทีต่ า กวาท่คี นน่งั รถ เขน็ ใชไ ดและเทา เทียมกันโดยไมต องมีการออกแบบดดั แปลงพิเศษ หรอื เฉพาะเจาะจงเพอ่ื บุคคล 2.5.3.1.ข Flexibility ยดื หยุนใชง านไดก ับผทู ่ถี นดั ซายและขวาหรือปรบั สภาพความสูงต่ำกลมุ หน่ึงกลุม ใดโดยเฉพาะ ไมว าบุคคลน้นั จะเปน หญงิ หรือชาย ใชข าเดินหรอื ใชร ถเขน็ ขนึ้ ลงไดต ามความสูงของผใู ชตามองเห็นหรอื มองไมเห็น เด็กหรอื ผูใหญ อานหนังสือออกหรือไมอ อกฯลฯ Universal 2.5.3.1.ฃ Simplicity ความเรียบงายและเขาใจไดด ี เชน มภี าพหรอื คาอธิบายทเ่ี รยี บงา ยDesign เปน การออกแบบท่คี านึงถึงการใชงานการใชใหคมุ คา สมประโยชนค รอบคลุม สำหรบั คนทกุ ประเภทไมวาจะมคี วามรูระดบั ไหน อานหนังสือออกหรือไมอานภาษาตางประเทศสำหรบั ทกุ คนโดยเร่มิ ตนจากการคดิ วา ทำอยา งไรคนประเภทตางๆจึงจะมโี อกาสมาใชได ไดหรอื ไม หรอื อาจใชร ปู ภาพเปนสัญ ลกั ษณสากลส่ือสารใหเ ขาใจไดงาย ฯลฯอยา งเทา เทียมกนั เชน คนสงู อายุ คนปว ย สตรีต้งั ครรภ คนแคระ เด็กเล็กทม่ี ากับรถเข็น 2.5.3.1.ค Understanding ความเขาใจงา ย มีขอมลู คำอธบิ ายหรือรปู ภาพประกอบการเด็กคนพิการประเภทตางๆ ไมว า ตาบอด หูหนวก แขนขารา งกายพิการ ใชงานที่เพียงพอคนพิการทางปญญา ทางจิต คนที่อานหนงั สือไมอ อกฯลฯ แตถ ึงแมบ ุคคลเหลานัน้ จะมขี อ 2.5.3.1.ฅ Safety มีความปลอดภัยขณะใชง าน ทนทานตอ การใชง านทผ่ี ิดพลาด เชนจำกัดทางรา งกาย ทางปญญา ทางจิตใจ แตก็เปนบุคคล ในสงั คม สงั คมจึงควร มรี ะบบปอ งกันอนั ตรายหากมี การใชผ ดิ พลาดรวมทั้งไมเ สียหายไดโดยงายรับผิดชอบดแู ลใหสามารถอยใู นสงั คมรวมกับบุคคลท่วั ไปไดอ ยางมีความสขุ ตามอตั ภาพ 2.5.3.1.ฆ Energy conservation ทนุ แรงกายสะดวกและไมต องออกแรงมาก เชนของแตล ะคน เชน การจดั ใหม ีทางลาดขึน้ ลงทางเทา และอาคารสถานทสี่ าธารณะตา งๆ ใชท ่เี ปดกอ กนา แบบยกข้ึน-กดลงแทนการใชม ือขนั กอ กแบบเปนเกลยี วสวทิ ชไฟฟาแบบตวั ใหญท ่กี ดใหก บั ผูพกิ ารทใี่ ชรถเข็นหรือบล็อกพื้นนาทางเดนิ สาหรับคนตาบอด ท้งั น้ีก็เพอื่ ใหพ วกเขา เบาๆ ก็สามารถทางานไดแ ทนสวิทชเลก็ ที่ตอ งใชนิ้วมอื ออกแรงงดั อยา งแรง ฯลฯสามารถใชชวี ติ ทากจิ กรรมภายนอกบาน ไดโดยสะดวกและปลอด ภยั จากอปุ สรรคตา งๆ 2.5.3.1.ง Space ขนาดและสถานท่ที ี่เหมาะสม และใชง านในเชิงปฏบิ ตั ไิ ด โดยคิดเน่อื งจากคาวา Universal Design มคี วามหมายและรายละเอียดที่กวางแตถ า จะ ออกแบบเผื่อสำหรบั คนรางกายใหญ โตคนท่ีเคลอ่ื นไหวรางกายยาก เชน ขนาดของหองน้ำกลา วถงึ ความหมายของ Universal Design โดยสรปุ ก็คอื การปรับสภาพแวดลอม โถสวมใหญเพียงพอสำหรบั คนทีท่ ร่ี างกายใหญโต คนพิการทม่ี รี ถเข็นคันใหญร วมถงึ ตอ งมีพ้นื ท่ีสถานทีแ่ ละสง่ิ ของเครอื่ งใช ใหสามารถรองรบั การใชง านไดสำหรับมวลสมาชกิ ทุกคน สำหรบั หมุนรถกลับไปมาในบริเวณหอ งน้ำในสังคม เพ่ือความสะดวกและปลอดภัยนนั้ เอง 2-18
แบบตอ เน่ืองทงั้ สองดา น แบบตัวยู แบบอิสระเขาทางเดียว แบบตอเน่ือง แบบอิสระเขา หลายทาง แบบซิกแซก การจดั นทิ รรศการแบบกำหนดทางเดนิ การจดั นิทรรศการแบบเปดภาพที่ 2.17 รูปแบบการจัดนิทรรศการท่ีมา : พรรษนภณ อินกอ,25602.5.4 หลักการออกแบบสวนจัดแสดงนทิ รรศการ 2.5.4.1 ประเภทของนทิ รรศการ (Type of Exhibition) แบงตามลักษณะของวธิ ีพน้ื ฐานในการออกแบบการจัดนทิ รรศการทว่ั ไป พน้ื ฐานสำคญั ที่ใชใ นการ การจดั แบงไดเ ปน 3 ประเภท คือพจิ ารณากอนการออกแบบอาคารจัดแสดงงานหรือพิพธิ ภณั ฑ มี 2 ประการ 1. นทิ รรศการถาวร (Permanent Exhibition) หมายถึงนิทรรศการท่ีทส่ี ำคญั ดังน้ี จัดแสดงเรอ่ื งราวเดิมๆ ไมเปลี่ยนแปลงเปน ทรี่ วบรวมสิ่งแสดงของท่ีใชจดั อาจจะเปนของจรงิ 1. การรวบรวมวัตถแุ ละเตรียมการ (Collections) คือ การรวบรวม หนุ จาลอง รูปภาพ ฯลฯ ทน่ี ามาแสดงนัน้ ไมมีการเปลยี่ นแปลง รปู แบบ และวธิ กี ารจัดอยูในอาคารวตั ถไุ วซ ่ึงสามารถเกบ็ รักษาและคนควา ไดอยางแทจ ริงตลอดจนสามารถอนุรักษศ ึกษา และ หรอื สถานที่เดมิ ไมเ ปลยี่ นแปลง ผูชมสามารถเขา มาชมไดต ลอดเวลา เพ่อื ศึกษาหรอื หาความร/ูจัดแสดงวัตถทุ ี่รวบรวมไวไดอ ยา งดี มกี ารลงทะเบียนแจง เลขประจาตัววตั ถนุ ั้นๆ มีการ เพลิดเพลินศกึ ษาสภาพการรักษาความสะอาด ตลอดจนการอนรุ กั ษไ วใหค งสภาพที่ดี 2. นิทรรศการช่ัวคราว (None Permanent Exhibition) คอื การจดั 2. การจดั แสดง (Exhibition) การจัดแสดงท่ดี เี ปนผลสบื เนือ่ งมา นทิ รรศการเปนคร้งั คราวในวาระโอกาสหรอื เทศกาลพเิ ศษเพื่อแสดงความรูใหมๆ แผนงานพเิ ศษวาระจากการระมดั ระวงั ในการเลือกสรรคณุ ภาพของวัตถุท่ีสำคญั ตอ ชุมชน การผูกเร่ืองราว ในวนั สำคญั ตา งๆ ของหนว ยงาน นิทรรศการชัว่ คราว อาจจดั แสดงในสถานทเี่ ดมิ เปน ประจำเปน ประโยชนก ารจดั นทิ รรศการและการจดั แสดงทดี่ ดี วยเทคนิค การจัดแสดงทั้งหมดนี้ แตส่ือทีน่ ำมาแสดงชุดนนั้ ๆ จัดอยูไมนาน อาจเปน สัปดาหห รอื สองสามเดือนก็เปล่ยี นใหม หรือเปนจดุ กระตุนใหประชาชนเกิดความสนใจ ดงั นน้ั สวนของการจดั แสดงจะตองกำหนดให เลิกไปเปนหอ งท่มี ีขนาดกวา ง เนื้อท่ีสำหรับสวนจัดแสดงไมควรมากไปกวา 30% -40% ของ 3.นทิ รรศการเคลอ่ื นท่ี หมายถึง นิทรรศการท่จี ัดข้ึนเปนชุดสำเรจ็ เพอ่ื แสดงในจำนวนเนอ้ื ท่ที ้งั หมดของอาคาร (พิพธิ ภณั ฑสถานวิทยา,2560) หลายๆ สถานท่ี หมนุ เวยี นกนั ไปรปู แบบและสือ่ หลกั ทน่ี ำมาแสดงเปน แบบเดิม แบง ตามลกั ษณะของ สถานท่จี ัด มี 3 ประเภท ไดแ ก นทิ รรศการกลางแจง, นทิ รรศการในรม ,นิทรรศการหมุนเวยี น 2-19
การจดั นิทรรศการแบบกำหนดทางเดิน แบบหองหนงึ่ สูหอ งหน่ึง แบบทางเดนิ สูหอ ง แบบโถงสูห องตรงกลาง CENTRAL ARRANGEMENT (รวมรปู แบบทัง้ สาม) ภาพท่ี 2.18 รปู แบบการจดั นทิ รรศการ ท่มี า : พรรษนภณ อนิ กอ,25602.5.4.2 การออกแบบนิทรรศการ1 แบบกำหนดทางเดินการจัดแสดงนทิ รรศการในแบบน้ี เราสามารถกำหนดทางเดนิเขา -ออก และกำหนดลำดับของการตอเน่อื งของการแสดงได2.แบบเปด เปนการจัดนทิ รรศการท่เี ปด โอกาสให ผเู ขา ชมเลอื กดเู อาตามใจชอบโดยไมไ ดก ำหนดทางเขาออก3.แบบผสม เปน การจดั แบบกำหนดทางเดนิ และแบบเปด ผสมกนั กลา วคือจัดบรเิ วณสว นที่ตองการใหผดู มู องเห็นส่งิ ท่ีแสดงตามลำดับ4.แบบมีทางเขา -ออกทางเดียว5.แบบมที างเขา - ออกหลายทางในที่น้ีมกั จะมีทางออก หรือทางเขา หรือมากกวา6.เทคนคิ เนนความงามเพ่ือใหเ หน็ ความงามของวตั ถุ โดยใชห ลกั การจัด SPACEเพือ่ แสดงวัตถุ การจดั ระบบแสงสี7.เทคนคิ จัดแสดงใหความรใู ชเทคนคิ การสอ่ื ความหมายแบบตางๆ เชน การใชคำบรรยายภาพถา ย (พิพิธภณั ฑส ถานวทิ ยา,2560) ภาพท่ี 2.19 รปู แบบตวั อยางการจัดนิทรรศการ ท่ีมา : blog.vectorworks.net,2560 2-20
2.5.5 หลักการออกแบบหอ งประชุม (Auditorium Design)หลักเกณฑใ นการออกแบบหอ งใหมกี ารรบั ฟงเสียงทีด่ ี ไดแก การขจัดปญ หาเกย่ี วกบั เสียงที่ไมตองการออกไปการเพ่มิ หรือลดระดับเสียงในหอ งและการเลือกใชร ูปแบบและทรงของหองท่ีเหมาะสม ซง่ึ จะนำไปสูการออกแบบหองประชมุ ที่มีการรับฟง เสียงที่ดี สงิ่ ทจี่ ะนำไปสกู ารออกแบบหองประชมุ ท่มี กี ารรบั ฟงเสียงท่ดี ี คอื 1. ขนาดของหองประชุม (Capacities) 2. รปู แบบของหอ งประชุม (Auditorium Shapes) 3. รปู แบบเวทหี องประชมุ (Stage Types)2.5.5.1 ขนาดของหองประชมุ (Capacities)ขนาดความจขุ องผูเขาชมในหองประชุม โดยทั่วไปจะเรยี กความจุเปน จำนวนคนหรือจำนวนทน่ี ่ัง เชน หองประชมุ ขนาด 2000 ทน่ี ั่งหรือ หอ งประชุมขนาดจคุ นได450 คน ขนาดของหองประชุมแบงออกเปน 3 ขนาด ข้นึ อยกู ับจำนวนคนเปนหลักสว นประโยชนใชส อยอาจแตกตา งกนั บาง ดงั ตอ ไปน้ี 1.1 หอ งประชมุ ขนาดเลก็ ขนาด 35 – 750 คน ภาพท่ี 2.20 รูปแบบหองประชุมสีเ่ หลยี่ มผืนผา ทม่ี า : Marshall Long, Architectural Acoustics,1.2 หอ งประชุมขนาดกลาง ขนาด 750 -2000 คน (Elsevier Academic Press, 1988) p.27 ,25601.3 หอ งประชุมขนาดใหญ ขนาด 2000 คนข้นึ ไป 2.5.5.2 รปู แบบหอ งประชมุ (Auditorium Shape) 2.1 รปู แบบหอ งประชุมแบบสีเ่ หลย่ี มผืนผา รูปแบบหอ งประชมุ มีหลายลกั ษณะตามแตส ถาปนกิ จะออกแบบในรปู แบบใด เชน การออกแบบหอ งท่มี ผี นงั คูขนานกันไปหากเปน ท่ีแคบ จะมีปรากฏการณข องเสียงวง่ิ กลับไป 2.1 แบบสีเ่ หลี่ยมผนื ผา (Rectangular floor shape) มาในหอ ง (Sound Flutter) ดังน้นั การแกไขปญหาหอ งรปู แบบส่ีเหลีย่ มผืนผาแคบๆ จึงตองทำ 2.2 แบบรปู พดั (Fan shape) ใหผ นังท้ังสองดา นเอนออก (Tilt) จากกันบางนอกจากนส้ี ัดสวนของหองท่ีเหมาะสมทส่ี ุดในการรับ 2.3 แบบรปู เกอื กมา (House shoe, ellipse floor shape) ฟงเสียงทีด่ ี ตอ งไมแ คบเกินไปและไมก วางเกนิ ไป สัดสว นของผนงั หอง กวา ง : ยาว เปน 1:1.2 2.4 แบบรูปวงกลม (Form circular floor shape)2.5 แบบรูปอสิ ระ ความยาวของหอ งทรี่ ับฟง เสยี งท่ีดไี ด ตอ งไมเกิน 2 เทาของความกวา ง(Free form shape, or irregular form) 2-21
ภาพท่ี 2.21 รูปแบบหอ งประชมุ รปู พดั ภาพที่ 2.22 รูปแบบหองประชุมทรงเกือกมาท่มี า : Marshall Long, Architectural Acoustics, ทม่ี า : Marshall Long, Architectural Acoustics,(Elsevier Academic Press, 1988:26),2560 (Elsevier Academic Press, 1988:24),25602.2 รปู แบบหอ งประชุมแบบรูปพัด 2.3 รปู แบบหอ งประชมุ แบบรูปเกอื กมาลักษณะของหองประชุมรูปแบบนี้ เหมาะสำหรบั ใชเพ่ือชมการแสดง มากกวาการรับ เปนรปู แบบท่ผี สมผสานระหวา งรูปส่เี หล่ยี มผืนผากบั รูปทรงกลม โดยขยายดานสกดั ของฟงเสยี งดนตรหี รือเปน รูปแบบของ Concert Hall เพราะเสยี งดนตรีทม่ี ีความถสี่ ูงจะไม เหลยี่ มออกไปใหเ ปนโคง สว นใหญรปู แบบน้มี กั จะสอดคลองไปตามรูปทรง (Mass) ของท่ีวางกระจายเสยี งไปดานขางทัว่ หอ งประชมุ เนอื่ งจากคลนื่ เสยี งของความถส่ี ูงนจี้ ะมีขนาดเล็กเดิน (Space) ของหองประชมุ นัน้ มากกวา ลกั ษณะรูปแบบอาจจะไปทาง Rectangular Shape หรอืทางเปนทิศทางตรง ไมก ระจายออกไปทางกวา งเชน เสียงของไวโอลนิ ฉ่ิง หรือ CowBell Fan Shape นั้นข้ึนอยกู ับตำแหนง เวทีสวนคลนื่ เสียงของความถตี่ ่ำมขี นาดใหญจะกระจายออกไดม ากทัว่ หองเชน เสยี งเบส เพราะฉะนั้น การออกแบบหองประชมุ รปู ทรงนีต้ องออกแบบรปู ทรงเวทพี รอมกันไปดว ยเพราะฉะน้นั ผทู ีน่ ั่งอยูก ลางหอ งประชุมเทา นนั้ ท่ีจะไดยินและรับฟงเสยี งสงู เชน หากมีการเปลย่ี นแปลงเปนการฉายภาพยนตร คนดูดานขา งก็จะไมสามารถแลเหน็ ไดอ ยา งชดั เจนเสยี งของไวโอลนิ ไดช ดั เจนสว นผูท่ีอยูบริเวณสองขา ง ของหอ งจะไดยนิ เสียงนอ ยลงไปมาก ปญ หาดา นเสยี งก็จะตองแกไ ขปญหาของการรวมตัวของเสียง (Sound Foci) อนั เนือ่ งมาจากสว นการชมการแสดงผูชมทีน่ ั่งดา นหลังกจ็ ะขยับเขาใกลเ วที การแสดงกระจายออกไปทาง ผนังทีโ่ คง เวาเขา (Concave)ดา นขา งทำใหส ามารถชมการแสดงไดช ดั เจนขน้ึ 2-22
2.5 รปู แบบหอ งประชุมอิสระ การออกแบบหอ งประชมุ รปู แบบอสิ ระนขี้ นึ้ อยกู ับความตอ งการเนนรปู ลกั ษณะเปน หลกั ประโยชนใ ชส อยตามใบกำกบั รูปลกั ษณะนน้ั ๆ การเลอื กรูปแบบตองระมัดระวังเรื่องของจุดเสยี งดบั (Dead Spot) จดุ สะทอ นรวมตวั ของเสยี ง (Sound Foci) ดวย การใชง านคงจะเนน ใหดใี นเรือ่ ง 2.5.5.3 รปู แบบเวทีหอ งประชมุ (Stage Types) ตำแหนง และรปู แบบเวทีมีสว นสำคญั อยา งย่งิ ตอการออกแบบหอ งประชมุ ทัว่ ๆ ไป รปู แบบ เวทีสามารถแบงไดดังนี้ คือ 3.1 End Stage 3.2 Open Stage 3.3 Central Stage or Island Stage or Arena Stage 3.4 Adaptable Stageของเสียงคงจะไมไดภาพที่ 2.23 รูปแบบหอ งประชมุ แบบรูปวงกลม ภาพท่ี 2.24 รูปเวทีปลายหอ งทีม่ า : Michel Barron, Auditorium Acoustics and Architectural Design, ทม่ี า : Michel Barron, Auditorium Acoustics and Architectural Design,(E & FN Spon, and imprint of Chapman & Hall, 1933:100),2560 (E & FN Spon, and imprint of Chapman & Hall, 1933:2),2560 2.4 รปู แบบหองประชมุ แบบรูปวงกลม 3.1 End Stage (เวทีปลายหอ ง) รูปทรงวงกลมของหองประชมุ ประเภทนี้ เหมาะสำหรบั การชกมวย หรือการแขงขนั เปนรูปแบบของเวทใี นหองประชุมท่วั ๆไป คอื อยทู างปลายดา นหนึง่ ของรปู ทรงหอ งประชมุ เปนรูปทรงที่เหมาะทสี่ ดุ และสามารถควบคมุ การดูและการรบั ฟงของผชู มไดง า ย ควบคมุ ดเสยี งไดดีกีฬา เชน บาสเกตบอล วอลเลย บ อล มากกวาการแสดงละครหรอื ดนตรี สงิ่ ทค่ี วรระวังใน เหมาะสำหรับการชมดนตรี การแสดง และการปาฐกถาการออกแบบหอ งประชุมประเภทนี้ คอื การเกิดเสียงสะทอ นรวมกัน (Sound Foci) ขึ้นได 2-23
ภาพท่ี 2.25 Open Stage (เวทีเปด) ภาพที่ 2.26 เวทีอารีนา ( ARENA STAGE ) ท่มี า : Michel Barron, Auditorium Acoustics and Architectural Design, ทมี่ า : Michel Barron, Auditorium Acoustics and Architectural Design, (E & FN Spon, and imprint of Chapman & Hall, 1933:2),2560 (E & FN Spon, and imprint of Chapman & Hall, 1933:2),2560 3.2 Open Stage (เวทีเปด) 3.3 Arena Stageหรอื Central Stage หรือ Island Stage เปนเวทที ่เี นนการชมการแสดงมากกวา การฟง เชน ใชเดินแฟชั่นโชว ฯลฯ การควบคมุ เหมาะสำหรบั การแสดงตา งๆ ทม่ี องดูรอบตวั การแสดง รวมทั้งรายการชกมวยแตไ มเหมาะ สำหรับการใหเสียงทีด่ ี พื้นท่ที ุกดานของเวทนี ี้เปด สูผูชมทั้งหมดทกุ ดาน การกระจายเสยี งจะคำนึงเสยี งกระทำไดย าก แตการแสดงนัน้ ผูชมและผูแสดงมโี อกาสไดสมั ผัสใกลชิดมากขึน้ ถึงการกระจายเสียงทีอ่ อกมาจากแหลงกำเนิดเสยี งโดยตรงเปนหลักมากกวาการสะทอน เพราะมี พื้นทขี่ องการ สะทอ นเสยี งนอยภาพที่ 2.27 เวทีปรบั ไดทม่ี า : Michel Barron, Auditorium Acoustics and Architectural Design,(E & FN Spon, and imprint of Chapman & Hall, 1933:2),2560 3.4 Adaptable Stage เวทีปรบั ได เปน เวทที สี่ ามารถปรับไดและดดั แปลงรูปทรงไดตามความจำเปนของงาน และจุดประสงคข องประโยชนใชสอยทีต่ างกนั การควบคมุ เพื่อใหไ ดรับฟง เสยี งไดดีกระทำไดย ากมาก เวทปี ระเภทนี้โดยมากเปนเวทีเอนกประสงค เชน เวทหี องประชุมประจำโรงเรียน ซง่ึ ใชส ำหรับเลนกีฬา ประชมุ แสดงละคร และการแสดงดนตรี ฯลฯ 2-24
2.5.7 หลักทวั่ ไปในการจัดแผนผังสำนักงาน - ลดการตดิ ตอ สอ่ื สารไมจ ำเปน ใหสายทางเดินของงาน (work flow) ตรงไปขางหนาในลกั ษณะเสน ตรงหรอื เปน รปู วงกลมเปน รปู ตัว U หรือ L เพอ่ื ลดการเคลอื่ นไหวอนั ไมจ ำเปน ของบคุ คลและของงาน คือไม ทำงานเดินวกวนเดินกลับไปกลับมา - บริเวณหองโถงขนาดใหญจ ะดกี วา หองโถงขนาดเลก็ เพราะการ ควบคุมบังคับบญั ชาจะทำไดง ายและชวยใหการตดิ ตอส่อื สาร ระหวา ง บคุ คลรวดเรว็ ขึน้ - มา น ฉากกนั้ หรือฝากั้นทีเ่ คล่อื นยายไดจะดกี วาผนังถาวรเพื่อ การเปลี่ยนแปลงปรับปรงุ ในอนาคต - หลักการใชพืน้ ทค่ี วรจะมกี ารใชอยางประหยัด โดยถือหลักวาไม ทำใหพ ้ืนท่ีแลดคู บั แคบลดการกกดี ขวางทางใหมากท่สี ุดเทา ท่ีจะเปนไปได - สำนกั งานทต่ี อ งติดตอกับบุคคลท่ัวไป ควรจดั ไวใ นที่สะดวกใน การตดิ ตอ สว นสำนักงานท่ตี อ งอาศยั ความสงบ และสมาธใิ นการทำงาน ภาพท่ี 2.29 รปู แบบการจดั สำนกั งาน - การจัดสรรพืน้ ที่ ควรยดึ หลกั การไหลเวยี นของงานและความ ที่มา : Neufert.Ernst.and.Peter- เกยี่ วขอ งของงานแผนการเงินและบัญชีควรอยูตดิ กนั ฝายประชาสมั พันธ Architects.Data,2560 ควรอยูทำเล ที่ตดิ ตอ งา ยท่สี ดุ - งานที่คลา ยคลงึ กัน หรอื งานที่ตองตดิ ตอ กันบอยๆควรอยู ภาพท่ี 2.28 สวนสาธารณะ ใกลกนั เพื่อลดเวลาและระยะทางในการติดตอ ทีม่ า : www.archdaily.com,2560 - ควรมที วี่ า งเหลอื พอสมควรสำหรบั งานท่ีเพมิ่ ข้ึน และสำหรบั ความสะดวกสบายของพนกั งาน2.5.6 กระบวนการในการวางแผนและออกแบบสวนสาธารณะ - ชองทางเดินระหวางทีน่ ั่งควรกวา งพอท่ีคนจะเดินผาน โดยไม กระบวนการวิธีมาตรฐานในการออกแบบอันไดแ กการวางผังการใชท่ดี ินการอนรุ ักษพ ้ืนทส่ี เี ขียวโดยการกำ กระทบโตะ ของพนกั งาน - พนกั งานควรนัง่ หันหนา ไปทางเดยี วกัน และใหผ ูบังคบั บญั ชาหนดเขตการใชท่ดี ินและขอบเขตของพ้ืนทพ่ี ัฒนาและการออกแบบทีค่ ำนงึ ถึงวัฒนธรรมที่เปนเอกลักษณเ ฉพาะของ อยดู า นหลังคุมลกู นองแตละทองถน่ิ เปน เคร่ืองมอื ทสี่ ำคัญท่จี ะชวยแกปญ หาสภาพแวดลอ มในชมุ ชนไดเ ปน อยางดีการออกแบบในราย - ไมควรจัดโตะ พนักงานหนั หนาเขาหาแสงสวา ง ควรใหแ สงสวา งละเอียดควรเร่ิมทรี่ ะดบั สดั สวนของมนุษย และการใชประโยชนใ นชีวิตประจาวนั เชนถนนหลักสวนสาธารณะในชมุ ชน มาจากขา งบน ดานขางหรือดา นหลังของพนักงานเปนตน กระบวนการวางแผนและออกแบบสวนสาธารณะและสถานท่พี ักผอนหยอนใจระดับชมุ ชนน้ันการรับฟงความ - พนกั งานทตี่ องทำงานโดยใชสมาธิมากในการทำงาน ควรอยใู นคิดเห็นของคนในชุมชน เปน ขน้ั ตอนทีส่ ำคัญอยางยิง่ ซึง่ สามารถทาไดหลายวิธี เชน การระดมความคิดการทำประชา หองกึง่ สวนตวั หรือหอ งสวนตวัพจิ ารณส ามารถทาไดห ลายวิธี เชน การระดมความคิด การทำประชาพิจารณ การแจกแบบสอบถามการสมั ภาษณ - พนักงานท่ีตองติดตอ กับคนจำนวนมาก หรือมีหนาที่นักออกแบบวางผงั จะไดเ รียนรูถงึ ปญ หาและความตองการของชมุ ชนและรวมประสานงานกับชมุ ชนเพือ่ สรางสรรค ประชาสมั พันธ ควรอยใู นทที่ ่จี ะพบตดิ ตอไดงายสถานท่ที คี่ นในชมุ ชนเห็นวา มีความสำคญั ท้งั ตอ สวนรวมและตอสวนบคุ คลชว ยพัฒนาแนวความคดิ ใหก ลายเปน - ควรจัดใหมหี องพกั ผอนและสโมสรเพ่ือใหพ นกั งานพบปะพูดคุยรูปธรรมโดยเร่ิมจากโครงการนำรอ งทำการปรับปรุงพน้ื ทใ่ี นระยะสั้นเพอื่ เสริมสรางคณุ คาใหแ กพ น้ื ทอ่ี ยา งรวดเรว็และแสดงศกั ยภาพในการพัฒนาตอ ไปในอนาคตการชุมชมชนเขา มามีสว นรว ม กันในเวลาทีห่ ยดุ พัก2-25
2.6 การศกึ ษาอาคารตวั อยาง2.6.1 อาคารตัวอยา งในประเทศไทยภาพที่ 2.30 อาคารสวนโมกขกรงุ เทพฯ “หอจดหมายเหตพุ ทุ ธทาส” หรือ สวนโมกขก รงุ เทพฯ มีวตั ถปุ ระสงคใ นการออกแบบ เพือ่ท่มี า : www.gotarch.com,2560 เปนศูนยเรยี นรแู ละบรกิ ารดา นศาสนธรรม จากความต้ังใจของกลุม ผูริเริม่ ทจี่ ะหยิบยกกล่ินอาย2.6.1.1 สวนโมกขกรงุ เทพฯ (หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทฺ ปญ โญ) ของสถานปฏิบตั ธิ รรมสวนโมกขพลาราม อ.ไชยา มาไวใ นเมือง และเพอื่ เปนแหลงรวบรวมอนรุ กั ษทตี่ ั้งโครงการ : สวนวชริ เบญจทัศ(สวนรถไฟ) ถนนนคิ มรถไฟสาย 2 และเผยแพรมรดกทางปญ ญาอันเปนรปู ธรรมที่ทานพุทธทาสภกิ ขุ มอบไวใหกบั คนรุนหลัง โดย แขวงจตจุ กั ร เขตจตจุ กั ร สถาปนกิ ไดมบี ทบาทในการกำหนดโปรแกรมการใชงานที่หลากหลายและยดื หยุน (แตเ ดิมจะเปน กรงุ เทพฯ 10900 เฉพาะหอจดหมายเหตทุ ใี่ ชเ กบ็ และคนควาเอกสาร ของทา นพทุ ธทาสเทาน้ัน เพือ่ ใหเ กดิ ประโยชนส ูงกอสรางเสร็จ : 2552 สดุ ตอ การเผยแผธรรมะสสู งั คม การเลอื กท่ีตัง้ ของโครงการทีเ่ หมาะสมเขาถึงไดส ะดวกรวมถึงการสถาปนกิ : สถาบนั อาศรมศลิ ป กำหนดตำแหนงของอาคารท่เี ก้อื กลู กบั บริบทและการใชพ น้ื ท่ีเดิมรวมออกแบบ : บรษิ ัท แปลน สตดู โิ อ จำกดั ,บริษัทแปลน แอสโซซิเอทส จำกัด, สำหรบั รปู แบบทางสถาปตยกรรม มลี ักษณะเปนอาคารกลางนำ้ คลายหอไตรขนาดใหญ บรษิ ัท แปลน อาคิเตค็ จำกัด โดยเนน รูปทรงท่เี รยี บงา ยสมถะ ใชว ัสดรุ าคาไมแ พง มกี ารออกแบบจำลองพืน้ ที่และองคประกอบเจา ของโครงการ : มลู นธิ ิ หอจดหมายเหตุพทุ ธทาส อนิ ทฺ ปญโญ ท่ีเปน สญั ลักษณส ำคัญจากสวนโมกขพลารามอ.ไชยา เชน สระนา เิ กร ลานหินโคง โรงมหรสพทางวิญญาณ มาไวใ นบริเวณโครงการเพอ่ื สรางบรรยากาศท่ีเช่อื มโยงกันของทง้ั สองพืน้ ทอี่ าคาร : 9,500 ตารางเมตร สถานที่ และทำใหผ ูมาเยือนไดระลกึ ถงึ ธรรมะและคำสอนของทานพทุ ธทาสภกิ ขุคา กอสราง : 90 ลานบาท (สถาบนั อาศรมศลิ ป,2560) 2-26
ภาพท่ี 2.31 แปลนอาคารและรูปภายในอาคาร ทมี่ า : www.gotarch.com,2560 การวางผังของอาคารกเ็ ปนแบบเรียบงาย ตรงไปตรงมา ชัน้ หน่งึ หลักๆจะเปน พ้นื ทโ่ี ลงๆ คลา ยๆใตถนุ อเนกประสงค และมีสวนหองหนงั สือ/สอ่ื ธรรมะ และสวนประชาสมั พันธ ชนั้ สอง น้ันจะเปน หอ งปฏบิ ัติธรรม/ประชมุ สัมมนา หองนิทรรศการนิพพานชมิ ลอง และ สวนปฏจิ จสมุป บาท สว นช้ันสามนน้ั เปน หอ งจดหมายเหตุซึ่งเปนหอ งทม่ี กี ารควบคมุ อุณหภูมิ และความชนื้ เพ่อื ใหหนังสอื และเอกสารของทา นพทุ ธทาสคงอยูใ นสภาพเดิมไวใ หม ากทสี่ ุด นอกจากนัน้ กจ็ ะเปน สวนออฟฟส หอ งคน ควา และหองประชุม การใชวัสดุน้ันยึดหลักสมถะ ตรงไปตรงมา จะเห็นไดจ ากการใชค อนกรีตเปลอื ย ปูนเปลอื ย เหล็ก ไม งานระบบหลายๆจดุ ก็จะไมไ ดม กี ารปกปดใดๆครับ (www.gotarch.com,2560)2-27
2.6.2 อาคารตวั อยา งในตา งประเทศ ทต่ี ้งั โครงการ : The Netherlands2.6.2.1 Rehabilitation Centre Groot Klimmendaal ปท ี่สราง : 2011 สถาปนกิ : Koen van Velsenภาพท่ี 2.32 Rehabilitation Centre Groot Klimmendaal พ้ืนที่อาคาร : 16,000.0 ตารางเมตรท่มี า : www.archdaily.com,2560 ศูนยฟ น ฟสู มรรถภาพ Groot Klimmendaal ไดร ับรางวลั อาคารแหง ป 2010 จากสมาคมสถาปนิกแหงเนเธอรแ ลนดซ่งึ เปนผชู นะรางวัล Hedy d'Ancona Award ประจำป 2010 สำหรับสถาปตยกรรมดา นการรกั ษาพยาบาลทีย่ อดเยี่ยมผูชนะรางวลั Arnhem Heuvelink Award 2010 และไดรบั รางวลั Public Design Award 2010 จากประเทศเนเธอรแ ลนด การจัดโปรแกรมเปนที่ชดั เจน ดานลางเปนสำนักงานดา นบนเปน พื้นทีท่ างคลินิกและ บนหลงั คา Ronald McDonald House มีเอกลกั ษณข องตัวเอง ชน้ั ลา งสงู สองชัน้ ท่ี ระดับทางเขาอำนวยความสะดวกใหก ับองคป ระกอบพิเศษของโครงการเชนสิง่ อำนวยความ สะดวกดา นกฬี าฟตเนสสระวา ยนำ้ รานอาหารและโรงละคร ไมเพียง แตผูป วย แตยังสมาชิก ในครอบครัวและสมาชิกในชมุ ชนทอ งถิ่น (โรงเรียนโรงละคร ฯลฯ ) ใชส ง่ิ อำนวยความ สะดวกเหลา นีเ้ ปนประจำ เปนผลใหท ั้งผูปวยและอาคารถูกวางไวท ่ศี นู ยก ลางของชมุ ชน แนวคิดเร่ืองการดูแลความคิดข้ึนอยูก บั ความคดิ ท่วี า สภาพแวดลอมทเ่ี ปนบวก และ กระตุน ใหเ กิดความเปนอยทู ่ดี ขี นึ้ ของผปู ว ย และมผี ลตอ กระบวนการตรวจสอบใหมของ พวกเขา ความทะเยอทะยานในการออกแบบไมใ ชก ารสรา งศูนยด วยรปู ลักษณของอาคาร ดานสขุ ภาพ แตเปน อาคารทเ่ี ปนสว นหนึ่งของสภาพแวดลอ มและชมุ ชน (www.archdaily.com,2560) 2-28
2.6.2.2 Ubuntu Center provides pediatric HIV testing and treatmentภาพที่ 2.33 Ubuntu Center provides pediatric HIV testing and treatmentทมี่ า : www.archdaily.com,2560ทต่ี ัง้ โครงการ : 5 7th Street, Bethelsdorp 6059, South Africa ศูนย Ubuntu จดั ใหม ีการทดสอบและบำบัดรกั ษาผูติดเชื้อเอชไอวใี นเดก็ การใหคำปรึกษาสถาปนิก : Field Architecture การศกึ ษาและการเสรมิ สรางพลงั อำนาจของชมุ ชน การออกแบบมงุ เนนไปทก่ี ารทำเครื่องหมายและพืน้ ทีอ่ าคาร : 21,000 ตรม. การทำใหเปน มาตรฐานของการทดสอบและการรักษาเอชไอวี ใหการเขาถึงสถานที่อันล้ำสมัยใน ชมุ ชนหลังการแบงแยกสผี วิ ท่ถี ูกคกุ คาม การออกแบบเปน รปู แบบการพฒั นาทีย่ ่ังยืนซ่ึงเร่ิมตน ดวยสภาพแวดลอมและขยายไปสูการรกั ษาชวี ิต สวนบนดาดฟา ของอูบุนตแู ละสวนของโรงแรมในอบู นุ ตูยงั ใหอาหารแกน กั เรยี น 2,245 คนตอ วนั เปนประโยชนส ำหรับการพัฒนาอยา งยง่ั ยืนทง้ั ในดา นสงั คมและในดา นสิ่งแวดลอม อูบนุ ตูไดรบั การรบั รองโดยแผนฉกุ เฉนิ เพ่ือการปองกันโรคเอดส 2-29
ตารางที่ 2.1 ตารางแสดงการวิเคราะหอาคารตวั อยา ง Ubuntu Center provides pediatric HIV testing and treatmentProject สวนโมกขกรุงเทพฯ Rehabilitation Centre Groot KlimmendaalLocation สวนวชริ เบญจทัศ(สวนรถไฟ) ถนนนิคมรถไฟสาย 2 The Netherlands 9 Justice Dr, Admiralty, Hong Kong แขวงจตุจักร เขตจตจุ ักร กรงุ เทพฯ 10900Program ศูนยก ารเรียนรู ศนู ยฟน ฟู ศนู ยฟ นฟูConcept มลี ักษณะเปนอาคารกลางนำ้ คลายหอไตรขนาดใหญ โดยเนน รปู ทรงท่เี รยี บงายสมถะ ใชวัสดุราคาไมแพง มีการออกแบบจำลองพ้นื ท่ีและองคประกอบSpace Form 2-30
2.7 พระราชบัญญัติควบคุมอาคารทเ่ี กีย่ วขอ ง ตารางที่ 2.2 พระราชบญั ญตั ิควบคมุ อาคารทีเ่ กยี่ วขอ ง กฎหมาย จำแนกกฎหมาย ประเด็น ขอกำหนดรายละเอียดดา นสถาปต ยกรรม กฎกระทรวงใหใชบังคับผัง ขอกำหนดการใช ขอ 5 การใชประโยชนทีด่ นิ ตามแผนผังกำหนดการใชประโยชนท ่ีดินตามทีไ่ ดจำแนกประเภททายกฎกระทรวงนี้ ใหเปนไป เมืองรวมจังหวัดเพชรบรุ ี ประโยชนท ่ีดิน ดงั ตอ ไปน้ี พ.ศ. 2560 ขอ 6 ที่ดนิ ประเภทชมุ ชน ใหใชประโยชนท ดี่ ินเพื่อการอยูอาศยั พาณิชยกรรมเกษตรกรรม สถาบันการศกึ ษา สถาบนั ศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณปู โภคและสาธารณูปการสำหรบั การใชประโยชนท ีด่ ินเพอื่ กจิ การอื่น ใหเปน ไป ตามที่กำหนด ดงั ตอไปน้ี (1) ใหด ำเนนิ การหรือประกอบกจิ การไดในอาคารที่ไมใ ชอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ (2) ใหม ที ่วี า งไมนอ ยกวา รอ ยละสามสิบของแปลงที่ดินที่ยนื่ ขออนญุ าต ทดี่ นิ ในบริเวณหมายเลข 1.1 ถึงหมายเลข 1.15 ทีก่ ำหนดไวเ ปนสชี มพู ใหเปน ทด่ี ินประเภทชมุ ชน มีรายการดงั ตอ ไปนี้ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลเมืองชะอำ ระหวางหลักเขตท่ี 1 หลักเขตที่ 2 กบั หลักเขตที่ 3 ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลเมืองชะอำ ระหวา งหลักเขตที่ 3 กบั หลักเขตที่ 4 ดานใต จดแนวเขตผงั เมอื งรวม ดา นใต ซง่ึ เปน เขตเทศบาลเมืองชะอำระหวา งหลกั เขตท่ี 4 กับหลกั เขตที่ 5 ดานตะวนั ตก จดเขตเทศบาลเมอื งชะอำระหวา งหลกั เขตท่ี 5 กับหลกั เขตท่ี 1 อัตราสวนพน้ื ทอ่ี าคารรวมตอท่ีดิน(FAR.) = - อัตราสว นพื้นที่วา งตอ พืน้ ทีอ่ าคารรวม(OSR.) = รอ ยละ 30 ภาพท่ี 2.34 ผังเมอื งรวมจงั หวดั เพชรบรุ ี ภาพที่ 2.17 ผังสเี ขตบางรกั ที่มา : กฎกระทรวงใหใชบังคบั ผงั เมอื งรวมจงั หวัดเพชรบรุ ี ท่ีมา : ศตเมธ พระแกว ,2560 พ.ศ. 2560,2560 2-31
ตารางที่ 2.2 พระราชบญั ญัติควบคมุ อาคารทเี่ กี่ยวของ(ตอ) กฎหมาย จำแนกกฎหมาย ประเด็น ขอกำหนดรายละเอียดดา นสถาปตยกรรม กฎกระทรวงฉบับท5ี่ 5 ความหมาย ขอ 1 ในกฎกระทรวงน้ี (พ.ศ. 2543) “อาคารสาธารณะ” หมายความวา อาคารที่ใชเพื่อประโยชนในการชมุ นมุ คนไดโดยท่วั ไป เพือ่ กจิ กรรมทางราชการ วสั ดุ การเมือง การศกึ ษา การศาสนา การสงั คม การนนั ทนาการ หรอื การพาณชิ ยกรรม เชน โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม ออกตามความในพระราช โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมดุ สนามกีฬากลางแจง สนามกฬี าในรม ตลาด หางสรรพสินคา ศนู ยก ารคา สถานบรกิ าร บัญญัตคิ วบคมุ อาคาร ทาอากาศยาน อุโมงคส ะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ทาจอดเรอื โปะจอดเรือ สสุ าน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เปน ตน พ.ศ. 2522 ขอ 15 เสา คาน พ้ืน บนั ได และผนังของอาคารทีส่ ูงต้ังแตส ามช้นั ข้นึ ไป โรงมหรสพ หอประชมุ โรงงาน โรงแรม โรงพยาบาล หอสมุด หา งสรรพสนิ คา อาคารขนาดใหญ สถานบรกิ ารตามกฎหมายวา ดวยสถานบรกิ าร ทา อากาศยาน หรอื อุโมงคตองทำดว ยวสั ดถุ าวรท่ีเปนวสั ดุทนไฟดวย พนื้ ทภ่ี ายในอาคาร ขอ 19 อาคารอยอู าศยั รวมตอ งมพี ื้นทภี่ ายในแตละหนว ยทีใ่ ชเพอ่ื การอยอู าศยั ไมนอยกวา 20 ตารางเมตร ขอ 20 หองนอนในอาคารใหมคี วามกวา งดานแคบทสี่ ดุ ไมนอยกวา 2.50 เมตร และมีพืน้ ทีไ่ มนอ ยกวา 8 ตารางเมตร ขอ 21 ชองทางเดินในอาคาร ตองมีความกวา งไมนอ ยกวาตามทก่ี ำหนดไวด ังตอไปน้ี 2. อาคารอยูอ าศัยรวม หอพักตามกฎหมายวา ดว ยหอพกั สำนกั งาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชยโ รงงาน อาคารพเิ ศษ ความกวา งไมน อยกวา 1.50 เมตร ขอ 22 หอ งหรือสว นของอาคารที่ใชใ นการทำกิจกรรมตาง ๆ ตอ งมีระยะด่งิ ไมน อ ยกวา ตามท่กี ำหนดไวด งั ตอไปน้ี ระยะดงิ่ ของหอ งท่ใี ชเ ปนที่อยอู าศัย บา นแถว หอ งพกั โรงแรม หองเรยี นนักเรยี นอนุบาล ครัวสำหรับอาคารอยู อาศัย หองพกั คนไขพ ิเศษ ชอ งทางเดนิ ในอาคาร ไมน อยกวา 2.60 ม. ภาพที่ 2.35 ระยะด่งิ อาคาร ทม่ี า : ศตเมธ พระแกว ,2560 ท่ีมา : กฎหมายและขอกาหนดของการประเมนิ ผลกระทบสิง่ แวดลอม โดย ดร. อารี สวุ รรณมณ,ี 2558 2-32
ตารางท่ี 2.2 พระราชบัญญตั คิ วบคุมอาคารทเ่ี กยี่ วขอ ง(ตอ)กฎหมาย จำแนกกฎหมาย ประเด็น ขอกำหนดรายละเอยี ดดานสถาปตยกรรม กฎกระทรวงฉบับท5ี่ 5 พนื้ ที่ภายในอาคาร ระยะดิ่งของหอ งทใี่ ชเ ปน หองขายสินคา หอ งประชมุ หองคนไขรวม โรงครวั ตลาด และอืน่ ๆ ท่คี ลายกัน ระยะดิ่ง (พ.ศ. 2543) ตอ งไมนอยกวา 3.50 ม. ออกตามความในพระราช บัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ภาพที่ 2.36 ระยะดิ่งอาคาร ท่มี า : กฎหมายและขอกาหนดของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม โดย ดร. อารี สุวรรณมณี,2558 บนั ไดอาคาร ขอ 24 บันไดของอาคารอยอู าศัยรวม หอพกั ตามกฎหมายวา ดวยหอพัก สำนักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณชิ ย โรงงาน และอาคารพเิ ศษ สำหรบั ทใี่ ชกับช้นั ทม่ี ีพื้นทีอ่ าคารชนั้ เหนือข้ึนไปรวมกันไมเ กิน 300 ตารางเมตร ตอ งมคี วามกวา ง สุทธไิ มนอ ยกวา 1.20 เมตร แตส ำหรบั บันไดของอาคารดังกลาวทใี่ ชกับช้นั ที่มพี ืน้ ทีอ่ าคารชนั้ เหนอื ขนึ้ ไปรวมกันเกิน 300 ตารางเมตร ตอ งมีความกวางสทุ ธไิ มนอยกวา 1.50 เมตร ถา ความกวา งสุทธขิ องบันไดนอยกวา 1.50 เมตรตองมีบันได อยา งนอยสองบันได และแตละบันไดตองมคี วามกวางสทุ ธไิ มนอ ยกวา 1.20 เมตร บนั ไดของอาคารที่ใชเ ปน ทช่ี มุ นุมของคนจำนวนมาก เชน บันไดหอ งประชุมหรอื หองบรรยายท่ีมพี ื้นทร่ี วมกนั ตงั้ แต 500 ตารางเมตรขนึ้ ไป หรอื บันไดหอ งรบั ประทานอาหารหรือสถานบรกิ ารทีม่ ีพื้นทรี่ วมกันตงั้ แต 1,000ตารางเมตรขนึ้ ไป หรือบันไดของแตล ะชน้ั ของอาคารนน้ั ท่ีมพี นื้ ท่ีรวมกนั ต้ังแต 2,000 ตารางเมตรขนึ้ ไป ตอ งมีความกวา งไมนอยกวา 1.50 เมตร อยา งนอ ยสองบันได ถามบี นั ไดเดยี วตองมคี วามกวางไมน อยกวา 3 เมตร บันไดท่สี งู เกิน 4 เมตร ตองมีชานพักบันไดทุกชว ง 4 เมตร หรอื นอ ยกวานน้ั และระยะดง่ิ จากขั้นบนั ไดหรอื ชานพกั บนั ไดถึงสว นตำ่ สุดของอาคารทีอ่ ยูเ หนือข้นึ ไปตอ งสูงไมน อ ยกวา 2.10 เมตร ชานพักบันไดและพน้ื หนาบนั ไดตองมีความกวางและความยาวไมน อยกวา ความกวา งสทุ ธิของบันได เวน แตบ นั ไดที่มี ความกวา งสุทธเิ กนิ 2 เมตร ชานพักบันไดและพ้นื หนา บนั ไดจะมีความยาวไมเกิน 2 เมตรก็ได ที่มา : ศตเมธ พระแกว,2560 2-33
กฎหมาย จำแนกกฎหมาย ประเด็น ตารางท่ี 2.2 พระราชบัญญัตคิ วบคมุ อาคารท่เี กี่ยวของ(ตอ )ดา นสถาปต ยกรรม กฎกระทรวงฉบบั ท5่ี 5 บันไดอาคาร ขอกำหนดรายละเอยี ด (พ.ศ. 2543) บนั ไดตามวรรคหนึง่ และวรรคสองตองมลี ูกต้งั สงู ไมเ กนิ 18 เซนติเมตร ลกู นอนเมื่อหกั สว นท่ขี ้ันบันไดเหลอ่ื มกันออก ออกตามความในพระราช แลวเหลือความกวา งไมนอ ยกวา 25 เซนติเมตร และตอ งมรี าวบนั ไดกันตก บันไดทมี่ คี วามกวา งสทุ ธิเกนิ 6 เมตร และชวง บัญญตั คิ วบคมุ อาคาร บนั ไดสูงเกิน 1 เมตร ตอ งมรี าวบันไดท้ังสองขา ง บริเวณจมกู บนั ไดตอ งมีวสั ดกุ ันลืน่ ขอ 25 บนั ไดตามขอ 24 จะตองมรี ะยะหางไมเ กิน 40 เมตร จากจดุ ทีไ่ กลสดุ บนพืน้ ชั้นน้นั พ.ศ. 2522 ขอ 26 บันไดตามขอ 23 และขอ 24 ที่เปน แนวโคงเกิน 90 องศา จะไมม ีชานพกั บันไดกไ็ ดแ ตตองมีความกวางเฉลย่ี ของ ลกู นอนไมน อยกวา 22 เซนติเมตร สำหรบั บนั ไดตามขอ 23 และไมนอยกวา 25 เซนตเิ มตร สำหรับบนั ไดตามขอ 24 บนั ไดหนไี ฟ ขอ 27 อาคารท่ีสูงตั้งแตสชี่ น้ั ข้นึ ไปและสูงไมเ กนิ 23 เมตร หรอื อาคารทส่ี งู สามชนั้ และมีดาดฟาเหนอื ชนั้ ที่สามทมี่ ีพนื้ ท่เี กนิ 16 ตารางเมตร นอกจากมบี นั ไดของอาคารตามปกตแิ ลว ตองมีบนั ไดหนไี ฟทท่ี ำดว ยวสั ดทุ นไฟอยางนอ ยหน่ึงแหง และตอ ง มีทางเดนิ ไปยงั บนั ไดหนไี ฟน้ันไดโ ดยไมมสี งิ่ กดี ขวาง ขอ 28 บันไดหนีไฟตอ งมคี วามลาดชนั นอยกวา 60 องศา เวน แตต กึ แถวและบา นแถวทส่ี งู ไมเ กินส่ชี ั้น ใหม ีบนั ไดหนีไฟที่มี ความลาดชันเกนิ 60 องศาไดแ ละตอ งมีชานพกั บนั ไดทุกชน้ั ขอ 29 บันไดหนีไฟภายนอกอาคารตองมีความกวางสทุ ธไิ มนอ ยกวา 60 เซนตเิ มตร และตอ งมีผนังสว นที่บันไดหนไี ฟพาด ผานเปนผนงั ทึบกอ สรางดวยวัสดุถาวรทเ่ี ปน วัสดุทนไฟบนั ไดหนีไฟตามวรรคหนงึ่ ถาทอดไมถงึ พ้นื ชนั้ ลางของอาคารตองมี บันไดโลหะทสี่ ามารถเลอื่ นหรอื ยดื หรือหยอ นลงมาจนถึงพืน้ ช้ันลา งได ขอ 30 บนั ไดหนไี ฟภายในอาคารตอ งมคี วามกวางสุทธไิ มน อ ยกวา 80 เซนติเมตร มีผนังทบึ กอสรางดว ยวสั ดถุ าวรท่เี ปน วัสดุทนไฟกั้นโดยรอบ เวนแตสว นท่เี ปนชองระบายอากาศและชอ งประตูหนีไฟ และตองมีอากาศถา ยเทจากภายนอกอาคารได โดยแตละชน้ั ตอ งมีชองระบายอากาศทเ่ี ปด สูภายนอกอาคารไดมีพืน้ ท่ีรวมกนั ไมน อ ยกวา 1.4 ตารางเมตรกับตอ งมีแสงสวาง ใหเพยี งพอท้ังกลางวนั และกลางคืน ขอ 31 ประตูหนไี ฟตองทำดว ยวัสดุทนไฟ มีความกวา งสทุ ธไิ มนอยกวา 80 เซนติเมตร สูงไมนอยกวา 1.90 เมตร และตอ งทำเปนบานเปดชนดิ ผลกั ออกสภู ายนอกเทานั้น กับตองติดอปุ กรณชนดทิ ี่บังคับใหบ านประตูปดไดเ อง และตอ ง สามารถเปด ออกไดโดยสะดวกตลอดเวลา ประตูหรอื ทางออกสบู นั ไดหนไี ฟตองไมม ธี รณหี รอื ขอบก้นั ขอ 32 พน้ื หนา บนั ไดหนไี ฟตองกวา งไมน อยกวาความกวางของบนั ไดและอกี ดานหน่ึงกวางไมน อยกวา 1.50 เมตร ที่มา : ศตเมธ พระแกว ,2560 2-34
Search