Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore construction materials

construction materials

Published by chonlada, 2020-05-15 04:38:41

Description: construction materials

Keywords: วัสดุก่อสร้าง

Search

Read the Text Version

0 เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า วสั ดกุ อสราง 1 รหสั วิชา 2108-1002 ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 โดย นางชลดา แสงคลอ ย ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการ วทิ ยาลยั เทคนิคดุสิต สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ

1 รายละเอยี ดรายวิชา หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2556 ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม สาขาวิชาการกอสราง รหัสวชิ า 2108-1002 ช่ือวชิ า วัสดุกอสราง 1 (Building Material 1) 2-0-2 จุดประสงครายวิชา เพื่อให 1. มีความรแู ละเขาใจในประเภท และคณุ สมบตั ิของวสั ดกุ อสรา ง 2. สามารถเลือกใชว สั ดุในงานกอ สรา งได 3. มีกิจนสิ ยั ในการใฝร ู ตระหนกั และเห็นความสําคัญของวัสดุกอสรา ง สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรูเกยี่ วกับประเภท และคุณสมบัติของวัสดุกอ สรา ง 2. วิเคราะหเ ลอื กใชวัสดกุ อ สรางตามประเภท และคณุ สมบัติของวสั ดุ คําอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาเกยี่ วกับวสั ดุทใ่ี ชในงานกอ สรา งประเภทไม เหลก็ ปูนซีเมนต ทราย หิน อิฐ ซเี มนตบ ลอ็ กทใ่ี ชใ นงานกอ สราง

2 วิเคราะหค าํ อธบิ ายรายวชิ า รหัสวชิ า 2108-1002 รายวชิ า วสั ดุกอสราง 1 ทฤษฎี 2 ชัว่ โมง/สัปดาห ปฏิบัติ - ช่วั โมง/สปั ดาห รวม 36 ชัว่ โมง จาํ นวน 2 หนวยกติ หนวยท่ี ชื่อหนว ยการเรียนรู พฤตกิ รรมที่ตอ งการ พทุ ธพิสัย ทกั ษะพสิ ัย จติ พสิ ัย 1 ไม   2 เหล็ก   3 ปนู ซีเมนต   4 วัสดมุ วลรวม(ทราย หิน)   5 คอนกรีต   6 อิฐและซีเมนตบลอ็ ก    

3 หนว ยที่การเรยี นรูที่ 1 ไม (WOOD) สาระการเรียนรู 1.1 ความสําคัญของไม 1.2 โครงสราง และองคป ระกอบของเนื้อไม 1.3 ประเภท และคุณสมบตั ิของไม 1.4 ขนาดและมาตรฐานไมก อสรา ง 1.5 การเลอื กใชไม 1.6 การเก็บไม การปองกันและการรกั ษาเนอื้ ไม สาระสําคัญ ไม เปนทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีความสําคัญ และมีประโยชนมากมายตอการ ดํารงชีวิตของมนุษยท้ังทางตรงและทางออมมาตั้งแตสมัยโบราณ ซึ่งมนุษยไดนําไมมาใช ประโยชนในรูปแบบตาง ๆ หลายอยาง เชน ใชไมเปนเช้ือเพลิงในการหุงตมอาหาร กอเพิง เปน ทพ่ี กั อาศัย ทาํ เปนลกู ดอก ทาํ เปน อุปกรณต า ง ๆ ทีใ่ ชในชีวิตประจาํ วัน ปจจุบันเทคโนโลยีมีความเจริญกาวหนาขึ้น มนุษยจึงนําเทคโนโลยีตาง ๆ มาใชใน การผลิตผลิตภัณฑไม และไดผลิตภัณฑไมท่ีสวยงามจนเปนที่นิยม และมีคุณคาในครัวเรือน อยางแพรหลาย เชน โตะ เกาอี้ ตู บานประตู หนาตาง ชั้นวางของ ฯลฯ จะเห็นไดวาไมมี ความสําคัญตอมนุษยเปนอยางมาก ดังนั้น เราควรจะตองมีความรูพ้ืนฐานเรื่องของไม เพือ่ สามารถเลือกใชไมในชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสมตามคุณลักษณะของไม ลักษณะของ งานท่ีตองการบูรณาการตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหมีคุณลักษณะ ทพี่ ึงประสงค อยใู นสงั คมไดอยางมีความสุข

4 จดุ ประสงคการเรียนรู จดุ ประสงคท่วั ไป เพอ่ื ใหน กั เรียนมีความรู ความเขา ใจเกี่ยวกับความสาํ คัญ โครงสราง องคป ระกอบของไม ลักษณะหนาตดั ลายไม ตําหนิของไม และมาตรฐานของไม อุตสาหกรรมไมอัด ประเภท และคณุ สมบัตขิ องไม การปองกนั รักษาเน้ือไม จดุ ประสงคเ ชงิ พฤตกิ รรม เพื่อใหนักเรยี นสามารถ 1. อธบิ ายความสาํ คัญของไมไ ดถูกตอง 2. อธิบายโครงสรา ง และองคป ระกอบของเนือ้ ไมไ ดถูกตอง 3. บอกประเภท และคุณสมบตั ขิ องไมไดถ ูกตอง 4. บอกขนาดและมาตรฐานไม ท่ีใชในงานกอสรา งไดอยางถูกตอง 5. เลอื กใชไ มใ นงานกอสรางไดอ ยางถกู ตอง 6. อธบิ ายวิธีการเก็บไม การปองกนั และการรักษาเน้ือไมไ ดถ กู ตอง

5 ผงั มโนทศั น รหัสวชิ า 2108-1002 รายวิชา วัสดกุ อสรา ง 1 หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2556 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม หนวยท่ีการเรียนรทู ่ี 1 ไม 6) วิธีการเก็บไม การปอ งกัน 1) ความสําคัญของตนไม และการรักษาเนอื้ ไม 5) การเลือกใชไ ม ไม (WOOD) 2) โครงสรางและ ในงานกอสรา ง สวนประกอบ ของตนไม 4) ขนาดและมาตรฐาน 3) ประเภทและคณุ สมบัติ ของไมใ นงานกอ สราง ของไม

6 กรอบการจัดการเรียนรบู ูรณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มเี หตมุ ผี ล หนวยท่ี 1 ไม (WOOD) มภี ูมิคมุ กัน 1. วิเคราะหร ูปแบบการเลอื กใชไม พอประมาณ 6. ปฏิบตั ิงานตามขน้ั ตอน 2. วเิ คราะหการสญู เสียทจ่ี ะ ทีไ่ ดวางแผนไวอยาง 3. เลอื กใชไมไดอยา งเหมาะสม รอบคอบ เกิดข้ึนจากการทาํ งานได 4. ปฏิบัตงิ านตามแผน-ปจ จัย 7. ปฏิบตั งิ านโดยคํานึงถงึ เพ่อื ใหบรรลจุ ุดมงุ หมาย ความปลอดภัย 5. ใชไมใหเกิดประโยชนแ ละ 8. สอบถามขอ มูล/ความรู คุม คา มากทส่ี ดุ เพม่ิ เตมิ จากผรู ู ความรู ไม คุณธรรม * ความสาํ คัญของไม  รอบคอบ ใฝร ู มีความคดิ รเิ ร่ิม * โครงสรา งและองคประกอบ  รบั ผดิ ชอบตอ งานทไี่ ดรบั ของเนอื้ ไม มอบหมาย * ประเภทและคุณสมบตั ิของ ไม  สามารถทาํ งานรวมกันเปนทีม * ขนาดและมาตรฐานไม กอ สรา ง  ใหความชว ยเหลอื รว มมือ * การเลอื กใชไมในงานกอ สรา ง  มีไหวพรบิ ทีด่ ี รจู ักการแกไ ข * การเก็บไม การปองกนั และการ ปญหาเฉพาะหนา รกั ษาเน้อื ไม

7 แผนการจดั การเรยี นรู หนว ยท่ี 1 รหสั วชิ า 2108 – 1002 วิชาวสั ดุกอ สราง 1 2-0-2 สอนครั้งท่ี 1 ช่อื หนว ยการเรยี น ไม (WOOD) จํานวน ชั่วโมง 1. หวั ขอเร่ือง 1.1 ปฐมนิเทศเก่ยี วกบั ขอบเขต เนื้อหา จุดประสงค วธิ ีการสอน กิจกรรมการสอน หลกั เกณฑก ารวดั ผลและประเมินผล 1.2 ใหผูเรยี นทําแบบทดสอบกอ นเรยี น และหลงั เรียนเมอื่ เรยี นจบสาระการเรยี น 2. สาระสําคญั 2.1 กําหนดขอบเขต เน้ือหาวิชา จดุ ประสงค วธิ ีการสอน กจิ กรรมการสอน 2.2 กําหนดวธิ ีการ หลกั เกณฑ การวดั ผลและประเมินผล 3. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู 3.1 จุดประสงคทวั่ ไป เพ่อื ใหนกั เรียนมีความรู ความเขาใจเก่ียวกบั ความสําคัญ โครงสราง องคป ระกอบของไม ลักษณะหนาตัด ลายไม ตําหนขิ องไม และมาตรฐานของไม อตุ สาหกรรมไมอ ัด ประเภท และคณุ สมบัติของไม การปอ งกนั รกั ษาเน้ือไม 3.2 จุดประสงคเ ชิงพฤติกรรม เพ่อื ใหน กั เรยี นสามารถ 3.2.1. อธิบายความสาํ คัญของไมไ ดถูกตอ ง 3.2.2 อธิบายโครงสราง และองคป ระกอบของไมไดถกู ตอ ง 3.3.3 บอกประเภท และคณุ สมบัติของไมไ ดถ ูกตอ ง 3.3.4 บอกขนาดและมาตรฐานไม ทีใ่ ชในงานกอสรางไดอยา งถูกตอ ง 3.3.5 เลือกใชไ มในงานกอสรา งไดอยางถูกตอง 3.3.6 อธบิ ายวิธีการเกบ็ ไม การปองกัน และการรกั ษาเนอ้ื ไมไ ดถูกตอ ง 4. สาระการเรยี นรู 4.1 โครงสรางสว นประกอบลําตน ไม 4.2 ประเภทและชนิดของไม 4.3 ขนาดและมาตรฐานของไม 4.4 คุณสมบัตขิ องไม ทใี่ ชในงานกอ สราง 4.5 หลักเกณฑก ารเลอื กใชไ ม 4.6 การเก็บและการรกั ษาไม

8 แผนการจัดการเรยี นรู วัสดุกอ สรา งจากธรรมชาติ หนวยท่ี 1 รหสั วิชา 2108–1002 วิชาวสั ดกุ อ สรา ง 1 2- สอนคร้ังท่ี 1 0-2 ช่อื หนว ยการเรยี น ไม (WOOD) จาํ นวน ช่วั โมง 5. กิจกรรมการเรียนการสอน ครู นักเรียน 5.1 นาํ เขาสูบ ทเรยี น 5.1 ฟง บรรยายเขาสูบทเรียน 5.2 ทดสอบความรูกอ นเรยี น 6.2 ทาํ แบบทดสอบกอ นเรียน 5.3 มอบใบความรู 5.3 อา นทําความเขา ใจในใบความรู 5.4 บรรยายพรอมแสดงสื่อประกอบการ 5.4 ต้งั ใจฟงบรรยาย พรอ มซกั ถามขอ สงสัย ยกตัวอยาง และสอดแทรกแนวทาง และตอบคําถามของครูผสู อน ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 5.5 ทาํ แบบฝกหัด , ใบงาน 5.5 ใหท ําแบบฝก หัด ,ใบงาน 5.6 ทํางานตามท่ไี ดร มั อบหมาย 5.6 ทดสอบหลังเรยี น 5.7 ทําแบบทดสอบหลังเรียน 6. งานที่มอบหมาย 6.1 กอ นเรยี นใหใบความรู 6.2 ขณะเรยี นใหศกึ ษาในใบความรู พรอ มแบงกลุมทาํ กิจกรรมพัฒนานาองคค วามรู และบคุ ลกิ ภาพ 6.3 หลงั เรียน ใหคน ควาเขียนรายงาน แบงกลมุ และนําเสนอผลงาน 7. ส่อื การสอน 7.1 สงิ่ พิมพ 7.2 โสต แผน ใส และแผน สไลด 7.3 ตัวอยางวัสดุหรอื หนุ จําลองการนําไปใชงาน 8. การประเมินผล 8.1 กอ นเรียน ใหทําแบบทดสอบกอนเรียน 8.2 ระหวางเรียน ประเมนิ ความสนใจ และความเขา ใจในการตอบขอ ซักถาม 8.3 หลงั เรียน ประเมินจากการทาํ ใบงาน ประเมินจากการทําแบบฝกหัด ประเมนิ จากการทําแบบทดสอบหลังเรียน และตรวจทานความถูกตอง

9 แบบทดสอบกอนเรยี น หนวยการเรยี นรูท่ี 1 ไม รหัสวชิ า 2108-1002 รายวิชา วสั ดุกอสรา ง 1 ชอ่ื -สกุล...................................................แผนกวิชา.......................ช้ัน............เลขท.่ี ............. ------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------- ตอนที่ 1 คาํ ชีแ้ จง จงเลือกคําตอบท่ถี ูกตอ งท่สี ดุ เพียงคําตอบเดียว (10 คะแนน) 1. สวนไหนของตน ไมท่ีทําหนาท่รี ับแสงอาทิตยเ พื่อนาํ มาปรุงอาหาร ก. กิ่งไม ข. ราก ค. ใบ ง. ลาํ ตน 2. Wood Cell คอื อะไร ก. เซลลไม ข. เซลลใบ ค. เซลลก งิ่ ไม ง. เซลลต น ไม 3. เซลลท ท่ี าํ หนาทใ่ี หความแขง็ แรงแกลําตน คือ ก. เซลลลําเลียง ข. เซลลไม ค. เซลลรังสี ง. เซลลค้ําจนุ 4. ไมแ กน มีชื่อภาษาอังกฤษวาอยางไร ก. Heartwood ข. Hoartwood ค. Heortwood ง. Haartwood 5. ไมชนิดใดตอไปน้จี ดั เปน ไมเนือ้ ออ น ก. ไมนนทรี ข. ไมต ะแบก ค. ไมส กั ง. ไมร งั 6. ขอใดเปนคณุ สมบตั ขิ องไมเ นื้อแข็ง ก. มนี ้ําหนกั เบา ยืดหดตวั ไดง า ย ข. ทนทาน เล่ือยและไสกบไดงา ย ค. ลักษณะเนอ้ื ไมหยาบและมีสจี าง ง. ลกั ษณะเนื้อไมเ ปนมัน เนือ้ แนน มีนํ้าหนักมาก มลี ายไมละเอยี ด 7. หนว ยของไมอดั มาตรฐานทัว่ ไป เชน 4, 6, 10, 15 และ 20 คอื อะไร ก. มลิ ลิเมตร ข. เซนตเิ มตร ค. เดซเิ มตร ง. โดซิเมตร

10 8. ถาตองการทําบันไดบา นใหแ ข็งแรงและทนทานเปนพเิ ศษ ควรเลือกทําจากไมชนดิ ใด ก. ไมเน้อื แขง็ ข. ไมเ นือ้ แข็งปานกลาง ค. ไมเ นอ้ื ออน ง. ไมอดั 9. สถานทีเ่ กบ็ กองไมค วรมีลกั ษณะอยา งไร ก. ควรอยูร ิมแมน ้ําลําคลอง ข. มีหลงั คาปกคลุมมิดชิดปองกนั ไมใหถกู น้าํ ฝน ค. ไมควรใหมีกระแสลมพดั ผา นกองไม ง. ถกู หมดทกุ ขอทก่ี ลาวมา 10. การปอ งกนั รักษาเน้อื ไมสามารถปองกนั ไดอยางไร ก. การใชสารเคมที าบนผวิ ไม ข. การอดั นํา้ ยาเขา ไปในเนอ้ื ไม ค. การทําใหอาหารของ Fungi เปนพษิ ง. ถกู หมดทกุ ขอที่กลา วมา ************************

11 ตอนท่ี 2 ใหนักเรียนตอบคาํ ถามใหถูกตอ งและสมบูรณท ่สี ุด 1. ไมม คี วามสําคัญตอ การดํารงชวี ิตอยางไรบาง ( 1 คะแนน ) ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 2. โครงสรางของตนไมสวนใดทน่ี ําไปใชป ระโยชนใ นงานกอ สรางมากทีส่ ุด ( 1 คะแนน ) ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 3. ไมตามธรรมชาติ ถาใชความทนทานเปน เกณฑในการแบง ประเภท สามารถแบง ออกได เปน กี่ประเภท อะไรบา ง ( 3 คะแนน ) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. จงอธบิ ายตาํ หนิของไมท ี่เกิดจากโครงสรางทางฟสกิ ส (ตาไม) (1 คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. จงเขยี นช่ือไมเน้ือแข็งทน่ี ักเรียนรจู ักมา 3 ชอื่ ( 3 คะแนน) ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 6. การเรยี กชอื่ ขนาดของไมโ ดยเรยี งลาํ ดับอยา งไร ( 1 คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ............................................................................................................................................... 7. ไมส กั เม่ือแปรรปู แลวสามารถนําไปใชงานอะไรบาง เขียนมา 3 งาน ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................

12 8. ไมท่ีใชทาํ วงกบประตหู รือหนาตาง ควรมีคุณสมบตั ิอยา งไร ( 2 คะแนน) ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 9. ไมอ ัดสามารถแบงออกตามลกั ษณะการใชงานได 3 ประเภท คือ ( 3 คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 10. การปอ งกันรักษาเนื้อไมสามารถแบงออกเปน 2 วิธใี หญ ๆ คอื ( 2 คะแนน) ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ********************************

13 ไม (WOOD) 1. 1 ความสาํ คัญของไม ไม เปนวัสดุกอสรางท่ีใชในการสรางที่อยูอาศัย แมนวาในปจจุบันไมจะกลาย เปนวัสดุท่ีหายาก และแพงกวาวัสดุทดแทนอยางอ่ืน แตไมก็ยังเปนสวนประกอบหลักท่ียัง จําเปนตองใช เชน วงกบ ประตู หนาตาง ตลอดจนถึงผลิตภัณฑท่ีใชตกแตงภายในบาน ท่ีสําคัญ ไดแ ก วงกบประตู หนาตา ง บานประตหู นาตา ง แมบันได ขั้นบันได พื้นในรม ใชทําเคร่ืองเรือน และเฟอรนิเจอรตา ง ๆ ไม มีความสําคัญตอการดาํ รงชวี ติ ดังนี้ 1.1.1 ใชการสรางบา นพกั อาศัย ศาลา สะพาน เรือชนิดตางๆ เปนตน 1.1.2 ใชใ นการประดษิ ฐส ่ิงของ เคร่อื งมือ เครอื่ งใชตางๆ ในการดํารงชีวติ ประจําวัน เชน กบไสไม โตะ เกาอ้ี ตู เตียง เปนตน 1.1.3 ใชใ นการสรางงานทางศลิ ปะ เชน พระพุทธรปู การตกแตงภายในภายนอก อาคารสถานทตี่ างๆ เปน ตน 1.2. โครงสรางและองคป ระกอบของตน ไม 1.2.1 โครงสรางของตน ไม มสี วนประกอบที่สําคัญ 3 สวนคอื 1.2.1.1 ราก รากของตน ไมทกุ ตนมีหนาทยี่ ึดกับพื้นดนิ ไมใ หตน ไมลม ทาํ ให ตน ไมย นื อยูได และทําหนาทีด่ ูดสารอาหารสง ผานลําตนไปสใู บ 1.2.2.2 ลาํ ตน ลําตน ของตนไมทกุ ตนมีหนาที่เปนโครงสรางของตน และทาํ หนา ท่ีลําเลยี งสารอาหารไปยงั ใบทุกสวน 1.2.3.3 ใบ ใบของตน ไมทกุ ตน ทาํ หนา ท่ีรบั แสงอาทิตยเพ่ือนํามาปรุง อาหาร เม่ือเสรจ็ แลวก็สงไปยังเย่อื เจรญิ ซ่ึงอยูในลาํ ตนทําใหลาํ ตนมีการเจริญเติบโต ตามลําดับ ดังภาพท่ี 1.1

14 (ใบ) (ลาํ ตน) (ราก) ภาพที่ 1.1 แสดงสว นตางๆ ของตน ไม และหนาที่ ทมี่ า : กวี หวังนิเวศนก ุล, 2546 โครงสรางของตนไมป ระกอบดว ยเซลล (Cell) หรือเสน ใย (Fiber) ในลกั ษณะ ตาง ๆ เพือ่ ทําการยดึ เกาะกันจนเปนรูปตนไมข ึน้ มา ดังน้ันจงึ แบงเซลลอ อกตามลักษณะของ การเรียงตัว โดยสามารถแบง ออกไดเ ปน 2 ชนิด คอื เซลลท เี่ รียงตวั ไปตามแนวขวางของลาํ ตน เรียกวา เซลลรังสี (Ray Cell) และเซลลท ่ีเรยี งตัวยาวไปตามลําตน เรยี กวา เซลลไ ม (Wood Cell) โดยทั่วไปเซลลตางๆ ของตนไม ยังสามารถแบงออกตามหนาทีก่ ารทาํ งานออก ไดอกี 3 ชนดิ คอื 1. เซลลส ะสม (Storage Tissue) ซ่งึ ทําหนาท่ีสะสมอาหารไวใ นลําตน ซงึ่ โดยทั่วไป ผนงั ของเซลลจะบางและมรี ูปรา งเปน เหลยี่ มแบน 2. เซลลล าํ เลยี ง (Conducting Tissue) ซึง่ ทาํ หนาทีล่ าํ เลยี งธาตุอาหารตา ง ๆ ซึง่ โดยทวั่ ไปจะมขี นาดเซลลใหญและมีผนังเซลลบ าง 3. เซลลค ้ําจุน (Supporting Tissue) ซ่งึ ทาํ หนาท่ีใหความแขง็ แรงแกล ําตน ซ่งึ โดยทว่ั ไปจะเปน เซลลท ี่มีขนาดเลก็ แตมีผนังเซลลห นา การเรยี งตวั ของเซลลตาง ๆ ของไม แสดงดังภาพที่ 1.2

15 ภาพท่ี 1.2 แสดงลกั ษณะการเรยี งตวั ของเซลลตา ง ๆ ของไม ทม่ี า : กวี หวังนเิ วศนก ลุ , 2546 ลักษณะการเรียงตัวของเซลลนั้นอาจจะเรียงตัวตามแนวยาวขนานกับลําตนหรือ ขวางกับลําตนก็ได ขึ้นอยูกับชนิดของไม ซึ่งตัวเซลลนั้น จะประกอบดวยผนังเซลล (Cell Wall) และเยื่อชีวิต (Protoplasm) อยูภายในเซลล โดยเม่ือเซลลเจริญเต็มท่ีก็จะตายและเย่ือชีวิตก็จะ กลายเปนเนอ้ื ไม ดงั นนั้ ผนังเซลลจ ะมีสวนประกอบของสารเซลลูโลส (Cellulose) อยูประมาณ 60%โดยสวนใหญจะอยูที่ผนังเซลลและลิกนิน (Lignin) อยูประมาณ 30% โดยอยูระหวางเซลล ตอเซลล ซ่ึงทําหนาท่ีเช่ือมประสานเซลลใหติดกันเปนเนื้อไม นอกจากนั้นจะเปนสวนประกอบ จากสารอื่นๆ ซ่ึงการเจริญเติบโตของตนไม โดยจะเกิดจากการเพ่ิมเซลลทางสูงของลําตน มากกวา ทางดานขาง ทําใหก ารเจริญเติบโตของตนไมในแตละรอบปจะทําใหเกิดเสนวงรอบปข้ึน แตถ า ในปใ ดมีความแหงแลง มากเสนวงรอบปกจ็ ะมสี จี างลง ดงั ภาพที่ 1.3 (ก) และ (ข) (ก) โครงสรา งของเซลลไ มเ นอ้ื แขง็

16 (ข) โครงสรางเซลลไมเน้ือออน ภาพที่ 1.3 แสดงโครงสรางการเรยี งตัวของเซลลของไม ท่ีมา : กวี หวงั นเิ วศนก ลุ , 2546 1.2.2 องคป ระกอบของไม 1.2.2.1 ลกั ษณะหนาตดั ของไม หากตัดขวางลําตนของตนไมขนาดใหญ (ที่มีอายุ 10 ปข้ึนไป) ใหเปนแผน บางคลายเขียง ดังภาพที่ 1. 4 จะมองเห็นไดวา ลําตนไมประกอบดวยสวนใหญ ๆ 2 สวน คือ เปลือกไมกับเนื้อไม โดยมีเยื่อเจริญ (Cambium) ซึ่งเปนเซลลชั้นบาง ๆ ค่ันอยูที่ทําหนาท่ี เก่ียวกับการเจริญเติบโตของตนไม แตหากพิจารณาใหละเอียดมากขึ้นจากเปลือกช้ันนอกเขา หาไสห รอื ใจไมท ่ีอยกู ลางลําตน จะเห็นวา ลําตนของตนไมจ ะประกอบดว ยสวนตาง ๆ ที่สําคัญ 7 สวน ดงั ตอ ไปน้ี 1.2.2.2 เปลือกไมชั้นนอก (Outer Bark) ซ่ึงเปนสวนที่อยูนอกสุดของลําตน โดยเปนเซลลท่ีตายแลวและแหงแข็ง มีหนาที่หอหุมลําตนไวเพ่ือปองกันอันตรายใหกับลําตน เชน การกดั แทะ และการเสียดสี เปน ตน 1.2.2.3 เปลอื กชน้ั ใน (Inner Bark) ซึ่งเปน เซลลทยี่ งั มีชวี ิต มีหนาท่ีลําเลียงอาหารท่ี ผา นการสงั เคราะหแลวจากใบโดยสง ไปเล้ียงสว นตา งๆ ของลาํ ตน เพอ่ื ใหไ มมีการเจรญิ เติบโต 1.2.2.4 เสนวงรอบป (Annual Growth Ring) ซ่ึงเปนเสนที่บงบอกถึงแนวตอของไมท่ี เจริญเติบโตขึ้นมาในแตละรอบปหรือแตละฤดู ซ่ึงถาไมอยูในทองถ่ินที่มีความอุดมสมบูรณมาก จะมีระยะหางของเสนวงรอบปนี้ก็จะหางมาก สีของเสนจะจาง แตถาในทองถ่ินท่ีใดไมมีความ สมบูรณหรือแหงแลง เสนวงรอบปก็จะถ่ี ซึ่งบงบอกถึงการเจริญเติบโตท่ีชา สีของเสนจะเขม

17 ซ่ึงโดยปกติประมาณกันวาเสนวงรอบปหนึ่งเสนจะเทากับอายุของตนไมหนึ่งป แตยกเวนตนไม บางชนิด เชน ไมส กั ในบางปที่สมบูรณมากก็อาจจะมีถึง 2 วง หรือกรณีตนไมท่ีเกิดใบรวงหมด ตน ก็อาจจะทําใหก ารเจริญเตบิ โตไมค รบวงรอบ 1.2.2.5 เยื่อเจริญ (Cambium) ซ่ึงเปนเซลลบาง ๆ ที่มีชีวิตอยูระหวางกระพี้กับ เปลือกช้ันใน ซ่ึงการเจริญเติบโตของเน้ือไม และเปลือกไมจะเกิดจากการแบงเซลลของเยื่อ เจริญ เซลลเยื่อเจริญที่แบงอยูดานในก็จะกลายเปนเน้ือไม ซึ่งเซลลท่ีแบงตัวดานนอกก็จะ กลายเปนเปลือกช้ันใน โดยจะคอยๆ ขยายตัวตามการเติบโตของลําตน โดยจะไปดันเปลือก ช้ันนอกใหแตกเปน ลายหรอื เปนรองตา ง ๆ ตามทเ่ี ราไดเ หน็ กนั ทั่วไป 1.2.2.6 กระพ้ี (Sapwood) ซ่ึงเปนสวนที่อยูถัดออกมาจากไมแกน ซ่ึงอยูระหวาง เปลือกชั้นใน และไมแก โดยเนื้อกระพ้ีจะมีสีจางกวาไมแกน มีหนาท่ีลําเลียงธาตุอาหารตางๆ ไปสูใบ อีกท้ังเปนที่เก็บสะสมอาหารจําพวกแปงและนํ้าตาล โดยเมื่อตนไมเจริญเติบโต เน้ือ ไมท่ีงอกขน้ึ มาใหมก ็จะทําหนา ท่ีแทนกระพ้ีเดมิ โดยกระพีเ้ ดมิ ก็จะกลายเปน ไมแกนแทนตอ ไป 1.2.2.7 ไมแกน (Heartwood) ซึ่งเปนสวนท่ีอยูถัดออกมาจากไสไม ซ่ึงแกนไม คือ เซลลต า ง ๆ ของตน ไมทีไ่ มท ํางานแลว โดยไมแ กน จะเปน สว นท่ีแขง็ ท่ีสุด มีหนาที่เปนโครงสราง ใหก บั ลาํ ตน ดงั นั้น ไมแกน จะมีเนือ้ สีเขม เนอื่ งจากยังมสี ารอาหารตาง ๆ ตกคางอยู ซึ่งไมแกน เปน ไมท ี่นํามาใชร ับน้าํ หนักไดเ ปน อยา งดีในงานกอสรางตา ง ๆ 1.2.2.8 ไสไ ม (Pith) หรือเรยี กอีกชื่อหน่ึงวา ใจไม ซ่ึงเปนสวนทอี่ ยูตรงกลางลํา ตน ของตนไม ซ่งึ เปนจุดเริ่มตนของการเจรญิ เติบโตของตนไม โดยจะทาํ ใหเ กดิ ลําตน ก่งิ กาน และใบ ดงั น้นั เมื่อตนไมมอี ายมุ ากข้ึน ไสไมก ็จะกลายเปน โพรง โดยถามองในแงคุณสมบัตขิ อง ไมก ถ็ อื วาไมที่มีโพรงจะสามารถรับนํา้ หนักไดต ่ําไมเ หมาะทจี่ ะนํามาใชในงานกอสราง ลักษณะ หนาตัดไม ดงั ภาพที่ 1.4 เปลอื กนอก กระพ้ี เปลอื กใน ไมแ กน วงรอบป เยอ้ื เจริญ

18 วงรอบป ภาพท่ี 1.4 แสดงลกั ษณะหนาตดั ของไม ท่มี า : กวี หวังนิเวศนกลุ , 2546 1.2.2. 9 ลายไมและตําหนิของไม ในการนําไมมาใชงานกอสรางนั้น จะตอง เรม่ิ จากการตดั โคน ตน ไมใหเ ปน ทอ น หรอื เรยี กวา ซุง (Log) เม่อื นาํ ซุงมาแปรรปู โดยการผา หรือเล่ือย ก็จะไดไมแปรรูปท่ีมีลายตาง ๆ (ซ่ึงในทางวิศวกรรมกอสรางเรียกวา เส้ียนไม) ตามลกั ษณะของการผา ตัวอยางการผาซงุ ดังภาพที่ 1.5 และลายไม ดงั ภาพที่ 1.6 เปลอื กชนั้ นอก กระพ้ี รูปแบบของการผา ไมแกน ภาพที่ 1.5 แสดงรปู แบบของการผาซงุ ลักษณะตา ง ๆ ท่ีมา : Woodworking For Industry, John L.Feirer

19 ภาพที่ 1.6 แสดงลายไมใ นลักษณะตางๆ ทม่ี า : www.google.co.th 1.2.2.10 ตําหนิของไม ไมเปนผลผลิตท่ีเกิดขึ้นตามธรรมชาติ จึงมี คุณสมบัติบางประการท่ีไมเหมาะสมในการนํามาใชเพ่ือการกอสราง คือ ตําหนิของไมท่ีเกิดขึ้น โดยธรรมชาติ ไดแก ตาไม รอยแตก และรอยปริเปลือกไม ความเอียงของเส้ียนไม รอยเสีย และรอยเปอน และความเสียหายเน่ืองจากแมลง เปนตน ดังนั้น กอนท่ีจะนําไมไปใชในงาน กอสราง ผูเก่ียวของจะตองตรวจความสมบูรณของชิ้นไม โดยไมใหมีตําหนิมากกวามาตรฐาน กําหนด เพราะถา เกนิ กจ็ ะสงผลตอการรบั กําลังของไมเม่ือนําไปใชงาน ซ่ึงโดยท่ัวไปตําหนิของไม อาจจะเกดิ จาก 2 สาเหตใุ หญ ๆ คอื 1) ตําหนิทเ่ี กิดจากโครงสรา งทางดานฟสิกส ไดแก ตาไม (Knot) ซึ่งตาไมกค็ ือสว นทก่ี งิ่ ไมย นื่ ออกมาจากลาํ ตน โดย ตาไมจะทําใหค วามตอ เน่อื งของเสย้ี นตองสะดุดไมราบเรียบ ซ่งึ ขนาดของตาไมจะมีผลเสยี ของ การรบั กาํ ลงั ในงานกอ สราง โดยอาจจะมีผลเสยี นอ ยในดานการรับแรงอัดถาเกิดอยใู นไมเ สา แตถ า นําไมท่ีมีตาไมไปทาํ คานหรอื ตง จะมีผลเสียตอการตานทานแรงดัดของคานหรือตงเปน อยางมาก ดังภาพที่ 1.7 (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) (ก) เปลอื กฝง ใน (ข) รอยนกจิก (ค) รอยปริ (ง) รอยผุ

20 (จ) ตาผุ (ฉ) ตาแขง็ ตัน ภาพท่ี 1. 7 ตําหนขิ องไมลักษณะตา ง ๆ ทม่ี า : 2) ตําหนทิ ่เี กดิ จากผลดา นชวี วทิ ยา ไดแก (1) ปลวก (Termites) หรือแมลงเมา ที่เรารูจักกันดีจะมีอยู 2 ชนิด คือ ปลวกที่มีปกโดยจะชอบทํารังใตหลังคาบาน และปลวกท่ีชอบอยูใตดินจะคอย ๆ ทํารัง โดยไตข น้ึ มาตาม ผนงั บาน ปลวกเปนแมลงท่กี ัดกนิ และทาํ ลายไมท ั้งทอ นใชเวลาอยา งรวดเรว็ (2) เชื้อรา (Fungi) ซ่ึงเชื้อราเปนศัตรูท่ีสําคัญ มีลักษณะเปน รากฝอยลุกลามไปเร่ือย ๆ โดยเจาะกินเซลลูโลสในเนื้อไมเปนอาหาร ซ่ึงทําใหไมผุ เช้ือราจะ เจรญิ เตบิ โตไดตอ งอาศัยความชื้น อุณหภูมิ และอากาศที่พอเหมาะ โดยสามารถสังเกตไดวาไม ท่ีอยูใ กล ๆ พ้ืนดนิ หรือพ้ืนทกี่ ง่ึ เปยกแหง จะชว ยใหเชอื้ ราเจริญเติบโตไดด ี (3) แบคทเี รยี (Bacterial) ซึ่งแบคทีเรียเปนพวกท่ีเกาะกินอาหารอยูบน ผิวไม ซึ่งไมใชสาเหตุท่ีทําใหไมผุโดยตรง แตถาแบคทีเรียเกาะกันกินอาหารอยูบนผิวไมนาน กจ็ ะทาํ ใหไมเ กิดความเสยี หายไดเหมือนกัน (4) มอด (Weevils) ซงึ่ เปนแมลงปกแข็งตัวเล็ก ๆ ชอบกินเฉพาะแปงที่มี ในเน้ือไม โดยไมกินเนื้อไมเหมือนกับปลวก ความรุนแรงของการทําลายไมจึงนอยกวาปลวก ซึ่งถาเราพบเศษขุยคลายผงแปงลวงหลนเปนกอง เล็ก ๆ ใกล ๆ กับชิ้นไม โดยเราจะพบวามีรู เล็ก ๆ เทารเู ขม็ เตม็ ไปหมด รทู ี่มอดเจาะเขาไปกนิ แปง แลวถายมลู ออกมาเปน ผงน่ันเอง (5) เพรียง (Barnacles) ซึ่งเพรียงเปนตัวทําลายไมท่ีใชงานอยูในนํ้าแยก ออกเปน 2 พวก คอื (5.1) เพรียงทะเล ท่ีอยูตามแถบชายฝงทะเล โดยอาศัยอยูในไมท่ีปก อยูในทะเล เชน เสาบานชายทะเล ทาเทียบเรือ สะพานเรือ ฯลฯ ซึ่งจะกัดเจาะไมใหเปนรูเพ่ือ ฝงตวั อยูขางใน โดยไมท อนใดท่มี ีเพรยี งเกาะอยูมากก็อาจถูกเจาะจนหักพังไปได (5.2) เพรียงนํ้าจืด เปนชื่อเรียกตัวออนของแมลงชีปะขาว ซ่ึงจะพบการ ทําลายของเพรียงน้ําจืดในไมที่จมอยูในน้ําจืด หรือสวนประกอบของบานเรือน หรือเรือที่ใชงาน อยใู นนา้ํ จืด

21 1.3 ประเภทและคณุ สมบตั ิของไม 1.3.1 ประเภทของไม ตามขอกําหนดเกี่ยวกับไมของกรมปาไม แบงไมออกเปน 3 ประเภท โดยถือเอาคาความแข็งแรงในการดัดของไมแหง และความทนทานตามธรรมชาติของ ไมชนิดน้นั ๆ เปน เกณฑไ ดแ ก 1.3.1.1 ไมเน้ือออน มีความแข็งแรงต่ํากวา 600 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร มีความทนทานตํ่ากวา 2 ป ไดแก ไมอินทนิล ไมสัก ไมยางแดง ไมพะยอม ไมพญาไม ไมทํามัง ไมต ะบูนขาว ไมก ะบาก ไมก ระเจา ไมกวาด 1.3.1.2 ไมเนื้อแข็งปานกลาง มีความแข็งแรง 600 ถึง 1000 กิโลกรัมตอ ตารางเซนติเมตร มีความทนทาน 6 ป ไดแก ไมเหียง ไมรกฟา ไมยูง ไมมะคาแต ไมพลวง ไมนนทรี ไมต าเสือ ไมตะแบก ไมตะเคียนหนู ไมต ะเคยี นทอง ไมก วาว 1.3.1.3 ไมเนื้อแข็ง มีความแข็งแรงสูงกวา 1,000 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร มีความทนทานสูงกวา 6 ป ไดแก ไมเ คี่ยม ไมแอก ไมหลุมพอ ไมเสลา ไมสักข้ีควาย ไมเลียงมัน ไมรัง ไมยมหิน ไมมะคาโมง ไมมะเกลือเลือด ไมประดู ไมเต็ง ไมตะบูนดํา ไมตะครอหนาม ไมตะครอ ไข ไมแ ดง ไมก นั เกรา 3.1.1.1 ไมเ นื้อออน 1) ไมฉําฉา ลักษณะคุณสมบัติ ไมเนื้อหยาบไมแนนมีสีคอนขางจาง (ขาว) มีลวดลายสวยงาม มีนํ้าหนักเบา จัดอยูในประเภทไมเน้ือออน ทําการเล่ือย ผา ไส กบ ตกแตงชักเงาไดง าย ประโยชน ใชทําลงั กลองใสวัสดุอุปกรณ เครือ่ งมือตา ง ๆ ปจ จุบนั นิยมนํามาใชท ํา เครื่องเรือน เคร่ืองใชต าง ๆ หรอื เพอ่ื ใชต กแตงตาง ๆ 2) ไมสัก ลักษณะคุณสมบัติ เปนไมที่มีคุณภาพดีท่ีสุด นอกจาก ความแข็งแรงอยางเดียวเทาน้ันท่ีมีนอยไปหนอย แตก็แข็งแรงพอท่ีจะใชได เปนไมสูงขนาด ใหญ จะทําการโคนไมอายุประมาณ 150 ป เปนไมท่ีขึ้นเปนหมูในปาเบญจพรรณ เน้ือไมมีสี เหลืองนานเขาจะกลายเปนสีนํ้าตาลแก มีกล่ินหอม มีนํ้ามันในตัว มีเสี้ยนตรง เน้ือหยาบไม สม่ําเสมอกัน กรําแดด กรําฝน ไมคอยผุงาย หดตัวนอย ไมมีอาการบิดหรือแตกราว มอด ปลวกไมคอยรบกวน เม่ือเล่ือยออกจะเห็นลายไดชัดเจน เล่ือย ผา ไสกบ ตกแตง ชักเงาได งาย เปนไมท่ีผ่ึงใหแหงไดรวดเร็ว น้ําหนักตอลูกบาศกฟุตประมาณ 35–45 ปอนด ยังแบง เปน 3 ชนิด คือ สกั ทอง สักหิน สักข้ีควาย ไมสักทอง มีลวดลายสวยงามมาก ปจจุบันมี ราคาคอ นขา งแพง

22 ประโยชน ใชในการสรา งส่งิ ทต่ี อ งทาํ อยางประณีต ตองการความสวยงาม และทนทานตองรับนํ้าหนักหรือตานทานมาก เชน ทําประตู หนาตาง วัสดุ เคร่ืองใช เครื่องเรอื นตา ง ๆ และยังเปนสินคาออกทท่ี าํ รายไดป ล ะไมนอยทเี ดยี ว 1.3.1.2 ไมเ นื้อแข็งปานกลาง 1) ไมมะคาโมง ลักษณะคุณสมบัติ ไมมะคาโมงหรือไมมะคาใหญ หรือ ไมมะคาหลวงเปนไมเน้ือแกรงลําตนใหญแตไมสูงนัก ขึ้นตามปาดงดิบ และปาเบญจพรรณ เวน ทางภาคใต เน้ือไมเปน สีน้ําตาลเหลือง เสี้ยนคอนขางสน เน้ือหยาบมีริ้วแทรกแข็งเล่ือย ไสกบ คอนขางยาก ถาแหงดีแลวจะตกแตงงาย ขัด และชักเงาไดดี นํ้าหนักตอ 1 ลูกบาศกฟุต ประมาณ 60 ปอนด ประโยชน ใชทาํ เสา ไมหมอนรางรถไฟ และใชในงานกอสรางตาง ๆ เปน ไมชนิดใหปุมมีลายงดงาม ราคาแพง ใชทําพวกเคร่ืองเรือน เครื่องใช เชน ตู โตะ เกาอี้รับแขก เปนตน 2) ไมประดูชิงชัน ลักษณะคุณสมบัติ ไมประดูชิงชันหรือพยุงแกม หรือพยุง แดง เชียงใหมเรียกวา เกิดแดง ภาคอีสานเรียกวา ชิงชัน ภาคเหนือ เรียกวา ดูลาย เปนไม ประเภท เนื้อแขง็ ลําตน ขนาดปานกลางถึงขนาดใหญ ข้ึนอยูในปาเบญจพรรณทั่วไป เน้ือไมมีสี มวงแก สีเสนแทรกสีดําออน หรือ สีแกกวาพ้ืน เส้ียนมักสับสนเปนริ้วแคบ ๆ เนื้อละเอียด ปานกลาง แข็ง เหนียวมาก แข็งแรงทนทาน ไสกบ ตกแตง ชักเงาไดดี ตอกตะปูไดยาก เม่ือ ทําเสร็จแลวจะมี ความเรียบรอยสวยงามเปนมันดี เมื่อชักเงาแลวจะมีลายมีสีสันสวยงาม มาก นํา้ หนัก 1 ลกู บาศกฟตุ ประมาณ 67-70 ปอนด ประโยชน ใชทําพวกเครื่องเรือน เชน ตู โตะ เกาอี้รับแขก เกาอ้ี โยก ดา มเครือ่ งมือ รางกบ เกวยี น รถ แกะสลัก ทาํ หวี เปน ตน 3) ไมย าง ลักษณะ และคุณสมบัติเปนไมเน้ือออน และหยาบมีสีน้ําตาล ปนแดงใชในที่รมทนทานพอใช แหงชา ยืดหดงาย เลื่อยผางาย บิดงอตามดินฟาอากาศ ถา ไสตอนไมสด ๆ อยจู ะ ไมเรยี บดนี ัก เส้ียนมักจะฉีกติดกันเปนขุยออกมา ทําใหขัดหรือทานํ้ามัน ไมคอยดี ใชในการสราง รับนํ้าหนักมาก ๆ ไมได ใชในท่ีตองการกรําแดดกรําฝนมากไมได นอกจากจะทาสนี ้าํ มนั ปองกันไว นา้ํ หนักตอ 1 ลูกบาศกฟตุ ประมาณ 40-50 ปอนด ประโยชน ใชทําบานเรือน เคร่ืองเรือนเฉพาะที่มีราคาถูก ๆ สรางบานใช ทําฝา ฝา หรือสว นทไ่ี มตอ งรบั นาํ้ หนัก นิยมใชก นั เพราะราคาถกู หางา ย

23 1.3.1.3 ไมเ นอ้ื แขง็ 1) ไมแดง คุณลักษณะและคุณสมบัติ ไมแดง เปนไมประเภท เน้ือแข็ง มีลําตนขนาดใหญข้ึนอยูทั่วไปในปาเบญจพรรณ เน้ือไมมีสีแดงเร่ือๆ หรือสีนํ้าตาลแกมแดง เสย้ี นเปน ลกู คลืน่ ละเอยี ดพอประมาณ แข็ง เหนียว มีความแข็งแรงทนทาน มีลายสวยงาม ทําการ เล่ือย ไสกบ ตกแตงตอกตะปูไดยาก เม่อื ทาํ เสรจ็ แลวมีความเรยี บรอ ยสวยงามชักเงาไดดี ประโยชน ใชในการกอสรางอาคารบานเรือน เชน ทําเสา ข่ือ คาน ตง กระดานพื้นสะพาน เกวียน เรือ หมอนรถไฟ เคร่ืองเรือน เครื่องมือทางกสิกรรม และเครอื่ งมือตาง ๆ เปน ตน 2) ไมเต็ง ลักษณะคุณสมบัติ เปนไมขนาดใหญมีอยูทั่วไป ระยะแรก จะเปน สีนํ้าตาลออน ทิ้งไวนานจะเปนสีน้ําตาลแกแกมแดง เสี้ยนหยาบ ทําใหไสกบตกแตง ไดย าก แตไ มแ ข็งและเหนียว เหมาะแกการสรางสว นที่รบั นา้ํ หนักไดดี มีความแข็งแรงทนทานดี มาก ทนตอ แสงแดดและน้าํ ฝน เนื้อไมมกั จะมีรอยราวปรากฏใหเห็น หัวไมมักแตกงาย ฉะนั้น ไมเตง็ จึงมักจะไมคอยใชใ นการสรา งสิง่ ประณตี ประโยชน ใชก ับงานตรากตรําตอ งการความแข็งแรงทนทาน เชน ทาํ โครงเกาอนี้ วม เกาอี้ชิงชา สะพาน หมอนรางรถไฟ ใชใ นการสรางบา นเรือนทีต่ อ งรบั นํา้ หนัก มาก ๆ เชน ตง คาน กระดานพ้ืน ไมโ ครงหลังคา และดามเครอื่ งมือกสกิ รรม 3) ไมรงั ลักษณะ และคุณสมบัติ ไมร ัง หรือไมเรยี ง เปน ไมขนาดกลาง ถึงใหญข้ึนเปน หมู ๆ ในปาแดง เนอ้ื ไมม ีสนี ํ้าตาลเหลือง เสยี้ นสับสน เนอ้ื หยาบแขง็ แรงทนทาน มาก เลือ่ ย ไสกบ ตกแตง คอ นขา งยาก ประโยชน ใชกับงานประเภทท่ีตองการรับแรง เชน ทําเสา หมอนรางรถไฟ สรางบานเรอื น การกอ สรา งตา ง ๆ ทํารถ เรือ เคร่ืองมือกสิกรรม เน่ืองจาก ไมชนิดนี้แข็งแรง และทนทานมากจึงนิยมใชการกอสรางท่ีตองการความแข็งแรงทนทาน ลักษณะเหมอื นกบั ไมเต็ง มจี าํ หนา ยในทองตลาดทั่วไป 1.3.2 คุณสมบตั ขิ องไม การนําไมไปใชใ หเ กิดประโยชนอยางสูงสุด เราจําเปนตองรูถึงคุณสมบัติ ของไมแตละชนิด เพือ่ ทีจ่ ะไดเลอื กใชใ หเ หมาะสมกับงานแตละประเภท เพราะไมเกิดจากตนไม เหลายชนิดมีคุณสมบัติในดานตางๆ ทจ่ี ะนํามาใชประโยชนจะมีความแตกตางกัน ไมแตละชนิด ยอมเหมาะสมกับงานแตละอยางไมเหมือนกัน เชน ในงานกอสราง ไมก็จะตองมีความ แข็งแรงและทนทาน ในการประดิษฐเครื่องเรือน เปนงานตองการความสวยงาม และความ ละเอียดในการเขา ไม ไมกจ็ ะตองมสี ีและลวดลายเนื้อไมท ี่สวยงาม เปนตน

24 คุณสมบัตขิ องไมใ นงานกอสรางแบงตามการนําไปใชในงานกอสรา งและ งานที่เกี่ยวขอ ง มรี ายละเอยี ดดังน้ี 1.3.2.1 คณุ สมบัตขิ องไมทั่วไป ในดานตา งๆ ที่จะนาํ มาใชประโยชน (พงศ โสโน, สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนฯ เลม ท่ี 3, 2553) จะมีความแตกตางกันไป ซึ่ง จะตองคาํ นึงถงึ ลวดลายในไม การหดหรือการพองตัว ความยากงายในการไสกบตกแตง โดย ลกั ษณะของเสน ใย รวมทัง้ ความยากงายในการทําสี ซ่ึงคณุ สมบตั ขิ องไมในงานกอสราง ประกอบดวย 1) ความช้ืน ความชืน้ อาจมแี ตกตา งกันระหวา งรอ ยละ 60 ถึง 300 หรือสูงต่ํากวา นนั้ ปรมิ าณความชน้ื ไมแหง จะมีคาเปลย่ี นแปลง อยูร ะหวา งรอยละ 10 ถงึ 16 2) นา้ํ หนัก ใชว ิธีเทยี บเปนทศนิยมของนํา้ หนักน้ําทม่ี ปี รมิ าตรเทา กนั ซึง่ เรียกกันวา ความถว งจําเพาะเนือ้ ไมแ ทๆ จะมคี าความถว งจําเพาะโดยเฉลยี่ ประมาณ 1.54 3) การหดและการพองตัว เกิดข้นึ เมอ่ื ไมเสยี ความชน้ื หรอื ไดรับความชน้ื เพิ่มมากขนึ้ ในระดับทม่ี ีความช้ืนตํ่ากวาจดุ หมาด จะตอ งเลือกใชไมท ีม่ ีความชนื้ ใหเหมาะสม กับงาน ซ่ึงจะปองกันการรอยแตก เม่ือไมมกี ารหดหรือพองตวั ภายหลงั การหดหรือพองตวั ของไมท าํ ใหไมเ กดิ การเปล่ียนรูปรา งไปจากเดิม แสดงดงั ภาพท่ี 1.8 และเกดิ การแตก เสียหายดงั ภาพท่ี 1.9 สวนแนวขวาง โกง แนวยาว โคง แนวทะแยง บิด ไมแปรรปู พอง ภาพที่ 1.8 ตัวอยา งการเสียรปู จากการหดตวั ที่มา: http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=634&source_location=2

25 รอยแตกเกิดจากการหดตวั ภาพที่ 1.9 ตัวอยางการเสยี รูปจากการหดตวั ท่มี า: http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=634&source_location=2 4) ความแข็งแรง เปนคุณสมบตั ิสําคญั ทจ่ี ะตองพิจารณาเมอ่ื นําไมม า ใชกอสรางบานเรอื นหรอื งานอ่นื ๆ ในลกั ษณะเดียวกัน แรงทเี่ ขา มากระทําตอไมท ใี่ ชใ นการ กอ สรางนั้น แยกไดเปน 3 ประเภท คือ แรงดึง ซงึ่ มีผลทําใหไ มแ ยกออกจากกัน แรงอดั หรือ แรงบบี จะมีผลใหไมบ ีบตวั เขา หากัน และแรงเฉือน ทําใหไมส ว นหนงึ่ ไถลเลื่อนเคลื่อนคลาด ออกไปจากสวนขา งเคียงเดิม 5) ความทนทาน เปนความสามารถในการตอ ตานหรือตานทานตอ ตัวการทําลายไมตา งๆ ที่สาํ คัญ คอื รา ซงึ่ เปน พืชช้ันต่ํา ทําใหไมผุ หรอื เสยี สี มอด แมลง พวกชีปะขาว เพรียงน้ําจดื และปลวก เปน ตน โดยมขี อกําหนดดานความทนทานดังตอ ไปนี้ (1) ความทนทานในรม เปน สภาพท่ีพนจากแดดฝน หรือไมมี โอกาสถกู นาํ้ ซาํ้ ซากได หรืออยกู ลางแจงถกู แดดถกู ฝนไดต ามกาลเวลา และไมค วรใหไมเ ปยก ชืน้ อยูน าน (2) ความทนทานในท่แี ฉะชืน้ กรณีการใชตดิ ดินหรือท่เี ปย กชมุ อยเู สมอเปน เวลานานๆ ในนํา้ จดื และน้ําเคม็ ตองปลอดจากมอด หากไมมมี าตรการปอ งกัน ปลวกทดี่ ีก็อาจไดรับอนั ตรายจากปลวกได (3) ความทนทานในท่กี ลางแจง และที่แฉะชื้น มีความลอแหลม ตออนั ตรายจากรา มอด และปลวก

26 (4) ความทนทานทจี่ มอยูใตนํ้า ตอ งปลอดภัยจาก รา มอด และปลวก แตย ังมเี พรยี งทาํ ลายไดอ ยู สําหรบั ไมท่ีอยูใ ตด นิ ในระดับลกึ กวาดินผิวพน ระดบั ทีม่ ี ซากพชื หรือถา อยใู ตระดับนาํ้ ในดินจะมีความปลอดภยั จากตัวการทําอันตรายตอเนือ้ ไม 1. 3.2.2 คุณสมบัตขิ องไมเ นอ้ื แขง็ เปนไมทีม่ วี งปมากกวา ไม เน้ือออน เพราะมีการเจริญเติบโต ชากวา คือ ตองมีอายุหลายสิบป จงึ จะนํามาใชง านได ลกั ษณะทั่วไปของไมจะมีเนื้อมนั ลาย ละเอียด เนือ้ แนน มนี ้ําหนักมาก แข็งแรงทนทานเชน ไมแดง ไมสกั ไมเ ต็ง ไมม ะคา เปนตน 1.3.2.3 คุณสมบตั ิของไมเ นื้อแข็งปานกลาง ทนทาน เลือ่ ย ไสกบตกแตง ไดงา ย ยืดหดตวั เล็กนอย เชน ไมตะแบก ไมยาง ไมน นทรี ไมต ะกู เปน ตน 1.3.2.4 คุณสมบตั ิของไมเนอ้ื ออน นํ้าหนกั เบา ไมทนทาน ยดื หดตวั ได งาย ราคาถูก เล่ือย ไสกบตกแตง ไดงาย เชน ไมฉําฉา ไมไ ผ ไมม ะพราว เปน ตน 1.4. ขนาดและมาตรฐานของไม ไมแปรรูปและการกอ สรางนั้นไดมกี ารกาํ หนดขนาดและมาตรฐานของไมไ ว ดังน้ี 1. 4.1 ขนาดของไม มีการกําหนดขนานตามขอกําหนดมาตรฐาน ผลติ ภณั ฑอ ตุ สาหกรรมของกระทรวงอุตสาหกรรม (มอก.) ดังภาพท่ี 1.10 (ก) (ข) (ค)และ(ง) เปนภาพตวั อยางไมแปรรปู ในรูปแบบตา งๆ ทีม่ ีการนาํ ไปใชง าน และขนาดของไมท ี่มกี ารนําไปใช งานดงั ตอไปน้ี 1. 4.1.1 ไมฝา มขี นาด ½ - 3/4 นวิ้ กวาง 4 - 6 น้วิ และ 8 - 10 นว้ิ 1.4.1.2 พนื้ ไม มขี นาด 1, 1½ - 2 นิ้ว, 2½- 3 นิ้ว กวาง 3 - 12 น้ิว 1.4.1.3 ไมเ สา มีขนาด 4 x 4 นวิ้ , 5 x 5 นิ้ว, และ 6 x 6 นิว้ 1.4.1.4 ไมระแนง มขี นาด 1x1 น้วิ 1.4.1.5 ไมกลอน มขี นาด ½-3/4 นว้ิ x 2-3 นิ้ว และ 1-2 นิ้ว x 1½-2 น้วิ

27 ก. ไมซ งุ แปรรปู ข. ไมแปรรูป ค. ไมแปรรูปเพื่อการจําหนา ย ง. การจดั เกบ็ เพ่ือ ภาพท่ี 1.10 ตัวอยา งไมแปรรปู ในรูปแบบตางๆ ท่ีมา: http://takuyak.igetweb.com/index.php?mo=14&newsid=77962 http://xn--12cb7gd5b3bd9lwb.net/ c และ http://v-jointrubber.blogspot.com/2011/01/blog-post_4016.html 1.4.2 มาตรฐานของไม ตามมาตรฐานผลติ ภัณฑอตุ สาหกรรมของ กระทรวงอตุ สาหกรรมหรือ มอก. ในปจ จบุ ัน ซง่ึ จะประกอบดวย มาตรฐานของไมแปรรปู นนั้ มี มิติ (ขนาด) เปนมิลลเิ มตร (มม.) ซ่งึ กาํ หนดตาม มอก.421-2535 ดังนี้ 1.4.2.1 ขนาด ไมแปรรปู ตามมาตรฐานน้ี มขี นาดดังตอไปนี้ 1) ความหนา มีขนาด 12, 16, 19, 22, 25, 32, 38, 44, 50, 63, 75, 88, 100, 113, 125, 138, 150 และ 200 มม. 2) ความกวา ง มีขนาด 25, 38, 50, 63, 78, 88, 100, 113, 125, 150, 175, 200, 225, 250, 275, 300, 350 และ 400 มม. (ยกเวนไมส ักเหลีย่ ม ให ถือตามขนาดไมสกั เหล่ียมแปรรูป มาตรฐานผลติ ภัณฑอุตสาหกรรม, มอก.422) 3) ความยาว มีขนาดเริม่ ต้ังแต 0.30 ม.และมีความยาว เพิม่ ข้ึนชว งละ 0.15 ม. สว นไมก ระยาเลย เร่ิมตัง้ แต 0.30 ม. และมคี วามยาวเพิ่มขึน้ ชว งละ 0.30 ม.

28 1.4.2.2 การเรยี กชื่อขนาด ใหเ รยี งลาํ ดบั ความหนา X ความ กวา ง X ความยาว 1.4.2.3 การแปรรูป ตอ งแปรรูปสวนความยาวไมตามความยาว ทอ นซุงดา นตง้ั 1.4.2.4 ความเรยี บ เปนแนวเสนตรง มีขนาดสม่ําเสมอกันตลอด ความยาวของแผนและภาคตดั ขวางหวั ทา ยตองเปนสเ่ี หลยี่ มมมุ ฉาก 1.4.2.5 ขอกาํ หนดมาตรฐานผลิตภณั ฑอุตสาหกรรม ทเี่ กย่ี วของ กับไมแปรรูป ไดกําหนดคาความแข็งหรือคาสมบตั เิ ชงิ กล ซงึ่ ขอกําหนดมาตรฐาน ผลติ ภณั ฑไมตามขอกําหนดมาตรฐาน ผลติ ภัณฑอุตสาหกรรมทค่ี วรรู ไดแก มอก. 421-2525 หมายถึง ไมแ ปรรูปและขอกําหนดทวั่ ไป มอก. 422-2525 หมายถงึ ไมส ักแปรรูป มอก. 423-2525 หมายถงึ ไมก ระยาเลยแปรรปู มอก. 424-2525 หมายถงึ ไมแ ปรรูปสําหรบั งานกอสรางทวั่ ไป มอก. 427-2525 หมายถึง ไมแปรรปู อบ มอก. 516-2527 หมายถงึ ไมอ ดั นํ้ายา CCA เปนตน 1.5. การเลือกใชไ ม การเลอื กใชไ มใ หเหมาะกับประโยชนการงาน โดยเลอื กตามประเภทของไมแ ปร รูปซง่ึ การเลือกไมท ี่จะนํามาใชง านตองพจิ ารณาดังน้ี 1. 5.1 การเลือกไมใชงานท่วั ไป ตามลักษณะงาน ดังน้ี 1.5.1.1 งานรบั น้ําหนกั โดยตรง ใชใ นการกอ สรางท่ไี มต อ งการความประณีต มากนัก ซึ่งไมไ มค วรมีรอยชํารดุ เสียหาย เชน มตี า ผุ แตกรา ว ปดงอ คด โคงและผานการผงึ่ มา 1.5.1.2 งานประณีต เปนไมท่ีไมตองรับน้ําหนักหรือตานแรงมาก โดยนําไม ไปประกอบเปนรูปรางตางๆ ท่ีตองการความสวยงามมากกวาความแข็งแรง โดยเปนงานท่ีทํา ตองใชฝ มอื 1.5.1.3 งานทั่วๆ ไป ควรใชไมท่ีตายยืนตน ซึ่งการผ่ึงแหงในตัวดี ซ่ึงเน้ือไม จะมคี วามละเอียดเหนียวแนน มีแนวตรง ขัดมันและชักเงาไดดี ซ่ึงไมแตละประเภทมีเกณฑการ ใชงานดังน้ี 1) ไมเนื้อออน เปนไมท่ีมีเน้ือคอนขางเหนียว ทําการเล่ือยไสกบ ตกแตง ไดง า ย ลกั ษณะเนื้อมสี ซี ดี จาง น้ําหนกั เบา ขาดความแข็งแรงทนทาน รับนาํ้ หนักไดไมดี 2) ไมเนื้อแข็งปลานกลาง เปน ไมท มี่ ีเน้ือแข็งปานกลาง ทําการเล่ือย ไสกบ ตกแตง ไดย าก ลักษณะเนือ้ ไมม สี ีเขม คอ น ไปทางสีแดง มีความแขง็ แรงทนทาน

29 3) ไมเนื้อแกรง เปนไมที่มีเน้ือแกรงทําการเล่ือยไสกบตกแตงได ยากมาก ลักษณะเนื้อไมเปน มันในตัวแนน มีสเี ขมจดั จนถงึ สีดํา มีความแข็งแรงทนทานดมี าก 1. 5.2 การเลือกใชไมในงานกอสราง ไมท่ีใชในการกอสรางมีดังน้ี (กวี หวัง นเิ วศนก ุล, 2552) 1.5.2.1 ไมกระดาน นิยมทํามาจากไมแดง ไมเต็ง ไมตะเคียนทองและไม ยางขาว เปนแผนไมลักษณะแบนๆ ใชสําหรับทําเปนพื้นบานจะมีขนาด 1x4 น้ิว 1x6 น้ิว และ 1x8 น้ิว สว นทใ่ี ชส ําหรบั ทาํ เปน ฝาหรือเชงิ ชายอาจมีขนาด ½ x 6 นว้ิ ½ x 8 น้วิ เปนตน 1.5.2.2 ไมคานหรือตง ไมที่นิยมนํามาใชมีอยูหลายชนิด เชน ไมแดง ไม เต็ง ไมร งั ไมประดู และไมม ะคาโมง จะใชไ มป ระเภทเนอื้ แข็งเทาน้ัน ขนาดโดยท่ัวไปของตง คือ 1½ x 5 น้ิว และ ½ x6 นิ้ว @ 0.50 เมตร สวนขนาดของคานทั่วไปคือ 2x6 นิ้ว 2x8 น้ิว และ 2x10 นว้ิ 1.5.2.3 ไมอเส ขื่อ อกไก และจันทัน ซ่ึงใชมีหลายชนิด เชน ไมแดง ไม เต็ง ไมร ัง ไมประดู และไมม ะคาโมง ขนาดโดยทั่วไปของจันทันคือ 1½ x 5 น้ิว และ 2x6 น้ิว @ 100 เมตร 1.5.2.4 ไมเสา ใชมีหลายชนิด เชน ไมแดง ไมเต็ง ไมรัง ไมประดู และไม มะคาโมง ไมท่ีตองทําหนาท่ีแบกรับนํ้าหนักของอาคารท้ังหมด ขนาดของเสาไมจะตองเปนรูป สี่เหลี่ยมจัตุรัสเทาน้ัน เชน 4x4 น้ิว หรือ 6x6 นิ้ว หรือ 8x8 นิ้ว หรือเสากลม ซ่ึงมักจะใชกับ บา นทรงไทยเดิม 1.5.2.5 ไมแป และไมระแนง เปนไมที่ตองทําหนาที่รองรับกระเบ้ือง หลังคาซ่งึ มนี ําหนักไมม ากนัก ชนิดของไมท ีใ่ ชจ งึ สามารถใชไมเนื้อออนได เชน ไมยาง ขนาดของ แปทวั่ ไปคือ 1 ½ x 3 น้ิว @ 1.00 เมตร สวนขนาดของระแนงทั่วไปคือ 1½ x 1½ หรือ 2x2 น้ิว @ 0.32 เมตร 1.5.2.6 ไมเครา ไมที่ใชจึงเปนไมเนื้อออนไดแก ไมยาง ซ่ึงตองแบกรับ นํ้าหนกั ไมม ากนัก ชนิดของ ขนาดของไมเคราทว่ั ไปคอื 1½ x3 น้ิว @ 0.60 เมตร 1.5.2.7 ไมวงกบประตูหรือหนาตาง ใช ไมสัก ไมแดง ไมมะคา และไม ตะเคียนทอง ควรเปน ไมท ีม่ ีความแขง็ แรงปานกลางและไมห ดตวั ไดงาย โดยมีขนาดคือ 2x2 นว้ิ 1.5.2.8 ไมแบบ ไมที่ใชเปนไมเนื้อออน อาทิ ไมกะบาก ใชทําแบบหลอ ใหกับงานคอนกรีต และใชสําหรับงานโครงสรางชั่วคราว ขนาดของไมแบบท่ัวไปคือ 1x6 นิ้ว หรอื 1x8 น้ิว

30 1. 5.3 คุณสมบัตขิ องไมท ี่ใชในงานกอ สรา ง ไมท ่ีใชใ นงานกอสรา งไดแกไ ม เนื้อแข็ง ไมเนื้อแข็งปานกลาง และไมเนือ้ ออ น (พงศพนั วรสนุ ทโรสถ 2552 : 25-29) ซง่ึ มีการ ใชใ นงานโครงสรา ง งานช้ินสวนประกอบอาคาร และงานตกแตงอาคาร ซึ่งแบง ไดต าม คณุ สมบตั ิของไมไดด ังน้ี 1. 5.3.1 ไมเ น้ือแขง็ ท่ีใชป ระโยชนในงานกอสรา งมหี ลายประเภท ดังนี้ 1) ไมเตง็ เปนไมเน้ือแข็งประเภทหนึ่งที่นยิ มนํามาใชงานในสว น ของการกอสรางบานเรอื นท่ีอยอู าศยั ซงึ่ ไมเ ต็งลาํ ตนมขี นาดปานกลางถงึ ใหญมากเปนไมทีม่ ี อายุยืนยาวเชนกันไมเตง็ เปนไมที่นิยมมาก ในปจ จุบันน้ีเนอื่ งจากเปนไมจรงิ ทด่ี ีและราคาไมแพง มาก นิยมใชก ันในอตุ สาหกรรมเฟอรนิเจอร รวมถึงงานตกแตงทัง้ ภายในและภายนอก อาทิ เสา เรอื นไม ไมพ ้นื ไมบันได ไมฝาเพดาน บวั ไม คานไม หรือไมแ ปรรปู ท่ัวไป ซ่งึ ลกั ษณะตวั อยา งไม เต็งไดแ สดงดงั ภาพที่ 1.11 (ก) และ (ข) ก. ทอ นซงุ ไมเต็ง ข. ไมเตง็ แปรรูป ภาพที่ 1.11 ตวั อยา งทอ นซุงและไมเตง็ แปรรูปนํามาใชงาน ทีม่ า: http://xn--72c1a9a7hsavl.com/ และhttp://bksubpana.igetweb.com/?mo=3&art=408267 2 ) ไมแดง เนื้อไมมีสีนํ้าตาลอมแดง แข็งแรงและทนทานเปน พิเศษ ไมผุพังงาย ทนตอปลวกและเชื้อรา เปนไมเน้ือแข็งและดูสวยงามดวยโทนสีแดง สําหรับ คณุ สมบตั ิเน้ือไมของไมแดงนั้น มีความแข็งแรง ทนทานสูง มีอายุการใชงานนานกวา 10-25 ป จึงทําใหราคาไมแดงมีราคาแพง ใชในงานกอสราง อาทิ ไมปูพื้น ทํารางรถไฟ ทําทาเรือ หรือ นิยมใชไมแดงในการทาํ เปน เสาบาน ไมคาน ซ่งึ ตวั อยา งไมแดงแปรรรูปและการใชงานพ้ืนปารเก ไดแ สดงภาพที่ 1.12 (ก)และ(ข)

31 (ก) กระดานไมแดง (ข) ปารเกรไมแดง ภาพที่ 1.12 ไมก ระดานแปรรูปและการประยุกตใ ชงานปพู ื้นปารเกรไมแดง ท่ีมา: http://sangprapai.com/main/lumber.php และ http://www.mplustimber.com/pyinkado_th.html 3) ไมตะเคยี นทอง เปนตนไมใหญและสูงมากข้ึนเปน หมู ตามปาดบิ ชนื้ ทวั่ ไป ลักษณะเน้อื ไมมสี เี หลืองหมนสนี ้ําตาลอมเหลืองมักมเี สน สขี าวหรือเทาขาว มเี สย้ี นของไมตะเคยี นทองมักสับสนเนอื้ ละเอยี ดปานกลางแข็ง เหนยี ว ทนทาน ทนปลวกไดด ี เมือ่ นําไปเลอื่ ยใสกบตกแตงและชักเงาไดด ีมาก นิยมใชในการกอสรา งอาคาร ไมหมอนราง รถไฟ ซ่งึ ตวั อยางไมตะเคยี นทองและไมตะเคยี นแปรรูปไดแสดงไวในภาพที่ 1.13 (ก) และ(ข) (ก) ลาํ ซุงไมต้ ะเคียน (ข)ไมต้ ะเคียนแปรรูป ภาพท่ี 1.13 ลกั ษณะซุงและการแปรรปู ไมตะเคียน ท่ีมา: http://www.xn--42c7an3ah6frb0f6a3c.com/ และ http://www.siammasterwood.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539011283

32 4 ) ไมร ัง เปนไมในตระกูลเดียวกับไมเต็งซ่ึงจัดอยูในวงศไมยาง และ เปน ไมย ืนตน ผลัดใบ โดยทวั่ ไปพบอยูใ นปา เต็งรงั มีขนาดกลางถึงขนาดใหญ โดยทว่ั ไปนาํ ไปใชใ นการ กอสรางท่ีเก่ียวของกับการรับนํ้าหนักมากๆ อาทิ คาน พ้ืน เสา ไมหมอนรถไฟหรือสะพาน เปนตน ซงึ่ ตวั อยา งลักษณะของลําตนไมรงั และไมรงั แปรรปู แสดงดังภาพที่ 1.14 (ก)และ(ข) ก) ลําตนไมรัง ข) ไมรังแปรรปู ภาพที่ 1.14 ตวั อยางไมรังและไมรงั แปรรปู ที่มา: http://www.suansavarose.com/index.php?mo=3&art=174600 และ http://www.designlikeus.com/material_view.php?select_mate_id=10 5) ไมต ะแบก ขึ้นในปา เบญจพรรณช้นื และปา แลง ท่ัวๆ ไปซงึ่ จะมลี กั ษณะเน้อื ไมสีเทาจนถงึ สีน้ําตาลอมเทาเส้ียนตรงหรอื เกือบตรง เนอื้ ละเอยี ดปาน กลางเปนมัน มีความแข็งและเหนียว ซ่งึ ทนทานไดดถี า ใชใ นรมไม ซึ่งนยิ มใชท ําเสาบาน ทํา เรอื แพ เกวียน เครอื่ งมือกสิกรรมและเคร่อื งเรือน เปนตน ซงึ่ ลกั ษณะตัวอยา งลําตน ตะแบกและไมต ะแบกแปรรูปเพอื่ การนาํ ไปใชงานดังแสดงในภาพท่ี 1.15 (ก)และ(ข) ก. ลําตนตะแบก ข. ไมตะแบกแปรรปู ภาพท่ี 1.15 ตวั อยา งลําตน ตะแบกและการแปรรูปไมตะแบก ที่มา: ชลดา แสงคลอย, 2553 และ http://www.rakbankerd.com/agriculture/wb/show.php?Category=agriculture&No=17677

33 6) ไมสัก เปนตนไมขนาดใหญพบในปาเบญจพรรณทาง ภาคเหนือ และบางสวนของภาคกลางและตะวันตก จะเน้ือไมเปนสีเหลืองทอง และเม่ือทิ้งไว นานๆ จะกลายเปนสีน้ําตาลและมีกลิ่นเหมือนหนังฟอกเกาๆ มีสีเสนสีแกแทรก เสี้ยนตรง เนื้อ หยาบและไมสมาํ่ เสมอ โดยปลวกมอดไมทาํ อันตราย ซ่ึงมีตัวอยางลําตนและซุงไมสักแปรรูปใน รปู ดังแสดงในภาพที่ 1.16 (ก) (ข) (ค) และ(ง) ก. ปา ไมส กั ข. ลําตนไมส กั ค. ซงุ ไมสกั ง. ไมแ ปรรูป ภาพท่ี 1. 16 ตัวอยา งไมส ักและการแปรรูป ท่มี า: http://xn--12cb7gd5b3bd9l wb.com 7) ไมเคี่ยม เปนไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญสูง 20–40 เมตร มีเรือนยอดเปนพุมทึบทรงเจดียตํ่าๆ ลําตนตรง เปลือกเรียบสีนํ้าตาลเขม มีเน้ือละเอียด แข็ง เหนียว หนัก แข็งแรงมาก ใชทําหมอนรางรถไฟ หรือโครงสรางท่ีตองการความแข็งแรงมาก สะพาน แพ พน้ื เปน ตน ซ่งึ ลักษณะลาํ ตน และเนอ้ื ไมเ ค่ียมแปรรปู แสดงในภาพที่ 1.17 (ก) และ(ข)

34 ก. ลําตน ไมเคยี ม ข. ไมแปรรปู ภาพท่ี 1.17 ตวั อยางลําตนไมเคยี มและการแปรรูป ทีม่ า: http://www.biogang.net/biodiversity_view.php?menu=biodiversity&uid=22502&id=133832 8) ไมประดู หรือไมชิงชังหรือไมพยุง เปนตนไมสูงใหญพบ ในปาเบญจพรรณช้ืนและปาแลงท่ัวไป ในพ้ืนท่ีๆ มีชุกชุมทางภาคเหนือและภาคอีสาน (เวนใน ภาคใต) ลักษณะเนื้อไมมีสีแดงอมเหลืองถึงสีแดงเหมือนสีอิฐแก สีเสนเสี้ยนแกกวาสีพื้น เนื้อ ละเอียดปานกลาง แข็งและทนทาน ไสกบตกแตงไดดีและชักเงาไดดี ใชในการกอสราง ทํา เครื่องเรอื น รวมทง้ั ส่งิ อื่นๆ ท่ีตอ งการความแขง็ แรงทนทาน ลักษณะลําตนไมประดูและตัวอยาง ไมแ ปรรปู แสดงไวใ นภาพที่ 1.18 (ก) และ (ข) ก. ลําตน ไมประดู ข. ไมแ ปรรูป ภาพท่ี 1.18 ลักษณะลําตนและตวั อยางไมประดแู ปรรูป ที่มา: ชลดา แสงคลอ ย, 2553 และ http://www.designlikeus.com/material_view.php?select_mate_id=10

35 9) ไมมะคาเต เปนตนไมขนาดกลางถึงขนาดสูงใหญ พบใน ปา แดงและปา เบญจพรรณแลงท่ัวไป ซ่ึงลกั ษณะเนอ้ื ไมเปนสนี ้ําตาลออนถึงสีนํ้าตาลแก มีเส้ียน สับสนและเนื้อคอนขางหยาบแตสม่ําเสมอ มีความมันเลื่อม มีแข็งและทนทานตอทนมอดและ ปลวกไดดี แตเลื่อยและไสกบตกแตงไดยาก นิยมใชทําทําไมหมอนรางรถไฟ ทําเคร่ืองเกวียน เครอ่ื งไถนา เครื่องเรือน เปนตน ซึ่งลกั ษณะลาํ ตนไมมะคาเตและการตัวอยางการแปรรูปแสดง ในภาพที่ 1.19 (ก) และ(ข) ก. ลําตนไมมะคาเต ข. ไมแปรรูป ภาพท่ี 1.19 ลกั ษณะตนไมมะคา เตและตัวอยา งแผน แปรรูป ท่ีมา: http://www.thaitambon.com/tambon/ttrvList.asp?ID=420801 และ http://www.makawood.com/eng/index.htm 10 ) ไมช นั เน้อื ไมม ลี ักษณะเปน สนี ํ้าตาลออนถึงแก เสยี้ นตรงพอประมาณ เนอ้ื หยาบและสบั สนแข็งพอประมาณ มคี วามเหนยี วและทนทาน เม่ือ นาํ ไปเลอ่ื ยและไสกบตกแตง ไดยากบางคร้งั เรยี กวาเตง็ ดง ใชทาํ หมอนรางรถไฟ ใชกอ สรา ง อาคาร อาทิ ทําโครงสราง ตง คาน โครงหลงั คา พ้ืนปารเ ก เปน ตน 1.5.3.2 ไมเ นื้อแข็งปานกลาง เปน ไมทมี่ คี วามแขง็ แรง 600 ถึง 1000 กก./ ตร.ซม. โดยมคี วามทน อาทิ ไมเ หยี ง ไมกาเปอร ไมยางไมกระบากหรือไมกะบากไมกระทอน และอื่นๆ ซึ่งนยิ มนํามาใชในงานกอสรางโดยท่ัวๆ ไป อาทิ ไมฝ า ไมคราว ฝา เพดาน ไมแบบ หลอ เปน ตน โดยมีคุณสมบัติและประโยชนทคี่ วรทราบดงั ตอไปนี้ 1) ไมยาง เปน ไมเนอื้ แข็งปลานกลางมีลักษณะเน้อื ไมเปน สแี ดง เรอื่ หรอื สีน้ําตาลหมน เสย้ี นมักตรง เนือ้ หยาบ แขง็ ปานกลาง ไสกบ หรอื ตกแตงไดงาย ใชใน การกอ สรางเหมาะสําหรบั งานในรม นยิ มใชท ําเคราฝา ไมครา วฝาเพดาน เสยี้ นไมหยาบเหนียว

36 ทาํ ใหตอกตะปูงาย เล่ือยและไสกบตกแตงไดด ี มีลําตนไมส ูงใหญ สงู ชะรูด ไมม กี ่ิงทลี่ าํ ตน มัก ข้นึ เปน หมใู นปาดบิ ชื้น ดังแสดงตวั อยา งลําตนไมยางและการแปรรปู ในภาพท่ี 1.20 (ก)และ(ข) ก. ลําตน ไมย าง ข. ไมแปรรูป ภาพที่ 1.20 ลักษณะตนยางและการแปรรูปไมย าง ท่มี า: http://www.takuyak.com/index.php?mo=3&art=264221 และ http://nongbuakeawwoods.com/sara.php?action=sara1_2_1 2 ) ไมนนทรี เปนไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ โดยมีลักษณะเน้ือไม เปนสีชมพูออนถึงสีน้ําตาลแกมชมพู เปนมันเลื่อม เส้ียนตรงหรือเปนลูกคล่ืนหรือสับสนบาง เล็กนอยเส้ียนตรงหรือเปนลูกคลื่น ใชทําไมพ้ืนเพดานและฝา ทําเครื่องเรือน ทําหีบใสของตางๆ ตัวอยา งลําตน ไมน นทรแี ละการแปรรปู เพื่อนาํ ไปใชง าน แสดงในภาพท่ี 1.21 (ก) และ (ข) ก ลําตนไมน นทรี ข การนํามาทาํ เครือ่ งเรือน ภาพที่ 1.21 ลักษณะตน ของตนนนทรีและการนาํ มาใชงาน ที่มา : ชลดา แสงคลอย, 2553 และhttp://www.thaidreamhost.com/ webboard/detail.php?mem_id=&ser=board2&lan=&board_id=5632&pageid=1&cat_id=15

37 3) ไมกระบาก (หรือไมก ะบาก กระบากขาว กระบากโคก กระบากดาํ กระบากชอ) มีลําตนขนาดใหญสูง 20-30 ม. โดยลักษณะเน้ือไมโดยรวมเปนสีตั้งแตนวลเหลืองถึง นํ้าตาลออนแกมแดง มีเส้ียนมักตรงและเน้ือหยาบแตสม่ําเสมอ มีความแข็งแรง และเหนียว แตมี ขอเสยี คอื เน้ือเปน ทรายทําใหก ดั คมเครื่องมอื ใชทําแบบหลอ คอนกรีตไดดีเพราะถูกน้ําแลวไมบิดงอ ซึ่งลักษณะลาํ ตนและการแปรรูปเพ่ือนาํ ไปใชงาน ดงั แสดงในภาพที่ 1.22 (ก) และ (ข) ก. ลําตน ไมก ระบาก ข. ไมแปรรปู ภาพที่ 1.22 ลกั ษณะตน ไมก ระบากและการแปรรปู ท่มี า: http://www.oknation.net/blog/print.php?id=89646 และ http://nongbuakeawwoods.com/sara.php?action=sara1_2_2 4) ไมมะมว งปา ไมใหญในปาดิบชื้นและปาเบญจพรรณหรือ ตามที่ชุมชื้นทวั่ ไป ลักษณะเนื้อไมไมมีแกนมากนกั เปน สีนํา้ ตาลไหม เส้ียนคอ นขา งตรงเนอื้ เปน มนั เลก็ นอ ย แข็ง เหนยี ว เลือ่ ยและไสกบไดง าย ใชทําเครอ่ื งเรอื น เครื่องเฟอรนเิ จอรแ ละดาม เคร่ืองมอื เครอ่ื งใช ซึ่งลกั ษณะลําตน และไมแ ปรรูปแสดงในภาพที่ 1.23 (ก)และ (ข) ก. ลําตนไมมะมวงปา ข. ไมแปรรูป ภาพท่ี 1.23 ลกั ษณะลําตนและเนือ้ ไมแ ปรรปู ไมมะมวงปา ท่มี า: ชลดา แสงคลอย, 2553 และhttp://nongbuakeawwoods.com/sara.php?action=sara1_2_5

38 5) ไมชุมแพรก เปนไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ชนิดไมผลัดใบ มีความสูงประมาณ 15-35 ม. ซึ่งเนื้อไมเมื่อเลื่อยใหม ๆ สีแดงเขมเม่ือถูก อากาศจะเปนสีน้ําตาลอมแดงเปนมัน มีเส้ียนตรงเปนริ้วหาง เหนียว แข็ง ถาใชในรวมจะ ทนทานดี เลอ่ื ยและไสกบตกแตง ไดง า ย ชกั เงาไดด ี 1. 5.3.3 ไมเนื้อออน เปนไมท่ีมีวงปกวางมาก เนื่องจากเปนไมโตเร็ว ลําตนใหญ เนื้อคอนขางเหนียว แตสามารถนํามาทํางานไดงาย เนื้อไมมีสีจางหรือคอนขางซีด อาทิ ไมฉ ําฉา ไมเ หียง ไมโมก ไมก ระทอน ไมยมหอม ไมจ ําปาปา ไมส นตางประเทศ เปนตน ซึ่ง มคี ุณสมบตั แิ ละประโยชนใ นการนาํ ไปใชง านทค่ี วรทราบมดี งั ตอไปนี้ 1) ไมกานเหลือง โดยท่ัวไปไมขนาดกลางถึงขนาดใหญ ไมกานเหลืองสวนมากจะ ข้ึนตามริมนํ้าแมน้ําลําธารหรือในท่ีชุมชื้น ดังแสดงในภาพท่ี 1. 24 (ก)และ(ข) นิยมใชงานตกแตงภายในอาคาร มีเนื้อไมสีเหลือง ปนแสด มีเส้ียนตรงละเอียด เล่ือยไสกบไดง ายชักเงาไดดี ใชท าํ พนื้ ฝา เคร่อื งเรอื น หบี ใสข อง เปน ตน ก. ลําตน ไมกานเหลือง ข. นําไมมาใชงานพน้ื และผนงั ภาพท่ี 1.24 ลําตนไมกานเหลอื งและการนําไมม าใชงาน ทีม่ า: http://poookkk.blogspot.com/ และ http://nongbuakeawwoods.com/sara.php?action=sara1_3_2 2) ไมสยาขาว เปน ตนไมขนาดใหญ ข้ึนตามไหลเขาและบนเขาในปา ดิบทางภาคใต โดยลกั ษณะเน้อื ไมเ ปน สชี มพอู อ นแกมขาวถึงสนี ้าํ ตาลออนแกมแดง มเี น้ือหยาบ ออ นและคอนขางเหนยี ว ใชทาํ ใบพดั เครอื่ งเรือนและสวนของอาคารทีอ่ ยูในรม โดยเปลือกไม ใชท ําไมอ ัด เปน ตน ซึ่งลักษณะลาํ ตนและตัวอยา งการนําไปใชง าน ดงั แสดงในภาพที่ 1.25 (ก) และ(ข)

39 ก. ลําตนไมส ยาขาว ข. นําไมมาใชงานเปน ใบพัด ภาพท่ี 1.25 ลักษณะลาํ ตนไมส ยาขาวและการนําไปใชงาน ทม่ี า: http://yalanama.blogspot.com/2007/08/blog-post_4717.html และ http://nongbuakeawwoods.com/sara.php? action=sara1_3_1 3) ไมม ะยมปา (หรือกะยมปา ดีงตู น ) ไมย นื ตนขนาดกลางมลี ําตน คลายตน มะยม ข้ึนในปา ดบิ ชนื้ มีเนื้อไมไ มมีแกน สีจาง เส้ียนตรง นยิ มใชทํากา นไมขีดไฟ กลัก ไมข ีดไฟ ซง่ึ ลกั ษณะลําตน และเนื้อไม ดังแสดงในภาพที่ 1.26 (ก) และ(ข) ก. ลาํ ตน ไมมะยมปา ข. ไมแ ปรรูป ภาพที่ 1.26 ลักษณะลําตนและตวั อยางไมแปรรปู ไมม ะยมปา ที่มา: ชลดา แสงคลอย, 2553 และ http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=imaginer&month=07-06-2009&group=2&gblog=82

40 4 ) ไมมะพราว เปนไมเ นื้อออน ซงึ่ มีความหนาแนนตรงริมขอบ มากกวาตรงกลางตน ตอนกลางๆ มคี วามหนาแนน 400 ถงึ 600 กก./ลบ.ม. นิยมใชส าํ หรบั งานสว นประกอบของอาคาร และนํามาเปน เฟอรน เิ จอรที่สวยงามได ดงั ตัวอยา งในภาพที่ 1.27 (ก) และ (ข) ก. ลาํ ตนไมมะพราว ข. ตวั อยางการนําไปใชงาน ภาพที่ 1.27 ลกั ษณะตน มะพราวและตวั อยางการนําไปใชงาน ทม่ี า:ชลดา แสงคลอย, 2553 และ http://www.jadsan.com/product.aspx? shop_id=10&product_id=113&po 5) ไมอดั สามารถแบง ออกตามลกั ษณะการใชง านได 3 ประเภท คือ (1) ประเภทใชงานภายใน โดยไมอัดท่ียึดติดดวยกาวยูเรีย ฟอรม าดีไฮด โดยมีความทนทานตอสภาพลมฟาอากาศไดปานกลาง ซ่ึงเหมาะสําหรับใชงาน ภายในอาคารหรือในท่ีซึ่งไมถูกกับความช้ืน หรือฝน เชน ประตู ฝาเพดาน งานเฟอรนิเจอร กั้นผนังหอ งภายในอาคาร ฯลฯ โดยใชสัญลกั ษณประทบั ตราดว ยหมึกสีมว ง (2) ประเภทใชงานภายนอก โดยไมอัดที่ยึดติดดวยกาวพีนอล ฟอรมาดีไฮด โดยมีความทนทานตอสภาพลมฟาอากาศไดดี ซึ่งเหมาะสําหรับใชงานภายนอก อาคาร หรือในที่ซ่ึงถูกนํ้าหรือเปยกชื้น เชน ประตูหองน้ํา งานตอเรือ งานแบบหลอ คอนกรตี กนั้ ผนงั หองภายนอกอาคาร ฯลฯ โดยใชสญั ลกั ษณป ระทบั ตราดวยหมกึ สีแดง

41 (3) ประเภทใชงานช่ัวคราว โดยไมอัดท่ีผลิตดวยกาว ไมทนตอ ความเปย กชื้น ซ่ึงเหมาะสําหรับใชงานช่ัวคราวเทานั้น เชน กั้นหองคนงานช่ัวคราว ลังบรรจุ ภัณฑที่ไมส มั ผัสกบั ความชนื้ และใชในงานทาํ ปา ยโฆษณาในระยะส้ัน ฯลฯ ไมอัดที่บริษัทผูผลิตออกมาจําหนาย มีขนาดมาตรฐานท่ัวไปคือ 1.20  2.40 เมตร (โดยมีขนาดจริงคือ 1.22  2.44 เมตร) โดยมีความหนามาตรฐานท่ัวไป คือ 4, 6, 10, 15 และ 20 มลิ ลเิ มตร การใชง านของไมอ ัด ดังแสดงในภาพที่ 1.28 ภาพท่ี 1.28 แสดงการใชไมอ ัดเปนผลิตภัณฑป ระตู ผลติ ภณั ฑจากอุตสาหกรรมไมอัดไดเกิดข้ึนเนื่องจากปาไมถูกทําลายและมี จํานวนเหลือนอยลงทุกป ในสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัตน จึงไดมีนโยบายที่จะปฏิรูป การใชไมของประเทศใหเปนไปโดยประหยัดตามหลักวิชาการ เศรษฐกิจ พรอมท้ังสะดวกแก การใชงานตาง ๆ เชน งานกอสราง งานเคร่ืองเรือนตาง ๆ งานอุตสาหกรรมตางๆ ดวยเหตุนี้ บริษัท ไมอัดไทย จํากัด จึงไดกอตั้งขึ้นเม่ือวันท่ี 4 พฤศจิกายน 2494 เพ่ือสนองนโยบาย ของรัฐดังกลา ว โดยมรี ายละเอยี ดและกรรมวิธี ดงั น้ี - ไมอัด (Plywood) ซึ่งเรียกอีกอยางวา ไมอัดสลับช้ัน คือ การนําไมบาง ๆ หลาย ๆ แผน มาประกอบใหยึดติดกันดวยกาว โดยมีการจัดวางไมบางแตละแผนจะตองมีแนว เสี้ยนขวางตั้งฉากกนั ซึ่งจะชวยเพิม่ คุณสมบัตดิ า นความแขง็ แรง พรอมทั้งลดการขยายตัวหรือ หดตวั ในระนาบของแผน ใหเกดิ ข้นึ นอ ยท่ีสุด

42 - ไมบาง (Veneer) คือ แผนไมบาง ๆ ที่ไดจากการปอกหรือฝานจากทอนซุง ซ่ึงจํานวนของไมบางที่ประกอบเปนไมอัดน้ันโดยปกติจะใช 3 ช้ัน แตถาไมอัดมีความหนา มากกวา 6 มลิ ลเิ มตร อาจตองใชไ มบ าง 5 ชั้นหรอื มากกวา - ซุง (Log) ซ่ึงซุงท่ีนํามาใช อาจใชไมสัก ไมยาง ไมจําปา ไมมะปน ไมยม หิน และ ไมกระยาเลย ฯลฯ โดยกอนจะนําซุงเขาสูกระบวนการผลิตจะตองทําการตัดซุง ออกเปนทอน ๆ โดยใหมีความยาวพอดีกับเคร่ืองปอกหรือฝาน หลังจากนั้นจึงนําซุงไปตมหรื อนึ่งเสียกอน เพื่อใหเน้ือซุงออนตัว โดยสะดวกตอการปอกหรือฝานเปนแผนบาง ๆ ไดงาย โดยสารเคมที ีอ่ ยใู นเน้ือไมบางชนิดจะมปี ฏกิ ิริยาที่จะชว ยรกั ษาเนอ้ื ไมดว ย 1.6. การเก็บกองไม การปองกนั และรักษาเน้อื ไม ไมเ ปนวัสดกุ อ สรา งท่ีตองมีการกองเกบ็ รักษาใหเหมาะสม มฉิ ะนนั้ จะเกิดสภาพ เสอื่ ม ผุผงั หรอื มีเชื้อราขึ้น จะทาํ ใหนําไปใชงานไดไมเ หมาะสม ซง่ึ การเกบ็ กองและการรกั ษา ควรดําเนนิ การดงั นี้ 1.6.1 การเก็บกองไม ดังแสดงในภาพที่ 1.29 (ก) (ข) (ค) และ (ง) ซ่ึงแสดง ลักษณะการเก็บไมในโรงงานเก็บหนาสถานท่ีกอสราง โดยการเก็บกองไม ควรมีหลังคาปดคุม มดิ ชดิ และไมถูกนํ้าฝน โดยควรมีฝาเปนแผงกะบังลมซึ่งสามารถบังคับกระแสอากาศได และไมควร ใหมีเศษไมและขยะมูลฝอย ซ่ึงจะเปนท่ีอยูของสัตวกัดแทะหรือตัวแมลงที่อาศัยอยูในไมได ซ่ึงการ สรางโรงเก็บไมและบริเวณการปฎิบัติงานประกอบไมในบริเวณโรงเก็บควรเวนชองทางเดินหรือ ชองทางสําหรับการขนถายบริเวณตรงกลางโรงเก็บหรือดานขางโดยรอบๆ ประมาณไมตํ่ากวา 1.5 เมตร ถาโรงเก็บไมมีบริเวณกวางควรมีที่จัดผ่ึงไมดวย และตองมีการปองกันการเกิดอัคคีภัย ทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ในโรงเกบ็ ไมด ว ย ก. การผ่งึ และการเก็บไม ข. โรงเก็บไมแบบ

43 ค. โรงเกบ็ แบบโปรงพื้นท่ที ํางาน ง. โรงเก็บแบบ ภาพท่ี 1.29 ตัวอยา งโรงเก็บไมก ารผ่งึ ไม และโรงเก็บแบบถาวร ท่ีมา: http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=guqin&month=05-06- 2008&group=5&gblog=4 http://www.spk-sawmill.com/customize-ABOUTUS-102372- 1.html http://nuthida.blogspot.com/ และ http://www.thaiwoodproduct.com/?p=17&a=723 1.6.2 การปองกันรักษาเนื้อไม การผุของไมเกิดจากการกระทําของฟงใจ (Fungi) ซ่งึ เปนจุลินทรียท่ีมุงทําลายใยไมโดยจะกัดกินเย้ือไม (Tissue) เปนอาหาร การทําลาย ของฟง ใจจะจะเกิดจากปจจยั ดังตอไปน้ี - มีอาหารทฟ่ี ง ใจชอบ - มีปรมิ าณอากาศท่เี คล่อื นไหวนอ ย - มีสภาพความช้นื ทพ่ี อเหมาะ - มอี ณุ หภูมทิ พี่ อเหมาะกับฟง ใจ ถาขาดปจจัยใดปจจัยหน่ึงการทําลายของฟงใจจะไมเกิดข้ึน จะทําใหไมมีอายุการใชงานที่ ยาวนานและมีคุณภาพดี ดังน้ัน จึงมีความจําเปนจะตองมีการรักษาเนื้อไมอยางดีที่สุด การปองกันรักษาเนื้อไมท่ีดีท่ีสุดก็คือ การทําใหอาหารของฟงใจเปนพิษ โดยการทา หรือพน นํ้ายาหรือการอาบนํ้ายาที่เปนพิษเขาไปในเนื้อไม เราสามารถแบงการปองกันรักษาเนื้อไม ออกเปน 2 วธิ ใี หญ ๆ คือ 1.6.2.1 วิธีการทาหรือพน เปนวิธีการปองกันรักษาเน้ือไมท่ีงายและคาใชจาย ต่าํ โดยการเอาแปรงทาหรือใชเ ครื่องพนท่ีไม โดยการทา หรือใชเครื่องพน ควรทําอยางนอย

44 สองคร้ัง เพราะวาจะทําใหน้ํายาซึมเขาไปในเนื้อไมอยางทั่วถึง ทําใหไมมีความคงทนใชงานได ยาวนาน 1.6.2.2 วิธีการอาบน้ํายา เปนวิธีการปองกันรักษาเนื้อไมท้ังท่ีเปนซุง หรือท่ี ผานการแปรรูปมาแลวก็ได วิธีการคือ การนําไมท่ีตองการอาบน้ํายาลงไปแชในถังอัดนํ้ายา โดยจะทําการอัดนํ้ายาดวยแรงอัดภายในถัง ซึ่งจะทําใหนํ้ายาสามารถซึมเขาไปในเน้ือไมได อยา งทัว่ ถึง วธิ กี ารอัดน้าํ ยาสามารถแบงออกไดอ กี 2 วิธีดงั น้ี 1) การอัดนํ้ายาแบบไมเต็มเซลล (Empty Cell Process) ซ่ึงเปนการอัด น้ํายาเพียงเพ่ือใหน้ํายาซึมเขาไปในเซลลและเกาะติดอยูตามผิวของผนังเซลลของไมเทาน้ัน 2) การอัดน้ํายาแบบเต็มเซลล (Full Cell Process) ซง่ึ การอดั นํา้ ยาดวยวิธีนี้มีจุดประสงคเพ่ือตองการใหน้ํายาสามารถซึมเขาไปในเซลล เนอื้ ไมมากท่ีสุดเทา ท่ีจะมากได น้ํายารักษาเนื้อไม เปนนํ้ายา หรือสารเคมีท่ีนํามาใชในการปองกัน รักษาเนื้อไมใหมีอายุ การใชงานท่ียาวนาน มีอยูหลายชนิด ผูใชจะตองเลือกใหใหเหมาะกับ ลักษณะของงานนัน้ ๆ มรี ายละเอยี ด ดังนี้ (1) ครีโอโสต (Coal – Tar Creosote) ซึ่งเปนนํ้ามันท่ีเปนผล พลอยไดม าจากการกล่นั น้าํ มันดิบ และถานหนิ ซงึ่ มีสีดําหรือสีน้ําตาล โดยมีคุณสมบัติในการ รกั ษาเนอื้ ไม เพราะวาเปนสารท่ีมีพิษตอเช้ือรา และแมลงตาง ๆ ซึ่งแทรกซึมเขาเน้ือไมไดงาย หาซ้ือไดงาย แตมีกลิ่นเหม็น ไมละลายในน้ํา ทาสีบานไมไดเหมาะสําหรับการทาเสาเข็มไม โคนเสาใตถนุ บา น หรอื โครงหลังคาไมบนผา เพดาน (2) น้ํามันปโตรเลียม(Petroleum) ซ่ึงเปนน้ํามันปโตรเลียมดิบ หรืออาจจะใชนํ้ามันเคร่ืองเกาท่ีผานการใชงานมาแลว ที่เรียกวา นํ้ามันข้ีโล โดยนํามาผสม กับน้ํามันครีโอโสตในสัดสวนคร่ึงตอครึ่ง เพื่อทําใหทาไดงายข้ึน ซึ่งมีคุณสมบัติปองกันแมลง เจาะไช และปอ งกนั การผุ ใชใ นการทาไมห รอื เสาไมท ีส่ มั ผสั กับพนื้ ดนิ (3) ซิงคคลอไรด (Zine Choride) ซ่ึงเปนผงสีขาวหาซ้ือได งาย มรี าคาถูก ไมม ีกล่นิ สามารถทาสีบานได เนือ้ ไมท่ไี ดร บั สารนี้เขา ไปก็จะชวยทําใหทนไฟได ดีขึ้น ละลายในน้ําได แตจะไมเหมาะกับงานในที่โลงแจง ตองเปนไมท่ีแหง โดยมีคุณสมบัติใน การปอ งกนั พวกเห็ดรา และแมลงเจาะไมตา ง ๆ ยกเวนปลวก เหมาะสําหรับงานไมท่ีอยูในท่ีรม ทไ่ี มสัมผสั กับพน้ื ดิน

45 (4) สารหนู (Arsenic) ซึ่งเปนสารทีเ่ ปน พิษตอ แมลง และเช้อื รา ตา ง ๆ แตในการทาสารหนูลงบนเนอ้ื ไมน้นั จะตอ งทําอยา งระมดั ระวัง เพราะสารหนจู ะมีแกส ท่ี เปนอนั ตรายตอ สุขภาพของผคู นท่อี ยอู าศยั บรเิ วณนั้น ๆ (5) โซเดียมฟลอู อไรด (Sodium Fluoride) ซ่ึงเปน ผลึกสีขาว ละลายน้ําไดดี แตไ มค วรใชในทท่ี มี่ หี นิ ปูน เพราะจะทําใหเกดิ ปฏกิ ริ ิยาจบั ตวั เปน กอน ซงึ่ ไม เหมาะกบั งานท่ีอยใู นทโ่ี ลง แจง โดยมคี ณุ สมบตั ิในการปอ งกันพวกเหด็ ราและแมลงเจาะไมต าง ๆ เหมาะสําหรบั งานไมที่อยใู นทีร่ ม ที่ไมส ัมผสั กบั พ้นื ดิน นอกจากนี้ยังมนี ํ้ายาหรือสารเคมอี ีกหลายชนิด ที่ใชในการรักษา เน้ือไม ซึ่งก็ขนึ้ อยกู ับผูใชตองเลือกใชใหเหมาะสม สําหรับผลิตภัณฑท ี่รกั ษาเน้ือไมท ่เี ปน ท่ีรจู ัก กนั เชน สารเชลลไ ดรท ใชป องกนั ปลวก มอด เชื้อรา และแมลงตาง ๆ และสารทิมเบอร ซิลด ใชปองกนั เชือ้ ราและกนั นํ้าซมึ เขาเน้ือไม ฯลฯ และผลติ ภัณฑทีป่ องกนั เฉพาะผิวไม เชน เชลแลก็ แล็กเกอร ยูนิเทน น้ํามนั วานชิ และสนี ้ํามันตา ง ๆ เปนตน **************************

46 แบบฝก หัด/ใบงาน หนว ยท่ี 1 เรอ่ื ง ไม ชอื่ -สกุล................................ชัน้ ....................แผนกวชิ า..................เลขที่............. ตอนท่ี 1 คาํ สัง่ ใหนักเรยี นตอบคําถามใหถ ูกตองและสมบูรณท ่สี ดุ 1. โครงสรางของตนไมมีสวนประกอบท่สี ําคัญอะไรบาง 2. จงอธิบาย “ไมแกน “(Heartwood) 3. จงอธิบาย “ตาไม “(Knots) 4. จงเขยี นช่อื ไมเน้อื แข็งมา 3 ชอ่ื 5. จงเขยี นชื่อไมเ นื้อแข็งปานกลางมา 3 ชือ่ 6. การเรียกชื่อขนาดของไมโดยเรยี งลําดบั อยา งไร

47 7. ไมส กั เมื่อแปรรปู แลวสามารถนําไปใชงานอะไรบาง เขียนมา 3 งาน 8. ไมย างเมือ่ แปรรูปแลว สามารถนาํ ไปใชง านอะไรบา ง เขยี นมา 3 งาน 9. ไมอัดสามารถแบงออกตามลักษณะการใชงานได 3 ประเภท คือ 10. การปอ งกันรกั ษาเนื้อไมสามารถแบง ออกเปน 2 วิธีใหญ ๆ คือ

48 ตอนท่ี 2 คาํ สั่ง จงนําตัวตัวอักษรท่อี ยูห นา วงเลบ็ ดานขวา มาใสไวหนา ขอดานซาย ที่เห็นวามีความสมั พันธกัน .................... 1. ไมบาง A) Fungi ................... 2. ซุง B) Fiber ................... 3. ไมอัด C) Heartwood ................... 4. ตาไม D) Sapwood ................... 5. เช้ือรา E) Veneer .................... 6. เสน ใย F) Log .................... 7. กระพ้ี G) Knots .................... 8. ผนงั เซลล H) Plywood .................... 9. ไมแ กน I) Cambium ................... 10. เย่อื เจริญ J) Cell Wall

49 แบบทดสอบหลังเรยี น หนวยที่ 1 ไม รหัสวิชา 2108-1002 รายวชิ า วัสดุกอ สราง 1 ระดบั ชั้น ปวช.1 สาขาวิชาชางกอสรา ง วิทยาลยั เทคนิคดสุ ิต ตอนท่ี 1 คาํ ชีแ้ จง จงเลือกคําตอบท่ถี ูกตองท่สี ดุ เพียงคาํ ตอบเดียว (10 คะแนน) 1. สว นไหนของตน ไมท ท่ี าํ หนา ที่รบั แสงอาทิตยเพื่อนํามาปรุงอาหาร ก. ก่งิ ไม ข. ราก ค. ใบ ง. ลําตน 2. Wood Cell คืออะไร ก. เซลลไม ข. เซลลใบ ค. เซลลกง่ิ ไม ง. เซลลต นไม 3. เซลลท ่ที าํ หนาทีใ่ หความแขง็ แรงแกลําตน คอื ก. เซลลลําเลยี ง ข. เซลลไม ค. เซลลร งั สี ง. เซลลคา้ํ จุน 4. ไมแกน มีชือ่ ภาษาองั กฤษวาอยา งไร ก. Heartwood ข. Hoartwood ค. Heortwood ง. Haartwood 5. ไมช นิดใดตอไปน้ีจัดเปนไมเ น้อื ออ น ก. ไมน นทรี ข. ไมต ะแบก ค. ไมส กั ง. ไมร งั 6. ขอ ใดเปนคณุ สมบัติของไมเนื้อแขง็ ก. มนี ้ําหนกั เบา ยืดหดตวั ไดง า ย ข. ทนทาน เล่ือยและไสกบไดงา ย ค. ลักษณะเน้อื ไมหยาบและมีสจี าง ง. ลกั ษณะเน้อื ไมเ ปน มัน เน้อื แนน มีนํ้าหนักมาก มลี ายไมล ะเอยี ด 7. หนวยของไมอดั มาตรฐานท่วั ไป เชน 4, 6, 10, 15 และ 20 คอื อะไร ก. มิลลเิ มตร ข. เซนติเมตร ค. เดซเิ มตร ง. โดซิเมตร