Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การทำน้ำสมุนไพร จำนวน 6 ชั่วโมง

การทำน้ำสมุนไพร จำนวน 6 ชั่วโมง

Published by เกริก จิรัสย์พงษ์, 2021-12-20 12:42:33

Description: การทำน้ำสมุนไพร จำนวน 6 ชั่วโมง

Search

Read the Text Version

คำนำ เอกสาร รายงานผลการดำเนนิ งาน การจัดและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ศนู ย์ฝึกอาชีพ ชมุ ชน รปู แบบกลุ่มสนใจหลักสูตร/ การทำนำ้ สมุนไพร (น้ำกระชายและนำ้ มะมว่ งหาวมะนาวโห่) จำนวน 6 ช่วั โมง จัดทำขนึ้ เพ่อื รายงานผลการดำเนนิ งานด้านการจัดการศกึ ษาต่อเน่อื งของ กศน.ตำบลท่าช้าง ภายใตก้ าร ดูแลของ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอวิเศษชยั ชาญ โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พือ่ ตรวจสอบขน้ั ตอนการดำเนินกจิ กรรม ประเมินผลและพัฒนาการดำเนินกิจกรรมของ กศน.ตำบลท่าชา้ ง ผู้จัดทำหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ เอกสารรายงานผลการดำเนนิ งาน การจดั และส่งเสริม กระบวนการเรยี นรู้ ศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชนรปู แบบกลุ่มสนใจหลกั สูตรวิชาการทำนำ้ สมุนไพร (นำ้ กระชายและนำ้ มะม่วงหาวมะนาวโห)่ จำนวน 6 ชว่ั โมง น้ี จะเปน็ แนวทางในการพัฒนางานและการจัดกจิ กรรมด้านการศึกษา ตอ่ เนอื่ งของ กศน.ตำบลท่าชา้ ง ในโอกาสต่อไป นายจริ ัสย์พงษ์ วเิ ศษสิทธโิ ชค ครู กศน.ตำบล

สารบัญ เร่ือง หนา้ คำนำ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ เหตผุ ลและความจำเป็น วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รับ บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง ความสำคัญของการจดั และส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรูศ้ นู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน ทม่ี าและความสำคญั ของหลกั สูตรวชิ าการทำนำ้ สมนุ ไพร (น้ำกระชายและนำ้ มะมว่ งหาว มะนาวโห่) จำนวน 6 ชวั่ โมง บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนนิ งาน บทท่ี 4 ผลการดำเนินงาน บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ วตั ถุประสงค์การดำเนนิ งาน วิธีดำเนนิ การ อภปิ รายผล ขอ้ เสนอแนะ และแนวทางในการพัฒนากจิ กรรม ภาคผนวก ภาพกิจกรรมศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชนรูปแบบกลุม่ สนใจหลักสูตรการทำนำ้ สมนุ ไพร (นำ้ กระชายและนำ้ มะม่วงหาวมะนาวโห)่ จำนวน 6 ชวั่ โมง รายชอื่ ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม แบบสำรวจความต้องการเรยี นร้กู ารศกึ ษาต่อเนอ่ื ง ใบสมคั รผเู้ รยี นหลกั สตู รกำรศกึ ษำตอ่ เนื่อง

บทที่ 1 บทนำ เหตุผลและความจำเป็น ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ไดก้ ำหนดแผนแม่บทประเดน็ การพฒั นา ศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต โดยมแี ผนย่อยทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การใช้การศกึ ษาเปน็ เคร่อื งมือในการขบั เคล่ือนได้แก่ แผน ยอ่ ยประเดน็ การพัฒนาการเรยี นรู้ และแผนยอ่ ยประเด็นการพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ทม่ี งุ่ เน้นการสร้าง สภาพแวดล้อมที่เออ้ื ต่อการพัฒนา และเสริมสร้างศกั ยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็กต้งั แต่ช่วงการตง้ั ครรภจ์ นถงึ ปฐมวัย การพฒั นาชว่ งวยั เรยี น/วยั รุน่ การพฒั นาและยกระดบั ศกั ยภาพวัยแรงาน รวมถงึ การส่งเสรมิ ศักยภาพวัย ผสู้ ูงอายุ ประเด็นการพฒั นาการเรียนรู้ ทตี่ อบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุปัญญาของ มนุษยท์ ่ีหลากหลาย ประกอบกบั แผนการปฏิรปู ประเทศด้านการศกึ ษา นโยบายรัฐบาลทง้ั ในส่วนนโยบายหลกั ดา้ นการปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรู้ และการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิต และนโยบายเร่งดว่ นเรอ่ื งการเตรยี ม คนไทยสูศ่ ตวรรษท่ี 21 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอ่นื ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม แห่งชาติฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2568) นโยบายและแผนระดับชาติ วา่ ด้วยความม่นั คงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562 - 2568) โดยคาดหวังวา่ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ ประชาชนจะได้รบั การพัฒนาการเรยี นรูใ้ ห้เป็นคน ดี คนเก่งมีคณุ ภาพ และมคี วามพร้อมรว่ มขบั เคลือ่ นการพัฒนาประเทศสู่ความม่นั คง ม่งั ค่งั และยัง่ ยนื และ กระทรวงศึกษาธกิ าร ได้กำหนดนโยบายและจุดเนน้ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 ขน้ึ เพ่อื เป็น เขม็ มุ่งของ หน่วยงานภายใต้กระทรวงศกึ ษาธิการ ขบั เคลื่อนการดำเนนิ งานใหบ้ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ของแผนตา่ ง ๆ ดงั กลา่ ว สำนกั งาน กศน. เปน็ หน่วยงานท่ีมีภารกจิ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั ตระหนักถึงความสำคัญของการพฒั นาคนตลอดชว่ งชีวติ ไดม้ ุ่งมน่ั ขับเคลื่อนภารกิจหลกั ตามแผนพฒั นา ประเทศ และนโยบาย และจุดเนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทค่ี ำนึงถึงหลักการบริหารจดั การทง้ั ในเรอ่ื งหลักธรร มาภิบาล หลักการกระจายอำนาจ การใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร การมุ่งเนน้ ผลสัมฤทธิ์ และปฏบิ ัตกิ ารด้านข้อมูลข่าวสาร การสร้างบรรยากาศในการทำงานและการเรยี นรู้ ตลอดจนการใช้ ทรัพยากรด้านการจดั การศึกษาอยา่ งมคี ุณภาพ โดยเนน้ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษา ขัน้ พ้นื ฐาน การศกึ ษาต่อเนือ่ ง และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใน 4 ประเดน็ ใหญ่ ประกอบดว้ ย การจัดการเรียนรู้ คุณภาพ การสร้างสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ องคก์ ร สถานศกึ ษาและแหล่งเรียนรู้คณุ ภาพ และการบริหาร จัดการคุณภาพ อันจะนำไปสกู่ ารสร้างโอกาสและลดความเหลอื่ มล้ำ ทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพและเพิ่ม ประสทิ ธิภาพการใหบ้ ริการสำหรับทุกกล่มุ เปา้ หมาย และสรา้ งความพงึ พอใจใหก้ บั ผู้รับริการ โดยได้กำหนด นโยบายและจดุ เน้นการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังน้ี หลกั การ กศน. เพือ่ ประชาชน “กา้ วใหม่ : กา้ วแห่งคุณภาพ”

นโยบายและจุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2. ด้านการสรา้ งสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ 2.1 สง่ เสริมการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิต ทีเ่ น้นการพฒั นาทักษะท่ีจำเปน็ สำหรับแตล่ ะช่วงวยั และการจัดการศกึ ษาและการเรียนรูท้ ่เี หมาะสมกับแตล่ ะกลมุ่ เปา้ หมายและบริบทพนื้ ที่ 2.2 พฒั นาหลักสตู รอาชพี ระยะสัน้ ทีเ่ นน้ New skill Up skill และ Re skill ทส่ี อดคลอ้ งกับบรบิ ท พน้ื ท่ี ความต้องการและความหลากหลายของกลุ่มเป้าหมาย เชน่ ผูพ้ กิ าร ผสู้ งู อายุ ความต้องการของ ตลาดแรงงาน และกลุม่ อาชีพใหมท่ ี่รองรับ Disruptive Technology 2.4 ยกระดบั ผลติ ภัณฑ์ สนิ คา้ บรกิ ารจากโครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน ทเ่ี น้น “สง่ เสริมความรู้ สร้างอาชพี เพิม่ รายได้ และมีคุณภาพชวี ิตท่ีดี” ให้มีคณุ ภาพมาตรฐาน เปน็ ทีย่ อมรบั ของตลาด ตอ่ ยอดภมู ิปัญญา ท้องถิน่ เพอ่ื สรา้ งมลู คา่ เพิ่ม พัฒนาส่วู สิ าหกิจชุมชน ตลอดจนเพม่ิ ชอ่ งทางประชาสัมพันธแ์ ละช่องทางการจำหนา่ ย 2.5 สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาของผู้สงู อายุ เพ่อื ให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดำรงชีวติ ทีเ่ หมาะกับชว่ งวัย และเพือ่ ใหก้ ารดำเนินงานแผนยุทธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้าง ศักยภาพคนใหม้ ีคุณภาพบรรลุผลสำเร็จสวู่ สิ ยั ทัศน์ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจงึ กำหนดวสิ ัยทัศน์ของประเทศ คอื ประเทศไทยมคี วามมนั่ คง มง่ั คงั่ ย่งั ยนื เป็นประเทศทีพ่ ฒั นาแล้วดว้ ยการพฒั นาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และกำหนดเปา้ หมายการพฒั นาประเทศ คือ ประเทศชาตมิ ัน่ คง ประชาชนมคี วามสุข เศรษฐกิจพฒั นา อย่างต่อเน่ือง สงั คมเปน็ ธรรมฐานทรพั ยากรธรรมชาตยิ ั่งยนื โดยยกระดบั ศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ พัฒนาคนในทุกมิติ และในทกุ ช่วงวยั ใหเ้ ปน็ คนดี คนเก่ง และมคี ุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอวิเศษชยั ชาญ เหน็ วา่ เปน็ การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การดำเนินงานของศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชนให้สอดคล้องกับยุทธศาสตรข์ องกระทรวงศึกษาธกิ าร และ แนวทางการขับเคลื่อนการศึกษาของสำนักงาน กศน. ซึ่งเปน็ บทบาทของสถานศกึ ษา ในการดำเนนิ การจดั การศึกษาเพือ่ พัฒนาอาชพี และการมีงานทำใหส้ อดคลอ้ งตามความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมายและศักยภาพของ พื้นท่ี กศน.ตำบลท่าช้าง จงึ ได้จดั ทำศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน รปู แบบกลุม่ สนใจหลักสูตร วชิ าการทำน้ำสมุนไพร (นำ้ กระชายและนำ้ มะม่วงหาวมะนาวโห่) จำนวน 6 ช่วั โมง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนผู้รบั บริการมีความรคู้ วามเขา้ ใจในการทำน้ำสมุนไพร(นำ้ กระชายและน้ำมะมว่ งหาวมะนาวโห่) 2. เพ่ือใหป้ ระชาชนผรู้ บั บรกิ ารมที กั ษะและมองเหน็ ชอ่ งทางการทำนำ้ สมนุ ไพร(น้ำกระชายและน้ำมะม่วงหาวมะนาวโห่) เปน็ อาชีพได้ ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ 1. เพือ่ ใหป้ ระชาชนผรู้ บั บรกิ ารมคี วามรคู้ วามเข้าใจในการทำน้ำสมุนไพร(นำ้ กระชายและน้ำมะมว่ งหาวมะนาวโห)่ 2. เพื่อให้ประชาชนผูร้ ับบรกิ ารมที ักษะและมองเหน็ ชอ่ งทางการทำน้ำสมนุ ไพร (นำ้ กระชายและน้ำมะม่วงหาว มะนาวโห)่ เปน็ อาชีพได้

บทท่ี 2 เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง การศึกษาตอ่ เนื่องรปู แบบกลมุ่ สนใจ หลกั สูตรการทำนำ้ สมุนไพร (นำ้ กระชายและนำ้ มะมว่ งหาวมะนาวโห่) ได้ เสนอแนวคิด หลกั การและเอกสารท่ีเกีย่ วข้อง ตามลำดบั ดังต่อไปนี้ 1. ความสำคญั ของการจดั และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน 2. ท่มี าและความสำคัญของ หลักสูตรวิชาการทำนำ้ สมุนไพร (น้ำกระชายและนำ้ มะม่วงหาวมะนาวโห่) 1. ความสำคญั ของการจัดและส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรศู้ นู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน กิจกรรมการจดั และสง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรู้ศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ น ตามนโยบายของสำนกั งาน กศน. มีลกั ษณะ สำคญั ดังนี้ -จัดใหม้ ีศนู ย์ฝึกอาชพี อาชพี ชมุ ชนในทุกอำเภอ/เขต อยา่ งนอ้ ยอำเภอ/เขตละ 3 แห่ง เพอ่ื เปน็ ศูนยก์ ลาง ในการฝึก พัฒนา สาธติ และสรา้ งอาชพี ของผ้เู รยี นและชมุ ชน รวมท้ังเป็นทจ่ี ัดเกบ็ แสดง จำหน่ายและกระจาย สินคา้ และบริการของชมุ ชนอยา่ งเปน็ ระบบครบวงจร -พฒั นาและจดั ทำหลกั สตู รการศกึ ษาอาชีพเพื่อการมงี านทำทส่ี อดคลอ้ งกับความต้องการของผเู้ รียน ความต้องการของตลาด และศกั ยภาพของพืน้ ท่ี โดยมีเป้าหมายเพอ่ื ใหก้ ารจัดการศึกษาอาชพี แนวใหม่ เปน็ การจัด การศึกษาทส่ี ามารถสร้างอาชีพหลักท่มี ัน่ คงใหก้ ับผเู้ รียน โดยสามารถสร้างรายได้ได้จรงิ ทง้ั ในระหว่างเรียนและ สำเร็จการศึกษาไปแลว้ และสามารถใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยีในการสร้างมลู ค่าเพ่มิ ให้กบั อาชพี เพ่ือพฒั นาให้ เปน็ ผู้ประกอบการทีม่ คี วามสามารถเชิงการแข่งขนั อยา่ งยง่ั ยนื -ประสานการดำเนินงานกบั ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชนของหน่วยงานและสถานศึกษาต่างๆ ในพื้นท่เี พื่อเชอ่ื มโยง เป็นเครอื ขา่ ยการฝึกและสร้างอาชพี ของประชาชนและชมุ ชนในจังหวัด กลมุ่ จงั หวัด และระหว่างจงั หวัด -จัดใหม้ รี ะบบการประสานงานเพือ่ สนับสนุนใหผ้ ู้เรียนสามารถเข้าถึงแหลง่ ทุนต่างๆ สำหรบั เป็นช่องทาง ในการเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ และการพัฒนาขีดความสามารถในการแขง่ ขันด้านอาชพี อย่างตอ่ เนื่องให้กับผู้เรียน -จัดให้มีการกำกับ ตดิ ตาม และรายงานผลการจัดการศกึ ษาอาชีพเพ่อื การมีงานทำอย่างเปน็ ระบบและ ต่อเนือ่ งพร้อมท้งั นำผลท่ไี ดม้ าใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพการดำเนนิ งานใหเ้ ป็นไปตามความตอ้ งการด้านการศึกษา อาชีพเพื่อการมีงานทำของประชาชนและความตอ้ งการของตลาด 2. ท่ีมาและความสำคัญของ หลักสูตรวิชาการทำนำ้ สมนุ ไพร (นำ้ กระชายและนำ้ มะมว่ งหาวมะนาวโห)่ สำนกั งาน กศน. เป็นหนว่ ยงานท่มี ีภารกจิ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวติ ได้มงุ่ มัน่ ขับเคล่อื นภารกจิ หลกั ตามแผนพฒั นา ประเทศ และนโยบาย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธกิ าร ทคี่ ำนงึ ถึงหลักการบริหารจัดการท้งั ในเรอ่ื งหลกั ธรร มาภิบาล หลักการกระจายอำนาจ การใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การมุ่งเนน้ ผลสัมฤทธ์ิ และปฏบิ ัตกิ ารด้านขอ้ มูลข่าวสาร การสรา้ งบรรยากาศในการทำงานและการเรียนรู้ ตลอดจนการใช้ ทรัพยากรด้านการจัดการศึกษาอยา่ งมีคุณภาพ โดยเน้นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษา ขนั้ พนื้ ฐาน การศึกษาต่อเน่อื ง และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ใน 4 ประเด็นใหญ่ ประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้ คณุ ภาพ การสรา้ งสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ องค์กร สถานศึกษาและแหลง่ เรียนรูค้ ณุ ภาพ และการบรหิ าร จัดการคณุ ภาพ อันจะนำไปสกู่ ารสร้างโอกาสและลดความเหลือ่ มล้ำ ทางการศึกษา การยกระดบั คุณภาพและเพิ่ม ประสทิ ธภิ าพการให้บรกิ ารสำหรับทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย และสรา้ งความพงึ พอใจใหก้ บั ผู้รับรกิ าร โดยได้กำหนด นโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ หลักการ กศน. เพื่อประชาชน “ก้าวใหม่ : กา้ วแหง่ คุณภาพ”

นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 2. ดา้ นการสรา้ งสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจดั การศกึ ษาตลอดชีวติ ที่เนน้ การพฒั นาทกั ษะทจ่ี ำเป็นสำหรบั แต่ละช่วงวยั และการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ทเ่ี หมาะสมกับแต่ละกลุ่มเปา้ หมายและบรบิ ทพ้ืนที่ 2.2 พฒั นาหลกั สตู รอาชีพระยะสน้ั ทีเ่ นน้ New skill Up skill และ Re skill ท่สี อดคล้องกบั บรบิ ท พน้ื ท่ี ความตอ้ งการและความหลากหลายของกลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้พิการ ผู้สงู อายุ ความต้องการของ ตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชพี ใหมท่ ่รี องรบั Disruptive Technology 2.4 ยกระดบั ผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมความรู้ สรา้ งอาชพี เพม่ิ รายได้ และมคี ุณภาพชีวติ ที่ดี” ให้มคี ุณภาพมาตรฐาน เปน็ ทยี่ อมรบั ของตลาด ตอ่ ยอดภูมิปัญญา ทอ้ งถ่นิ เพ่ือสรา้ งมลู คา่ เพ่ิม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพมิ่ ช่องทางประชาสมั พนั ธแ์ ละชอ่ งทางการจำหน่าย 2.5 ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาของผสู้ งู อายุ เพ่ือใหเ้ ปน็ Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดำรงชีวิตท่ีเหมาะกบั ช่วงวยั และเพ่ือให้การดำเนนิ งานแผนยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ ง ศกั ยภาพคนให้มคี ุณภาพบรรลุผลสำเร็จสู่วิสยั ทัศน์ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจึงกำหนดวสิ ยั ทัศน์ของประเทศ คือ ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ยง่ั ยืน เปน็ ประเทศที่พัฒนาแลว้ ดว้ ยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง และกำหนดเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสขุ เศรษฐกจิ พัฒนา อยา่ งตอ่ เนือ่ ง สังคมเปน็ ธรรมฐานทรพั ยากรธรรมชาติยั่งยืน โดยยกระดบั ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ พัฒนาคนในทกุ มิติ และในทุกช่วงวยั ใหเ้ ปน็ คนดี คนเก่ง และมีคณุ ภาพ สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอวิเศษชยั ชาญ เห็นวา่ เปน็ การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การดำเนนิ งานของศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชนใหส้ อดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตรข์ องกระทรวงศึกษาธิการ และ แนวทางการขับเคลอื่ นการศกึ ษาของสำนักงาน กศน. ซึ่งเปน็ บทบาทของสถานศกึ ษา ในการดำเนินการจัด การศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมงี านทำให้สอดคลอ้ งตามความต้องการของกลุ่มเปา้ หมายและศักยภาพของ พน้ื ท่ี กศน.ตำบลท่าช้างจงึ ได้จัดทำศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน รปู แบบกลมุ่ สนใจหลักสูตร วิชาการทำน้ำสมนุ ไพร (น้ำกระชายและ นำ้ มะมว่ งหาวมะนาวโห่)

บทที่ 3 วิธีดำเนินงาน ดว้ ย กศน.ตำบลท่าช้าง ได้จดั โครงการจดั และส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรู้ ศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน โดยยึดกลมุ่ เป้าหมายเป็นสำคัญ ทำให้เน้ือหาตามหลักสูตรระยะเวลาการจัดกิจกรรม สถานที่ และลักษณะ กจิ กรรมการเรยี นรูข้ นึ้ อยู่กับ ศักยภาพและความพร้อมของกล่มุ เปา้ หมาย ซึ่งเป็นการตอบสนองนโยบายขอ สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ซ่ึงไดด้ ำเนินการ ดังนี้ การจดั การศึกษาตอ่ เนื่องรูปแบบกลมุ่ สนใจหลักสตู รวิชาการทำนำ้ สมนุ ไพร (นำ้ กระชายและนำ้ มะมว่ งหาว มะนาวโห)่ ระหวา่ งวนั ที่ 27 พฤศจกิ ายน 2564 - 28 พฤศจกิ ายน 2564 สาระสำคญั วชิ าการทำน้ำสมุนไพร (นำ้ กระชายและน้ำมะมว่ งหาวมะนาวโห)่ วัสดใุ นการทำนำ้ สมุนไพร (นำ้ กระชายและน้ำมะม่วงหาวมะนาวโห่) ท่ี รายการ จำนวน หมายเหตุ ๑. กระชาย 5 กิโลกรมั 2. นำ้ ผง้ึ 1 ขวด 3. มะนาว 55 ลูก 4 มะมว่ งหาวมะนาวโห่ 5 กโิ ลกรัม 5 น้ำตาลทราย 8 กโิ ลกรัม

ขั้นตอนการทำ วธิ ที ำน้ำกระชาย ขั้นตอนท่ี 1 เตรียมน้ำสมุนไพร – ลา้ งกระชายและขงิ ใหส้ ะอาด แลว้ ห่ันเปน็ ช้ินเล็กๆ จากนัน้ นำไปปั่นให้ละเอยี ด – ตม้ นำ้ ให้เดือด ใส่กระชายและขิงทปี่ ั่นละเอียดแล้ว ตม้ เค่ยี วนาน 15 นาที จากนนั้ เติมนำ้ ตาลทรายแดงลงไป คน ให้ละลาย ตงั้ ทิง้ ไว้ใหเ้ ยน็ – เตรยี มนำ้ คัน้ หเู สือ โดยนำใบหูเสือ 10 ใบล้างน้ำให้สะอาด แล้วหน่ั พอหยาบ ป่นั กบั น้ำสะอาด 200 มลิ ลิลติ ร ค้ันเอาแตน่ ้ำ ข้นั ตอนท่ี 2 ปรงุ เคร่อื งดม่ื กระชาย – ตวงไซรปั กระชายและขิง ใสแ่ กว้ 40 มิลลิลติ ร (ผสมนำ้ ผง้ึ มะนาว เกลอื ตามชอบ) – เติมน้ำแข็งใหเ้ ตม็ แก้ว เตมิ โซดา 80 มิลลิลติ ร เตมิ น้ำค้นั ใบหูเสือ 20 มิลลิลิตร คนส่วนผสมให้เข้ากัน ดื่มเป็น เครือ่ งด่มื สมุนไพรวนั ละ 1-2 ครั้ง ** ในชว่ งเป็นหวัด แนะนำทำสูตรอนุ่ ไม่ตอ้ งเตมิ น้ำแข็ง ข้อห้าม ข้อควรระวงั – ไมค่ วรกินกระชายต่อเนื่องเป็นเวลานาน เนอื่ งจากกระชายมฤี ทธิร์ อ้ น อาจส่งผลให้เกิดอาการร้อนใน หรอื เปน็ แผลในปากตามมา – จากการศึกษาพบว่า การกินกระชายมากๆ มผี ลทำให้เกิดปญั หาเหงอื กรน่ และเกิดภาวะใจสนั่ ได้

วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ใหป้ ระชาชนผู้รับบรกิ ารมคี วามรู้ความเขา้ ใจในการนำ้ กระชาย 2. เพ่อื ใหป้ ระชาชนผู้รับบริการมที กั ษะและมองเห็นชอ่ งทางน้ำกระชาย เป็นอาชีพได้ กจิ กรรมที่ดำเนินการ ๑. วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรู้เรื่อง ๑.๑ วทิ ยากรอธิบายวชิ า นำ้ กระชำย ๑.๒ วิทยากรบอก วชิ านำ้ กระชำย และพร้อม สาธติ ๒.วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้ เร่อื งการผลิต ๒.๑.๑ แหลง่ ทนุ ๒.๑.๒ แหลง่ วตั ถุดบิ ๒.๒ วิทยากรและผเู้ รียนรว่ มกนั กำหนดคณุ ภาพและมาตรฐานของชิ้นงาน ๒.๓ วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้เรอื่ งสง่ เสริมการขายและการประชาสัมพันธผ์ า่ นชอ่ งทางส่ืออเิ ลคทรอนิกส์ ๒.๔ วทิ ยากรบรรยายให้ความรเู้ รอ่ื งการทำบญั ชี ๒.๔.๑ การคดิ ตน้ ทนุ กำไร ๒.๔.๒ การทำบัญชรี ายรับ รายจ่าย ผลทไี่ ด้รบั จากการดำเนนิ กจิ กรรม 1. กลมุ่ ผ้เู รียนรอ้ ยละ 80 มคี วามรแู้ ละทกั ษะ มองเห็นชอ่ งทางทำให้เกดิ รายไดเ้ สริมสรา้ งอาชพี ใหม่ เกิดขน้ึ ภายในตำบล 2. กล่มุ ผู้เรยี นรอ้ ยละ 80 เกดิ กระบวนการเรียนรู้ มีการรวมกลุ่มเพ่ือพฒั นาอาชพี 3. กลมุ่ ผู้เรยี นร้อยละ 80 เกดิ กระบวนการคดิ เป็น แกป้ ญั หาเปน็ ในการหาชอ่ งทางการขยายอาชีพ

ขนั้ ตอนการทำ วิธที ำน้ำมะม่วงหาวมะนาวโห่ วธิ ที ำ 1. ล้างมะม่วงหาวฯ ให้สะอาด ผ่าครงึ่ นำเมล็ดออก (ถา้ ทำปริมาณมากจะไมน่ ำเมล็ดออกก็ได)้ 2. ตัง้ หมอ้ ใส่นำ้ ใช้ไฟแรง ใส่มะมว่ งหาวฯ ปดิ ฝารอจนเดือด 3. หร่ีไฟลง ช้อนเน้อื มะมว่ งหาวมายีกบั กระชอน แล้วนำทยี่ ีใส่หมอ้ 4. ใสน่ ำ้ ตาลทรายและเกลอื คนจนละลาย ต้มต่อจนเดอื ดอกี ครั้ง 5. ปดิ เตา พักให้อนุ่ หรอื เยน็ 6. นำมากรองดว้ ยถุงกรองชา หรือผา้ ขาวบาง จะทำให้นำ้ ใส 7. เสิรฟ์ พร้อมนำ้ แข็ง รสชาติเข้มขน้ เปรี้ยว-หวาน-เคม็ ลงตวั

วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนผรู้ ับบริการมีความร้คู วามเขา้ ใจในการนำ้ มะมว่ งหาวมะนาวโห่ 2. เพอื่ ให้ประชาชนผรู้ ับบริการมีทกั ษะและมองเหน็ ช่องทางนำ้ มะม่วงหาวมะนาวโห่ เปน็ อาชพี ได้ กิจกรรมที่ดำเนินการ ๑. วิทยากรบรรยายให้ความรเู้ รื่อง ๑.๑ วทิ ยากรอธบิ ายวิชา น้ำมะมว่ งหำวมะนำวโห่ ๑.๒ วทิ ยากรบอก วชิ าน้ำมะมว่ งหำวมะนำวโห่ และพรอ้ ม สาธิต ๒.วิทยากรบรรยายใหค้ วามรู้ เรอ่ื งการผลิต ๒.๑.๑ แหล่งทนุ ๒.๑.๒ แหลง่ วัตถุดบิ ๒.๒ วทิ ยากรและผเู้ รียนร่วมกนั กำหนดคุณภาพและมาตรฐานของชิน้ งาน ๒.๓ วิทยากรบรรยายใหค้ วามรเู้ รื่องส่งเสริมการขายและการประชาสัมพันธผ์ ่านช่องทางส่ืออิเลคทรอนิกส์ ๒.๔ วิทยากรบรรยายใหค้ วามรูเ้ รอื่ งการทำบัญชี ๒.๔.๑ การคิดต้นทุนกำไร ๒.๔.๒ การทำบญั ชีรายรับ รายจ่าย ผลทไ่ี ด้รับจากการดำเนินกจิ กรรม 1. กลมุ่ ผู้เรยี นรอ้ ยละ 80 มีความร้แู ละทักษะ มองเหน็ ชอ่ งทางทำใหเ้ กดิ รายได้เสริมสรา้ งอาชีพใหม่ เกิดขึ้นภายในตำบล 2. กล่มุ ผู้เรยี นร้อยละ 80 เกดิ กระบวนการเรยี นรู้ มกี ารรวมกลุ่มเพ่ือพัฒนาอาชพี 3. กลุ่มผ้เู รียนร้อยละ 80 เกดิ กระบวนการคดิ เป็น แกป้ ญั หาเป็น ในการหาชอ่ งทางการขยายอาชีพ

บทท่ี 4 ผลการดำเนินงาน จากการสำรวจความพึงพอใจ ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน รปู แบบกลมุ่ สนใจหลกั สูตรวิชาการทำน้ำ สมุนไพร (น้ำกระชายและนำ้ มะม่วงหาวมะนาวโห)่ กศน.ตำบลท่าชา้ ง มีผู้เข้ารว่ มโครงการ โดยใช้แบบประเมิน ความพงึ พอใจ จำนวน 7 ฉบับ และได้รบั กลับคืนมา จำนวน 7 ฉบบั วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Excel ตามขน้ั ตอนต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. วิเคราะห์ข้อมลู จากแบบสอบถามตอนท่ี 1 โดยแจกแจงความถ่แี ละค่ารอ้ ยละ 2. วเิ คราะห์ข้อมลู จากแบบสอบถามตอนที่ 2 โดยหาคา่ เฉล่ีย (������̅ ) แปลความหมายขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณ ให้ระดบั คะแนนในแบบสอบถามท่ีเปน็ แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความ คดิ เห็นของเบสท์ (Best. 1981 : 182ดังน้ี 4.51–5.00 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยูใ่ นระดบั ดมี าก 3.51–4.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั ดี 2.51–3.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั ปานกลาง 1.51–2.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอยูใ่ นระดับพอใช้ 1.00–1.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ปรบั ปรงุ 3. วิเคราะหข์ ้อมูลจากแบบสอบถามตอนท่ี 3 ข้อมูลท่ีเปน็ มาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) โดยหาค่าเฉลีย่ (������̅ ) แปลความหมายขอ้ มูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑข์ ้อ 2 ข้อมูลท่ี เป็นความคิดเห็น และขอ้ เสนอแนะ ใช้วิธกี ารวิเคราะหเ์ นอ้ื หา (Content Analysis) จัดกลุ่มคำตอบ และหา ค่าความถี่สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ ศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชนรปู แบบกลมุ่ สนใจวิชาการเพาะพนั ธุ์ กระชายตา้ นโควดิ -19 ได้ดังนี้

ตอนท่ี 1 ข้อมลู ส่วนตวั ของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม จำแนกตาม เพศ อายุ ระดบั การศกึ ษา และอาชีพ ข้อมลู ทัว่ ไป จำนวน รอ้ ยละ เพศ ชาย 1 14.29 หญิง 6 85.71 อายุ 15-29 ปี 1 14.30 30 -39 ปี 0 00.00 40-49 ปี 0 00.00 50-59 3 42.85 60 ปขี น้ึ ไป 3 42.85 การศกึ ษา ตำ่ กวา่ ป.4 0 00.00 ป.4 0 00.00 ประถมศึกษา 0 00.00 มัธยมศึกษาตอนต้น 0 00.00 มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 42.85 อนปุ ริญญา 1 14.30 ปรญิ ญาตรี 3 42.85 ปริญญาโท 0 00.00 อาชีพ รับจา้ ง 0 00.00 คา้ ขาย 0 00.00 เกษตรกร 2 28.58 รบั ราชการ 0 00.00 อน่ื ๆ 5 71.42 จากตารางท่ี 1 แสดงจำนวนผตู้ อบแบบสอบถามทัง้ หมด 7 คน เป็นเพศหญงิ จำนวน 6 คน (คดิ เป็นรอ้ ยละ 85.71) เปน็ เพศชาย จำนวน 1 คน (คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.29) ดา้ นอายุ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม สว่ นมากอยใู่ นช่วงอายุ 60 ปีข้ึนไป จำนวน 3 คน (คิดเป็น รอ้ ยละ 42.85) รองลงมา ช่วงอายุ 50 – 59 ปี จำนวน 3 คน (คิดเป็นร้อยละ 42.85) และชว่ งอายุ 15-29 ปี จำนวน 1 คน(คดิ เปน็ ร้อยละ 14.30) ตามลำดับ ดา้ นการศึกษาพบว่า ผ้ตู อบแบบสำรวจสว่ นมาก มีการศกึ ษาอยู่ในระดบั ปรญิ ญาตรี จำนวน 3 คน (คดิ เป็นร้อยละ 42.85) รองลงมาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 3 คน (คิดเป็นร้อยละ 42.85) และ ระดบั อนุปริญญา จำนวน 1 คน(คดิ เป็นร้อยละ 14.30) (ตามลำดับ) ดา้ นอาชพี พบวา่ ผูต้ อบแบบสำรวจส่วนมากประกอบอาชพี อ่นื ๆ จำนวน 5 คน (คิดเปน็ รอ้ ยละ 71.42) รองลงมาคอื อาชพี เกษตรกรรม จำนวน 2 คน (คิดเปน็ รอ้ ย 28.58) ตามลำดับ

สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชนรูปแบบกลมุ่ สนใจหลกั สตู รวิชาการทำน้ำ สมุนไพร (นำ้ กระชายและนำ้ มะม่วงหาวมะนาวโห)่ ที่เขา้ รว่ มโครงการ ได้ดังนี้ แบบประเมินความพึงพอใจ มี 4 ด้าน ความพงึ พอใจทีม่ ตี อ่ โครงการโดยรวมและแยกเป็นรายดา้ น รายการประเมนิ ผลการประเมนิ 1. ความพงึ พอใจด้านเนอื้ หา ������̅ ความหมาย 2. ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 5.00 ดมี าก 3. ความพงึ พอใจตอ่ วทิ ยากร 5.00 ดมี าก 5.00 ดมี าก 4. ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก รวม 5.00 ดีมาก 5.00 ดีมาก จากตารางที่ 2 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมคี วามพงึ พอใจท่มี ตี อ่ โครงการ โดยรวมและราย ดา้ น อย่ใู นระดับ ดีมาก ทกุ รายการ เม่ือพิจารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า อนั ดับหน่ึงคือ ความพึงพอใจด้านการอำนวย ความสะดวกรองลงมาความพงึ พอใจต่อวทิ ยากรรองลงมาความพึงพอใจด้านเน้ือหาและกระบวนการจดั กิจกรรม การอบรมตามลำดับ ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา ผลการประเมนิ รายการประเมนิ 1. เนอ้ื หาตรงตามความตอ้ งการ ������̅ ความหมาย 2. เนอ้ื หาพอเพยี งต่อความตอ้ งการ 5.00 ดมี าก 3. เนือ้ หาปจั จุบันทันสมยั 5.00 ดมี าก 5.00 ดมี าก 4. เน้อื หามีประโยชนต์ ่อการนำไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชวี ิต รวม 5.00 ดีมาก 5.00 ดีมาก จากตอนท่ี 1 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจทม่ี ตี ่อโครงการความพึงพอใจด้าน เนือ้ หาโดยรวมและรายดา้ นอยูใ่ นระดบั ดีมาก เม่ือพจิ ารณาเปน็ รายข้อ พบว่า อนั ดับหน่ึงคอื เนอ้ื หามปี ระโยชน์ ต่อการนำไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชวี ิตรองมาอนั ดบั สองสามเท่ากนั คือ เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ/เนอ้ื หา เพยี งพอต่อความตอ้ งการและดำดบั ท่ีส่ีเน้อื หาปัจจบุ นั ทนั สมัยตามลำดับ

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม ผลการประเมิน รายการประเมิน 1. การเตรียมความพรอ้ มก่อนอบรม ������̅ ความหมาย 2. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 5.00 ดีมาก 3. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 5.00 ดีมาก 5.00 ดมี าก 4. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย 5. วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 5.00 ดีมาก 5.00 ดมี าก รวม 5.00 ดมี าก จากตอนที่ 2 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดบั ดีมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนง่ึ คอื วธิ กี ารวัดผล/ประเมินผล เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ อันดับสองสามลี่และห้า คอื การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกล่มุ เป้าหมาย/การเตรียมความ พรอ้ มกอ่ นอบรม/ การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์/การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา ตามลำดับ ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจตอ่ วิทยากร ผลการประเมนิ รายการประเมนิ 1. วิทยากรมคี วามร้คู วามสามารถในเร่ืองที่ถา่ ยทอด ������̅ ความหมาย 2. วิทยากรมเี ทคนคิ การถา่ ยทอดใช้สอื่ เหมาะสม 5.00 ดมี าก 3. วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนรว่ มและซกั ถาม 5.00 ดมี าก 5.00 ดมี าก รวม 5.00 ดมี าก จากตอนที่ 3 พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจตอ่ วิทยากรโดยรวมและรายดา้ นอยู่ ในระดับ ดมี าก เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า อันดบั หน่ึงและสอง คอื วิทยากรมคี วามร้คู วามสามารถในเรอื่ งท่ี ถ่ายทอด/วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มสี ่วนร่วมและซกั ถามและลำดบั ที่สามคอื วทิ ยากรมเี ทคนิคการถ่ายทอดใช้สอื่ เหมาะสมตามลำดับ

ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก ผลการประเมนิ รายการประเมนิ 1. สถานท่ี วัสดุ อุปกรณแ์ ละสิ่งอำนวยความสะดวก ������̅ ความหมาย 2. การสอ่ื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่อื ให้เกดิ การเรยี นรู้ 5.00 ดมี าก 3. การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ญั หา 5.00 ดีมาก 5.00 ดมี าก รวม 5.00 ดมี าก จากตอนท่ี 4 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจดา้ นการอำนวยความสะดวกโดยรวม และรายด้านอยู่ในระดบั ดีมาก เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายข้อ พบวา่ อนั ดบั หนึ่งสองและสาม คือการบรกิ าร การ ช่วยเหลอื และการแก้ปญั หา / สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ์และสิง่ อำนวยความสะดวก /การสอื่ สาร การสร้างบรรยากาศ เพอื่ ใหเ้ กดิ การเรียนรูต้ ามลำดบั

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ผลการดำเนินศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน รูปแบบกลุ่มสนใจหลักสูตรวิชาการทำน้ำ สมนุ ไพร (น้ำกระชายและน้ำมะมว่ งหาวมะนาวโห)่ กศน.ตำบลทา่ ชา้ ง คร้งั นม้ี วี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือประเมนิ ผลความ พึงพอใจของผู้เรียน/ผรู้ ับบรกิ ารท่ีมีต่อโครงการโดยรวมและแยกเปน็ รายด้าน โดยใช้แบบสอบถามจำนวน 7 ฉบับ เคร่อื งมอื ท่ีใชเ้ ป็นแบบสอบถามท่ีเปน็ แบบมาตราส่วนประมาณค่า5ระดับตามเกณฑ์ประเมินความคดิ เหน็ ของเบสท์ (Best. 1981:182)วิเคราะห์ขอ้ มลู โดยหาค่าเฉลย่ี (������̅ )แปลความหมายขอ้ มูลแปลความหมายขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณโดยใช้เกณฑข์ ้อ2 ข้อมูลทเี่ ป็นความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะใชว้ ธิ กี ารวเิ คราะหเ์ นือ้ หา(ContentAnalysis)จัดกลมุ่ คำตอบและหาค่าความถี่ สรปุ ผลการประเมินความพึงพอใจของผ้เู รียน/ผู้รบั บรกิ าร จากแบบประเมินความพงึ พอใจสรุปผลได้ ดงั นี้ 1 ดา้ นเน้ือหาโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดบั ดีมาก เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบว่า อนั ดับหนงึ่ คือ เน้อื หามีประโยชนต์ ่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตรองมาอันดบั สองสามเทา่ กัน คือ เน้ือหาตรงตาม ความต้องการ/เน้อื หาเพียงพอต่อความตอ้ งการและดำดบั ที่สเี่ นอื้ หาปัจจุบันทันสมัยตามลำดับ 2 ดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรมโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดบั ดมี าก เมือ่ พจิ ารณา เป็นรายขอ้ พบว่า อนั ดับหน่ึงคอื วธิ ีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ อนั ดับสองสามลแ่ี ละหา้ คอื การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมาย/การเตรยี มความพรอ้ มก่อนอบรม/ การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับ วัตถุประสงค/์ การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา ตามลำดับ 3 ต่อวทิ ยากรโดยรวมและรายดา้ นอยใู่ นระดับ ดีมาก เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายข้อ พบวา่ อันดับหนงึ่ และสอง คอื วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรอ่ื งท่ถี ่ายทอด/วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ ีสว่ นรว่ มและซักถามและ ลำดบั ท่สี ามคือ วิทยากรมเี ทคนคิ การถา่ ยทอดใช้สอ่ื เหมาะสมตามลำดบั 4 ดา้ นการอำนวยความสะดวกโดยรวมและรายด้านอย่ใู นระดบั ดีมาก เมื่อพจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ อันดับหนงึ่ สองและสาม คอื การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปญั หา / สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ์และสิง่ อำนวยความสะดวก /การสอื่ สาร การสร้างบรรยากาศเพือ่ ใหเ้ กิดการเรยี นรตู้ ามลำดับ ผลการดำเนนิ งาน จำนวนผเู้ ข้าร่วมศูนย์ฝกึ อาชีพชมุ ชนรปู แบบกลมุ่ สนใจวชิ าการทำน้ำสมุนไพร (นำ้ กระชายและ น้ำมะม่วงหาวมะนาวโห่) กศน.ตำบลท่าช้าง จำนวน 7 คน คอื กลุ่มเปา้ หมายรอ้ ยละ 85 มคี วามรู้ทักษะ มองเหน็ ชอ่ งทางในการประกอบอาชีพกล่มุ เปา้ หมายเกดิ กระบวนการเรยี นรู้ มีการรวมกลมุ่ เพือ่ พัฒนาอาชพี กลุม่ เปา้ หมายมกี ารบริหารจดั การกลุม่ ที่ดี สามารถพัฒนาอาชพี ของกลมุ่ ได้ ผูเ้ ข้าร่วมศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน รูปแบบกลมุ่ สนใจวิชาการทำนำ้ สมุนไพร (นำ้ กระชายและน้ำ มะม่วงหาวมะนาวโห่) ไดใ้ ห้ความรว่ มมอื ร่วมใจและลงมอื ทำเปน็ อยา่ งดี ผู้เขา้ รว่ มโครงการ มคี วามพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ในระดบั ดี ตามแบบประเมนิ ความพึง พอใจในการจดั กจิ กรรม ทแี่ นบมาน้ี ปญั หาและอุปสรรคในการปฏบิ ัติงาน -- ข้อเสนอแนะ --

ภาคผนวก

แบบประเมินความพึงพอใจ แบบ กศ.ตน 10 หลักสตู ร/วชิ าการเพาะพันธ์กุ ระชายต้านโควิด-19 วนั ท่ี 19 พฤศจกิ ายน 2564 สถานท่ี บา้ นหนงั สอื ชุมชนโชตกิ านนท์ หมู่ท่ี 3 ตำบลท่าช้าง อำเภอวเิ ศษชัยชาญ จังหวัดอา่ งทอง ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม เพศ  ชาย  หญิง อายุ  15 – 29 ปี  30 – 39 ปี  40 – 49 ปี  50 – 59 ปี  60 ปีขึน้ ไป การศกึ ษา  ต่ำกวา่ ป.4  ป.4  ประถมศึกษา  มธั ยมศึกษาตอนตน้  มัธยมศึกษาตอนปลาย  อนปุ รญิ ญา  ปรญิ ญาตรี  ปรญิ ญาโท อาชีพ  รบั จ้าง  ค้าขาย  เกษตรกร  รับราชการ  อน่ื ๆ................................... ขอ้ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดับความพงึ พอใจ หมาย มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่สี ุด เหตุ 54 32 1 ตอนที่ ๑ ความพงึ พอใจดานเนอ้ื หา 1 เนอ้ื หาตรงตามความตอ้ งการ 2 เน้อื หาพอเพยี งต่อความต้องการ 3 เนื้อหาปัจจุบนั ทันสมัย 4 เนือ้ หามีประโยชนต์ อ่ การนำไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตอนท่ี ๒ ความพึงพอใจดานกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม 1 การเตรียมความพรอ้ มก่อนอบรม 2 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ 3 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 4 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 5 วิธกี ารวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ ตอนที่ ๓ ความพงึ พอใจตอวิทยากร 1 วิทยากรมคี วามรคู้ วามสามารถในเรอื่ งทถ่ี ่ายทอด 2 วิทยากรมเี ทคนคิ การถ่ายทอดใช้ส่ือเหมาะสม 3 วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มีสว่ นร่วมและซกั ถาม ตอนที่ 4 ความพงึ พอใจด้านการอำนวยความสะดวก 1 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และส่งิ อำนวยความสะดวก 2 การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพือ่ ให้เกิดการเรียนรู้ 3 การบรกิ าร การชว่ ยเหลือและการแกป้ ัญหา ความคิดเหน็ และขอเสนอแนะอืน่ ๆ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ หมายเหตุ สถานศกึ ษาอาจปรบั เปลยี่ นตามความเหมาะสมกับโครงการฯ/กิจกรรมทจ่ี ดั อบรม











การศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ (หลักสูตรไม่เกิน ๓๐ ชว่ั โมง) วิชาการทำน้ำสมนุ ไพร (น้ำกระชายและน้ำมะมว่ งหาวมะนาวโห)่ หลักสูตร 6 ช่ัวโมง สถานท่ีจัด บ้านหนังสอื ชมุ ชนโชตกิ านนท์ หมู่ 3 ตำบลท่าช้าง อำเภอวิเศษชยั ชาญ จังหวดั อา่ งทอง ในวันที่ 21 เดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖4 วิทยากรชอ่ื นางสนุ ีย์ โชตกิ านนท์ โทรผปู้ ระสาน 065-617-4464 นายจิรัสยพ์ งษ์ วเิ ศษสทิ ธโิ ชค



หลกั สตู ร การทำน้ำสมุนไพร (น้ำกระชายและนำ้ มะม่วงหาวมะนาวโห่) จำนวน 6 ช่ัวโมง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอวเิ ศษชยั ชาญ ความเปน็ มา สมุนไพร ยาทไ่ี ดม้ าจากพชื สัตว์ แรธ่ าตุจากธรรมชาตทิ ไ่ี ม่มกี ารเปลย่ี นแปลงสภาพ โครงสรา้ งภายในสามารถนำมาใช้เปน็ ยารกั ษาโรคตา่ งๆ และบำรงุ ร่างกายได้ ประเภทของสมุนไพร สมุนไพรทไี่ ด้ จากสว่ นของพชื โดยตรง (พชื วัตถุ) โดยสว่ นตา่ งๆ ท่ีนำมาน้นั มสี ารที่สามารถใช้เป็นยาได้ ไดแ้ ก่ ใบ ดอก ผล เปลอื ก ผล เมลด็ เปลอื กเมล็ด รากหรอื หวั ตน้ แก่น กระพ้ี เน้ือไม้ เปลือกไม้ สรรพคุณจำพวกชว่ ยดืม่ เพือ่ ดับกระหาย ชว่ ยปรับแร่ธาตุและได้ทง้ั สรรพคุณในการบำบัดรักษาโรคไดบ้ างโรคท่ีสำคัญราคาไม่แพงด่ืมไดต้ ลอดเวลาและไม่ เปน็ อนั ตรายตอ่ สุขภาพเพราะเกดิ จากการใชใ้ บดอกผลเกสรเปลอื กรากของพืชสมุนไพรมาผา่ นกระบวนการผลิตท่ี สะอาดปลอดภัยและสามารถนำมาทำเปน็ ผลติ ภัณฑน์ ำมาต่อยอดเพ่อื สรา้ งรายได้ใหแ้ ก่ผู้ผลติ เครอ่ื งดื่มสมนุ ไพร และเป็นทน่ี ิยมสำหรบั ประชากรทว่ั ไปปัจจุบนั ผู้บริโภคเรมิ่ มองหานำ้ สมนุ ไพรเพือ่ สขุ ภาพไมเ่ ตมิ นำ้ ตาลมากข้นึ คน ทั่วไปชอบดม่ื น้ำสมุนไพรท่ีมาจากธรรมชาติและนำ้ สมนุ ไพรบางอยา่ งกม็ ีส่วนชว่ ยเรื่องอาการปวดเมอ่ื ยตามร่างกาย และยังสามารถนำไปรกั ษาอาการเบ้ืองตน้ ได้อีกด้วยน้ำสมนุ ไพรบางตัวกช็ ่วยกระหายน้ำไดจ้ ึงเปน็ ท่ีนยิ มกบั คนกล่มุ แม่บา้ นพอ่ บ้านครอบครวั ประชาชนในพื้นทสี่ ่วนใหญม่ ีอาชพี เกษตรกรรมและว่างงานหลังจากการทำนา หรอื ทำสวน รวมถึงที่ยังตกงาน และเลี้ยงดูบุตรอยูท่ ี่บ้าน จึงได้คิดรวมตัวกัน ขึ้นเพื่อร่วมกนั ทำน้ำสมุนไพรสำหรับเป็นรายได้ เสรมิ อนื่ ทีน่ อกเหนือจากการทำการเกษตรมาสนับสนุนครอบครวั เปน็ ระบบกระบวนการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ประยุกต์พัฒนางาน ตลอดจนนำภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ ผเู้ กี่ยวขอ้ ง มีสว่ นรว่ มจดั เนื้อหา ประสบการณ์ให้ เกิดผลกับผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข รู้แนวทางการประกอบอาชีพคู่กับการอนุรักษ์ความเป็นไทยและ สิ่งแวดล้อมจึงได้ตกลงกันว่าจะทำน้ำสมุนไพรซึ่งในปัจจุบันเป็นที่นิยมกันมากของตลาดทั้งในตำบล อำเภอ และ จังหวัด ทั้งยังมีแนวโน้มความต้องการเพิม่ สูงขึ้นเรื่อยๆ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความต้องการสงู จึงทำใหจ้ ำหน่ายได้งา่ ย และขายไดร้ าคาสูง ซ่ึงจะเป็นอีกทางเลอื กหนง่ึ ท่ีจะชว่ ยให้แม่บ้านมีรายได้เสรมิ เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพชีวิตและความ เป็นอยทู่ ี่ดขี นึ้ รวมถงึ เพือ่ เป็นการสนบั สนนุ การรวมกลุม่ กอ่ ให้เกดิ รายได้ในชมุ ชน ชมุ ชนเกิดความเข้มแขง็ ต่อไป หลักการของหลกั สูตร 1. เปน็ หลกั สูตรทเี่ นน้ การจัดการศกึ ษาอาชพี เพอื่ การมีงานทำ ทเ่ี น้นการบรู ณาการเน้อื หาสาระ ภาคทฤษฎีควบคูไ่ ปกับการฝกึ ปฏิบัติจรงิ ผู้เรียนสามารถนำความรูแ้ ละทักษะไปประกอบอาชพี ได้จรงิ อย่างมี คณุ ภาพและมคี ุณธรรมจรยิ ธรรม 2. เปน็ หลักสตู รท่ีเน้นการดำเนินงานร่วมกบั เครอื ขา่ ย สถานประกอบการ เพือ่ ประโยชน์ในการประกอบ อาชพี และการศกึ ษาดูงาน จดุ มุ่งหมาย เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นมคี ณุ ลกั ษณะดงั นี้ 1. มคี วามรแู้ ละทกั ษะในการประกอบอาชพี สามารถสร้างรายได้ทมี่ ั่นคง มั่งคั่ง 2. มเี จตคตทิ ดี่ ีในการประกอบอาชพี 3. มคี วามรคู้ วามเข้าใจและฝึกทักษะการบรหิ ารจดั การในอาชพี ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ

กลมุ่ เป้าหมาย มี 2 กลุ่มเป้าหมาย คอื 1. ผู้ท่ีไม่มีอาชพี 2. ผทู้ ี่มีอาชพี และตอ้ งการพฒั นาอาชีพ กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย คือ ประชาชนกล่มุ เป้าหมายนอกระบบโรงเรียนและประชาชนทั่วไป ๑. ผทู้ ี่มอี าชพี ประมง และเกษตรกร ๒. ผทู้ ม่ี ีอาชีพ และต้องการพัฒนาอาชพี หรอื เปล่ียนอาชีพ ระยะเวลา จำนวน 6 ช่ัวโมง - ทฤษฎี 2 ชวั่ โมง - ปฏบิ ตั ิ 4 ชัว่ โมง โครงสร้างหลักสูตร ท่ี เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้อื หา การจัดกระบวนการเรยี นรู้ จำนวนชัว่ โมง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ๑ ช่อง ๑.๑ อธิบายความสำคญั ๑.๑ ความสำคัญในการ ๑.๑ ศกึ ษาข้อมลู จากเอกสาร ส่ือ ทางการ 2 ประกอบ ในการประกอบอาชพี ประกอบอาชีพ ต่างๆ สถานประกอบการ สอ่ื ของ ชวั่ โมง อาชพี วิชาการทำน้ำสมนุ ไพร ๑.๒ ความเปน็ ไปได้ในการ จรงิ ภูมิปญั ญาในชุมชน เพ่อื นำ (นำ้ กระชายและน้ำ ประกอบอาชีพวชิ าการทำ ข้อมูลมาใชใ้ นการประกอบอาชีพ มะมว่ งหาวมะนาวโห่ได้ น้ำสมนุ ไพร(นำ้ กระชาย ที่มคี วามเป็นไปไดใ้ นชุมชน ๑.๒ อธิบายความเป็นไป และน้ำมะมว่ งหาว ๑.๒ วิทยากรและผูเ้ รียนรว่ มกัน ได้ในการประกอบอาชีพ มะนาวโห่)ได้ วเิ คราะหว์ ธิ ีการในการประกอบ วชิ าการทำนำ้ สมุนไพร ๑.๒.๑ การวางแผนและการ อาชพี หัตถกรรม (น้ำกระชายและน้ำ บรหิ ารจดั การ ทีเ่ หมาะสมและนำไปใช้ในการ มะม่วงหาวมะนาวโห่ได้ ๑.๒.๒ การหาแหล่งเงินทนุ ประกอบอาชพี ตามความพรอ้ ม ๑.๒.๓ ความต้องการของ และศกั ยภาพของผู้เรียน ตลาด ๑.๒.๔ การจัดหาวัสดุ อุปกรณ/์ วัตถดุ ิบ

ท่ี เรือ่ ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้ือหา การจัดกระบวนการเรยี นรู้ จำนวนช่ัวโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ ๒ ทักษะ ๒.๑ ผ้เู รียนสามารถบอก ๒.๑ วสั ดอุ ปุ กรณ์ที่ใช้ใน ๒.๑ วิทยากรใหค้ วามร้เู ก่ยี วกับ อาชีพ วสั ดอุ ุปกรณท์ ่ีใช้ทำ วิชาการทำน้ำสมุนไพร วสั ดอุ ปุ กรณท์ ี่ใช้ใน 4 วิชาการทำนำ้ สมนุ ไพร (น้ำกระชายและนำ้ ๒.๒ วิทยากรบรรยายและสาธติ ชั่วโมง (น้ำกระชายและน้ำ มะม่วงหาวมะนาวโห่ ๒.๓ ผู้เรยี นฝึกปฏบิ ัติ มะม่วงหาวมะนาวโห่)ได้ ๒.๒ ข้นั ตอนและวธิ ี ๒.๒ ผู้เรียนสามารถบอก วิชาการทำน้ำสมนุ ไพร วิธกี ารทำการทำน้ำ (น้ำกระชายและน้ำ สมนุ ไพร(น้ำกระชายและ มะม่วงหาวมะนาวโห่) นำ้ มะมว่ งหาวมะนาวโห)่ ได้ ๒.๓ ผู้เรียนสามารถทำ วชิ าการทำนำ้ สมุนไพร การทำน้ำสมนุ ไพร(นำ้ กระชายและนำ้ มะม่วง หาวมะนาวโห)่ ได้ ส่อื การเรยี นรู้ ๑. ใบความรู้ ๒. วิทยากร/ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ การวดั และประเมนิ ผล ๑. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในเนอื้ หาสาระ ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 8๐ ๒. มที กั ษะการปฏิบตั ิ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 ๓. คณุ ภาพของผลงาน/ผลการปฏิบตั ิ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80











ภาพกจิ กรรม หลกั สูตร การทำนำ้ สมนุ ไพร (น้ำกระชายและนำ้ มะมว่ งหาวมะนาวโห)่ จำนวน 6 ช่ัวโมง ณ กศน.ตำบลท่าช้างหมู่ที่ 5 ตำบลทา่ ช้างอำเภอวเิ ศษชัยชาญ จังหวดั อ่างทอง วันที่ 27 - 28 เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. 256๔ วิทยากรช่อื นางสนุ ยี ์ โชตกิ านนท์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook