ภมู ภิ าคทางภูมศิ าสตรข์ องทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี หมเู่ กาะ แผน่ ดินใหญ่ทวีปออสเตรเลีย ปาเลา ไมโครนเี ซยี มาร์แชลล์ เครือรฐั ออสเตรเลีย ปาปัวนวิ กินี คิรบิ าตี หมเู่ กาะโอเชเนยี หมเู่ กาะเมลานเี ซีย ออสเตรเลีย วานูอาตู หมูเ่ กาะโปลนิ เี ซยี ฟจี ี หมูเ่ กาะไมโครนีเซีย ตองกา หมู่เกาะอื่นๆ นวิ ซแี ลนด์
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศในทวีปออสเตรเลยี 1.ท่ีราบสงู และทะเลทรายทิศตะวันตก • เป็นพื้นทส่ี ูงเป็นสว่ นใหญ่ • โดยพน้ื ทีร่ าบสูงน้ี มรี ะดับสงู มากทางด้านตะวนั ตก ลาดเทไป ดา้ นตะวันออก • ตอนกลางด้านทศิ ตะวันตกมีทะเลทรายขนาดใหญ่ 2.พื้นที่ตอนกลาง • ทรี่ าบตอนกลางของประเทศ (The Central Plain) • เป็นพื้นทซี่ ึ่งขนาบขา้ งด้วยที่ราบสูงด้านตะวนั ตก และท่รี าบสูงดา้ นตะวันออก • มลี กั ษณะเป็นทร่ี าบท่ีเกอื บจะตอ่ เนือ่ งกันประมาณ 1 ใน 4 ของประเทศ
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศในทวปี ออสเตรเลยี 3.เทอื กเขาด้านทศิ ตะวนั ออก • เปน็ เขตท่มี เี ทือกเขาสูง โดยวางตวั จากทศิ เหนือไปยังทิศใต้ ขนานกับชายฝง่ั ตะวนั ออก เชน่ เทือกเขาเกรตดิไวดงิ (Great Dividing) “เกรตแบริเออร์รีฟ” (Great Barrier Reef) • แนวปะการงั ขนาดใหญท่ ส่ี ุดในโลก ทย่ี าวกวา่ 2,000 กโิ ลเมตร • อยทู่ างทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศออสเตรเลยี • ปัจจบุ นั กาลังเผชญิ ภาวะปะการงั ฟอกขาวครัง้ รนุ แรง
ลกั ษณะภมู อิ ากาศและพืชพรรณธรรมชาติ หม่เู กาะโซโลมอน เขตภูมอิ ากาศแถบศูนย์สตู ร • ตอนเหนอื ของปาปัวนิวกินีและหมเู่ กาะไมโครนีเซีย ปาปวั นิวกนี ี • อุณหภูมสิ ูงตลอดปี มฝี นตกชกุ • ปา่ ดบิ ช้ืนหรอื ปา่ ฝน ไมส้ งู ชะลดู ไม้ชั้นกลาง วานอู าตู และช้นั ลา่ ง ทะเลทรายเกรตแซนดี ฟีจี เขตภมู อิ ากาศแบบสะวันนา ทะเลทรายกิบสนั ออสเตรเลีย นวิ แคลิโดเนยี • ตอนเหนอื ออสเตรเลีย ตอนใตข้ องปาปวั นิวกินี ทะเลทรายเกรตวิกตอเรยี หมเู่ กาะเมลานีเซีย และหม่เู กาะโปลินีเซีย • มอี ณุ หภูมสิ ูงเกอื บตลอดปี มฝี นตก และอากาศแหง้ นิวซีแลนด์ • ป่าโปร่ง และทุ่งหญา้ สลบั ไม้ใหญ่ เขตภูมอิ ากาศแบบกง่ึ ชน้ื เขตรอ้ น • รัฐควีนสแ์ ลนดแ์ ละนิวเซาทเ์ วลส์ แถบทิวเขาบลู และทิวเขานิวองิ แลนด์ • มีอากาศชน้ื และอุ่นในฤดรู ้อน • ปา่ ผสมระหว่างเขตรอ้ นกบั เขตอบอนุ่
ลกั ษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติ หม่เู กาะโซโลมอน เขตภูมิอากาศแบบช้นื ภาคพน้ื สมุทรชายฝง่ั ตะวนั ออก • เกาะเหนือและเกาะใตข้ องนิวซแี ลนด์ และตอนใต้ ปาปวั นวิ กีนี ของรฐั วกิ ตอเรียกับรฐั แทสเมเนยี วานอู าตู • มีลมประจาตะวันตกพดั เขา้ ชายฝงั่ ตลอดปี • ป่าไมเ้ ขตอบอุ่น เชน่ ไม้สนชนิดตา่ งๆ และเฟิร์น ทะเลทรายเกรตแซนดี ฟีจี เขตภมู อิ ากาศแบบเมดิเตอร์เรเนยี น ทะเลทรายกิบสัน ออสเตรเลีย นวิ แคลิโดเนีย • ภาคใตข้ องทวีปออสเตรเลีย • ฤดรู ้อนอากาศรอ้ นและแหง้ แลง้ ทะเลทรายเกรตวิกตอเรยี • ตน้ ไม้ท่ีมใี บเลก็ และมันเพ่ือกันการระเหย นวิ ซแี ลนด์
ลกั ษณะภมู ิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติ หมเู่ กาะโซโลมอน เขตภมู อิ ากาศแบบทะเลทราย • ตอนกลางเข้าไปในแผน่ ดนิ ใหญ่ทวีปออสเตรเลยี ปาปัวนิวกีนี คอ่ นไปทางตะวนั ตก วานอู าตู • มีอณุ หภูมสิ งู และปรมิ าณฝนตา่ • ท่งุ หญ้า ไมแ้ คระ ไมห้ นาม เชน่ กระบองเพชร ทะเลทรายเกรตแซนดี ฟีจี เขตภมู ิอากาศแบบทีส่ งู ทะเลทรายกิบสัน ออสเตรเลีย นิวแคลโิ ดเนยี • ตอนกลางของปาปัวนิวกนิ ี มียอดเขาเมานตว์ กิ ตอเรยี ทะเลทรายเกรตวกิ ตอเรยี สงู 4,073 เมตร • มอี ากาศหนาวเย็นและมีหมิ ะปกคลมุ ตลอดปี • พชื พรรณเปลย่ี นแปลงไปตามระดบั ความสงู ของพ้นื ท่ี นวิ ซีแลนด์
ลกั ษณะทางทรัพยากรธรรมชาติ หมู่เกาะโซโลมอน ทรพั ยากรดิน ปาปวั นิวกีนี แอลฟิซอลส์ วานอู าตู • แถบทรี่ าบแมน่ ้าวกิ ตอเรียและแมน่ ้าดาลี • ใช้ในการเพาะปลูกพชื สวนและปศุสตั ว์ นวิ แคลโิ ดเนีย ฟจี ี เอนทซิ อลส์ ออสเตรเลยี • ตอนเหนอื ของรัฐเวสเทริ ์นและเซาทอ์ อสเตรเลีย • เปน็ พ้ืนทเ่ี ลย้ี งสัตว์และป่าทะเลทราย นวิ ซแี ลนด์ อนิ เซปทซิ อลส์ • ตอนบนและตอนล่างของปาปัวนิวกนิ ี • เปน็ พน้ื ท่ปี า่ ไม้และพชื สวน อัลทิซอลส์ • คาบสมุทรเคปยอร์ก คาบสมุทรนอร์ทแลนด์ • เป็นพ้นื ทปี่ า่ ไม้และปศุสตั ว์
ลกั ษณะทางทรพั ยากรธรรมชาติ หมเู่ กาะโซโลมอน ทรพั ยากรดนิ ปาปวั นวิ กีนี เวอร์ทซิ อลล์ วานอู าตู • ตะวันตกของเทอื กเขาเกรตดไิ วดิง • เปน็ พ้นื ทีป่ ่าไม้ พืชสวน และปศุสตั ว์ นวิ แคลิโดเนยี ฟจี ี แอริดซิ อลส์ ออสเตรเลยี • ตอนกลางถงึ ทะเลด้านทศิ ตะวนั ตกของออสเตรเลีย • เปน็ พื้นท่ีเขตอนุรกั ษ์ ป่าธรรมชาติ นวิ ซแี ลนด์ สโลปคอมเพลก็ ซ์ • ภูเขาและพนื้ ทส่ี ูง • เป็นพน้ื ท่ีปา่ ธรรมชาติ
ลักษณะทางทรัพยากรธรรมชาติ ปาปวั นวิ กีนี หมู่เกาะโซโลมอน ทรพั ยากรน้า พอร์ตมอร์สบี โฮนอี ารา วานอู าตู ฟีจี พอร์ตวิลา ซูวา ออสเตรเลยี นวิ แคลิโดเนยี ทรัพยาการนา้ ใต้ดนิ แคนเบอรร์ ่า แอ่งน้าใต้ดินหลกั สงู มาก ชัน้ หินซับซ้อน ชั้นหนิ อุม้ นา้ ระดบั ตน้ื น้อยมาก โรงไฟฟ้าพลังนา้ เวลลิงตัน นิวซแี ลนด์
ลกั ษณะทางทรัพยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรป่าไมแ้ ละสตั ว์ปา่ สุนขั ป่าดิงโก นกอีมู เป็นสุนขั ป่าท่มี ีรูปร่างหน้าตา คลา้ ยสุนัขบา้ นมากที่สุด เปน็ สัตว์ประจาถิน่ ของประเทศออสเตรเลีย โคอาลา ป่าฝนเขตร้อน - ปา่ ดิบช้นื ไมผ่ ลดั ใบหรือป่าฝน เป็นสัตวเ์ ลยี้ งลูกดว้ ยนม ท่งุ หญ้าสะวันนา - ทุ่งหญา้ สลับไม้ใหญ่ และปา่ โปรง่ มีกระเป๋าหนา้ ท้อง ทุ่งหญ้าทะเลทราย - ทุ่งหญา้ ไมแ้ คระ และไมห้ นาม ปา่ เมดเิ ตอรเ์ รเนยี น - ไมเ้ ปลอื กหนา ใบเล็ก และมนั จิงโจ้ ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น - ท่งุ หญา้ สั้น หรือทุ่งหญ้าสเต็ปป์ ปา่ ผสมเขตอบอุ่น - ปา่ ไมผ้ ลัดใบและป่าสน เป็นสตั ว์ประจาถิน่ ของ ท่งุ หญ้าแบบทส่ี ูง – ทุ่งหญา้ บนภเู ขาสงู และไม้พุม่ ขนาดเลก็ ประเทศออสเตรเลีย แทสเมเนยี นเดวิล นกกวี ี เป็นสัตว์ประจาถนิ่ มถี ่นิ ฐานทางธรรมชาติอยู่ พบได้ท่ีเกาะแทสเมเนีย ในประเทศนวิ ซแี ลนด์
ลักษณะทางทรพั ยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรแรแ่ ละพลงั งาน แร่พลังงาน ยูเรเนียม ปิโตเลียม ถ่านหนิ แร่ เหล็ก แมงกานสี นกิ เกลิ อะลมู เิ นียม ทองแดง ตะกัว่ /สงั กะสี ดบี กุ ทองคา เพชรพลอย ฟอสฟอรัส เงนิ
ลกั ษณะประชากรและการตง้ั ถิ่นฐาน เครอื รัฐออสเตรเลยี • เมอื งเมลเบิร์น เมืองหลวงของรฐั ปาปัวนวิ กนี ี หมเู่ กาะโซโลมอน • เปน็ ศนู ยก์ ลางทางการเงนิ • มอี ตุ สาหกรรมรถยนต์ พอรต์ มอร์สบี โฮนอี ารา วานูลาตู อิเล็กทรอนกิ ส์ และสิง่ ทอ ออสเตรเลีย ฟจี ี พอร์ตวิลา ซูวา นิวซแี ลนด์ • กรงุ เวลลิงตนั ประเทศนวิ ซีแลนด์ แคนเบอร์รา • เปน็ ศูนยก์ ลางการเงิน การคา้ เวลลิงตัน และการคมนามคมขนส่งของ นิวซแี ลนด์ ประเทศ
ลักษณะประชากรและการต้ังถ่นิ ฐาน ปาปวั นวิ กนิ ี • กรงุ พอร์ตมอรส์ บี ประเทศปาปวั นิวกนิ ี ปาปวั นิวกีนี หมู่เกาะโซโลมอน • มีอ่าวจอดเรือกาบงั ลมอย่างดี • เปน็ ศูนย์กลางการค้าท่สี าคัญ พอร์ตมอร์สบี โฮนอี ารา วานูลาตู ออสเตรเลยี ฟจี ี พอร์ตวลิ า ซวู า หมเู่ กาะอ่นื ๆ • กรงุ ซวู า ประเทศฟีจี แคนเบอรร์ า • เป็นเมืองท่าทางทะเลที่สาคัญ เวลลิงตนั ในมหาสมุทรแปซฟิ ิกใต้ นิวซแี ลนด์
ลักษณะสงั คมและวฒั นธรรม เชอ้ื ชาติ กล่มุ ออสเตรลอยด์ กลมุ่ โปลิเนเซียน กลุ่มคอเคซอยด์ • ผมสีทองหรือสนี า้ ตาล • ผมสีดาและหยกิ • ผมสีดาหยิกเป็นลอน • ศรี ษะใหญ่ • นยั นต์ าสฟี า้ หรอื นา้ ตาล • ศีรษะกลม หรอื หยกั ศก • จมกู โด่งและปลายจมกู แคบ • ผิวขาวหรือน้าตาลออ่ น • นยั นต์ าสีดา • นัยนต์ าสเี ขม้ • ใบหนา้ รปู ไข่ • ริมฝีปากหนา • จมกู แบนและปลายจมกู กว้าง • จมูกแบน มสี นั จมกู • ผวิ สนี ้าตาลหรอื ดา • ผวิ คลา้
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม ภาษา ออสเตรเลีย แอบอริจนิ ี ปาปัว อินโด - ยูโรเปยี น มลาโย - โพลเี นเซีย ไม่ปรากฏการตง้ั ฐนิ่ ฐาน
ลกั ษณะสังคมและวฒั นธรรม 1. ครสิ ตศ์ าสนา นบั ถอื มากในออสเตรเลียและหม่เู กาะเมลานเี ซยี ศาสนา 2. พระพุทธศาสนาและศาสนาอสิ ลาม นับถือโดยผทู้ ่ีอพยพมา ฮินดู 1% ครสิ ต์ จากทวีปเอเชียและตะวันออกกลาง พทุ ธ 4% อสิ ลาม 5% 61% 3. ศาสนาพราหมณ์ – ฮนิ ดู มผี ้นู ับถอื ศาสนาจานวนนอ้ ย อืน่ ๆ 12% ไมน่ ับถือศาสนา 4. ความเชอื่ อืน่ ๆ นบั ถอื โดยชาวแอบอริจนิ ี ชนพ้ืนเมอื งของ 17% ออสเตรเลีย
ลักษณะเศรษฐกิจ เกษตรกรรม ออสเตรเลีย นิวซแี ลนด์ หมูเ่ กาะอนื่ ๆ พื้นท่สี ่วนใหญไ่ ม่เหมาะแกก่ ารเพาะปลกู นยิ มทาการเกษตรควบคูก่ ับการเลย้ี งสตั ว์ มภี ูมปิ ระเทศทเ่ี กิดจากปะการัง แตด่ ว้ ยเครื่องมอื ที่ทันสมยั ทาใหอ้ อสเตรเลีย เนื่องจากสภาพภูมิประเทศเปน็ ทรี่ าบขนาดใหญ่ ไมเ่ หมาะกับการเกษตร เป็นผผู้ ลติ และสง่ ออกสนิ ค้าเกษตรรายใหญ่ มกี ารทาประมงชายฝงั่ เพื่อบริโภคเปน็ หลกั ของโลก
ลักษณะเศรษฐกิจ อตุ สาหกรรม ออสเตรเลีย นวิ ซีแลนด์ หมเู่ กาะอืน่ ๆ เนอ่ื งจากมกี ารทาปศสุ ัตวแ์ ละมที รัพยากรแรต่ า่ งๆ มอี ตุ สาหกรรมท่เี กดิ จากผลผลติ ทางการเกษตร สว่ นมากเป็นอตุ สาหกรรมการทอ่ งเที่ยว จึงทาให้เกิดอตุ สาหกรรมเหล็กกล้า และอตุ สาหกรรมดา้ นพลังงาน เชน่ ไฟฟ้าพลงั น้า เน่อื งจากอุดมไปด้วยทรัพยากรทางธรรมชาติ อุตสาหกรรมขนแกะ พลงั งานลม พลังงานความร้อนใตด้ ิน และเกาะสวยงาม
ลกั ษณะเศรษฐกิจ แหลง่ ท่องเท่ียว แอรส์ รอ็ ก (หินแอรส์ ) หรอื โขดหินอุลูรู เกรตแบรร์ ิเออรร์ ีฟ (The Great Barrier Reef) เป็นการก่อตัวของหนิ ทรายขนาดใหญใ่ นอทุ ยานแห่งชาติ แนวปะการงั นอกชายฝง่ั ทมี่ ีขนาดใหญท่ ีส่ ดุ ในโลก โดยมีลกั ษณะเปน็ เขาโดดหนิ ทรายขนาดใหญท่ ่สี ุดในโลก ต้ังอยู่ในทะเลคอรัล บริเวณนอกชายฝ่ังของรฐั ควีนส์ และมลี กั ษณะพเิ ศษคือสามารถเปล่ียนสีไปตามการสะท้อนของแสงอาทติ ย์ โดยถอื วา่ เป็นแหล่งท่องเท่ยี วยอดฮติ ของนักดาน้า ปัจจุบนั เป็นสญั ลกั ษณส์ าคัญของออสเตรเลยี และเปน็ สถานทที่ ่องเท่ียวทีน่ ่าสนใจ เพราะมีสัตวท์ ะเลและส่งิ มชี ีวติ หายาก ทงั้ ปะการังชนดิ อ่อน และชนิดแขง็
เมอื งใตเ้ หมอื งโอปอล์
4หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง • ภยั พิบตั ขิ องทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชยี เนยี • แนวทางการจดั การภัยพบิ ตั ิและการจัดการทรัพยากรและสงิ่ แวดลอ้ มในทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี อยา่ งย่ังยนื
ความรทู้ ว่ั ไปเกยี่ วกบั ภยั พิบตั ิ แผนทแ่ี สดงพ้นื ทเี่ สีย่ งภยั พบิ ัติทางธรรมชาติของทวปี เอเชยี ภยั พิบตั ิเป็นภยั ท่ีเกดิ ขน้ึ ตามธรรมชาตหิ รือการกระทาของมนุษย์ ส่งผลต่อชีวิต ทรพั ยส์ ิน เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอ้ มอย่างกว้างขวาง ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติแบ่งตามลกั ษณะการเกดิ ได้ 2 ประเภท 1 ภยั ดา้ นสภาพภูมิอากาศ วาตภยั อทุ กภยั ภัยแล้ง ไฟป่า 2 ภัยธรณพี บิ ตั ภิ ัย แผ่นดนิ ไหว ภูเขาไฟปะทุ สึนามิ แผน่ ดนิ ถลม่ พ้ืนทเ่ี สีย่ งแผ่นดินไหว พายโุ ซนรอ้ นและพายไุ ซโคลน คาอธิบายสัญลกั ษณ์ แผ่นดนิ ไหวท่รี ุนแรงมากที่สดุ ความเร็วลมมากกวา่ 210 กม./ชม. ภูเขาไฟท่อี นั ตราย แผ่นดินไหวทร่ี ุนแรงมาก ความเร็วลม 178 – 209 กม./ชม. เส้นทางของพายุ แผ่นดนิ ไหวท่รี ุนแรงน้อย ความเร็วลม 154 – 177 กม./ชม. พน้ื ที่เสย่ี งสึนามิ แผ่นดนิ ไหวท่ไี มร่ นุ แรง ความเรว็ ลม 118 – 153 กม./ชม.
ภยั ดา้ นสภาพภมู อิ ากาศ 2 อทุ กภัย 1 วาตภยั 3 ภยั แลง้ 4 ไฟป่า
วาตภัย เกดิ จากพายหุ มนุ เขตรอ้ น เป็นพายหุ มุนทเี่ กดิ เหนอื ทะเลหรอื มหาสมทุ รในเขตร้อน เกิดจากน้าทะเลมีอุณหภูมสิ งู มีความกดอากาศตา่ ในบรเิ วณ ใกลล้ ะตจิ ูดท่ี 5 – 25 องศาเหนือและใตใ้ นเขตร้อน เมฆจะก่อตัวและหมุนเขา้ สู่แผ่นดิน เกิดเปน็ พายฝุ นฟา้ คะนองรว่ มกบั กระแสลมแรง นา้ ระเหยขึ้นเป็นไอ เมฆกอ่ ตวั เปน็ แนวด่งิ การหมนุ รอบตัวเองของโลก แลว้ ควบแนน่ เป็นเมฆ จ้านวนมากแล้วรวมตวั เป็นพายุ ทา้ ใหพ้ ายุหมุนตวั เป็นรปู กงั หนั 12 3 ระดบั ความรนุ แรงของพายุหมุนเขตร้อน พายโุ ซนรอ้ น พายดุ เี ปรสชนั 62 - 117 กม./ชม. 61 กม./ชม. พายุไตฝ้ ่นุ 118 กม./ชม. ข้นึ ไป
แนวทางในการปฏบิ ัตติ นและการปอ้ งกันภยั 3 12 ขณะเกดิ พายคุ วรอยู่ในทพ่ี กั ไมอ่ อกไปท่โี ลง่ ปิดช่องทางลมท่จี ะเข้าไปทาให้เกิดความเสยี หาย ติดตามขา่ วสารจากหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง 4 5 ตัดกิง่ ไมท้ อ่ี าจเป็นอนั ตราย ดแู ลโครงสรา้ งบ้านเรือนใหแ้ ขง็ แรง
อทุ กภัย ฝนตกหนกั ตอ่ เนอ่ื งเป็นเวลานาน จนไม่ สามารถระบายน้าออกจากพ้ืนที่ได้ทนั สาเหตุ การระบายน้าไม่ดีหรือมีส่ิงกีดขวางทางน้า การละลายของหมิ ะสง่ ผลให้น้า เช่น การสร้างบ้านเรอื นขวางน้า ถนนไมม่ ี ทะเลสูงขนึ้ และเกิดนา้ ทะเลหนนุ ท่อระบายน้า การตัดไมท้ า้ ลายป่า ท้าใหไ้ ม่มี ต้นไมช้ ่วยดูดซบั นา้ ฝนไว้ ลกั ษณะภมู ิประเทศท่เี สยี่ งต่อการเกิดอุทกภัย บริเวณท่รี าบและเนินเขา พนื้ ทรี่ าบลุ่มริมแม่น้าและชายฝั่ง บรเิ วณปากแมน่ า้ เม่ือฝนตกหนักน้าจะไหลบ่า เกิดจากน้าลน้ ตล่งิ เมื่อเกิดน้าท่วม เกิดจากน้าทไ่ี หลมาจากที่สงู กว่า หรือ จากภเู ขาอยา่ งรวดเร็ว จะครอบคลมุ พืน้ ที่บริเวณกว้างและ อาจมนี ้าทะเลหนุน ประกอบกับดนิ ทรุด น้าทว่ มเป็นเวลานาน จึงทา้ ให้เกดิ มีนา้ ท่วมขังในทลี่ ุ่ม
การแก้ปัญหาน้าท่วมของกรุงโตเกยี ว ประเทศญ่ีป่นุ กรุงโตเกียวเคยประสบปัญหานา้ ทว่ มครัง้ ใหญ่สรา้ งความเสยี หายและมผี ู้เสยี ชวี ิต จานวนมาก จึงมีโครงการอโุ มงคย์ ักษ์ G – Cans เพ่ือแก้ปญั หาน้าท่วมอย่างยง่ั ยนื ระบบระบายนา้ เชื่อมโยงกรงุ โตเกยี วกับเมืองคาสุคาเบะ ทีอ่ ยใู่ กลเ้ คียง โดยมีถงั เก็บนา้ ขนาดยกั ษ์ เชื่อมต่อกับอุโมงคท์ ีอ่ ยู่ลึกลงไปใตด้ ิน มเี สาคอนกรีตขนาดยกั ษ์เช่ือมต่อกบั เคร่ืองระบายนา้ สามารถระบายน้า 200 ตัน/วนิ าที ลงสแู่ มน่ า้ เอโดะ เพอื่ ปอ้ งกนั น้าท่วม กรุงโตเกียว โครงการอุโมงค์ยกั ษ์ G – Cans เรม่ิ กอ่ สร้างใน พ.ศ. 2535 เพอ่ื แกไ้ ขปัญหาน้าท่วมในกรงุ โตเกียว
ภยั แล้ง เกดิ ในช่วงเวลาทอี่ ากาศแหง้ ผิดปกติ ทาใหป้ ริมาณฝนนอ้ ยหรอื ฝนไมต่ กตอ้ งตามฤดูกาลเปน็ ระยะเวลานานกวา่ ปกติ ส่งผลใหข้ าดแคลนนา้ สาเหตจุ ากธรรมชาติ สาเหตจุ ากมนษุ ย์ 1. การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เช่น เอลนโี ญ ภาวะโลกร้อน 1. การทา้ ลายช้ันโอโซน สง่ ผลให้เกดิ ปรากฏการณ์เรือนกระจก 2. การเปล่ียนแปลงของระดบั น้าทะเล 2. จา้ นวนประชากรเพ่มิ ขน้ึ ทา้ ให้ใช้น้ามากขึ้น 3. ภยั ธรรมชาติ เช่น วาตภัย ไฟปา่ 3. การทา้ ลายป่าตน้ น้า ทา้ ให้ไม่มตี น้ ไม้คอยดดู ซบั น้า 4. ลกั ษณะดินทีไ่ ม่สามารถอ้มุ น้าไวไ้ ด้ 4. การบรหิ ารจัดการน้าไม่มปี ระสิทธภิ าพ 5. แหลง่ กักเกบ็ นา้ มนี อ้ ย เอลนีโญ แหล่งกักเกบ็ นา้ มนี อ้ ย ทาลายป่าตน้ นา้ ดินไมอ่ ุม้ น้า
แนวทางในการปฏิบัติตนและการป้องกันภัย 3 12 วางแผนการใชน้ ้าและใชอ้ ย่างประหยัด ไมต่ ัดไมท้ าลายปา่ สร้างแหล่งกกั เกบ็ นา้ เชน่ อา่ งเก็บนา้ เข่ือน 4 5 ติดตามขา่ วสารจากหน่วยงานท่เี กี่ยวข้อง ทาฝนเทียมเพื่อแกไ้ ขปัญหาขาดแคลนนา้ จดื
ไฟป่า เปน็ ภัยท่เี กดิ ในฤดูร้อนและฤดูแลง้ ท่ีมอี ณุ หภูมสิ งู อากาศแห้ง สภาพปา่ ท่แี ห้งแล้งทาให้ตดิ ไฟไดง้ ่ายและลุกลามเป็นบรเิ วณกว้าง สาเหตุจากธรรมชาติ สาเหตุจากมนุษย์ การเตรียมรบั มอื 1. ฟ้าผ่าในฤดแู ล้ง 1. การจดุ ไฟเก็บเห็ดและหาของป่า 2. ก่งิ ไมเ้ สียดสีกนั 2. การเผาไร่ 3. ภเู ขาไฟปะทุ 3. การขดั แยง้ ผลประโยชน์ 4. ปฏกิ ริ ิยาเคมใี นดินป่าพรุ จดั ตง้ั หน่วยงานเฝา้ ระวัง ทาแนวกนั ไฟรอบชมุ ชน ไฟป่าและเตรยี มอปุ กรณ์ ดบั ไฟสาหรับชุมชน
การนาเทคโนโลยีดาวเทยี มมาใช้ปอ้ งกนั ไฟปา่ ของประเทศไทย สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศและภมู ิสารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) หรอื GISTDA ไดใ้ ช้ดาวเทียมเพื่อติดตามจดุ ที่เกิดไฟป่าท่ัวประเทศ และได้พฒั นาระบบแผนทคี่ วามเส่ียง การเกดิ ไฟป่าอยา่ งต่อเนื่อง เพ่อื ให้หน่วยงานในพ้นื ทใ่ี ชป้ ระกอบการวางแผนการจดั การเช้อื ไฟ การจดั ทาแนวกันไฟ และการทาความเข้าใจกบั ประชาชนในพืน้ ท่ี นอกจากนี้ ยังใหบ้ ริการแผนทแ่ี บบออนไลน์และขอ้ มลู ความรู้เก่ยี วกับไฟป่าและหมอกควนั พื้นท่ไี ฟปา่ บริเวณภาคเหนือจากการวเิ คราะห์ภาพจากดาวเทยี ม
ธรณีพบิ ตั ิภยั 2 ภเู ขาไฟปะทุ 1 แผน่ ดนิ ไหว 3 สึนามิ 4 แผน่ ดนิ ถล่ม
แผน่ ดนิ ไหว เกดิ จากการเคลือ่ นตัวของโครงสร้างทางธรณวี ิทยา ทาใหเ้ กดิ การสั่นสะเทอื นจนก่อให้เกดิ ความเสียหายแก่ชีวิตและบา้ นเรอื น สาเหตุเกิดจากการเคลือ่ นตวั ของรอยเลือ่ นบรเิ วณเปลือกโลก การสน่ั สะเทอื นจากการปะทุของภูเขาไฟ การเกดิ แผน่ ดนิ ไหว 1 2 3 แผน่ ดินไหวมักเกิดจาก แผน่ ธรณเี คลอื่ นที่ แผน่ ธรณเี คล่อื นท่ี แผ่นธรณีเคล่ือนที่ การเคลือ่ นตัวของรอยเลื่อน แยกออกจากกัน เฉอื นกนั เขา้ หากัน ของเปลอื กโลก เทือกสนั เขาใต้สมทุ ร แนวรอยแตกของเปลือกโลก ภูเขาไฟ เปลอื กโลกทวปี แผน่ ดนิ ไหวระดบั ตนื้ สว่ นบนสดุ ของเนอ้ื โลก แผ่นดนิ ไหวระดบั ปานกลาง แผน่ ดินไหวระดบั ลึก
แนวทางในการปฏบิ ตั ิตนและการปอ้ งกันภยั 3 12 หากอยใู่ นอาคารใหร้ ีบมดุ ลงใตโ้ ต๊ะที่แขง็ แรง จดั เตรียมยารักษาโรคไวใ้ ห้พร้อม หากอยใู่ กลป้ ระตทู างออก ควรรบี ออกมาสทู่ ่ีโลง่ 4 5 ตดิ ตามข่าวสารจากหน่วยงานที่เกยี่ วข้อง ตรวจสอบอาคารบา้ นเรือนใหแ้ ข็งแรง
ภูเขาไฟปะทุ แกส๊ ตา่ ง ๆ ปากปล่องภเู ขาไฟ เกดิ จากการปะทขุ องหนิ หนืดหลอมเหลวและแกส๊ จากใต้เปลือกโลก ความรนุ แรงของการปะทจุ ะข้นึ อยู่กบั แรงดนั ที่ปะทุออกมา ลาวา สาเหตุ เกดิ จากหนิ หนืดท่ีอยใู่ ต้เปลือกโลกเกิดการเคล่อื นตัวทาให้มีแรงดนั โดยจะปะทุ และแทรกข้นึ มาตามรอยแยกหรอื ปะทุออกมาจากปล่องภูเขาไฟ แนวรอยต่อของ เปลือกโลกจะมโี อกาสเกดิ ภเู ขาไฟมากที่สุด หินหนืดแทรกตัว ลาวาหลาก กระเปาะหนิ หนืด ชัน้ หิน หนิ หนืด(แมกมา) ธรณภี าค
สญั ญาณเตือนภยั ก่อนภเู ขาไฟปะทุ 3 12 สุนขั หรอื สัตวเ์ ลอื้ ยคลาน ภูเขาไฟพน่ ควนั และ ภเู ขาไฟส่ันสะเทือนและส่งพลงั งาน บางชนิดจะต่นื ตกใจ มแี กส๊ มากขึ้น เสยี งออกมามากกวา่ ปกติ
สนึ ามิ เป็นคลนื่ ทะเลขนาดใหญ่ที่เคล่ือนตัวอย่างรวดเร็วและมพี ลังมาก เม่อื อยใู่ นทะเลคลนื่ จะสงู ไม่มาก แต่จะเคลื่อนทดี่ ้วยความเรว็ สงู เมอื่ เคล่ือนเข้าหาฝงั่ คลน่ื จะมีความสงู ไดถ้ ึง 30 เมตร จงึ มีพลังทาลายล้างอยา่ งมหาศาล การเกิดสึนามิ 2 3 1 ความสูงของคลน่ื ทจี่ ดุ เริม่ ต้น 1 – 5 เมตร เม่ือใกล้ฝัง่ ความยาวคลืน่ และความเรว็ ลดลง ความยาวคลน่ื 100 – 1,000 กโิ ลเมตร แตจ่ ะมีความสูงได้มากถงึ 30 เมตร เมือ่ เกิดแผน่ ดินไหวใต้ทะเล ทา้ ใหน้ ้าทะเล เคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเรว็ 700 – 800 เคล่ือนตัว เพื่อปรบั สมดุล กโิ ลเมตร/ชวั่ โมง ศนู ยก์ ลางแผน่ ดินไหว
สถานีรับสญั ญาณภาคพน้ื ดิน ระบบเตอื นภัยคลื่นสึนามิ ทาการประมวลผลแบบพยากรณ์ แลว้ ส่งไปยังศูนยเ์ ตือนภยั สนึ ามิ ท่นุ ลอยรับ - สง่ สญั ญาณจาก เครือ่ งตรวจวดั ความดนั น้าไป ศูนย์เตือนภยั สนึ ามิ ยังดาวเทียม 5,000 เมตร นาขอ้ มลู ทีไ่ ดส้ ง่ ผา่ นไปยัง ไมโครโฟนใต้น้า ท่นุ ลอยในรูปของสัญญาณเสยี ง ตวั ปล่อยสัญญาณเสยี ง เคร่ืองตรวจวดั ความดนั น้า สมอ ทา้ หน้าท่ีในการติดตาม การเปล่ียนแปลงระดบั น้า
แผน่ ดนิ ถลม่ เป็นการเคลื่อนทีข่ องดินหรือหนิ ตามบริเวณพ้นื ทล่ี าดชันที่เป็นภเู ขาหรือเนนิ เขา เน่ืองจากแรงดึงดดู โลก อาจเคลอ่ื นหลุดออกมาหรอื พังทลายลงมาก็ได้ สาเหตุ 1. ฝนตกหนักตดิ ต่อกันหลายวัน 2. สภาพภมู ปิ ระเทศทีเ่ ปน็ หบุ เขาและมคี วามลาดชันมาก 3. การตดั ถนนผ่านภเู ขา 4. การตดั ไม้ทาลายป่า 5. การกอ่ สร้างสาธารณปู โภคต่าง ๆ 6. การใช้ทด่ี นิ ไมเ่ หมาะสม เช่น การทาเหมือง การทาเกษตร ในพืน้ ท่ีลาดชัน
ภยั ธรรมชาติ
การใช้หญ้าแฝกแก้ไขปัญหาการชะล้างพงั ทลายของดิน หญ้าแฝกมีระบบรากที่แข็งแรงหย่ังลึกลงไปในแนวดิง่ เมอ่ื นามาปลกู เป็นแถวตามแนวระดับขวางความลาดเทของพืน้ ท่ี จะแตกหนอ่ เจรญิ เตบิ โตชดิ ติดกัน ชว่ ยกั้นขวาง ชะลอความเร็ว และลดความรนุ แรงจากการไหลบ่าของน้า และรากหญา้ แฝกยังชว่ ยยึดเกาะดิน ป้องกันการสญู เสยี ดินทเ่ี กดิ จากการกดั เซาะของน้าได้อีกดว้ ย
การจัดการภยั พิบัติ มกี ระบวนการดาเนนิ การ แบง่ ออกเป็น 3 ช่วง 1 การเตรยี มความพรอ้ ม ภยั พิบัติ การป้องกันและบรรเทา 2 การจัดการในภาวะฉุกเฉิน แผนผังวฏั จกั รการจดั การภัยพิบตั ิ 3 การฟืน้ ฟู บูรณะ
5หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ปญั หาทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ในทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนยี สาระการเรียนรแู้ กนกลาง • ประเดน็ ปัญหาจากปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมทางกายภาพกบั มนษุ ยท์ ีเ่ กิดขึน้ ในทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย • แนวทางการจดั การภัยพบิ ัติและการจัดการทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ้ มในทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลยี และโอเชียเนยี อยา่ งยัง่ ยืน
ปัญหาทรพั ยากรดิน เอเชีย ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนียต่างมีปัญหาทรัพยากรดิน บางพื้นท่ีทรัพยากรดินมีจากัด • เอเชยี เหนอื ดนิ มคี วามสมบูรณ์เป็นท่ีราบกว้างใหญ่ ใชด้ ินในการเพาะปลกู พืชอย่างต่อเนอ่ื ง และ และในหลายพ้ืนที่ ดินมีคุณภาพไม่เหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ใช้ที่ดินไม่เหมาะสมและไม่ย่ังยืน ทาให้ การชะล้างดนิ ทาใหด้ ินเสื่อมโทรมลง พ้ืนท่ีตอนบนมอี ากาศหนาวเย็นจดั ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ ดินสูญเสยี ความอดุ มสมบูรณ์และความหลากหลายทางชวี ภาพ • เอเชียตะวนั ออก เป็นพ้นื ที่ทาการเกษตรสาคญั มีปญั หาการชะล้างพังทลายของดิน เชน่ พื้นท่ีดนิ ตะกอนพัดพาโดยลมในจนี สภาพดนิ ถกู กัดเซาะและพังทลายโดยน้า ออสเตรเลียและโอเชยี เนีย ความแหง้ แล้งและการเสอ่ื มสภาพของหนา้ ดิน • ออสเตรเลีย พืน้ ที่สว่ นใหญเ่ ปน็ เขตแหง้ แล้งทรุ กนั ดาร ปัญหาดินท่พี บ เช่น การกัดกร่อนและการ พังทลายของดิน การกัดเซาะชายฝ่งั ดนิ เป็นกรด พบในพ้ืนท่รี ฐั นวิ เซาทเ์ วลส์ รฐั วิกตอเรีย และ รฐั แทสเมเนีย • หมู่เกาะโอเชยี เนยี ดินมีความอดุ มสมบูรณ์จากการผพุ ังของหนิ ภเู ขาไฟ แตม่ ีพ้นื ทีน่ ้อย ในขณะที่ นวิ ซีแลนด์ตอ้ งเผชญิ กบั ปัญหาการพงั ทลายของดนิ เน่ืองจากสภาพภูมปิ ระเทศท่ีเปน็ เนนิ เขา การ ทาฟาร์มและปศสุ ัตว์
ปญั หาทรพั ยากรน้า เอเชยี ทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี มปี ัญหาทรพั ยากรนา้ ที่แตกตา่ งกนั บางพื้นทม่ี นี า้ จดื ไม่ • เอเชยี ตะวันออก เอเชียกลาง และเอเชยี ตะวันตกเฉียงใต้ ในฤดแู ลง้ จะขาดนา้ ฝนเพอื่ การเกษตร เพยี งพอ บางพน้ื ที่มีปัญหาน้ามากเกินไปจนเกดิ ปัญหาน้าทว่ มและปญั หานา้ เสีย ปญั หาดงั กล่าวเกดิ จาก อตุ สาหกรรม และการอุปโภคบริโภค ทาให้ตอ้ งใชน้ า้ ผิวดินและนา้ ใตด้ นิ เพมิ่ มากข้นึ ความตอ้ งการใชน้ า้ ในกจิ กรรมตา่ ง ๆ เพม่ิ สูงขน้ึ การขาดแผนการใชน้ า้ ทร่ี ดั กุมและเหมาะสม รวมทงั้ แหล่งน้ามีสภาพเส่ือมโทรม เนา่ เสยี และขาดคุณภาพ • เอเชยี ใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มกั เกดิ ปญั หาอทุ กภัยจากพายุหมนุ เขตรอ้ น รวมท้ังการ จัดการนา้ ที่ไมม่ ีประสิทธิภาพ สภาพน้าเน่าเสยี จากการทิงขยะมูลฝอยลงแมน่ ้าล้าคลอง ออสเตรเลียและโอเชียเนีย อทุ กภัยเปน็ ปญั หาท่สี ่งผลกระทบตอ่ ประชาชนจ้านวนมาก • ออสเตรเลยี มปี ญั หาขาดแคลนน้าจดื เช่น ใน พ.ศ. 2545-2546 ประสบกบั ปญั หาแหง้ แล้งรนุ แรง จนมกี ารออกกฎให้ใช้น้าอยา่ งเครง่ ครดั ส่งผลใหน้ ักวจิ ัยได้พฒั นาระบบน้าจืดจากน้าทะเลท่เี ป็น มติ รต่อส่ิงแวดล้อม เพ่ือบรรเทาปญั หาน้าจืดขาดแคลน • หมเู่ กาะโอเชยี เนีย มปี รมิ าณฝนตกชุกแตไ่ ม่สามารถสรา้ งแหล่งกักเก็บนา้ ไว้ใช้ในช่วงขาดแคลน เชน่ ปรากฏการณล์ านญี าในประเทศตูวาลู ทาให้ฝนขาดชว่ งนานหลายเดอื น รฐั บาลออสเตรเลีย ต้องซอ่ มแซมโรงกรองนา้ ทะเล ใหส้ ามารถกรองนา้ ทะเลให้เปน็ น้าจดื ใชอ้ ุปโภคบรโิ ภคได้
ปญั หาทรัพยากรปา่ ไมแ้ ละสตั วป์ ่า เอเชยี ทรัพยากรป่าไมม้ ปี ระโยชนท์ ั้งทางตรงและทางอ้อมแกม่ นษุ ย์ ชว่ ยควบคุมใหอ้ ากาศอยใู่ นสภาพปกติ • เอเชียตะวนั ออกและเอเชยี ตะวันตกเฉยี งใต้ ในเขตพนื้ ทที่ ะเลทรายมปี ่าไมน้ อ้ ย ในบางพนื้ ท่มี ี รักษาตน้ นา้ ลาธาร พันธุ์ไม้ และสตั ว์ปา่ เปน็ ทพี่ ักผ่อนหยอ่ นใจ ปจั จบุ ันป่าไมใ้ นทวปี เอเชยี การปลกู ตน้ ไม้เขา้ ไปในเขตทะเลทราย ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนยี ลดลงอยา่ งรวดเรว็ โดยเฉพาะป่าเขตร้อนท่ถี กู นาไปใช้เพอ่ื การเกษตร ทงุ่ หญา้ เลี้ยงสตั ว์ หรือใชเ้ พอื่ กิจกรรมอน่ื ๆ ทาใหเ้ กดิ พน้ื ท่ปี ่าเส่อื มโทรม • เอเชียใตแ้ ละเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ พนื้ ทีป่ า่ ไม้ลดจานวนลงทุกปี จากการบุกรกุ เพอ่ื การเกษตร อตุ สาหกรรมปา่ ไม้ และจากไฟป่าในช่วงทม่ี อี ากาศแหง้ ทาให้เกดิ ปัญหาหมอกควนั ข้ามพรมแดน โดยเฉพาะการเผาปา่ เพื่อปลูกปาลม์ น้ามันในอนิ โดนเี ซยี การเผาพืช และปา่ ไม้ในเมยี นมา สภาพปา่ ไมถ้ ูกท้าลายเพอื่ ใช้ในกจิ กรรมต่างๆ ออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย ไฟปา่ เป็นสาเหตสุ ้าคญั ท่ีท้าให้พนื ที่ปา่ ไม้ลดลง • ออสเตรเลยี มีสภาพภูมิประเทศทแ่ี ห้งแล้ง เกิดไฟปา่ อยา่ งรนุ แรงเกอื บทกุ ปี ส่งผลกระทบโดยตรง ตอ่ พน้ื ท่ปี ่าที่ลดลง พืชพรรณไดร้ ับความเสยี หาย สัตว์ป่าไดร้ ับบาดเจ็บหรือล้มตาย ไม่มแี หลง่ อาศัยหรืออาหาร ทาใหส้ ญู เสียความหลากหลายและระบบนเิ วศ • หม่เู กาะโพลินเี ซีย หลายประเทศพนื้ ทีป่ า่ ไม้ลดลงมาก มกี ารทาลายปา่ เพอ่ื การเกษตร จงึ ทาให้ สตั ว์ปา่ หลายชนิดและพนั ธุพ์ ชื หายาก เช่น สน ปรง ถกู เผาจนเกือบสูญพนั ธุ์ สว่ นนวิ ซีแลนด์ ประสบกบั ปญั หาการตดั ไมท้ าลายปา่ เสี่ยงตอ่ การสูญพันธสุ์ ตั ว์ปา่ และพืชประจาถิ่นบางชนิด
ปญั หาทรพั ยากรแร่และพลังงาน เอเชยี แหลง่ แรแ่ ละพลังงานท่ีสาคัญของโลกอยใู่ นทวีปเอเชยี เชน่ ถ่านหนิ มีมากในรัสเซีย จนี และอินเดีย แกส๊ • เอเชียตะวนั ออก ทาเหมอื งถ่านหนิ และเหมืองโลหะ ทาให้สภาพภูมปิ ระเทศเปลีย่ นแปลงไป ธรรมชาติมีมากในรัสเซยี และตะวันออกกลาง นา้ มนั ดบิ มมี ากในอิหรา่ น ซาอดุ ีอาระเบยี อิรกั คเู วต และ เกดิ การชะล้างพังทลายของดนิ ตะกอน และสารโลหะหนักไหลลงส่ดู นิ และแหล่งนา้ สง่ ผลกระทบ ประเทศอน่ื ๆ ในตะวนั ออกกลาง การผลิตและการใชแ้ รแ่ ละพลงั งานทีเ่ พิม่ สงู ขน้ึ ได้สง่ ผลกระทบต่อ ต่อสุขภาพ ส่ิงแวดลอ้ มมากขึน้ • เอเชยี ใต้และเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ การทาเหมอื งแร่โลหะ เหมอื งถ่านหนิ สง่ ผลตอ่ พืน้ ที่ปา่ ไม้ และท่ีดินเกษตรกรรม ทาใหเ้ กิดมลพษิ จากสารโลหะหนกั ลงส่แู หลง่ นา้ ส่งผลกระทบตอ่ สุขภาพ ออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย • ออสเตรเลยี เกิดเหตุการณ์ไฟฟ้าดบั คร้ังใหญใ่ นช่วงปลาย พ.ศ. 2559 และจากนโยบายการ แก้ปญั หาดา้ นสภาพภมู อิ ากาศ รฐั วกิ ตอเรยี ประกาศจะปิดโรงงานไฟฟา้ ถ่านหนิ อาจก่อให้เกิด ความเสี่ยงต่อการมไี ฟฟ้าไม่พอใช้ในช่วงที่มคี วามต้องการสงู • หมูเ่ กาะโอเชียเนยี ประเทศหมูเ่ กาะขนาดเล็กจะมีทรพั ยากรแรป่ รมิ าณนอ้ ย ในขณะท่นี วิ ซแี ลนด์ มีทรัพยากรพลงั งานค่อนข้างอุดมสมบรู ณ์ แตก่ ใ็ หค้ วามสาคญั กบั การใชพ้ ลงั งานทดแทนสาหรบั ใช้ ผลิตไฟฟ้าภายในประเทศ การทา้ เหมืองแร่ทกุ ประเภททา้ ให้เกิดผลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ มและสขุ ภาพของประชาชน
ปัญหามลพษิ เอเชยี ปัญหามลพิษเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ • เอเชียตะวนั ออก ปัญหามลพิษเกิดข้ึนมากในเมืองใหญ่ จากการพัฒนาอตุ สาหกรรมอย่างตอ่ เน่อื ง แ ล ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ ส่ื อ ม โ ท ร ม แ ก่ ส่งผลใหเ้ อเชียตะวันออกเป็นแหลง่ กาเนดิ มลพษิ ทใ่ี หญท่ ี่สดุ แหง่ หนงึ่ ของโลก ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัจจัย ส้าคัญที่ส่งผลให้เกิดปัญหามลพิษในทวีป • เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ประสบกับปญั หาหมอกควันจากไฟป่า ซ่ึงเกิดจากการเผาปา่ เพอ่ื ใช้ เอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย พ้ืนทส่ี าหรับปลูกปาล์มนา้ มัน ได้แก่ การเพิ่มจ้านวนของประชากร การขยายตวั ทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้า ออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย ทางด้านเทคโนโลยี รวมทังการขาด ความรู้ความเข้าใจของประชาชน • ออสเตรเลีย กิจกรรมต่างๆ ของมนุษยส์ ่งผลกระทบตอ่ สภาพแวดลอ้ ม ปญั หาทส่ี าคัญ คือ มลพษิ ทางทะเล ซง่ึ เป็นผลมาจากการใชป้ ุย๋ และสารเคมี และการทิง้ ขยะอุตสาหกรรมลงทะเล ส่งผลให้ มลพษิ ท่ีเกดิ ขึนในสิ่งแวดลอ้ มแบง่ เปน็ ๓ ดา้ น ได้แก่ เกดิ ปญั หาปะการังฟอกขาว • โอเชียเนยี หมู่เกาะตา่ งๆ ในโอเชียเนยี ประสบกับปญั หาขยะพลาสติกพัดข้นึ สู่ชายหาดต่าง ๆ ปจั จุบันมีการประเมินวา่ มพี ลาสตกิ ราว 4 ล้านลา้ นชิ้น ไหลวนอย่บู นพนื้ ผิวมหาสมทุ รท่ัวโลก มลพษิ ทางอากาศ มลพษิ ทางนา้ มลพิษทางดนิ
สาเหตกุ ารเกดิ แพขยะใหญ่แปซฟิ กิ
หลกั การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม การส้ารวจเพ่มิ เติม การถนอมรกั ษา เปน็ การคน้ หาทรัพยากรที่ยังเหลืออยู่ เป็นการจัดการใหค้ งสภาพเดมิ หรอื คิดค้นกรรมวิธเี ทคโนโลยใี หมๆ่ ในการเพมิ่ การฟนื้ ฟู ปริมาณทรัพยากร เปน็ การทาให้ทรพั ยากรกลบั คนื สสู่ ภาพเดมิ การใช้สิ่งอ่นื ทดแทน หรือเกอื บคงเดิม เปน็ การนาวัสดุชนิดหนงึ่ มาใชแ้ ทนอกี ชนดิ หนึ่ง การน้ามาใชใ้ หม่ การเพ่ิมประสทิ ธิภาพการใชง้ าน เป็นการนาทรัพยากรบางชนิดนากลับมาใช้ใหมไ่ ด้ เปน็ การใช้ทรพั ยากรบางชนดิ ให้มีประโยชนม์ ากกว่าเดมิ
Search