Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือพนักงาน ภาษาไทย2022

คู่มือพนักงาน ภาษาไทย2022

Published by HR ER Sadao, 2022-11-16 03:13:21

Description: คู่มือพนักงาน ภาษาไทย2022

Search

Read the Text Version

คาํ นํา คูมือพนักงาน (Employee Handbook) ฉบับบน้ีไดจัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคท่ีจะใหพนักงาน ไดร บั ทราบและเขาใจนโยบายของบรษิ ัทไมวา จะเปนเร่ืองของขอบังคับเกี่ยวกับการทํางาน สิทธิประโยชนที่ พึ่งไดรับจากประกันสังคม การสวัสดิการตางๆ ใหกับพนักงาน จรรยาบรรณในการทํางาน ฯลฯ โดยได กลา วไวโ ดยสรปุ ทงั้ น้ีเพอ่ื ใหพนกั งานสามารถทจ่ี ะนาํ เนือ้ หาสาระตางๆ จากคมู อื พนกั งานไปใชค วบคูกบั การ ปฎิบัติงานเปนมาตรฐานในการประพฤติปฎิบัติตนใหเหมาะสมถูกตอง อันสงผลใหทุกคนสามารถปฎิบัติ หนาทีก่ ารงานท้ังของตนและการปฎบิ ตั งิ านรวมกบั ผอู นื่ ไดอ ยา งเตม็ ที่เกิดประสทิ ธภิ าพสูงสดุ หลังจากทานไดอานคูมือฉบับน้ีแลวบริษัทหวังเปนอยางยิ่งวาพนักงานทุกคนจะไดรับประโยชน จากคูมือพนกี งาน เพอื่ การปฎบิ ตั หิ นา ทกี่ ารงานใหเ ขา กบั วิสยั ทัศนข ององคกรที่วา “ The Best And The Most Respectable Rubber Organization “ ซึ่งหมายถึง เราจะเปนองคกรยางพาราที่ดีที่สุดในโลก และขอใหทกุ ทานประสบความสาํ เร็จในการบรหิ ารและบังคบั บญั ชาทรพั ยากรมนุษยตอ ไป ขอใหทกุ ทานประสบความสําเรจ็ สายงานทรัพยากรมนษุ ย บรษิ ทั ศรตี รงั โกลฟส (ประเทศไทย) จาํ กดั (มหาชน)

สารบญั เร่อื ง หนา คาํ ปรารภจากผูจดั การสายงานทรพั ยากรมนุษย 1 สาขา และบริษัทในเครอื บรษิ ัท ศรตี รังโกลฟส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2 จรรยาบรรณการประกอบธรุ กจิ องคก ร 3 จรรยาบรรณวาดวยความรับผิดชอบตอผูถือหนุ 3 จรรยาบรรณวาดวยความสัมพนั ธก บั ลูกคา และประชาชน 3 จรรยาบรรณวาดวยความสัมพันธกับคคู า คแู ขง ทางการคา และเจา หนา หนที้ างการคา 4 จรรยาบรรณวา ดว ยความรบั ผิดชอบตอพนกั งาน 5 จรรยาบรรณวา ดว ยความรบั ผดิ ชอบตอสงั คมและสง่ิ แวดลอ ม 5 กฎหมายทเี่ กย่ี วขอ งกับการบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย 7 ภาษเี งินไดบ คุ คลธรรมดา 8 ขอบังคับเกยี่ วกับการทํางาน 14 นโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย 16 ประเภทพนักงาน 17 วัน เวลาทํางานปกติ และเวลาพัก 19 วันหยุด และหลักเกณฑการหยดุ 20 การบริหารคาจา ง เงนิ เดอื นและคาตอบแทน 22 คาทาํ งานลว งเวลา และคาทาํ งานในวนั หยุด 24 การลาและหลกั เกณฑก ารลา 25 สวสั ดิการ การรักษาพยาบาลและความปลอดภัย 29 วินยั และโทษทางวนิ ยั 30 การรอ งทกุ ข 35 การพน สภาพการเปน พนกั งาน 39 การจายคาชดเชย 41 การจดั สวสั ดิการใหก ับพนกั งานในบรษิ ัท 43 ดา นกองทุนประกนั ประกนั สงั คม 43 ดา นกองทุนเงินทดแทน 55 ดา นการเงิน 56 ดานสขุ อนามยั 57 ดา นท่ีพักอาศัย 57 ดา นการศึกษา อบรม สมั มนา ดงู าน 58 ดา นกิจกรรม นนั ทนาการ 58 Traffic Signs 59 Core value 63

คาํ ปรารภ ผูจัดการสายงานทรพั ยากรมนุษย เปนที่ทราบกันดีวาทุกองคกรตางใหการยอมรับและเช่ือม่ันใน “ทรัพยากรมนุษย ” ซึ่งเปน ทรพั ยากรอนั มีคา สูงสดุ ในการพฒั นาองคกรใหป ระสบความสําเรจ็ เจรญิ กา วหนา เตบิ โตอยางม่ันคง บริษัท ฯ จึงไดใหความสําคัญตอทรัพยากรมนุษยเปนอยางยิ่งในการสงเสริมและพัฒนาพนักงานใหมีความรู ความสามารถ ส่ิงสําคัญอีกส่ิงหนึ่งท่ีพนักงานทุกคนในบริษัทจะตองทราบและยึดถือเปนแนวทางในการ ปฎบิ ัตอิ ันเปนประโยชนต อ งานโดยเฉพาะในเร่ืองของการบังคับบัญชาการปฎิบัติตอกันของผูบังคับบัญชาท่ีมี ตอผูใตบังคับบัญชา จะตองปฎิบัติอยางไรจึงจะถูกตองและเปนธรรมโดยไมขัดตอระเบียบขอบังคับในการ ทาํ งานของบริษทั และกฎหมาย บรษิ ัทจึงไดจดั ทําคมู อื พนักงานฉบับน้ีข้นึ โดยมีวัตถปุ ระสงคท่ีจะใหพนักงาน ซง่ึ เปน ผูบงั คับบญั ชาทุกฝา ย ทุกแผนก ไดใชเปน คมู ือพนื้ ฐานในการปฎิบัติงานและยังประกอบดวยเน้ือหาใน เรื่องของประกันสังคม สวัสดิการตางๆ ท่ีกลาวถึงสิทธิประโยชนของพนักงานท่ีพึงไดรับ รวมทั้ง จรรยาบรรณในการปฎิบัตงิ านของพนกั งาน ดังนั้นจึงหวังวาพนักงานทุกคนจะยึดถือและใชคูมือพนักงานน้ีเปนแนวทางในการปฎิบัติใหเกิด คณุ ประโยชนแ ละถูกตอง เหมาะสมกับการปฎิบัตงิ านตอ ไป ( นายสมรัฐ เทพนวล) ผูจ ัดการสายงานทรพั ยากรมนษุ ย 1

สาขา และบรษิ ัทในเครือ บริษทั ศรตี รงั โกลฟส (ประเทศไทย) จาํ กดั (มหาชน) บรษิ ทั ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จํากดั (มหาชน) 110 ถ.กาญจนวนชิ ต.พะตง อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90230 STGT-HY Sri Trang Gloves (Thailand) Public Company Limited 110 Kanjanavanit Road, Tambon Phatong, Amphoe Hat Yai, SONGKHLA 90230, Thailand บริษัท ศรตี รงั โกลฟส (ประเทศไทย) จาํ กัด (มหาชน) สาขาสรุ าษฎรธานี 189 ม.7 ต.พลายวาส อ.กาญจนดษิ ฐ จ.สรุ าษฎรธ านี 84160 STGT-SR Sri Trang Gloves (Thailand) Public Company Limited (Surat thani Branch) 189 Moo 7, Tambon Phlai Wat, Amphoe Kanchanadit, SURAT THANI 84160, Thailand บรษิ ัท ศรตี รังโกลฟส (ประเทศไทย) จํากดั (มหาชน) สาขาตรัง 85 ม.6 ต.ควนธานี อ.กันตงั จ.ตรัง 92110\" STGT-TG Sri Trang Gloves (Thailand) Public Company Limited (Trang Branch) 85 Moo 6, Tambon Khuan Thani, Amphoe Kantang, TRANG 92110, Thailand บริษัท ศรีตรงั โกลฟส (ประเทศไทย) จํากดั (มหาชน) สาขาสะเดา พี.เอส. 207/1 ถนนปาดังเบซาร ตาํ บลสะเดา อาํ เภอสะเดา จังหวดั สงขลา 90120 STGT-PS Sri Trang Gloves (Thailand) Public Company Limited (Sadao P.S. Branch) 207/1, Padang Besa Road, Tambon Sadao, Amphoe Sadao, SONGKHLA 90120, Thailand บริษทั ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จาํ กดั (มหาชน) สาขาอนั วาร 88/8 หมู 3 ตาํ บลสาํ นกั ขาม อาํ เภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120 STGT-ANV Sri Trang Gloves (Thailand) Public Company Limited (ANVAR Branch) 88/8 Moo 3, Padang Besa Road, Tambon Samnak Kham, Amphoe Sadao, SONGKHLA 90120, Thailand บรษิ ทั ศรตี รงั โกลฟส (ประเทศไทย) จํากดั (มหาชน) สาขาชุมพร 88/8 ม.11 ต.เขาไชยราช อ.ปะทิว จ.ชุมพร 86210 STGT-CP Sri Trang Gloves (Thailand) Public Company Limited (Chumphon Branch) 88/8 Moo 11, Tambon Khao Chai Rat, Amphoe Pathio, CHUMPHON 86210, Thailand บริษทั พรเี มยี รซสิ เตม็ เอ็นจิเนียรงิ่ จํากดั 123 หมู 8 ถ.กาญจนวนชิ ต.บา นพรุ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90250 PSE Premier System Engineering Company Limited 123 Moo 8, Kanjanavanit Road, Tambon Ban Phru, Amphoe Hat Yai, SONGKHLA 90250, Thailand 2

จรรยาบรรณการประกอบธรุ กจิ องคก ร 1. จรรยาบรรณวาดว ยความรบั ผดิ ชอบตอ ผูถอื หนุ บริษัท ศรีตรงั โกลฟส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) STGT มุงม่นั ที่จะรับผดิ ชอบ และสรางความพึงพอใจสูงสดุ ใหก ับผูถ ือหนุ โดยคํานึงถึงการเจริญเติบโต ของ STGT อยางย่ังยืนและใหผลตอบแทนที่เหมาะสมอยางตอเนื่องรวมทั้งจะดําเนินการอยางโปรงใส มี ระบบบัญชีที่เช่ือถือได และเพ่ือใหเปนไปตามหลักการดังกลาว STGT จึงยึดถือแนวทางปฎิบัติอยาง เครง ครัด ดังนี้ 1.1 การเจริญเตบิ โตของ STGT อยางยั่งยนื • ปฎิบัตหิ นา ท่ีดวยความซ่ือสตั ยสจุ รติ และเปน ธรรมตอ ผูถอื หนุ ทกุ รายเพื่อประโยชนสูงสุดโดยรวม • บริหารจัดการ STGT โดยนําความรู และทักษะการบริหารมาประยุกตใชอยางเต็มกําลัง ความสามารถทุกกรณี รวมท้ังการตัดสินใจดําเนินการใดๆ จะกระทําดวยความระมัดระวังและ รอบครอบ • ไมด ําเนินการใดๆ ลกั ษณะทอี่ าจกอใหเ กดิ ความขัดแยง ทางผลประโยชนต อ STGT 1.2 การเจริญเตบิ โตของ STGT อยา งยง่ั ยืน • รายงานสถานภาพและแนวโนมในอนาคต STGT ตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน สมํ่าเสมอ และ ครบถวนตามความเปน จริง • ไมแสวงหาผลประโยชนใหกับตนเองและผูเกี่ยวของโดยใชขอมูลใดๆ ของ STGT ซ่ึงไมได เปด เผยตอสาธารณะ • ไมเปดเผยขอมลู ลับอนั จะนํามาซึ่งผลเสียของ STGT ตอบุคคลภายนอก 2. จรรยาบรรณวา ดว ยความสัมพันธก บั ลูกคา และประชาชน STGT มีความมุงมั่นในการสรางความพึงพอใจและความม่ันใจใหกับลูกคาและประชาชน ที่จะ ไดร ับผลิตภัณฑและบรกิ ารท่ดี ี มีคณุ ภาพ ในระดับราคาทเี่ หมาะสม รวมทงั้ รกั ษาสัมพันธภาพที่ดีและยั่งยืน จึงไดกาํ หนดแนวทางปฎบิ ตั ิไวดงั ตอไปนี้ 2.1 มุงม่ันในการสรางความพึงพอใจและความม่ันใจใหกับลูกคาใหไดรับผลิตภัณฑและบริการท่ีดีมี คุณภาพในระดับราคา ทีเ่ หมาะสมโดยยกระดับมาตรฐานใหส ูงขึ้นอยางตอเนอ่ื งและจรงิ จัง 2.2 เปด เผยขาวสารขอมูลเกี่ยวกับสินคาและบริการอยางครบถวน ถูกตอง ทันตอ เหตุการณ และ ไมบ ิดเบอื นขอเทจ็ จรงิ รวมทั้งรักษาสมั พันธภาพทดี่ ีและยัง่ ยนื 3

2.3 ใหก ารรับประกันสินคาและบริการภายใตเงือ่ นไขเวลาที่เหมาะสม 2.4 จดั ระบบเพ่ือใหล กู คา และประชาชนสามารถเรียกรอ งเกี่ยวกับสินคา และบรกิ ารและดาํ เนนิ การ อยางดี ที่สุดเพอ่ื ใหล กู คา และประชาชนไดร บั การตอบสนองอยา งรวดเรว็ 2.5 ไมคากําไรเกนิ ควรเมือ่ เปรยี บเทยี บกับคณุ ภาพสนิ คาหรือบรกิ ารในชนดิ หรือประเภทเดียวกนั และ ไมกาํ หนดเงื่อนไขการคา ทไ่ี มเ ปน ธรรมตอลูกคา 2.6 ปฎิบัติตามเงื่อนไขตางๆ ที่มีตอลูกคาและประชาชนอยางเครงครัด หากไมสามารถปฎิบัติได ตองรบี แจงใหล กู คา และประชาชนทราบลว งหนา เพอื่ รวมกันพจิ ารณาแนวทางแกไ ข 2.7 รกั ษาความลับของลกุ คา อยา งจริงจงั และสมํา่ เสมอ รวมถึงไมนําขอมลู มาใช 3. จรรยาบรรณวาดวยความสมั พนั ธกบั คูคา คูแขง ทางการคาและเจาหนาหนที้ างการคา STGT คํานงึ ถึงความเสมอภาค และความซือ่ สตั ยใ นการดาํ เนินธุรกิจและผลประโยชนรวมกันกับ คูคา โดยคคู าของ STGT พึงปฎิบตั ิตามกฎหมายและกติกาตางๆ อยา งเครง ครดั และมีจรรยาบรรณท่ีดีใน การดําเนินธุรกิจในสวนของธุรกิจที่เปนการแขงขัน STGT จะยึดถือกติกาของการแขงขันท่ีดี และ STGT จะยึดถอื แนวทางปฎิบตั ทิ ีด่ ี และเปนธรรมในการกูยืมเงินจากเจาหนี้และชําระคืน ดังนั้น เพื่อใหเปนไปตาม หลกั การดังกลาว STGT จงึ ไดกาํ หนดแนวทางปฎบิ ัติไวดงั ตอไปนี้ 3.1 ความสมั พันธกบั คคู า • ไมเ รียก ไมรับ หรอื จา ยผลประโยชนใ ดๆ ที่ไมสจุ ริตในการคา กับคูค า • ปฎบิ ตั ติ ามเงือ่ นไขตางๆ ท่ีมตี อคคู าอยางเครงครัด • กรณีท่ีไมสามารถปฎิบัติตามเงื่อนไขได จะรีบแจงใหคูคาทราบลวงหนาเพื่อรวมกันพิจารณาหา แนวทางแกไขปญ หา โดยใชห ลกั ของความสมเหตสุ มผล 3.2 ความสมั พันธกบั คูแ ขง ทางการคา • ประพฤติปฎิบตั ติ ามกรอบกติกาของการแขง ขันท่ีดี • ไมพยายามทาํ ลายเชือ่ เสียงของคูแ ขงทางการคาดว ยการกลาวหาใหรา ยโดยปราศจากความจรงิ 3.3 ความสมั พันธกับเจาหนท้ี างการคา • รกั ษาและปฎิบตั ิตามเง่อื นไขที่มีตอเจาหนี้โดยเครงครดั ทง้ั ในแงก ารชําระคนื การดแู หลักทรพั ย คา้ํ ประกันและเง่ือนไขอืน่ ๆ รวมทัง้ ไมใชเ งินทุนทีไ่ ดจ ากการกูย ืมเงินไปให ทางทขี่ ัดกบั วัตถุ ประสงคใ นขอตกลงท่กี าํ กับผูใหกูย ืมเงนิ • รายงานฐานะทางการเงินของ STGT แกเจาหนีด้ ว ยความซื่อสัตย • รายงานเจาหนี้ลวงหนาหากไมสามารถปฎิบัติตามขอผูกพันในสัญญา และรวมกันหาแนว ทางแกไ ขปญหาดังกลา ว 4

4. จรรยาบรรณวาดว ยความรบั ผดิ ชอบตอพนกั งาน STGT ถอื วาพนักงานเปนปจจัยหน่ึงสูความสําเร็จ จึงมุงม่ันในการพัฒนาเสริมสรางวัฒนธรรม และบรรยากาศการทํางานที่ดี สงเสริมการทํางานเปนทีมเพื่อสรางความมั่นใจใหพนักงานจึงกําหนด แนวทางปฎบิ ัติไวดังนี้ 4.1 ใหผ ลตอบแทนที่เปนธรรมแกพ นกั งาน ในรูปแบบของเงินเดอื น เงนิ ขยันและ/หรือ เงนิ โบนัส 4.2 ดแู ลรกั ษาสภาพแวดลอ มในการทาํ งานใหมีความปลอดภัยตอชวี ิตและทรพั ยส ินของพนักงานอยู เสมอ 4.3 การแตงต้งั และโยกยา ย รวมถงึ การใหรางวัลและการลงโทษพนกั งานตอ งกระทาํ ดวยความ เสมอภาค สจุ รติ ใจ และตงั้ อยูบนพ้ืนฐานของความรู ความสามารถ และความเหมาะสม รวมทั้งการ กระทํา หรือการปฎิบตั ิของพนกั งานนนั้ ๆ 4.4 ใหค วามสาํ คญั ตอการพฒั นา การถา ยทอดความรู และความสามารถของพนักงานโดยใหโ อกาส พนกั งานอยางทั่วถงึ และสมํ่าเสมอ 4.5 รับฟง ขอ คดิ เหน็ และขอ เสนอแนะจากพนกั งานทุกระดบั อยา งเทาเทยี มและเสมอภาค 4.6 ปฎิบตั ติ ามกฎหมายและขอบงั คบั ตางๆ ทเ่ี กยี่ วกบั พนักงานอยา งเครง ครดั 4.7 บรหิ ารงานโดยหลีกเลีย่ งการกระทาํ ใดๆ ท่ไี มเ ปน ธรรมซงึ่ อาจมีผลกระทบตอ ความมัน่ คงในหนา ท่ี การงานของพนกั งาน 4.8 ปฎิบัติตอ พนกั งานดว ยความสุภาพและใหค วามเคารพตอความเปนปจเจกชนและศกั ศรีของมนุษย 4.9 มชี องทางใหพ นักงานสามารถแจง เรอื่ งท่สี อ ไปในทางผดิ ระเบยี บหรอื กฎหมายได 5.จรรยาบรรณวาดว ยความรับผดิ ชอบตอ สังคมและส่ิงแวดลอม STGT ตระหนักและหวงใยถึงความปลอดภัยของสังคมส่ิงแวดลอมและคุณภาพชีวิตของ ประชาชนรวมถึงใหความสําคญั ในเร่อื งการอนุรกั ษท รัพยากรธรรมชาติ และสงเสริมการใชพลังงานอยางมี ประสิทธิภาพ จึงกําหนดแนวทางการปฎิบตั ิไวด งั นี้ 5.1 STGT จะคํานึงถงึ ทางเลือกในการใชประโยชนจ ากทรพั ยากรธรรมชาตโิ ดยมผี ลกระทบตอความ เสียหายของสังคม สง่ิ แวดลอ ม และคุณภาพชวี ติ ของประชาชนนอยที่สุด 5.2 คนื กําไรสว นหน่งึ เพอ่ื กจิ กรรมทจ่ี ะมสี วนสรางสรรคสังคมและส่งิ แวดลอมอยา งสม่ําเสมอ 5.3 ปลูกฝง จิตสํานกึ ในเรือ่ งความรับผิดชอบตอสงั คม และสิ่งแวดลอมใหเกดิ ขึ้นในหมูพนักงานทกุ ระดับ อยา งตอ เนอื่ ง 5.4 ใหค วามสาํ คัญในการทําธุรกรรมกบั คคู า ท่มี เี จตจํานงเดียวกันกับ STGT ในเรื่องความรับผิดชอบ ตอสงั คมและสิง่ แวดลอ ม 5

5.5 เปน ผูนําในการสงเสริมการใชและการอนุรักษพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชนตอชน รุนหลัง 5.6 ปฎบิ ัตแิ ละใหค วามรว มมือหรือควบคมุ ใหมีการปฎบิ ัติอยางเครงครดั ตามเจตนารมณของกฎหมาย และกฎระเบยี บทีอ่ อกโดยหนว ยกํากบั ดแู ล 5.7 STGT ถอื เปน หนา ท่ีและนโยบายหลักในการใหความสําคัญกับกิจกรรมของชุมชนและสังคม โดย มุงเนนใหเกิดการพัฒนาสังคม ชุมชน ส่ิงแวดลอม มุงสรางสรรค และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ รวมทง้ั สนับสนนุ การศกึ ษาแกเยาวชน และสนับสนุนกจิ กรรมสาธารณประโยชนแกชุมชนท่ีดอยโอกาส ใหเ ปน ชุมชนทเี่ ขมแข็ง พง่ึ พาตวั เองได 5.8 STGT เปนบรษิ ัททย่ี ึดม่นั ในระบอบประชาธิปไตยและสงเสริมใหบ ุคลากรไปใชส ทิ ธิเลอื กตงั้ ตาม รัฐธรรมนญู ท้ังนี้ STGT ไมม ีนโยบายท่ีจะใหก ารสนับสนุนทางการเงิน ไมว า โดยตรงหรอื ทางออ มแก นักการเมอื งหรอื พรรคการเมืองใดๆ เพอ่ื ผลประโยชนของนักการเมอื งหรือพรรคการเมืองนัน้ 6

กฎหมายท่ีเกย่ี วของกบั การบรหิ ารทรัพยากรมนุษย • พระราชบญั ญตั คิ มุ ครองแรงงาน (ฉบับท่ี 7) ป พ.ศ.2562 • พระราชบญั ญัตปิ ระกนั สังคม พ.ศ.2558 • พระราชบญั ญัตปิ ระกนั สงั คม (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2558 • พระราชบัญญตั ิประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย (มาตรา 575-586) • พระราชบัญญตั สิ ง เสริมการพัฒนาฝมอื แรงงาน (ฉบบั ท่ี 2) ป พ.ศ.2557 • พระราชบญั ญตั ิกองทนุ สํารองเล้ยี งชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2558 • พระราชบญั ญัติจดั ตั้งศาลแรงงานและวธิ พี ิจารณาคดแี รงงาน พ.ศ.2522 • พระราชบัญญตั กิ ารฟน ฟูสมรรถภาพคนพกิ าร พ.ศ.2534 • พระราชบญั ญตั ิทะเบยี นตา งดาว (ฉบบั ท3่ี ) พ.ศ.2497 • พระราชบญั ญตั ิการทาํ งานของคนตางดา ว พ.ศ.2521 7

ภาษเี งนิ ไดบ คุ คลธรรมดา ภาษเี งนิ ไดบ ุคคลธรรมดา คือ ภาษที ีจ่ ดั เกบ็ จากบคุ คลทั่วไป หรือจากหนวยภาษีทีม่ ีลักษณะพเิ ศษ ตามที่กฎหมายกําหนดและมรี ายไดเ กดิ ข้นึ ตามเกณฑท ก่ี าํ หนด โดยปกตจิ ัดเก็บเปนรายป รายไดที่เกิดขึ้นใน ปใดๆผูมีรายไดมีหนาที่ตองนําไปแสดงรายการตนเองตามแบบแสดงรายการภาษีท่ีกําหนดภายในเดือน มกราคมถึงมนี าคมของปถ ดั ไป สาํ หรบั ผูมเี งินไดบ างกรณีกฎหมายยังกําหนดใหยื่นแบบฯ เสียภาษีตอนครึ่ง ป สําหรับรายได ที่เกิดข้ึนจริงในชวงครึ่งปแรก เพื่อเปนการบรรเทาภาระภาษีที่ตองชําระและเงินไดบาง กรณี กฎหมายกําหนดให ผูจายทําหนาที่หักภาษี ณ ท่ีจายจากเงินไดที่จายบางสวน เพ่ือใหมีการทยอย ชาํ ระภาษีขณะที่มีเงนิ ไดเกดิ ขึ้นอกี ดว ย ผมู ีหนา ทีเ่ สยี ภาษเี งินไดบ คุ คลธรรมดา ไดแก ผูทีม่ ีเงินไดเ กิดขนึ้ ระหวา งปท ผี่ า นมาโดยมีสถานะ อยางหน่ึงอยางใด ดังนี้ 1) บุคคลธรรมดา 2) หา งหนุ สวนสามัญหรือคณะบคุ คลท่มี ิใชนติ ิบคุ คล 3) ผูถึงแกค วามตายระหวา งปภ าษี 4) กองมรดกท่ียังไมไ ดแ บง 5) วสิ าหกจิ ชมุ ชน ตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมวสิ าหกิจชุมชน เฉพาะทเ่ี ปนหา งหนุ สวนสามัญ หรอื คณะบคุ คลทม่ี ใิ ชน ิตบิ คุ คล ผูมหี นา ที่เสยี ภาษีตองทําอยา งไร เมือ่ มีเงนิ ไดเกิดขึ้นแลว ผมู หี นาทเ่ี สียภาษจี ะตองทําอะไรบา ง 1. ขอมเี ลข และบตั รประจําตัวผเู สยี ภาษี ภายใน 60 วัน นับแตวันที่มีเงินไดเกิดข้ึน กรณีเปนผูมี เงนิ ได ท่ีไมม เี ลขประจาํ ตัวประชาชน ไดแก เปนคนตางดาว หรือกองมรดกที่ยังไมไดแบงเวนแต ผูมีเงินได ที่มเี ลขประจาํ ตวั ประชาชน สามารถใชเลขประจําตัวประชาชนแทนเลขประจําตัวผูเสียภาษีอากรได โดยไม ตองขอมีเลขประจําตัวผูเสียภาษีอากรอีก ผูมีเงินไดที่มีภูมิลําเนาอยูในกรุงเทพมหานครอาจย่ืนคํารอง ณ สาํ นกั งานสรรพากรพื้นท่ี กรงุ เทพมหานคร ท้งั 30 แหง หรอื สํานกั สรรพากรพ้ืนท่ี สาขา(อําเภอ)ทุกแหง สําหรับในตางจงั หวัด ยน่ื คาํ ขอไดท ่ีสํานักงานสรรพากร พนื้ ท่(ี จงั หวัด) และสาํ นักงานสรรพากร พื้นท่ีสาขา (อําเภอ) ทุกแหง แลว แตก รณี 2. ยื่นแบบแสดงรายการ ปกติปละ 1 ครั้ง เงินได ของปใด ก็ยื่นแบบฯ ภายใน วันท่ี 31 มีนาคมของปถัดไป เวนแต เงินไดบางลักษณะ เชน การใหเชา ทรัพยสิน เงินไดจาก วิชาชีพอิสระ เงินได จากการรับเหมา เงินไดจากธุรกิจ การพาณิชย เปนตน จะตอง ยื่นแบบฯ ตอนกลางป สําหรับเงินได ที่ เกดิ ขนึ้ ใน 6 เดือนแรก ภายใน เดือนกนั ยายน ของทกุ ป 8

ตามกฎหมาย เงินไดท่ตี องเสียภาษเี งินไดบ คุ คลธรรมดา เรยี กวา \"เงนิ ไดพงึ ประเมนิ \" หมายถงึ เงนิ ไดของบุคคลใดๆ หรือหนว ยภาษใี ดขา งตน ทีเ่ กิดขึน้ ระหวางวนั ท่ี 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ของปใ ดๆ หรือเงนิ ได ท่ีเกดิ ขนึ้ ในปภาษี ไดแก 1. เงนิ 2. ทรัพยส ินซึ่งอาจคิดคาํ นวณไดเ ปน เงนิ ที่ไดรบั จรงิ ที่ไดรับจรงิ (เกณฑเ งนิ สด) 3. ประโยชนซ ่งึ อาจคิดคํานวณไดเ ปนเงิน 4. เงนิ คาภาษอี ากรท่ผี จู ายเงนิ หรือผอู นื่ ออกแทนให 5. เครดิตภาษตี ามท่ีกฎหมายกาํ หนด ผทู ่ีมเี งินไดเกิดข้นึ ระหวา งปภ าษจี ะมีหนา ทีต่ องย่นื แบบฯ กต็ อ เมอ่ื มเี งนิ ไดถึงเกณฑข ั้นต่ําตามท่ี กฎหมายกาํ หนด ไมวาเมื่อคํานวณภาษแี ลว จะมีภาษตี อ งชําระเพิม่ เติมหรอื ไมก ต็ าม ดังนี้ เกณฑเ งนิ ไดพ งึ ประเมนิ ขน้ั ตํ่าทผ่ี ูม เี งนิ ไดตองยนื่ แบบแสดงรายการภาษี (1) บุคคลธรรมดาและผูถึงแกค วามตาย มเี งินไดพ งึ ประเมนิ ดังนี้ ประเภทเงินได โสด สมรส เงินเดือนเพยี งอยางเดียว 120,000 220,000 เงนิ ไดประเภทอืน่ 60,000 120,000 (2) หา งหนุ สว นสามัญที่มใิ ชนิตบิ ุคคล หรือคณะบคุ คลที่ไมใ ชน ิตบิ ุคคล มเี งินไดพงึ ประเมินเกนิ 60,000 บาท (3) กองมรดกทย่ี ังไมไ ดแ บง มีเงนิ ไดพงึ ประเมินเกนิ 60,000 บาท ประเภทเงินรายไดท ต่ี องเสยี ภาษี เน่ืองจากผมู เี งินไดป ระกอบอาชีพแตกตางกนั มีความยากงายหรือตนทุนทแี่ ตกตางกัน เพ่ือความ เปน ธรรม ในกฎหมายจึงไดแบงลักษณะเงนิ ได(พงึ ประเมิน) ออกเปน กลมุ ๆ ตามความเหมาะสมเพอ่ื กาํ หนด วธิ คี าํ นวณภาษใี หเ กิดความเปน ธรรมมากทสี่ ดุ ดงั น้ี 1. เงนิ ไดป ระเภทท่ี 1 ไดแก เงินไดเน่ืองจากการจา งแรงงาน ไมว า จะเปน - เงนิ เดอื น คาจาง เบย้ี เล้ียง โบนัส เบ้ยี หวดั บาํ เหนจ็ บํานาญ - เงนิ คา เชาบา นทไ่ี ดรับจากนายจาง - เงินทีค่ าํ นวณไดจ ากมูลคาของการไดอยูบาน ซึ่งนายจา งใหอยโู ดยไมเ สยี คา เชา - เงินทีน่ ายจางจายชาํ ระหนี้ใด ๆ ซงึ่ ลูกจา งมหี นา ทีต่ อ งชาํ ระ - เงิน ทรพั ยส ิน หรือประโยชนใด ๆ บรรดาท่ไี ดเ นื่องจากการจางแรงงาน เชน มลู คาของการไดรับ ประทานอาหาร เปนตน 9

2. เงนิ ไดประเภทท่ี 2 ไดแ ก เงินไดเ นอื่ งจากหนา ทห่ี รือตาํ แหนง งานทท่ี ํา หรอื จากการรบั ทาํ งานให ไมวา จะเปน - คาธรรมเนยี ม คานายหนา คา สวนลด - เงินอุดหนุนในงานทที่ าํ เบีย้ ประชุม บําเหน็จ โบนัส - เงินคา เชาบานทไ่ี ดร บั เนื่องจากหนา ทีห่ รือตําแหนง งานทที่ ํา หรือจากการรบั ทาํ งานให - เงนิ ที่คาํ นวณไดจ ากมูลคา ของการไดอยูบา น ทผี่ ูจา ยเงนิ ไดใหอ ยโู ดยไมเ สียคา เชา - เงนิ ที่ผูจ า ยเงนิ ไดจา ยชาํ ระหนใี้ ด ๆ ซึ่งผูมีเงินไดมีหนา ที่ตองชาํ ระ - เงิน ทรพั ยสิน หรอื ประโยชนใด ๆ บรรดาทีไ่ ดเนอื่ งจากหนาที่หรอื ตําแหนง งานทีท่ าํ หรอื จากการรบั ทาํ งานใหน ้ัน ไมวาหนา ทห่ี รือตําแหนง งาน หรืองานทร่ี ับทาํ ใหนน้ั จะเปน การประจําหรือชว่ั คราว 3. เงินไดป ระเภทที่ 3 ไดแ ก คา แหง กดู วิลล คาแหงลขิ สทิ ธ์หิ รือสทิ ธิอยา งอ่นื เงินป หรอื เงินไดท ่ีมี ลกั ษณะ เปนเงินรายปอนั ไดม าจากพนิ ยั กรรม นิตกิ รรมอยา งอืน่ หรอื คําพพิ ากษาของศาล 4. เงนิ ไดประเภทท่ี 4 ไดแ ก ดอกเบ้ีย เงินปนผล เงนิ สวนแบงกําไร เงินลดทนุ เงินเพม่ิ ทนุ ผลประโยชนท่ีไดจ ากการโอนหนุ ฯลฯ เปนตน (ก) ดอกเบ้ยี พนั ธบตั ร ดอกเบย้ี เงินฝาก ดอกเบีย้ หุน กู ดอกเบ้ียตัว๋ เงิน ดอกเบยี้ เงนิ กยู มื ไมวา จะมี หลักประกนั หรือไม ดอกเบี้ยเงนิ กยู มื ทอี่ ยใู นบังคบั ตอ งถูกหักภาษไี ว ณ ทจ่ี ายตามกฎหมายวาดว ยภาษีเงิน ไดป โ ตรเลยี มเฉพาะสว นทเ่ี หลอื จากถูกหกั ภาษไี ว ณ ที่จา ยตามกฎหมายดังกลา ว หรือผลตา งระหวางราคา ไถถอน กับราคาจาํ หนายตัว๋ เงนิ หรอื ตราสารแสดงสทิ ธใิ นหน้ีท่บี ริษทั หรอื หา งหุน สว นนิตบิ ุคคล หรอื นติ ิ บุคคลอื่น เปนผอู อกและจาํ หนายครงั้ แรกในราคาตํา่ กวา ราคาไถถอน รวมทงั้ เงินไดท ่ีมีลกั ษณะทํานอง เดยี วกันกบั ดอกเบ้ีย ผลประโยชนหรือคา ตอบแทนอน่ื ๆ ท่ไี ดจากการใหก ูยืมหรือจากสิทธเิ รียกรองในหนที้ กุ ชนดิ ไมว าจะมีหลกั ประกันหรอื ไมกต็ าม (ข) เงนิ ปนผล เงนิ สว นแบง ของกําไร หรือประโยชนอ นื่ ใดทไ่ี ดจากบริษัทหรือหา งหนุ สว นนติ ิบุคคล กองทุนรวม หรือสถาบนั การเงนิ ท่ีมีกฎหมายไทยใหจ ดั ตั้งขน้ึ โดยเฉพาะสาํ หรบั ใหก ยู มื เงิน ฯลฯ (ค) เงินโบนัสทีจ่ ายแกผถู อื หุน หรือผเู ปนหุนสว นในบรษิ ัทหรอื หา งหนุ สว นนิติบุคคล (ง) เงินลดทุนของบรษิ ัทหรือหา งหนุ สว นนติ บิ ุคคลเฉพาะสว นทีจ่ ายไมเกนิ กวากําไรและเงนิ ทีก่ ันไว รวมกัน (จ) เงินเพมิ่ ทนุ ของบริษทั หรือหางหุนสวนนติ ิบคุ คลซึง่ ตงั้ จากกําไรท่ีไดม าหรอื รับชว งกันไวรวมกนั (ฉ) ผลประโยชนท ไี่ ดจากการทีบ่ รษิ ัทหรอื หางหุน สว นนติ ิบคุ คลควบเขากันหรือรับชวงกันหรือ เลิกกัน ซ่งึ ตีราคาเปน เงนิ ไดเ กนิ กวา เงนิ ทุน (ช) ผลประโยชนทไ่ี ดจากการโอนการเปนหุน สว นหรอื โอนหนุ หนุ กู พันธบตั ร หรือตั๋วเงนิ หรอื ตรา สารแสดงสทิ ธใิ นหนี้ ท่ีบรษิ ทั หรือหา งหนุ สวนนิติบุคคล หรือนติ ิบคุ คลอน่ื เปน ผูออก ทัง้ นเ้ี ฉพาะซึ่งตรี าคา เปนเงินไดเ กินกวาทีล่ งทนุ เงนิ ไดป ระเภทท่ี 4 ในหลาย ๆ กรณี กฎหมายใหส ทิ ธิที่จะเลอื กเสยี ภาษโี ดยวิธีหักภาษี ณ ทจ่ี าย แทนการนาํ ไปรวมคาํ นวณกับเงนิ ไดอ น่ื ตามหลักทัว่ ไป ซงึ่ จะทําใหผ ูม เี งินไดท ีต่ องเสยี ภาษีตามบัญชอี ัตรา ภาษี ในอัตราที่สงู กวา อัตราภาษี หัก ณ ทจี่ าย สามารถประหยัดภาษไี ด 5. เงนิ ไดป ระเภทที่ 5 เงนิ ไดจ ากการใหเ ชา ทรัพยสนิ เงนิ หรือประโยชนอยางอืน่ ที่ไดเนอื่ งจาก - การใหเชาทรัพยสนิ 10

- การผิดสัญญาเชาซอ้ื ทรพั ยสนิ - การผิดสญั ญาซ้อื ขายเงินผอ นซึง่ ผขู ายไดรบั คนื ทรัพยส ินทซี่ ื้อขายนั้นโดยไมตองคืนเงนิ หรือประโยชนที่ ไดร บั ไวแ ลว 6. เงินไดป ระเภทที่ 6 ไดแ ก เงนิ ไดจ ากวชิ าชพี อสิ ระ คอื วิชากฎหมาย การประกอบโรคศลิ ป วศิ วกรรม สถาปต ยกรรม การบญั ชี ประณีตศิลปกรรม หรือวิชาชพี อื่นซึ่งจะไดมีพระราชกฤษฎีกากาํ หนดชนดิ ไว 7. เงินไดประเภทที่ 7 ไดแ ก เงินไดจ ากการรับเหมาทผ่ี รู ับเหมาตองลงทุนดวยการจัดหาสัมภาระ ในสว น สาํ คญั นอกจากเคร่ืองมือ 8. เงนิ ไดประเภทท่ี 8 ไดแก เงินไดจากการธุรกจิ การพาณิชย การเกษตร การอตุ สาหกรรม การขนสง การขายอสังหาริมทรพั ย หรือการอืน่ นอกจากท่รี ะบุไวใ นประเภทท่ี 1 ถงึ ประเภทที่ 7 แลว ผมู เี งินไดม ีหนาท่ีตอ งย่ืนแบบแสดงรายการภาษเี งนิ ไดบคุ คลธรรมดาดงั แบบแสดงรายการท่ใี ชมี ดังตอ ไปน้ี ชื่อแบบ ใชย่ืนกรณี กาํ หนดเวลายื่น ภ.ง.ด. 90 มีเงนิ ไดพึงประเมนิ ทุกประเภท มกราคม - มนี าคม ของปภ าษถี ดั ไป ภ.ง.ด. 91 มเี ฉพาะเงนิ ไดพงึ ประเมนิ ประเภทท่ี 1ม.40(1) มกราคม - มนี าคม ของปภาษถี ดั ไป ภ.ง.ด. 93 ประเภทเดียว กอนถงึ กําหนดเวลาการยืน่ แบบ ภ.ง.ด. 94 มีเงนิ ไดข อชําระภาษีลว งหนา ตามปกติ กรกฎาคม - กันยายน ของปภ าษนี ้นั ย่ืนครึ่งปสําหรับผมู เี งนิ ไดพงึ ประเมนิ เฉพาะ ประเภทท่ี 5,6,7 และ 8 การยนื่ แบบแสดงรายการภาษีเงนิ ไดบ ุคคลธรรมดา มี 2 ระยะ คือ 1. \"ภาษีเงนิ ไดบ ุคคลธรรมดาคร่งึ ป\" เปนการย่ืนแบบแสดงรายการเงนิ ไดเ ฉพาะเงินไดพ งึ ประเมนิ ประเภทท่ี 5,6,7 หรือ 8 ทีไ่ ดร บั ตงั้ แตเดือนมกราคมถึงเดอื นมิถุนายนไมวาจะมเี งนิ ไดประเภทอืน่ รวมอยู ดว ยหรือไมก ็ตาม โดยยื่นภายในเดือนกันยายนของปภาษนี ้ัน และภาษีท่เี สียนน้ี ําไปเปนเครดิตหกั ออกจาก ภาษสี นิ้ ปได 2. \"ภาษเี งินไดบ คุ คลธรรมดาสน้ิ ป\" เปน การยน่ื แบบแสดงรายการเงนิ ไดพงึ ประเมนิ ทีไ่ ดร บั แลว ในระหวางปภาษี โดยยื่นภายในเดอื นมนี าคมของปถัดไป 11

กรณีไมชาํ ระภาษภี ายในกาํ หนดเวลา 1.จะตองเสียเงนิ เพ่ิมรอ ยละ 1.5 ตอเดือน (เศษของเดือนใหนับเปน 1 เดอื น) ของเงนิ ภาษีท่ีตอง ชําระนั้น นบั แตวนั พน กาํ หนดเวลาการย่นื รายการจนถึงวนั ชาํ ระภาษี 2. กรณีเจาพนกั งานตรวจสอบออกหมายเรยี ก และปรากฏวา มิไดยนื่ แบบแสดงรายการไวหรอื ยนื่ แบบแสดงรายการไว แตชําระภาษขี าดหรอื ต่าํ ไป นอกจากจะตองรับผิดชําระเงินเพิ่มตามขอ 1 แลว ยัง จะตอ งรบั ผิดเสียเบ้ยี ปรบั อีก 1 เทา หรอื 2 เทาของเงินภาษที ีต่ องชําระแลว แตก รณี เงนิ เบยี้ ปรบั ดงั กลา ว อาจลดหรืองดไดตามระเบียบทีอ่ ธิบดีกําหนดโดยอนุมตั ริ ัฐมนตรี 3. กรณไี มย่ืนแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.90, 91 หรือ 94 ภายในกาํ หนดเวลา ตอ งระวางโทษ ปรับทางอาญาไมเ กิน 2,000 บาท 4. กรณจี งใจ แจง ขอความเท็จ หรือแสดงหลักฐานเท็จหรอื ฉอ โกง เพือ่ หลีกเลี่ยงหรอื พยายาม หลีกเล่ียงการเสียภาษีอากร มีโทษจําคุกต้ังแต 3 เดือนถึง 7 ป และปรับตั้งแต 2,000 บาท ถึง 200,000 บาท 5. กรณเี จตนาละเลยไมย ่ืนแบบแสดงรายการเพ่อื หลีกเล่ียงการเสียภาษอี ากร มีโทษปรับไมเ กิน 200,000 บาท หรือจาํ คุกไมเ กิน 1 ป หรือทง้ั จําทง้ั ปรบั อัตราภาษเี งนิ ไดบคุ คลธรรมดา เมือ่ ไดย อดเงนิ ไดส ทุ ธแิ ลว นาํ ไปคาํ นวณภาษี ตามอตั ราภาษี ดงั นี้ อตั ราภาษเี งินไดบุคคลธรรมดา รายไดส ุทธิตอป ฐานภาษเี งนิ ได ไมเกนิ 150,000 บาท ยกเวน ภาษี 150,001-300,000 บาท 5% 300,001-500,000 บาท 10% 500,001-750,000 บาท 15% 750,001-1,000,000 บาท 20% 1,000,001-2,000,000 บาท 25% 2,000,001-5,000,000 บาท 30% 5,000,001 บาทข้นึ ไป 35% 1. ถามีภาษที ่ีตองชาํ ระจํานวนต้ังแต 3,000 บาทข้ึนไป ท้ังภาษีคร่ึงปและภาษีส้ินป ผูเสียภาษีมี สิทธิ ขอผอนชําระภาษีไดเปน 3 งวดเทา ๆ กัน โดยไมตองเสียเงินเพ่ิมใดๆ ผูเสียภาษีอาจติดตอขอผอน ชาํ ระไดท ี่ สาํ นักงานสรรพากรพน้ื ท่สี าขาโดยใชแ บบบ.ช. 35 จาํ นวน 1 ชุด 3 แผน ขอความเหมอื นกันดงั น้ี 12

งวดที่ 1 ชาํ ระพรอมกบั การยนื่ แบบแสดงรายการภายในวันท่ี 30 กันยายน หรอื วันท่ี 31 มนี าคม งวดท่ี 2 ชําระภายใน 1 เดือนนบั แตว ันทตี่ อ งชาํ ระงวดท่ี 1 งวดที่ 3 ชําระภายใน 1 เดือนนับแตว นั ทต่ี อ งชําระงวดท่ี 2 ถาภาษีงวดใดงวดหนึ่งมิไดชําระภายในกําหนดเวลาดงั กลา ว ผูเ สยี ภาษหี มดสทิ ธทิ ่จี ะชาํ ระภาษี เปน รายงวด และตองเสียเงนิ เพมิ่ ในอตั รารอ ยละ 1.5 ตอเดอื น หรือเศษของเดือนของเงนิ ภาษีงวดทเี่ หลือ 2. ผูม ีเงนิ ไดต ามมาตรา 40(8) แหง ประมวลรัษฎากร ท่ียื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา ภ.ง.ด. 90 ถามีภาษีตองชําระจํานวนนอยกวา 3,000 บาท ผูเสียภาษีมีสิทธิขอผอนชําระภาษีได เปน 6 งวด โดยไมมดี อกเบีย้ หรือเงนิ เพ่ิมใดๆ และยงั สามารถเลอื กวันที่จะชาํ ระภาษีตามสะดวกไดด ว ย ผเู สยี ภาษีสามารถตดิ ตอ ขอผอ นชําระไดที่สํานักงานสรรพากรพน้ื ท่ีสาขา โดยงวดแรกตองชาํ ระ พรอมกับย่ืนแบบแสดงรายการภายในวนั ท่ี 31 มีนาคม 13

ขอ บงั คบั เกยี่ วกบั การทาํ งาน บรษิ ทั ศรตี รังโกลฟส (ประเทศไทย) จาํ กัด (มหาชน) สํานกั งานแหงใหญ เลขท่ี 110 หมทู ี่ 8 ถนนกาญจนวนชิ ตาํ บลพะตง อาํ เภอหาดใหญ จังหวดั สงขลา 90230 โทรศัพท 074-291648 โทรสาร 074-291650 สํานักงานสาขาท่ี 1 เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ตาํ บลหาดใหญ อาํ เภอหาดใหญ จงั หวัดสงขลา 90110 โทรศพั ท 074-344663 โทรสาร 074-344677 สํานกั งานสาขาที่ 2 เลขท่ี 57 ยูนิต 1701,1707-1712 ปารค เวนเชอร อโี คเพลก็ ซ ชน้ั ที่ 17 ถนนวทิ ยุ แขวงลมุ พนิ ี เขตปทุมวัน กรงุ เทพมหานคร สํานกั งานสาขาที่ 3 เลขท่ี 8 หมทู ี่ 8 ถนนกาญจนวนิช ตําบลพะตง อําเภอหาดใหญ จังหวดั สงขลา 90230 โทรศัพท 074-291648 โทรสาร 074-291650 สํานกั งานสาขาท่ี 4 เลขที่ 109/2 ถนนกาญจนวนชิ ตําบลพะตง อาํ เภอหาดใหญ จงั หวดั สงขลา สํานักงานสาขาท่ี 5 เลขท่ี 352 ถนนกาญจนวนชิ ตําบลพะตง อาํ เภอหาดใหญ จงั หวดั สงขลา สาํ นักงานสาขาท่ี 6 เลขที่ 189 หมูท่ี 7 ตาํ บลพลายวาส อาํ เภอกาญจนดิษฐ จงั หวดั สรุ าษฎรธานี 84160 โทรศพั ท 077-277888 โทรสาร 077-277889 สํานักงานสาขาที่ 7 เลขท่ี 85 หมทู 6่ี ตาํ บลควนธานี อําเภอกันตรัง จงั หวัดตรัง 92110 โทรศพั ท 075-201199 โทรสาร 075-201150 สํานกั งานสาขาท่ี 8 เลขที่ 207/1 ถนนปาดังเบซาร ตาํ บลสะเดา อาํ เภอสะเดา จังหวดั สงขลา 90120 สาํ นกั งานสาขาท่ี 9 เลขท่ี 88/8 หมู 3 ตาํ บลสํานกั ขาม อาํ เภอสะเดา จังหวดั สงขลา 90120 สาํ นกั งานสาขาที่ 10 เลขที่ 88/8 ม.11 ต.เขาไชยราช อ.ปะทวิ จ.ชมุ พร 86210 เพ่อื ใหการดําเนินงานของ บริษัท ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ในสวนที่เก่ียวของ กับการบริหารทรัพยากรมนุษย เปนไปดวยดีตามนโยบายและวัตถุประสงคที่กําหนดไว บริษัท ศรีตรัง โกลฟส (ประเทศไทย) จํากดั (มหาชน) จึงกําหนดขอ บังคบั เกย่ี วกับการทํางานของพนักงานไวด ังตอ ไปนี้ 14

ขอ 1. ขอบังคบั ฉบับนีเ้ รียกวา \"ขอบังคับเก่ียวกับการทํางาน บรษิ ทั ศรตี รังโกลฟส (ประเทศไทย) จํากดั (มหาชน)\" ขอ 2. ในขอบงั คับฉบับนี้ บริษัท หมายถึง บริษทั ศรีตรงั โกลฟส (ประเทศไทย) จาํ กดั (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร หมายถงึ ประธานกรรมการบรหิ ารและ กรรมการ และ กรรมการผจู ัดการ ผจู ัดการ หรอื ผูไดร บั มอบหมาย หมายถงึ ผูบ ังคับบญั ชาทุกระดบั ชน้ั ท่ีไดร ับ ใหท ําหนา ท่แี ทนผูบังคบั บัญชา มอบอาํ นาจใหด ําเนินการภายในขอบเขต ที่ไดรบั มอบหมาย พนักงาน หมายถึง บคุ คลทบ่ี ริษทั ตกลงวาจางใหทาํ งานกับบรษิ ทั และไดค า ตอบแทนจากบริษัท บรเิ วณบรษิ ัท หมายถงึ บริเวณอาคาร สํานกั งาน โรงงาน ซึ่งใชเปน สถานท่ีทาํ งาน รวมถงึ บริเวณบา นพัก และบริเวณอน่ื ซ่ึง อยูใ นขอบพนื้ ทข่ี องบรษิ ัททั้งหมดและทรพั ยสินท่เี ปน สิทธิ ของบริษัท ขอ 3. ขอ บงั คับ ระเบียบ คําส่ังหรือประกาศอื่นใดท่ีมีผลบังคับใชกอนขอบังคับฉบับน้ี ซ่ึงมิไดระบุไวใน ขอบังคับฉบับน้ี หากไมขัดหรือแยงตอขอบังคับฉบับนี้ ใหใชปฏิบัติตอไปจนกวาจะมีการ เปลี่ยนแปลงหรอื ยกเลกิ แลว แตกรณี โดยบรษิ ัทจะประกาศใหท ราบเปน กรณีไป 15

หมวดที่ 1 นโยบายการบริหารทรพั ยากรมนุษย ขอ 1. 1 บริษัทมีวัตถุประสงคหลักในการบริหารทรัพยากรมนุษยเพ่ือการสรรหา คัดเลือก พัฒนา สงเสริมและรักษาไวซ่ึงพนักงานที่มีคุณภาพ รวมถึงสงเสริมใหเกิดภาพลักษณอันดีภายใน หนวยงาน ท้ังน้ี เพอ่ื ใหการดาํ เนินงานของบรษิ ัทบรรลุเปาหมายอยางมปี ระสิทธิภาพ ขอ 1. 2 บริษัทไดกําหนดนโยบายเพ่ือเปนแนวทางในการปฏบิ ัตแิ ละบรหิ ารทรพั ยากรมนุษยไวด งั นี้ คอื 1.2.1 พนกั งานจะไดร ับการปฏิบตั อิ ยา งเปนธรรม และสมศักด์ิศรใี นฐานะเปนสวนหนึ่งของบรษิ ทั 1.2.2 การคัดเลือกบุคคลเพื่อวาจางใหดํารงตําแหนงตางๆ จะกระทําดวยความเปนธรรม โดยคํานึงถึงคุณสมบัติ คุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ สภาพรางกายและ ขอกําหนดอ่นื ทจ่ี ําเปน แกพนกั งานในตําแหนงนนั้ ๆ 1.2.3 บริษทั จะพจิ ารณากาํ หนดคา ตอบแทนแกพ นักงานอยางเปนธรรมตามความเหมาะสม กับสภาพลกั ษณะของงาน และการปฏิบัติงานทเี่ ต็มความสามารถของพนกั งาน 1.2.4 บริษัทจะจัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานเปนประจําทุกปโดยให ผบู ังคับบัญชาตามสายงานเปน ผูประเมนิ ตามระเบียบและวธิ ปี ฏิบตั ทิ บ่ี รษิ ทั กําหนดไว 1.2.5 บริษัทจะดูแลสวัสดิภาพของพนักงาน และรักษาสภาพการทํางานใหเปนไปโดย ถกู ตอ งปลอดภัยและถูกสขุ ลกั ษณะ 1.2.6 บริษัทเปดโอกาสและสงเสริมใหพนักงานแสดงความคิดเห็นของตนเองไดเพื่อให พนกั งานมสี ว นรว มในการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการทาํ งานของตนเองและบริษัทให ดียงิ่ ข้ึน 1.2.7 บรษิ ัทมีนโยบายสนับสนนุ การฝก อบรมและสมั มนา ซ่งึ ถอื เปนสวนสําคัญในการพัฒนา พนกั งานใหมคี ณุ ภาพย่งิ ข้นึ 1.2.8 บริษัทกําหนดขอบังคับนี้ข้ึนเพื่อใหพนักงานยึดถือและปฏิบัติตามใหเกิดความเปน ระเบียบเรียบรอย มีความสามัคคี มีสัมพันธภาพและความเขาใจอันดีซ่ึงกันและกัน รวมถงึ ใหมีความปลอดภยั และความเจรญิ กาวหนาของพนกั งาน 1.2.9 บริษัทถือวาผูบังคับบัญชาในสายงานเปนสวนหนึ่งที่สําคัญย่ิงของฝายบริหาร ซึ่งมี ความรับผิดชอบในการบริหารงานและบริหารบุคคล รวมทั้งการสงเสริม ความสัมพนั ธอ ันดีของพนักงานกบั บรษิ ทั ท้งั น้ี พนักงานทุกคนมีสว นรวมรับผิดชอบใน การรักษาไวซ ง่ึ ความสมั พันธอ นั ดดี ังกลา ว 16

หมวดท่ี 2 ประเภทพนกั งาน ขอ 2. 1 ขอ กําหนดเกีย่ วกับการจาง 2.1.1 การวา จา งบคุ คลเขาทาํ งาน จะตอ งเปนไปตามความจําเปนและความเหมาะสมของ งานตลอดจนเปนไปตามอัตรากําลังคนที่กําหนดไวเทานั้น การเพิ่มหรือลดอัตรา กําลงั คนตอ งไดรับการอนุมัตจิ ากบริษทั ทกุ ครง้ั 2.1.2 บุคคลท่ีเขาทํางานกับบริษัท ตองมีคุณวุฒิและความสามารถตรงตามที่กําหนดไว สาํ หรบั ตําแหนง นน้ั ๆ ขอ 2. 2 คณุ สมบัตพิ นกั งาน 2.2.1 อายไุ มต า่ํ กวา 18 ปบรบิ รู ณ 2.2.2 มีสุขภาพสมบูรณ ไมเปนบุคคลทุพพลภาพ จิตฟนเฟอนไมสมประกอบ ไมเปน โรคติดตอรายแรง หรือโรคสังคมรังเกียจ โดยมีใบรับรองแพทยของโรงพยาบาล รัฐบาลแสดงเปนหลักฐาน เชน วัณโรคระยะอันตราย โรคเร้ือน โรคพิษสุราเร้ือรัง โรคยาเสพยตดิ ใหโทษอยางรา ยแรง เปน ตน 2.2.3 ไมเ ปน บุคคลไรค วามสามารถ หรอื เสมือนไรค วามสามารถ 2.2.4 ไมเปน บุคคลลม ละลายหรอื มหี นส้ี ินลนพน ตัว 2.2.5 ไมเคยถูกไลอ อก หรือปลดออกจากงานเนอ่ื งจากกระทาํ ผดิ วินัย 2.2.6 มคี วามรคู วามสามารถเหมาะสมกับตําแหนง ที่รับสมัคร 2.2.7 มีความประพฤติดี ไมเคยมีการกระทําที่เส่ือมเสียช่ือเสียง หรือเคยตองโทษจําคุกใน คดีอาญา เวน แตความผิดฐานประมาท หรอื ลหุโทษ 2.2.8 มคี วามขยนั หมน่ั เพยี ร ซื่อสตั ยส จุ รติ 2.2.9 มหี ลกั ฐานการสมัครงานถกู ตอ งและครบถว นตามทบ่ี ริษทั กาํ หนด ขอ 2. 3 การตรวจสขุ ภาพ ผสู มคั รท่ไี ดรบั การคัดเลือกเขาทํางาน ตองผานการตรวจสุขภาพตามท่ีบริษัท กําหนด ถาผูสมัครไดรับการคัดเลือกเขาทํางานมีสุขภาพไมเหมาะสมกับตําแหนงงาน บริษัทมี สิทธิท่ีจะยกเลิกการจางพนักงานผนู น้ั ไดทนั ที ขอ 2. 4 พนักงานแบงออกเปน 4 ประเภทคือ 2.4.1 พนกั งานรายเดอื น 2.4.2 พนักงานรายวัน 2.4.3 พนักงานรายเหมา 2.4.4 พนกั งานตามสัญญาจางมีกาํ หนดระยะเวลาการจางแนนอน 17

ขอ 2. 5 พนักงานรายเดอื น หมายถงึ พนักงานทีบ่ ริษทั ตกลงจาง โดยกําหนดจา ยคาจางเปน รายเดอื น ขอ 2. 6 พนักงานรายวัน หมายถึง พนักงานที่บริษัทตกลงจางและกําหนดจายคาจางเปนรายวัน มีสิทธิ ไดรบั คา จา งเฉพาะวันท่ีมาทํางาน รวมถงึ วันหยุดตามประเพณี วันหยุดพักผอนประจําป วันลา ปวย วันหยุดและวันลาตาง ๆ ตามที่พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน หรือบริษัทกําหนดให ไดรับคา จาง ขอ 2. 7 พนักงานรายเหมา หมายถึง พนักงานที่บริษัทตกลงจางใหทํางาน และกําหนดจายคาจางเปน รายเหมาตามผลงานหรือช้ินงานท่ีทําได ไดรวมคาจางในวันหยุดประจําสัปดาห วันหยุดตาม ประเพณี วันหยุดพักผอนประจําป วันลาเพ่ือการฝกอบรม วันลาปวย วันหยุดและวันลาตาง ๆ ตามท่พี ระราชบญั ญตั คิ ุมครองแรงงาน หรือบริษทั กําหนดใหไ ดร บั คา จาง ขอ 2. 8 พนักงานตามสัญญาจางมีกําหนดระยะเวลาการจางแนนอน หมายถึง พนักงานที่บริษัทตกลง วาจางใหทํางานอันมีลักษณะเปนครั้งคราว เปนการจร เปนไปตามฤดูกาลหรือเปนงานตาม โครงการเฉพาะทีไ่ มใ ชง านปกติของบรษิ ัท โดยมีกําหนดระยะเวลาเร่ิมตนและส้ินสุดที่แนนอนซึ่ง งานน้นั จะตองแลว เสร็จภายในเวลาไมเกินสองป โดยบรษิ ทั และพนักงานไดทาํ สัญญาเปนหนังสือ ไวตั้งแตเร่ิมจาง เมื่อสัญญาจางสิ้นสุดลงตามกําหนดระยะเวลานั้นพนักงานไมมีสิทธิไดรับเงิน คาชดเชย ขอ 2. 9 การทดลองงาน 2.9.1 บุคคลท่ีบริษัทตกลงเขารับเปนพนักงานของบริษัทจะตองผานการทดลองงานกอน เปน ระยะเวลาไมเ กนิ 120 (หนึ่งรอ ยย่ีสิบ) วัน รวมวันหยดุ วนั ลาและวันที่บริษัทส่ัง ใหหยุด โดยแจงเง่ือนไขใหทราบเปนหนังสือแตแรกวาใหทดลองงาน เวนแตจะมี การตกลงเปนอยางอ่นื 2.9.2 ระหวา งการทดลองงาน หากปรากฏวาพนักงานมคี ุณสมบัติไมเหมาะสมที่จะทํางาน หรอื ไมส ามารถทาํ งานตามท่ีบริษทั กําหนดได บริษัทจะเลิกจางโดยไมจายคาชดเชย หากพนักงานทํางานครบ 120 (หนึ่งรอยยี่สิบ) วัน บริษัทจะจายคาชดเชยใหตาม กฎหมาย แตถาบริษัทตกลงรับพนักงานเขาทํางานหลังจากทดลองงานแลว บริษัท จะนบั อายุงานใหตง้ั แตวันแรกทเี่ รม่ิ งาน 2.9.3 กรณีพนักงานอยูระหวางการทดลองงานประสงคจะลาออก พนักงานตองแจงให ผูบ ังคบั บัญชาตามสายงานทราบลวงหนา ไมน อ ยกวา 7 (เจด็ ) วนั 18

ขอ 2. 10 กรณีมีความจําเปนหรือเพ่ือความเหมาะสมในการดําเนินธุรกิจของบริษัทและเพื่อ ขอ 2. 11 ประสิทธภิ าพในการปฏิบัติงาน บริษัทอาจมีคําสั่งโยกยาย สับเปลี่ยนตําแหนงหนาท่ี การทาํ งานภายในบรษิ ทั ไดต ามความเหมาะสม การค้าํ ประกันการทาํ งาน หรือประกันความเสียหายกรณีท่ีบริษัทกําหนดใหมีการคํ้า ประกัน และ/หรือ วางเงินคํ้าประกันการทํางาน หรือประกันความเสียหายสําหรับ ตําแหนงใด ๆ ผูสมัครท่ีผานการคัดเลือกเพื่อเขาทํางานในตําแหนงนั้นตองหาผูค้ํา ประกัน และ/หรือ วางเงินค้ําประกันตามท่ีกฎหมายกําหนดและตามหลักเกณฑที่ บริษทั กําหนด หมวดที่ 3 วนั เวลาทาํ งานปกตแิ ละเวลาพัก ขอ 3. 1 วนั ทํางานปกติ เพือ่ ใหก ระบวนการดานการผลิตและที่เกี่ยวของ เปนไปอยางราบร่ืนและตอเนื่อง จึง จําเปน ตองมีกาํ ลังคนเพ่อื ทาํ งานตลอดเวลาท่ีมกี ารผลติ ดังน้ัน วันทํางานของแตละแผนกอาจไม ตรงกัน บริษัทจะจัดใหพนักงานทํางานสลับกันสัปดาหละไมเกิน 48 (สี่สิบแปด) ชั่วโมง และมี วันหยุดหนงึ่ วนั เม่ือทํางานมาแลว 6 (หก) วันตดิ ตอกัน ขอ 3. 2 เวลาทาํ งานปกติ เวลา 08.00 - 17.00 น. ขอ 3. 3 เวลาพัก ไมนอยกวา 1 (หน่ึง) ชัว่ โมงตอวัน โดยกาํ หนดใหผลัดกนั หยุดพักในชว งเวลา 11.00 - 13.00 น. ขอ 3. 4 การทํางานเปนกะ/ผลดั 3.4.1 เวลาการทาํ งานของบริษทั ฯโดยปกติกําหนดเวลาชั่วโมงการทํางานปกติ 8 ชั่วโมงตอ วนั และกําหนดเวลาพกั เปนเวลา 1 ชั่วโมง แตท งั้ นใี้ นแตล ะกะจะแบงเวลาทํางานเพอ่ื ไมใ หพนกั งานเขา กะตองเหน่ือยลา จากการทํางานโดยจะแบงเวลาทํางานเปนช่ัวโมงการทํางานปกติ 7 ชั่วโมงตอวันและ เวลาการพกั ตอกะ 1 ชั่วโมง กะ A ต้งั แตเ วลา 24.00 - 08.00 น. กะ B ต้ังแตเ วลา 08.00 - 16.00 น. กะ C ตั้งแตเวลา 16.00 - 24.00 น. 19

อยางไรก็ตามกรณีการคิดช่ัวโมงการทํางานลวงเวลา จะคิดตามช่ัวโมงอัตราคาจางตาม เวลาการทํางานปกตทิ ่ี 8 ชั่วโมง 3.4.2 เวลาพัก เน่ืองจากการทํางานในกะน้ันเปนกระบวนการผลิตที่ตอเนื่องกัน และ จําเปน ตองมกี ารประสานงานในหนวยงานน้ัน ๆ ดังนั้น เวลาพักของแตละหนาที่ของ แตละหนวยงานอาจไมตรงกัน ซ่ึงไดมีการตกลงกันลวงหนาในหนวยงาน ท้ังน้ี เวลา พักตองไมนอยกวาวันละ 1 (หนึ่ง) ชั่วโมง และจะตองอยูในระหวางเวลาท่ีพนักงาน แตล ะคนไดทาํ งานตดิ ตอ กนั มาแลวไมเกิน 5 (หา ) ชั่วโมง ขอ 3. 5 กรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีเหตุการณผิดปกติหรือมีความจําเปนตามลักษณะงานและ สภาพแวดลอมหรือเพ่ือความเหมาะสม บริษัทอาจเปลี่ยนแปลงกําหนดวัน เวลาทํางานปกติ และเวลาพักเปนการช่วั คราวไดเทาทจี่ าํ เปน โดยจะประกาศใหพนกั งานทราบลวงหนาเปนกรณี ไปโดยไมขัดตอ กฎหมายท่ีเก่ียวของ ขอ 3. 6 การบันทกึ เวลาการทํางาน พนักงานทุกคนตองบันทึกบัตรบันทึกเวลา และ/หรือ ลงช่ือในสมุด ลง เวลาดวยตนเองเมื่อเขาทํางานและเลิกงาน ยกเวนพนักงานฝายบริหารอนุญาตใหไมตอง บันทกึ บตั ร และ/หรอื ลงชอื่ ตามความจําเปน ในการปฏิบัติหนาที่ หมวดที่ 4 วันหยดุ และหลักเกณฑการหยดุ ขอ 4. 1 วันหยดุ ประจําสปั ดาห บริษัทกําหนดใหพนกั งานมวี นั หยุดประจาํ สปั ดาห สปั ดาหละ 1 (หนง่ึ ) วัน โดยบรษิ ทั จะกําหนดตามความเหมาะสมของลักษณะงานแตละหนวยงานน้ันๆ โดยจะหยุดวันหน่ึงเม่ือ ทํางานมาแลว 6 (หก) วันตดิ ตอกนั ขอ 4. 2 วนั หยุดตามประเพณี 4.2.1 บริษัทกําหนดวันหยุดตามประเพณีไวปละไมนอยกวา 13 (สิบสาม) วัน โดยรวมวัน แรงงานแหงชาตแิ ละใหไ ดร บั คา จางเทากับวันทํางานปกติ 20

4.2.2 ถาวันหยุดตามประเพณีวันใดตรงกับวันหยุดประจําสัปดาหใหเล่ือนวันหยุดตาม ประเพณนี น้ั ไปหยดุ ในวันทํางานถัดไป 4.2.3 บริษัทอาจเปลี่ยนแปลงวันหยุดตามประเพณีไดตามความเหมาะสมและตามความ จําเปนโดยพิจารณากําหนดจากวันหยุดราชการประจําป วันหยุดทางศาสนาหรือ ขนบธรรมเนยี มประเพณีแหงทอ งถ่นิ และจะประกาศวนั หยดุ ตามประเพณีของแตล ะป ใหท ราบโดยท่ัวกนั กอ นวันที่ 1 มกราคม ของทกุ ป 4.2.4 ในกรณีท่ีบริษัทไมอาจใหพนักงานหยุดตามประเพณีได เน่ืองจากสภาพงานอาจ กอใหเกิดความเสียหายไดน้ัน บริษัทอาจจะใหพนักงานไดหยุดในวันอ่ืนเพื่อชดเชย วันหยดุ ตามประเพณี หรือ จายคาทาํ งานในวันหยดุ ใหก็ได ขอ 4. 3 วนั หยุดพักผอ นประจาํ ป 4.3.1 บริษัทกําหนดใหพนกั งานขอหยดุ พกั ผอ นประจําปโ ดยไดร ับคาจางตามอายงุ าน ดงั น้ี 4.3.1.1 พนักงานที่ทํางานมาแลวครบหนึ่งป แตไมครบสามป มีสิทธิหยุดพักผอน ประจาํ ปไ ดป ล ะ 6 (หก) วันทํางาน 4.3.1.2 พนักงานที่ทํางานมาแลวครบสามป แตไมครบหกป มีสิทธิหยุดพักผอน ประจาํ ปไดป ล ะ 8 (แปด) วันทาํ งาน 4.3.1.3 พนักงานท่ีทํางานมาแลวครบหกปขึ้นไป มีสิทธิหยุดพักผอนประจําปไดป ละ 10 (สิบ) วนั ทาํ งาน 4.3.2 บรษิ ัทเปนผกู าํ หนดใหพนักงานผลัดเปล่ียนกันหยุดไดตามท่ีเห็นสมควร โดยไมใหเสีย งานของบริษัท โดยพนักงานตองทํางานครบระยะเวลาท่ีกําหนดแลว จึงมีสิทธิขอ หยุดพักผอนประจาํ ปไ ด 4.3.3 จํานวนวันหยุดแตละครัง้ บรษิ ัทจะเปนผูกาํ หนดใหตามความเหมาะสม 4.3.4 ผูบังคับบัญชาตามท่ีไดรับมอบอํานาจเปนผูกําหนดใหพนักงานในสังกัดของตนหยุด พักผอนประจําป 4.3.5 พนักงานตองแจงขอหยดุ ตามแบบทก่ี าํ หนดตอผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้นลวงหนาไม นอยกวา 10 (สิบ) วันทํางาน และไดรับอนุญาตโดยถูกตองแลวจึงหยุดงานได มิ เชน นนั้ บริษัทถอื วา เปนการขาดงาน และ/หรอื ละทง้ิ หนาทีซ่ ึ่งพนกั งานอาจไดรบั โทษ ทางวินัยได 4.3.6 หากพนักงานไมไดใชสิทธิหยุดในปใด หรือใชสิทธิไมครบ บริษัทจะจายเงินชดเชยให ตามจํานวนวันทเ่ี หลอื โดยจายใหใ นชวงสนิ้ ปนนั้ ๆ 4.3.7 กรณีพนักงานไดรับอนุญาตใหหยุดไดแลวและอยูระหวางการหยุด แตบริษัทมีความ จําเปนใหพนักงานกลับมาทํางานตามปกติ บริษัทจะไมนับจํานวนวันที่กลับมาทํางาน เปน การหยดุ โดยพนกั งานสามารถใชส ทิ ธิไดใ นโอกาสตอ ไป 4.3.8 ในกรณีจําเปนเรงดวน บริษัทมีสิทธิเรียกพนักงานที่หยุดพักผอนประจําปใหกลับเขา มาทํางานได โดยบริษัทจะจายคาทํางานใหตามหลักเกณฑการจายคาลวงเวลาและ คา ทํางานในวันหยุดตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน หรืออาจจะใหพนักงานใช สทิ ธิหยดุ พกั ผอนประจําปว นั อ่ืนแทน 21

4.3.9 กรณีพนักงานถูกเลิกจางไมวาดวยเหตุใดและยังมีสิทธิหยุดพักผอนประจําปเหลืออยู บริษัทจะจา ยคา ชดเชยใหตามจํานวนวันทเ่ี หลอื อยจู ริง 4.3.10 บริษัทมีสิทธิไมอนุญาตการขอหยุดประเภทนี้ไดตามความจําเปนและเหมาะสม ทั้งน้ี โดยคํานงึ ผลเสียหายท่ีอาจเกดิ ข้ึนของงานทพี่ นกั งานผขู อรับผิดชอบ หมวดท่ี 5 การบรหิ ารคาจาง เงนิ เดือนและคาตอบแทน ขอ 5. 1 เพอื่ ใหพ นักงานไดร บั คาตอบแทนโดยยุติธรรมตามหนา ที่ความรับผดิ ชอบและใหพนกั งาน ดาํ รงชีพอยา งเพียงพอกับสภาวะทางสงั คม บรษิ ทั จงึ กาํ หนดนโยบายการบรหิ ารคา จาง เงินเดอื นและ คา ตอบแทนตางๆ โดยยดึ ถอื องคประกอบตอไปน้เี ปน ขอพจิ ารณา 5.1.1 สภาวะทางเศรษฐกจิ ภายในประเทศ 5.1.2 ตลาดแรงงานและอตั ราคาจา งแรงงานภายในประเทศ 5.1.3 การเปรียบเทยี บอตั ราคา จางของอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน และ/หรือ กิจการใน พ้นื ทใ่ี กลเคียงกนั ตลอดจนขนาดและความสามารถในการจา ย 5.1.4 ตําแหนง หนาที่ ความรบั ผดิ ชอบ ประสบการณแ ละความสามารถ 5.1.5 สถานการณและความจําเปน ของบริษทั ขอ 5. 2 เพอื่ ใหพนักงานทกุ ระดบั ไดรับความยตุ ิธรรมในการพจิ ารณาปรับอัตราคาจางประจําป บริษัทจะ ยึดถือผลการปฏิบตั ิงานประจาํ ป ซ่ึงประเมินผลโดยผูบังคับบัญชาตามสายงานเปนเกณฑในการ พิจารณา โดยพจิ ารณาประกอบกับการลา การขาดงานและการมาปฏิบัตงิ านของพนักงาน ขอ 5. 3 การพิจารณาความดีความชอบ ผูบังคับบัญชาตามสายงานเปนผูประเมินผลการปฏิบัติงานของ ผูใตบ งั คบั บญั ชา โดยบรษิ ัทกาํ หนดแนวทางในการพจิ ารณาไว เชน 5.3.1 ความรเู กีย่ วกบั งานในหนาท่ี คุณภาพและปริมาณของงาน 5.3.2 ความเอาใจใสงานในหนาท่ี ความไวว างใจและความรบั ผดิ ชอบรวมท้งั มคี วาม ประพฤติดี 5.3.3 ความสนใจและการปฏิบัตติ อ คําส่งั คําแนะนาํ และการใหความรวมมือ 5.3.4 การพฒั นาความรู ความสามารถของตนเอง มีความคิดรเิ ริม่ และสรา งสรรค 5.3.5 สมั พันธภาพในงานและลักษณะการเปน ผนู ํา 5.3.6 การปฏบิ ัติตามระเบยี บวนิ ัย 22

ขอ 5. 4 วันทบี่ รษิ ทั จะจายคาจา ง คา ลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคา ลว งเวลาในวนั หยดุ กําหนด ไวด ังน้ี 5.4.1 พนักงานรายเดือน บริษัทจะจายคาจางภายในวันส้ินเดือน เดือนละ 1 (หนึ่ง) คร้ัง และจะจายคาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด ภายใน กาํ หนดไมเ กิน 7 (เจ็ด) วันของเดือนถัดไป 5.4.2 พนักงานรายวันและรายเหมา บริษทั จะจายคา จาง คาลว งเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด เดือนละ 2 (สอง) คร้ัง โดยงวดคาจางตั้งแตวันท่ี 1 ถึง 15 จา ยไมเ กนิ วนั ที่ 22 ของเดือนนัน้ และวนั ที่ 16 ถึง 30 หรอื 31 จายไมเกินวนั ท่ี 7 ของเดือนถัดไป 5.4.3 วนั ทก่ี ําหนดจายคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุดและคาลวงเวลาในวันหยุด ในงวดใดตรงกบั วันหยุด บรษิ ทั จะเลอ่ื นวันจา ยใหเ รว็ ขึ้นอกี หน่ึงวนั ขอ 5. 5 บริษัทจะจายคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุดใหกับ พนกั งานโดยการโอนเงนิ เขาบัญชีเงินฝากธนาคารพาณิชย และใหถือวาหลักฐานการโอนเงินเขา บัญชีเงินฝากของพนกั งานเปน เอกสารเกีย่ วกบั การจา ยเงินดงั กลาว ขอ 5. 6 กรณที ่พี นกั งานเปดบัญชธี นาคารไมทันกบั วันกําหนดการโอนเงนิ เขาบญั ชีธนาคารตามขอ 5.5 บริษัทจะจายคาจางใหเปน เงินสด โดยรับทฝี่ า ยทรัพยากรมนุษยข องบรษิ ัท และถือเปน หนา ท่ี ของพนักงานที่จะตอ งเปดบัญชีธนาคารโดยไมช กั ชา ขอ 5. 7 คา จาง คาลว งเวลา คา ทํางานในวนั หยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด ถอื เปนเงินไดข องพนักงาน ซ่ึงตองหกั ภาษีเงนิ ไดต ามประมวลรัษฎากร ขอ 5. 8 ในการเลิกจาง นายจา งจะตองจายคา จาง คา ลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาใน วันหยุด ตามที่ลูกจา ง มสี ทิ ธิไดรับใหแกลกู จา ง ภายใน 3 วัน นบั แตว นั ที่เลิกจาง 23

หมวดท่ี 6 คา ทํางานลวงเวลาและคาทาํ งานในวนั หยุด ขอ 6. 1 พนกั งานทกุ คนตองใหความรว มมอื และพรอ มทจี่ ะปฏิบัติงานนอกเวลาทํางานปกติหรือในวันหยุด งานตามคาํ สั่งของผูบังคับบัญชาในกรณีจําเปน เรงดวน ฉุกเฉินหรือเปนงานตอเนื่อง ทั้งนี้ เพื่อ ปองกันความเสียหายอันอาจเกิดขึ้นได พนักงานท่ีทํางานเกินเวลาทํางานปกติหรือทํางานใน วนั หยดุ ตามคาํ สงั่ ของผูบ งั คบั บัญชาใหม สี ทิ ธิไดรบั คา ลวงเวลาและคาทาํ งานในวนั หยุด ขอ 6. 2 พนักงานที่มีสิทธิไดคาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุดจะตองปฏิบัติ ตามระเบียบเรอ่ื งการทาํ งานลว งเวลา การทํางานในวันหยดุ และการทํางานลวงเวลาในวันหยุด โดยถูกตองเทาน้ัน ขอ 6. 3 หลกั เกณฑก ารทํางานลวงเวลาและการทํางานในวนั หยดุ 6.3.1 คาลวงเวลา 6.3.1.1 พนักงานท่ีทํางานเกินเวลาทํางานปกติของวันทํางานปกติจะไดรับคาลวงเวลา ดงั น้ี ­ ในอัตราหนึ่งเทาคร่ึงของอัตราคาจางตอชั่วโมงในการทํางานปกติ ตามจํานวน ชว่ั โมงทที่ าํ ­ ในอัตราหนงึ่ เทา ครง่ึ ของอตั ราคาจา งตอ หนวยการทํางานปกติ ตามจาํ นวนท่ที ํา 6.3.1.2 พนักงานที่ทํางานในวันหยุดเกินเวลาทํางานปกติของวันทํางาน จะไดรับคา ลว งเวลาในวนั หยดุ ดงั น้ี ­ ในอัตราสามเทา ของอตั ราคาจางตอ ชวั่ โมงในการทํางานปกติ ตามจาํ นวนช่ัวโมง ท่ที ํา ­ ในอัตราสามเทา ของอตั ราคา จา งตอ หนว ยการทาํ งานปกติ ตามจาํ นวนทท่ี าํ 6.3.2 คาทาํ งานในวันหยดุ 6.3.2.1 พนกั งานท่มี สี ิทธไิ ดร บั คา จา งในวนั หยดุ ถา มาทํางานในวันหยุดจะไดรับคา ทาํ งานในวนั หยุดเพิม่ ขน้ึ อีกไมนอ ยกวา หน่ึงเทา ของคาจา งในวันทํางานปกติ ตามจาํ นวนชว่ั โมงท่ที าํ งานในวันหยดุ หรอื ตามผลงานท่ที ําไดใ นวนั หยุด 6.3.2.2 พนักงานที่ไมมีสิทธไิ ดร ับคาจางในวนั หยดุ ถามาทํางานในวันหยุดจะไดรับ คาจา งทํางานในวันหยดุ อกี ไมน อยกวา สองเทาของคาจา งในวันทํางานปกติ ตามจาํ นวนชวั่ โมงทที่ ํา หรือตามผลงานที่ทําไดใ นวนั หยุด 24

ขอ 6. 4 พนกั งานท่ไี มม สี ิทธไิ ดร ับคาลวงเวลา 6.4.1 พนักงานระดับผูบังคับบัญชา ซึ่งมีอํานาจหนาท่ีทําการแทนบริษัท ในกรณีการจาง งาน การใหบําเหนจ็ และการเลิกจา ง 6.4.2 พนกั งานท่ปี ฏิบตั ิงานนอกสถานท่ี ซ่ึงโดยสภาพของงานไมอาจกําหนดเวลาไดแนนอน เชน พนกั งานขาย เปนตน 6.4.3 พนักงานท่ีไดรับคําสั่งใหไปปฏิบัติงานตางจังหวัดหรือตางประเทศ ซ่ึงไมสามารถ กาํ หนดเวลาทาํ งานปกตไิ ด 6.4.4 พนกั งานทไี่ มไ ดร บั อนมุ ัตใิ หทาํ งานลว งเวลาโดยถกู ตองตามขอ 6.2 หมวดท่ี 7 การลาและหลักเกณฑก ารลา ขอ 7. 1 เพ่ือเปดโอกาสใหพนกั งานปฏบิ ัติธรุ กจิ จาํ เปน สว นตัวไดในบางโอกาส บริษัทจงึ ใหพนักงานลางาน ได โดยพนักงานทุกระดับจะตองขออนุญาตการลาจากผูบังคับบัญชาโดยตรงและตองย่ืนใบลา ลวงหนา ยกเวนกรณีจําเปนและฉุกเฉินโดยแทจริง พนักงานตองสงใบลาใหผูบังคับบัญชา โดยตรงทันทที ่กี ลบั มาเพ่ือพิจารณาอนุมัติ หากสง ใบลาลา ชาใหถอื วา เปน การขาดงานและอาจถูก ลงโทษทางวนิ ัย ขอ 7. 2 บริษทั กาํ หนดการลาประเภทตาง ๆ ไวดงั นี้ 7.2.1 ลากิจ 7.2.2 ลาปว ย 7.2.3 ลาเพ่ือทําหมัน 7.2.4 ลาคลอด 7.2.5 ลาเพือ่ การฝก อบรม 7.2.6 ลาเนือ่ งจากการเรียกระดมพลทางทหารและเขารบั การอบรมเพิ่มเตมิ 7.2.7 ลาประเภทอ่นื ขอ 7. 3 ลากิจ พนักงานรายเดือนมสี ทิ ธลิ ากจิ โดยไดรับคา จางไดปละไมเกิน 5 (หา) วัน โดยตองยื่น 7.3.1 ใบลาลวงหนาตอผูบังคับบัญชาโดยตรงอยางนอย 1 (หน่ึง) วัน เมื่อผูบังคับบัญชา 7.3.2 อนุญาตแลว พนักงานจึงจะหยุดงานได พนกั งานรายวัน พนักงานรายเหมา มสี ิทธลิ ากจิ ปละไมเกิน 6 (หก) วัน และใหไดรับ คาจางเทากับคาจางในวันทํางานตลอดระยะเวลาท่ีลาแตปหน่ึงตองไมเกิน 3 (สาม) 25

วัน โดยตองยื่นใบลาลวงหนาตอผูบังคับบัญชาโดยตรงอยางนอย 3 (สาม) วัน เมื่อ ผูบงั คบั บัญชาอนุญาตแลว พนักงานจึงจะหยดุ ได 7.3.3 การลากิจใหเปนดุลพินิจของผูบังคับบัญชาที่ไดรับมอบอํานาจวาสมควรอนุมัติหรือไม ทัง้ น้ี ใหเ ปนไปตามระเบียบการลากจิ ท่บี ริษทั กําหนดไว 7.3.4 การลากจิ ทีไ่ มไดเปนไปตามขอ 7.3.1 หรือ 7.3.2 ใหถือวาพนักงานผูน้ันขาดงานและ ละทิ้งหนาที่ ขอ 7. 4 ลาปวย 7.4.1 พนักงานมีสิทธิลาปวยไดเทาท่ีปวยจริง โดยบริษัทจะจายคาจางใหเทากับคาจางใน วันทํางานปกติ ปหน่ึงไมเ กนิ 30 (สามสิบ) วันทํางาน 7.4.2 พนกั งานท่ีลาปวย 3 (สาม) วนั ติดตอกัน ตองนําใบรับรองแพทยแผนปจจุบันชั้นหน่ึง หรือ สถานพยาบาลของราชการมาแสดง กรณีไมสามารถนําใบรับรองแพทยมา แสดงไดใหช ้ีแจงตอผบู งั คบั บญั ชา 7.4.3 พนกั งานทล่ี าปวยตอ งเขยี นใบลาเสนอตอผูบังคับบัญชาในวันแรกที่กลับมาปฏิบัติงาน โดยใหถือปฏบิ ัตอิ ยา งเครงครัด หากพนักงานไมปฏิบัติตามขอนี้ บริษัทถือวาขาดงาน ในวนั ท่ีไมไ ดม าทํางานน้ัน 7.4.4 เมื่อพนักงานปวยไมวากรณีใด พนักงานจะตองแจงใหบริษัททราบโดยเร็วท่ีสุด ซ่ึง อาจเปนโดยทางโทรศพั ท จดหมาย หรือวิธอี ่นื ใด โดยพนกั งานจะตอ งปฏบิ ตั ิตามขอนี้ โดยเครง ครัด 7.4.5 วันท่ีพนักงานลาเนื่องจากประสบอันตราย หรือเจ็บปวยเน่ืองจากการทํางานและวัน ลาคลอดไมถือวา เปนวนั ลาปวยตามขอนี้ 7.4.6 หากพนักงานผูใ ดลาปวยเปนอาจิณ บริษัทอาจพิจารณาโยกยายหนาที่การงาน หรือ เลิกจางพนักงานผูน้ัน ในกรณีท่ีเห็นวาการอยูปฏิบัติงานตอไป จะไมเปนผลดีตอ สขุ ภาพของพนกั งาน หรือ การดาํ เนินงานของบริษัท 7.4.7 กรณที ีพ่ นกั งานประสบอนั ตรายขณะปฏิบัติหนาที่ใหกับบริษัท ใหปฏิบัติตามกฎหมาย ที่เกย่ี วขอ งกับกองทุนเงนิ ทดแทน ขอ 7. 5 ลาเพอ่ื ทาํ หมัน 7.5.1 พนักงานมีสิทธิลาเพื่อทําหมัน และ/หรือ เน่ืองจากการทําหมันโดยไดรับคาจางตาม ระยะเวลาท่แี พทยแ ผนปจ จบุ นั ชนั้ หนง่ึ กาํ หนด 7.5.2 พนักงานที่ใชสิทธิตามขอ 7.5.1 ตองมีหนังสือรับรองของแพทยปจจุบันชั้นหน่ึงมา แสดงเปน หลกั ฐาน 7.5.3 การลาตามขอ น้ี พนักงานตอ งขออนุญาตเปน หนังสือตอ ผูบังคับบัญชาลวงหนาไมนอย กวา 3 (สาม) วนั และไดร ับอนุญาตโดยถกู ตอ งแลว จงึ จะหยุดงานได 26

ขอ 7. 6 ลาคลอด บริษทั กําหนดใหพนักงานหญงิ ท่ีมคี รรภล าคลอดไดตามหลกั เกณฑ ดังนี้ 7.6.1 พนักงานหญิงที่มีครรภมีสทิ ธลิ าเพอื่ คลอดบตุ รครรภหนึ่งไมเกิน 98 (เกาสิบแปด) วัน ลาเพื่อคลอดบุตรใหหมายความรวมถึงวันลาเพื่อตรวจครรภกอนคลอดบุตรดวย โดยรวมวนั หยดุ ดว ยและใหไดรับคาจางเทากับคาจางในวันทํางานตลอดระยะเวลาท่ี ลาแตไ มเกิน 45 (ส่สี ิบหา ) วนั 7.6.2 การลาคลอดตอ งขออนุญาตลว งหนาเปนหนงั สือจากผูบ ังคบั บญั ชาโดยตรง 7.6.3 ในกรณีทพ่ี นกั งานไมสามารถขออนุญาตจากผบู ังคับบญั ชาโดยตรงเปน การลวงหนาได ใหสมาชิกในครอบครัว หรือเพื่อนรวมงานแจงการลาคลอดแทนไดภายใน 3 (สาม) วนั หลังจากการหยดุ งานเพอ่ื ลาคลอด 7.6.4 การลาเน่ืองจากมีอาการแพทอง หรือเน่ืองจากการแทงบุตรขณะตั้งครรภนอยกวา 28 (ยส่ี ิบแปด) สปั ดาห การคลอดบุตรกอ นกําหนดหรือโดยเหตุอื่นใดก็ตาม บรษิ ทั ไม ถอื วา เปน การลาคลอด แตถอื เปนการลาปวยตามขอ 7.4 7.6.5 พนกั งานหญิงมคี รรภม ีสทิ ธขิ อใหบ รษิ ทั เปลย่ี นงานในหนา ท่เี ปน การช่ัวคราวกอน หรือ หลังคลอดไดโดยมีใบรับรองแพทยแผนปจจุบันชั้นหน่ึงมาแสดงวาไมอาจทํางานใน หนาที่เดิมได 7.6.6 เม่ือพนักงานผนู ้ันกลับเขา มาทํางานตามปกติ ใหนําสูติบัตรมายื่นตอผูบังคับบัญชาซึ่ง จะตองสงใหกับฝายทรัพยากรมนุษยเพ่ือบันทึกการเปลี่ยนแปลงสถานภาพและ ลดหยอนภาษีเงินไดอันเปนประโยชนต อ พนกั งาน ขอ 7. 7 ลาเพือ่ ฝก อบรม 7.7.1 พนกั งานมีสิทธิลาเพ่อื ฝกอบรม หรือพัฒนาความรู ความสามารถของตนไดโดยไมได รับคา จางในเรื่องเก่ียวกับ 7.7.1.1 การแรงงานและสวสั ดิการสงั คม รวมทั้งการฝก อบรม หรือพฒั นาเกี่ยวกับ ทักษะเพอ่ื ประสทิ ธภิ าพในการทาํ งาน 7.7.1.2 การสอบวดั ผลทางการศึกษาที่ทางราชการจัด หรอื อนญุ าตใหจัดขน้ึ 7.7.2 การฝกอบรมหรือพัฒนาความรูความสามารถตามขอ 7.7.1 ตองมีโครงการหรือ หลกั สตู รและชวงเวลาจดั ทีแ่ นนอน 7.7.3 พนักงานตองเขียนใบลาเสนอผูบังคับบัญชาทราบลวงหนาไมนอยกวา 7 (เจ็ด) วัน กอ นวนั ลาโดยระบเุ หตทุ ี่ลาโดยชัดแจง และไดรับอนุญาตโดยถูกตองแลวจึงหยุดงาน ได 7.7.4 บรษิ ทั มสี ทิ ธทิ ่จี ะใชดุลพินิจในการอนุญาต โดยพิจารณาจากขอเสนอของพนักงานซ่ึง ประกอบดว ย 27

7.7.4.1 พนกั งานตอ งแสดงขอ มูลเปน ลายลักษณอกั ษรวา งานที่ทาํ อยนู ั้นจะไมเกดิ 7.7.4.2 ความเสียหายในระหวางวนั ลา และตองไดร ับความเห็นชอบจาก ผบู งั คบั บัญชาตนสงั กดั ตองไมเ คยไดรับอนุญาตใหล าเพอ่ื การฝก อบรม หรือพฒั นาความรู ความสามารถมาแลวในปน้นั 30 (สามสบิ ) วนั หรือ 3 (สาม) ครงั้ และ การลานนั้ อาจเกดิ ความเสยี หายแกก ารประกอบธุรกจิ ของบริษทั ขอ 7. 8 ลาเนื่องจากการเรียกระดมพลทางทหารและเขารับการอบรมเพ่ิมเติม บริษัทอนุญาตให พนักงานลาตามขอ นี้ไดโ ดยมหี ลกั เกณฑ ดังน้ี 7.8.1 พนักงานชายท่ีถูกทางราชการทหารเรียกพลเพ่ือการตรวจสอบ เพ่ือฝกวิชาทหาร หรือเพ่ือทดสอบความพรั่งพรอมตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร บริษัท อนุญาตใหลาโดยรับคาจางเทากับคาจางในวันทํางานตลอดระยะเวลาที่ลา แตไม เกนิ ปละ 60 (หกสบิ ) วันรวมวนั หยุดระหวา งท่ลี านั้น 7.8.2 พนักงานชายตองแสดงหลักฐานของทางราชการ เพื่อขอลาหยุดลวงหนาไมนอยกวา 3 (สาม) วัน ตอ ผบู งั คบั บญั ชา เมือ่ ไดรบั อนญุ าตแลว จงึ จะหยดุ งานได 7.8.3 เมือ่ ครบกาํ หนดการลาแลว พนักงานจะตองนําหลักฐานแสดงการรบั ราชการทหารมา มอบใหบ ริษัทภายใน 7 (เจ็ด) วัน นับต้ังแตวันที่เร่ิมกลับเขามาทํางานตามปกติ การ ไมกลับเขา ทํางานหลังครบกําหนดการลาภายใน 3 (สาม) วันทํางานโดยไมมีเหตุผล อนั สมควรแลว บริษัทถอื วาพนกั งานไมป ระสงคจ ะทํางานกับบริษทั อกี ตอไป 7.8.4 พนกั งานที่ลาไปคดั เลือกทหาร บริษทั ใหล าได 1 (หนงึ่ ) วัน โดยไดรับคาจางและตอง นําหลักฐานมาแสดง โดยจะตอ งแจง ผบู ังคับบัญชาลวงหนา 7 (เจ็ด) วัน หากไมตอง รับราชการทหาร พนักงานตองรีบรายงานใหผูบังคับบัญชาทราบโดยเร็วที่สุด พนกั งานทีถ่ กู เกณฑทหารไมไ ดรบั สิทธติ ามขอ 7.8.1 7.8.5 พนักงานที่ถกู เกณฑท หาร บรษิ ัทจะถอื วาพนกั งานนน้ั พน สภาพจากการเปนพนักงาน ทันทีโดยใหพนักงานผูนั้นเขียนหนังสือลาออกจากการเปนพนักงานของบริษัท เมื่อ พนการเกณฑท หารแลว ถา มีตําแหนงวางบรษิ ัทอาจพจิ ารณารับกลบั เขา ทํางานใหม ขอ 7. 9 ลาประเภทอน่ื การลาประเภทอื่นไมวากรณีใดนอกจากท่ีระบุไวใหเสนอขออนุญาตตอกรรมการ ผูจ ัดการหรือผูไดรับมอบหมายเปนกรณไี ป ขอ 7. 10 การลาทุกกรณีพนักงานตองเขียนใบลาตามแบบท่ีกําหนดตามความเปนจริง โดยเสนอให ผูบงั คบั บญั ชาอนุมัติ ผมู อี าํ นาจอนุมตั ิใหเปน ไปตามทบี่ ริษทั กาํ หนดไว 28

ขอ 7. 11 พนักงานผูใดเจตนาหรือกระทําการใด ๆ ท่ีจะใชสิทธิลาตามหมวดน้ีเพื่อตนเองหรือผูอ่ืนโดยมิ ชอบ บริษทั จะถือวาพนักงานนนั้ จงใจฝาฝนระเบยี บขอ บงั คับของบริษทั และจะถกู พิจารณาลงโทษ ทางวินยั ตามควรแกก รณี หมวดที่ 8 สวัสดกิ าร การรกั ษาพยาบาลและความปลอดภัย ขอ 8. 1 สวสั ดกิ าร บรษิ ทั จะพจิ ารณาใหม ีสวสั ดิการตาง ๆ อยา งนอยตามท่กี ฎหมายกําหนดเพ่ือความ ผาสกุ และบรรเทาความเดอื ดรอนของพนักงานโดยจะประกาศใหท ราบเปน กรณีไป ขอ 8. 2 บริษทั จะจดั ใหมคี ณะกรรมการสวสั ดิการขน้ึ โดยปฏบิ ัติตามท่ีกฎหมายกําหนด ขอ 8. 3 การรักษาพยาบาล บริษัทจะใหความชว ยเหลือและอาํ นวยความสะดวกเกยี่ วกับการรกั ษาพยาบาลแก พนกั งานทป่ี ว ยอันมิใชเนื่องจากการทาํ งานตามสมควรแกกรณี ขอ 8. 4 ในกรณพี นกั งานประสบอนั ตรายหรอื เจ็บปว ยเนอื่ งจากการทาํ งานใหบรษิ ทั บริษทั จะพจิ ารณา ใหค วามชว ยเหลือตามความเหมาะสม นอกเหนือจากที่พนักงานไดรับความคมุ ครองจากกฎหมาย แรงงานที่เกยี่ วขอ ง ขอ 8. 5 ความปลอดภัย บริษทั จัดใหม คี ณะกรรมการความปลอดภัย เพื่อวางมาตรการในสวนของความ ปลอดภยั ในการทาํ งาน และใหพนกั งานทุกคนปฏบิ ตั ติ ามกฎ ระเบยี บแหงความปลอดภยั ในการ ทาํ งานโดยเครง ครัด 29

หมวดท่ี 9 วินยั และโทษทางวินัย ขอ 9. 1 วัตถปุ ระสงค 9.1.1 เพอ่ื ใชเ ปน แนวทางปฏบิ ัตเิ ก่ียวกับวินัย พนักงานผูใดฝาฝนใหถือวาเปนการกระทําผิด วนิ ยั และไดร ับโทษทางวนิ ัยตามควรแกก รณี 9.1.2 เพอื่ ใชเปน แนวปฏบิ ัตขิ องผูบงั คับบัญชาในการพจิ ารณา สงเสริม แกไข หรือปรับปรุง ความประพฤติของผใู ตบ ังคับบัญชา 9.1.3 เพือ่ ใหเ กดิ ความเปน ธรรมตอพนกั งาน 9.1.4 เพ่ือชวยสงเสริมใหการดําเนินงานของบริษัทบรรลุวัตถุประสงคดวยความมีระเบียบ ถูกตอ งตามกฎหมายและกอ ใหเกดิ ความสงบสขุ รว มกนั ขอ 9. 2 วินัยของพนกั งาน 9.2.1 วนิ ัยทัว่ ไป 9.2.1.1 ตองแจงการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของตนเองใหบริษัททราบภายใน 15 (สิบหา) วัน นับจากวันที่เปล่ียนแปลงหรือรับทราบ ในกรณีตาง ๆ เชน การเปล่ียนช่ือ นามสกุล ท่ีอยูปจจุบัน การสมรส หยาราง ตั้งครรภ มี บุตร เปลี่ยนบตั รประจาํ ตวั ประชาชน เปน ตน 9.2.1.2 ตองรักษาความสะอาด ไมทิ้งสิ่งของ หรือสิ่งปฏิกูลใด ๆ นอกภาชนะท่ี บริษทั จัดไว 9.2.1.3 ดูแลการใชวัสดุอุปกรณ เครื่องมือ เคร่ืองใช พลังงาน และสิ่งอ่ืน ๆ ให สน้ิ เปลืองนอ ยทสี่ ดุ 9.2.1.4 ตองมีกิริยา และใชวาจาสุภาพ ไมสบประมาท ดูหม่ิน เหยียดหยาม ให ราย ใสความ ลอเลียน กระทบกระแทก หยาบคาย กาวราว กลาวโทษ กลั่นแกลง หรือ กระทําการใด ๆ ท่ีไมเหมาะสมกับผูบังคับบัญชา ลูกคา และพนักงาน 9.2.1.5 ชว ยหรือสนบั สนนุ ชักจูง เปน ใจ หรือเพกิ เฉยตอการกระทาํ ความผิดของ พนักงานหรือบุคคลอนื่ 9.2.1.6 หามรับจางทาํ งานใหผ ูอืน่ หรอื ดาํ เนินธรุ กจิ ใด ๆ อันอาจเปน ผล กระทบกระเทอื นเวลาทาํ งานหรอื กิจการของบรษิ ัท 9.2.1.7 ระมัดระวงั ดแู ล รักษาส่งิ ของหรือทรพั ยส ินของบรษิ ทั และตอ งแจง ให ผบู งั คับบัญชาทราบ เมอื่ ทาํ ส่งิ ของหรอื ทรัพยสินของบริษัทเสียหายหรือ สูญหาย 9.2.1.8 หา มปด ประกาศ โฆษณา ขดี เขียนขอความ แจกใบปลิวเผยแพรเอกสาร หรอื ส่งิ พมิ พใด ๆ ในบริษทั โดยไมไ ดรบั อนุญาต รวมทงั้ การปลด ทําลาย ขีดเขยี นเพ่มิ เตมิ ในเอกสาร ประกาศหรือคําสงั่ ใด ๆ ของบริษทั 30

9.2.1.9 ไมเ ปด เผยขอ มลู หรือปกปด ขอ ความ หรือแจง ขอ มลู ที่เปนเท็จ หรือ ให การเท็จตอบริษทั หรือบคุ คลท่ีไดรบั มอบหมายใหทาํ การแทนบริษทั หรือ ผแู ทนของบรษิ ทั อนั เปนเหตใุ หบริษทั ไดร บั ความเสยี หาย 9.2.1.10 หามถายรูปในบรเิ วณทบี่ ริษทั ไมอนญุ าต 9.2.1.11 หามพนกั งานด่ืมสุราหรอื เสพยต ดิ ของมนึ เมา รวมทั้งมอี าการมึนเมาเขามา ในบริเวณบรษิ ทั 9.2.1.12 หา มสบู บหุ ร่ี หรอื กอ ใหเกิดประกายไฟในสถานทซ่ี ึง่ เกบ็ วัตถไุ วไฟหรอื เชอ้ื เพลงิ ภายในสํานกั งานหรือบรเิ วณท่เี ปน ท่ีหา มโดยเด็ดขาด 9.2.1.13 หา มใชเครื่องมอื เครอ่ื งจักร หรือขบั ขี่ยานพาหนะโดยไมมหี นา ที่เกี่ยวของ 9.2.1.14 หา มรับประทานอาหาร หรอื ของขบเคีย้ วในเวลาทาํ งาน หรอื บรเิ วณที่ ทํางาน รวมทัง้ นาํ เขาไปในบรเิ วณสายการผลิต 9.2.2 การเขาหรอื ออกนอกบริเวณบรษิ ทั 9.2.2.1 พนกั งานท่ีออกจากสถานท่ีทํางานในระหวางเวลาทาํ งาน เวลาพัก และ นอกเวลางานไมวา กรณใี ด ๆ ตอ งปฏบิ ัตติ ามระเบียบขอ บังคบั ท่บี ริษัท กาํ หนดทุกคร้งั 9.2.2.2 พนักงานที่เขามาในบรเิ วณบรษิ ัทตองแตงกายสภุ าพเรียบรอ ยเหมาะสมกบั หนาทก่ี ารงาน และถกู ตอ งตามกาละเทศะ 9.2.2.3 พนกั งานตองแสดงและตดิ บตั รประจาํ ตัวพนกั งานอยา งเปด เผย เห็นชัด เม่ือผา นเขา มา 9.2.2.4 หามนาํ บคุ คลภายนอกเขามาในบริเวณบริษทั โดยไมไดร บั อนญุ าต และหาก บคุ คลภายนอกทเี่ ขา มา กอ ใหเกิดความเสียหายกบั บริษัท หรอื พนกั งาน ดว ยกนั บริษทั ถอื วา พนกั งานทน่ี ําเขา มามีความผดิ และตองรับผิดชอบทกุ กรณี 9.2.2.5 การนําสง่ิ ของหรอื ทรัพยสินของบริษัทออกจากบริเวณบริษทั จะตอ งมีการ แสดงหลักฐานตอพนกั งานรักษาความปลอดภยั หรือเมอ่ื มกี ารรอ งขอให แสดง 9.2.2.6 ตอ งใหค วามรว มมอื กับพนักงานรักษาความปลอดภัย หรอื ผูท ีบ่ ริษัทไดรับ มอบหมายเม่ือมีตรวจคนหรอื สอบถามทุกกรณี 9.2.2.7 หามนาํ สตั วเ ลี้ยงทุกชนิดเขามาในบรเิ วณบรษิ ทั 9.2.2.8 หา มนาํ พา มีไว หรอื ครอบครอง อาวุธ ยาเสพยตดิ หรอื สิง่ ผดิ กฎหมายในบริเวณบรษิ ัท 9.2.3 การมาทาํ งาน 9.2.3.1 ไมมาทาํ งานสาย กลบั กอ นเวลา หรือลาหยุดงานโดยไมม ีเหตอุ ันสมควร 31

9.2.3.2 ไมเปลี่ยนแปลงเวลาทํางาน หรือ แลกกะทํางานโดยไมแจงให ผูบ ังคับบัญชาทราบลว งหนา 9.2.3.3 พนกั งานจะตอ งมาทํางานอยา งปกติ สม่ําเสมอ ตามวันและเวลาทํางานท่ี บริษทั กาํ หนด ไมทํางานเฉือ่ ยชาหรือถว งเวลาทาํ งาน 9.2.3.4 พนักงานที่บรษิ ทั กําหนดใหบ ันทึกเวลาทาํ งาน จะตองบันทึกเวลาดวย ตนเองทุกครงั้ เม่อื เขา ทาํ งานและเลิกงาน หามบนั ทึกเวลาแทนผูอ ่นื หรือรู เหน็ เปน ใจใหผ อู ่ืนบันทึกเวลาให 9.2.3.5 หา มฝาฝน ระเบยี บการแตง เครื่องแบบและการใชอุปกรณค วามปลอดภัย 9.2.4 การปฏิบัตหิ นาท่ขี องพนักงาน 9.2.4.1 เชือ่ ฟงและปฏิบตั ติ ามคาํ สัง่ โดยชอบของผบู ังคับบญั ชา 9.2.4.2 ปฏิบัติตามระเบียบขอ บงั คับและกฎเกณฑต า ง ๆ ทีบ่ ริษัทกําหนดไวอ ยาง เครง ครัด 9.2.4.3 ปฏิบัติตามคําสั่งอันชอบดวยกฎหมายและขอบงั คบั ของบริษัทและใหความ เคารพผบู ังคบั บญั ชาเหนือตน หรอื พนักงานอาวโุ สกวา 9.2.4.4 พึงปฏิบัตหิ นา ท่ีดว ยความซือ่ สัตย สจุ ริต ขยันหมัน่ เพียร และมี วิจารณญาณในการทาํ งาน 9.2.4.5 หามละเลย ละทง้ิ หนาท่ี ทาํ งานดวยความประมาท เลนิ เลอ แอบนอน ใน ระหวางเวลางาน การเพิกเฉยตอ การปฏบิ ัตหิ นา ทแ่ี ละขาดงาน 9.2.4.6 รายงานใหผ ูบังคับบญั ชาทราบทุกคร้งั ในกรณที เ่ี กิดเหตุผิดปกติในงาน ซึ่ง กอใหเกิดหรืออาจกอ ใหเ กดิ ความเสยี หายแกบ ริษทั 9.2.4.7 ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและขอ บังคบั เก่ียวกบั การคมุ ครองขอ มลู สวนบคุ คล รวมถึงกฎระเบยี บและนโยบายทเ่ี ก่ียวขอ งของบริษัทอยางเครง ครัด 9.2.4.8 ไมกระทําการเกบ็ รวบรวม ใช เปดเผย และ/หรือ โอนขอ มูลสว นบุคคล ของบคุ คลใดๆ ไมวา ภายในประเทศหรอื ไปยังตางประเทศ เวน แตเปน การ ปฏบิ ตั ิตามหนาท่ี หรอื ไดร บั อนญุ าตจากผูบ ังคับบัญชาลวงหนา กอนแลว 9.2.4.9 แจง ขอ มลู สว นบุคคลตามที่บริษัทตองการตามความเปนจริง หากขอมูลท่ี พนักงานแจง ไมถกู ตองตามความเปน จริง ไมว าดว ยเหตุใดกต็ ามพนกั งาน จะตองแจงขอมลู ทถ่ี กู ตองใหบริษทั ทราบโดยเร็วที่สดุ 9.2.4.10 ขอ มูลสว นบุคคลทพ่ี นักงานไดร บั ไมวา ดว ยวธิ ีการใดกต็ าม อนั เนื่องมาจาก การปฏิบัตงิ านตามสัญญาวา จาง ตอ งดาํ เนนิ การจดั เก็บใหปลอดภยั และ รกั ษาไวเปนความลบั โดยเครงครดั ตลอดเวลา เวน แตเปน การเปด เผยตาม หลกั ความจําเปน ตอการปฏิบตั หิ นาที่ และ/หรือเพ่ือปฏิบัตติ ามกฎหมาย หรือคาํ สง่ั โดยชอบดว ยกฎหมายของหนวยงานใดๆ ของรฐั 32

9.2.5 ความประพฤติและความซ่ือสัตยส ุจริต 9.2.5.1 เปนผูม ศี ลี ธรรม ประพฤตติ นเปน พลเมอื งดี อยใู นระเบียบและกฎเกณฑ ของสังคม 9.2.5.2 พนกั งานตอ งเปน ผตู รงตอเวลาในการนัดหมายเกย่ี วกบั การปฏิบตั ิหนา ท่ี 9.2.5.3 พนกั งานตองไมเ ปนผูมหี น้สี ินลนพน ตัว 9.2.5.4 พนกั งานตองไมกระทําการใด ๆ อนั เปนการผดิ กฎหมายทม่ี ีโทษทางอาญา 9.2.5.5 หามผูบังคับบัญชาและพนกั งานกระทาํ การลวงเกนิ คุกคาม หรือ กอ ความเดอื นรอ นรําคาญทางเพศ ซึ่งเปนหญิง ชาย หรอื เดก็ ในที่ทาํ งาน หรือบรเิ วณบริษทั 9.2.5.6 พนกั งานตองไมกระทาํ การใด ๆ อันไมส ุจรติ ทเี่ กย่ี วของกับเอกสารของ บรษิ ทั 9.2.5.7 พนักงานตองใหค วามรว มมือโดยสจุ ริตกบั บริษัทในการสอบสวนเรอ่ื งราว ตา ง ๆ เพอื่ ความสงบเรยี บรอ ยภายในบรษิ ทั 9.2.5.8 พนกั งานตอ งไมอ าศัยอํานาจหนาที่ของตนโดยมชิ อบ เพอ่ื แสวงหา ผลประโยชนใ ด ๆ 9.2.5.9 เมอื่ พนกั งานเหน็ บคุ คลภายนอกทีไ่ มไดร ับอนญุ าตเขา มาในบรเิ วณบรษิ ัท พนกั งานตอ งรบี รายงานใหผ ูบงั คับบัญชาทราบทนั ที 9.2.5.10 ไมท ะเลาะวิวาทหรอื ใชอ าวธุ กาํ ลงั ประทุษรา ยซึง่ กนั และกันในบรเิ วณ บรษิ ัท หรอื สถานทอ่ี ืน่ ทีบ่ รษิ ทั จัดงานหรือเปน เจาภาพนอกสถานท่ี 9.2.5.11 การกระทําใดนอกจากท่ีกลาวขางตน หากโดยธรรมเนียมหรือจารีต ประเพณี หรือโดยสามัญสํานึกของบุคคลทั่วไปถือวาเปนความผิดแลว ให ถอื วา การกระทาํ น้นั เปนความผิดทางวินยั ดวย ขอ 9. 3 กรณดี ังตอ ไปนี้ บริษทั ถอื วาเปน ความผดิ อยา งรายแรงและจะเลิกจางโดยไมจายคา ชดเชย 9.3.1 ทจุ ริตตอหนา ท่ีหรอื กระทําผดิ อาญาโดยเจตนาตอบริษทั 9.3.2 กระทําการใด ๆ ทเี่ ปน การจงใจทําใหบ ริษัทไดรบั ความเสียหาย 9.3.3 ฝาฝนระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทํางาน หรือระเบียบคําส่ังของผูบังคับบัญชาอัน ชอบดวยกฎหมายและเปนธรรมและบริษัทไดเตือนเปนหนังสือแลว เวนแตกรณี รายแรง บริษัทไมจําเปนตองตักเตอื น กรณีบริษัทเตือนเปนหนังสือ ใหหนังสือเตือนมี ผลบงั คบั ใชไมเ กนิ 1 (หน่ึง) ป นับแตว ันที่พนักงานไดกระทําผดิ 9.3.4 ละท้ิงหนาที่เปนเวลา 3 (สาม) วันทํางานติดตอกันไมวาจะมีวันหยุดคั่นหรือไมก็ตาม โดยไมม เี หตุผลอนั สมควร 9.3.5 กระทาํ โดยประมาท เลนิ เลอ เปน เหตุใหบ รษิ ัทไดร ับความเสยี หายอยา งรา ยแรง 9.3.6 ไดร ับโทษจําคุกตามพพิ ากษาถึงทสี่ ดุ ใหจาํ คุก ในกรณี (9.3.6) ถาเปน ความผดิ ทไี่ ด กระทาํ โดยประมาท หรอื ความผดิ ละหุโทษ ตอ งเปน กรณที เี่ ปนเหตใุ หน ายจา งไดร บั ความเสียหาย 33

ขอ 9.4 โทษทางวินยั บรษิ ทั กาํ หนดโทษทางวนิ ยั สําหรบั พนกั งานผกู ระทาํ ความผิดตามความหนกั เบาของ การกระทาํ ความผดิ ไวเปน 4 (ส)่ี สถาน ดังนี้ 9.4.1 เตือนดวยวาจา 9.4.2 เตอื นเปน หนังสือ 9.4.3 พักงานโดยไมไดร บั คา จาง ไมเ กิน 6 (หก) วนั ทาํ งาน 9.4.4 เลกิ จา ง ขอ 9. 5 เตือนดวยวาจา ใหผ ูบงั คบั บัญชาวา กลาวตักเตือนพนักงานผูกระทําผิดวนิ ัยซึง่ เปนความผิดไมถ ึงขัน้ รายแรงดว ยวาจา โดยใหผูบังคับบัญชาบนั ทกึ ไวเ ปนหลกั ฐาน ขอ 9. 6 เตือนเปนหนงั สอื ในกรณีวากลาวตักเตือนดวยวาจาไมไดผล หรือในกรณีที่พนักงานกระทําความผิด คอนขางรายแรงใหผูบังคับบัญชาตักเตือนเปนหนังสือแจงการกระทําผิดเพ่ือใหโอกาสพนักงาน ปรับปรงุ ตัวเองใหด ีขึน้ โดยแจง คําเตอื นตอ พนักงานและใหพนักงานลงชื่อรับทราบ โดยสงสําเนา ใหฝา ยทรัพยากรมนุษยเ พื่อเขา แฟม ประวัติ ขอ 9. 7 พกั งานโดยไมไ ดรับคา จาง ใหผ บู งั คับบัญชาสง่ั ลงโทษพนักงานท่ีกระทําผิดไดตามขอบเขตท่ีไดรับมอบหมายโดย การพักงานคร้ังละไมเกิน 6 (หก) วันทํางาน โดยไมไดรับเงินคาจางหรือเงินอ่ืนใดท้ังสิ้น โดยเฉพาะถาเปนความผิดรายแรง แตยังไมถึงข้ันใหออก หรือไลออก ใหผูบังคับบัญชาส่ังพัก งานไดทันทีโดยไมจ าํ เปน ตองเตือนดวยวาจาหรอื เตือนเปน หนงั สือกอนได ขอ 9. 8 เลิกจาง บริษทั ลงโทษพนกั งานผูกระทําผิดรายแรงตามขอ 9.3 โดยการเลิกจางทันที ซึ่งอาจ เปนกรณีใดกรณีหนึ่งตามความหนักเบาของการกระทาํ ผิด เชน ใหอ อก หรอื ไลออก เปน ตน 34

ขอ 9. 9 บรษิ ทั จะพจิ ารณาลงโทษพนักงานทกี่ ระทําผิดดว ยความยตุ ธิ รรม ซ่ึงอาจพิจารณาลงโทษสถาน หนึ่งสถานใดไดโดยคํานึงถึงความหนักเบาและลักษณะความผิดเปนสําคัญ โดยไมจําเปนตอง เรยี งลําดับตามขอ 9.4 ขอ 9. 10 พกั งานเพอ่ื การสอบสวน กรณีพนักงานถูกกลาวหาวากระทําความผิดวินัยของบริษัท และบริษัทพิจารณาเห็น ควรใหมีการสอบสวน กรรมการผูจัดการ หรือผูมีอํานาจที่ไดรับมอบหมายอาจส่ังพักงานเปน หนังสือไดไมเกิน 7 (เจ็ด) วัน เพ่ือสอบสวนโดยแจงใหพนักงานทราบและระบุความผิดให พนักงานทราบระหวางการพกั งานเพอื่ สอบสวนดังกลาว บริษัทจะจายคาจางใหเทากับคร่ึงหนึ่ง ของคาจางท่ีไดรับในวันทํางานปกติ หากผลการสอบสวนปรากฏวาพนักงานไมผิดบริษัทจะจาย คา จางสวนท่ขี าดอีกคร่ึงหนง่ึ ระหวางถูกพกั งานใหพ รอมดอกเบ้ยี รอ ยละ 15 (สิบหา) ตอป หมวดที่ 10 การรองทุกข ขอ 10. 1 การรอ งทกุ ข หมายถงึ การรอ งเรยี นของพนกั งานตอ บริษัทในเร่อื งท่เี หน็ วาไมไดรับความเปน ธรรม มีการปฏบิ ตั ทิ ไี่ มถ กู ตอง หรอื มกี ารละเลยไมป ฏบิ ัติตามขอบงั คบั การทาํ งาน หรือสญั ญา หรอื ขอตกลงทร่ี วมกันจัดทาํ ไว โดยผรู องทกุ ขตอ งปฏิบตั ติ ามขั้นตอนหรือกระบวนการรองทกุ ขท ี่ บรษิ ัทกาํ หนดไว ขอ 10. 2 ขอบเขตและความหมายของการรอ งทุกข 10.2. 1 ขอ รอ งทกุ ขข องพนักงานจะตองเปน เรื่องท่ีเกี่ยวกับความคดิ เหน็ หรือขอขัดแยงวาดวย ระบบหรอื วธิ ีการทํางาน สิทธิประโยชนตามสญั ญาหรือสภาพการจา ง ความประพฤติและ ความเปน ธรรมของพนกั งาน 10.2. 2 ขอรองทุกขจ ะตอ งมใิ ชเรื่องรองขอใหแตงตงั้ โยกยา ย เลิกจา ง ปลดออก ไลอ อก เกย่ี วกับตัวบุคคล 35

10.2. 3 ขอรองทกุ ขจะตองเปนเร่ืองเกยี่ วกับการทํางานมใิ ชเรอ่ื งสว นตัว เวน แตเรอื่ งสว นตวั นน้ั จะมผี ลกบั การทํางาน ขอ 10. 3 บรษิ ทั ถือวา การดําเนนิ การดงั ตอไปนี้ ไมถือเปน การรอ งทุกขต ามความหมายของ 10.3. 1 หมวดน้ี 10.3. 2 10.3. 3 เรอื่ งท่นี อกเหนอื จากท่ีระบไุ วใ นขอ 10.2 10.3. 4 เร่อื งทเ่ี ก่ยี วกบั สทิ ธิของฝา ยจดั การในการบรหิ ารและ ปฏบิ ัตงิ าน การรองทุกขท่ีเปนหนังสือที่ไมมีลายมือช่ือผูรองทุกข หรือไมระบุช่ือ นามสกลุ ทถี่ ูกตองของผูรอ ง หนงั สอื แสดงความคดิ เหน็ ทัว่ ไปหรอื บัตรสนเทห หรือใบปลวิ หรอื แถลงการณตาง ๆ ขอ 10. 4 วิธกี ารรองทุกข พนักงานสามารถรอ งทุกขใ นเรื่องตางๆ ไดต ามทีร่ ะบไุ วใ นขอ 10.2 โดยมวี ิธกี าร ดังนี้ 10.4. 1 การรองทุกขอ ยางไมเปนทางการ พนักงานสามารถนําปญหาหรือเรื่อง 10.4. 2 ที่ตองการจะรองทุกขไปปรึกษาหารือกับผูบังคับบัญชาช้ันตน และ/หรือ สายงานทรัพยากรมนุษยได เพื่อขอความเห็นหรือขอแนะนํา ซึ่งอาจ สามารถหาขอ ยุติทเี่ หมาะสมได การรองทกุ ขอ ยางเปนทางการ หากดําเนินการตามขอ 10.4.1 ไมเปนผล หรือ ไมประสงคจ ะใชว ิธีดงั กลา ว พนักงานสามารถย่ืนเร่ืองรองทุกขตาม แบบท่ีบริษัทกําหนด (กรณีรองทุกขเปนหนังสือ) โดยยื่นตอ ผู บั ง คั บ บั ญ ช า ห รื อ ส า ย ง า น ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย เ พ่ื อ ดํ า เ นิ น ก า ร ต า ม กระบวนการยุตขิ อรองทกุ ขตอไป ขอ 10. 5 ขัน้ ตอนการรอ งทุกข พนักงานมสี ิทธิยืน่ เรือ่ งรองทุกขไ ด โดยปฏบิ ัติตามข้ันตอน ดังนี้ 10.5.1 รอ งทุกขด ว ยวาจา 10.5.2 รองทุกขเ ปน หนังสอื 10.5.3 การอุทธรณข อรองทุกข ขอ 10. 6 เมือ่ บริษัทไดรบั ขอ รอ งทุกขของพนกั งาน บริษทั จะดําเนนิ การ 36

10.6. 1 พิจารณาวา เปน ขอ รอ งทกุ ขท ถี่ กู ตองตามทกี่ าํ หนดไวห รือไม หากปรากฏวา ไมเ ขา ขาย 10.6. 2 เปนขอ รอ งทุกข บรษิ ัทจะแจงใหพนักงานทราบเปน หนังสือโดยเร็ว หากเปนขอ รอ งทุกขท ี่ถูกตอง บริษทั จะ 10.6.2.1 พจิ ารณาวา ขอรอ งทกุ ขนนั้ เปนเร่ืองใด เฉพาะตัวหรือกลมุ บคุ คล หรอื สวนรวมและเกยี่ วขอ งหรือมผี ลกระทบอยา งใด 10.6.2.2 สอบถามและหาขอ มลู เพือ่ ใหไ ดขอ เทจ็ จรงิ ทีถ่ ูกตอ งและสมบูรณ 10.6.2.3 สอบสวนผูรองทุกขแ ละผูเ กีย่ วของ 10.6.2.4 ศกึ ษาวิเคราะหข อมูลที่ไดร ับทงั้ หมด เพ่อื พจิ ารณาวินจิ ฉัยหรือตัดสิน 10.6.2.5 แจง ผลการพิจารณาใหผ รู อ งทุกขท ราบโดยเรว็ 10.6.2.6 ตดิ ตามผลการตัดสนิ และการปฏิบตั ิ ขอ 10. 7 ในกรณีตอ งมกี ารสอบสวน บริษัทจะดําเนินการโดยตั้งอยูบ นพ้ืนฐานของความถูกตอง 10.7.1 เปนธรรม รวดเร็วและใหเกิดความเขาใจท่ีดีตอกันเพื่อรวมกันปฏิบัติงานใหมี 10.7.2 ประสิทธิภาพตอไป การสอบสวนตามขอน้ี บริษัทจะพิจารณาจัดใหมีคณะกรรมการ 1.07.3 สอบสวนขึ้นตามความจําเปนและเหมาะสมเปนกรณี อยางนอยคณะกรรมการจะ ประกอบไปดว ย ผบู ังคบั บัญชาของผรู องทุกข ผแู ทนหนว ยงานท่เี กยี่ วขอ ง ผูแ ทนสายงานทรพั ยากรมนษุ ย ขอ 10. 8 กระบวนการยตุ ิขอรอ งทุกข 10.8.1 ช้นั ทห่ี นึ่ง การรอ งทกุ ขด วยวาจา ใหพนักงานรอ งทกุ ขต อ ผบู ังคับบัญชาชัน้ ตน หากสามารถทําความเขาใจหรือตกลงได ใหถ ือวาการรอ งทุกขเ ปนอันยตุ ิ กรณเี ร่ืองทร่ี องทุกขเก่ียวของกับผูบังคับบัญชาโดยตรง พนักงานอาจรอง ทุกขตอสายงานทรัพยากรมนุษย และ/หรือ ผูบังคับบัญชาระดับเหนืออีกขั้นหน่ึง หากสามารถตกลงหรอื ทําความเขาใจได ถือวาขอรอ งทกุ ขเปน อนั ยุติ ผูบังคับบัญชา และ/หรือ สายงานทรัพยากรมนุษย ควรดําเนินการ พิจารณาขอรองทุกขใหเรียบรอยภายใน 3 (สาม) วัน ทํางาน และรายงานให ผบู ังคับบัญชาตามสายงานช้นั เหนอื ข้ึนไปทราบเปน หนังสอื 37

10.8.2 ช้นั ทสี่ อง การรองทุกขเ ปน หนงั สอื หากพนักงานไมเห็นพองกับผลการพิจารณาในขั้นที่หนึ่ง หรือยังไมสามารถหาขอยุติ ไดใหพนักงานยื่นคํารองเปนหนังสือและลงลายมือชื่อผูรองทุกขเสนอผูบังคับบัญชา โดยตรงหรือเสนอผานสายงานทรัพยากรมนษุ ย เพื่อดําเนนิ การพจิ ารณาโดยเร็ว พนักงานตองย่ืนคํารองทุกขภายใน 5 (หา) วัน นับแตวันที่ ทราบผลในชั้นท่ีหนงึ่ มิเชนนน้ั จะถอื วา การรอ งทุกขเปน อนั ยตุ ิ ผูบังคับบัญชาจะพิจารณาตอบขอรองทุกขเปนหนังสือให พนักงานทราบภายใน 15 (สิบหา) วันทํางาน นับแตวันไดรับคํารองและรายงานให ผูบ ังคบั บัญชาตามสายงานช้นั เหนอื ขนึ้ ไปทราบเปนหนังสอื 10.8.3 ชน้ั ท่สี าม การอุทธรณข อรองทกุ ข หากพนักงานเห็นวายังไมไดรับความเปนธรรมอีก ใหมีสิทธิอุทธรณตอกรรมการ ผจู ัดการ โดยทาํ เปนหนังสือย่ืนผานสายงานทรัพยากรมนุษยภายใน 7 (เจ็ด) วันนับ แตวันทรี่ ับทราบผลการพจิ ารณาในข้นั ทส่ี อง หากพน กําหนดจะถอื วาพนักงานยอมรับ การพิจารณานนั้ ขอรองทกุ ขเปน อันยตุ ิ กรรมการผจู ัดการจะพิจารณาการวินิจฉัยคํา อุทธรณและแจงใหพนักงานทราบเปนหนังสือภายใน 30 (สามสิบ) วันนับแตวันที่ได รับคําอุทธรณ คาํ วินิจฉัยของกรรมการผูจัดการใหถ อื เปนทสี่ ุด ขอ 10. 9 ในกรณีขอรองทุกขมีผลเก่ียวเน่ืองกับพนักงานอื่น บริษัทจะแจงผลการพิจารณาขั้น ขอ 10. 10 สดุ ทายใหพนกั งานท่มี สี ว นเก่ียวขอ งทราบดวย บริษัทจะใหความคมุ ครองผรู อ งทุกขแ ละผเู กย่ี วขอ ง โดย 10.10.1 กรณพี นกั งานผรู อ งทกุ ขไมประสงคจ ะเปด เผยช่ือ บริษัทจะปกปดเปน ความลบั โดย 10.10.2 เครง ครัด 10.10.3 โดยหลกั การท่วั ไป บริษทั ถอื วา เร่อื งที่พนักงานรองทกุ ข ซ่งึ มีผลเฉพาะตัวบุคคลเปน เร่อื งปกปด ไมพงึ เปด เผย เวน แตผูรอ งทุกขยนิ ยอมหรอื ตกลงใหเ ปด เผย 10.10.4 บรษิ ทั จะไมนําเรอ่ื งท่ผี ูรองทุกขไ ดรองทกุ ข ไปประกอบการพิจารณาเก่ียวกับสิทธิ ประโยชนต าง ๆ ทพ่ี นกั งานพึงไดรับจากบริษัท เวนแตปรากฏวาการรองทุกขนั้นเปน การใหรา ยผูอ น่ื หรือทําใหผูอื่นไดรับความเสียหาย หรือเปนการแจงเท็จ ซ่ึงนอกจาก จะถอื วา เปนการผดิ วนิ ยั แลว บรษิ ทั จะพิจารณาตดั สทิ ธปิ ระโยชนที่ผรู องทุกขพึงไดรับ ตามหลกั เกณฑแ ละเงอื่ นไขทีก่ ําหนดไวอ กี สว นหน่ึงดวย บรษิ ัทจะไมนําเรื่องท่ผี รู อ งทกุ ขไดรองทุกขดว ยความสจุ ริตไปฟองรอ ง หรือดาํ เนินคดี ท้ังทางแพงและอาญา หรือลงโทษทางวินัย หรือถือเปนเหตุที่บริษัทจะกลั่นแกลง หรือเลิกจางหรือดําเนินการใด ๆ ท่ีเกิดผลรายตอพนักงานดังกลาว เวนแตการรอง ทกุ ขเปน ไปโดยมิชอบและทําใหม ีผูไ ดรับความเสยี หายจากการรองทกุ ขน้ัน 38

ขอ 11. 1 หมวดท่ี 11 11.1.1 การพนสภาพการเปนพนกั งาน 11.1.2 พนักงานจะพนสภาพการเปน พนักงานของบรษิ ทั ในกรณีดงั ตอ ไปนี้ 11.1.3 ตาย 11.1.4 ลาออก 11.1.5 เกษยี ณอายุ ปลดออก ขอ 11. 2 ถูกลงโทษทางวินัยถงึ ขั้นเลิกจา ง ตาย หมายถึง พนกั งานถงึ แกค วามตายไมว า ดว ยเหตใุ ดกต็ าม ขอ 11. 3 ลาออก พนักงานท่ีประสงคจะลาออก ตองย่ืนหนังสือตามแบบที่กําหนดตอ ผูบังคับบัญชาตามลําดับช้ันกอนวันที่พนักงานประสงคจะลาออกลวงหนาอยางนอย 30 (สามสิบ) วัน สําหรับพนักงานรายเดอื น และอยางนอย 15 (สิบหา) วัน สําหรับ พนักงานรายวันและรายเหมา พรอมท้ังชี้แจงเหตุผลการลาออก และไดรับอนุญาต โดยถกู ตอ งแลว จงึ จะถอื วา การลาออกมผี ลสมบูรณ ขอ 11. 4 เกษยี ณอายุ 11.4.1 พนักงานจะครบเกษยี ณอายเุ มื่ออายุครบ 60 ปบรบิ ูรณ 11.4.2 พนักงานที่ครบเกษยี ณอายุ บรษิ ัทจะใหพ นักงานนัน้ พนสภาพการเปน พนกั งานต้ังแต 11.4.3 วันท่ี 1 มกราคม ของปถัดไป 11.4.4 ในกรณีจาํ เปนและเพื่อประโยชนข องบรษิ ทั บริษทั อาจพิจารณาทาํ สญั ญาวาจา ง พนักงานท่ีครบเกษียณอายุตอ ไปอกี ตามความเหมาะสมโดยไมข ดั ตอกฎหมาย บรษิ ัทจะจา ยคาชดเชยใหพนกั งานทเ่ี กษียณอายุตามกฎหมาย ขอ 11. 5 ปลดออก บริษัทจะพิจารณาปลดพนักงานออกจากงานโดยไดรับคาชดเชยในกรณี 11.5.1 ดงั ตอ ไปน้ี 11.5.2 ยุบหนว ยงานหรืออัตรากาํ ลัง การปลดออกตามขอ นี้ หากเปนไปตามที่ระบุไวใ นขอ 12.2 พนักงานมีสิทธิไดรบั คา ชดเชยพิเศษตามท่รี ะบุไวในขอ 12.3 ดว ย 11.5.3 เจบ็ ปวย หรอื สขุ ภาพไมแข็งแรง หรอื ถงึ ข้ันทพุ พลภาพ หรอื แพทยแ ผนปจจบุ ัน ชั้นหนึ่งลงความเห็นวาเปนโรคเร้ือรังหรือเปนโรคติดตอรายแรงอันอาจเปนอันตราย ตอ พนักงานอนื่ หยอ นสมรรถภาพในหนาที่การงานหรือไรค วามสามารถหรือจิตฟน เฟอ น 39

11.5.4 การเจ็บปวยเน่ืองจากการทํางานทตี่ องใชเวลาในการรักษาตัวนานเกินกวา 1 (หนงึ่ ) ป ขอ 11. 6 ขึน้ ไปแตใหอยูในดุลยพนิ ิจของบรษิ ทั ดวย เลกิ จา ง บริษทั จะใหพ นกั งานออกจากงานโดยไมจา ยคา ชดเชยในกรณดี งั ตอ ไปน้ี 11.6.1 พนกั งานทอ่ี ยูระหวางทดลองงานและบริษัทเลกิ จางภายในระยะเวลาทดลองงาน 11.6.2 โดยนยั ตามขอ 2.9.2 11.6.3 พนกั งานตามสัญญาจา งท่ีมีกําหนดระยะเวลาจางที่แนนอนและบริษัทเลิกจางเม่ือครบ กาํ หนดสัญญาจา ง พนักงานที่ถกู ลงโทษตามขอ 9.3 หรอื ดวยเหตุอ่นื ท่ีไมมีสทิ ธไิ ดรับคาชดเชย ขอ 11. 7 พนกั งานทพ่ี น สภาพการเปนพนักงานของบริษัทไมวาดวยกรณีใด จะตองสงมอบงาน และทรัพยสินของบริษัทที่อยูในความครอบครองหรือในความรับผิดชอบใหเปนท่ี เรยี บรอยกอนวันพน สภาพการเปน พนกั งานจะมีผล 40

หมวดที่ 12 การจายคา ชดเชย ขอ 12. 1 บริษัทจะจา ยคาชดเชยใหพ นกั งานทีถ่ ูกเลกิ จา งโดยไมมคี วามผิดตามหลกั เกณฑ ดงั น้ี 12.1.1 พนักงานซึ่งทํางานติดตอกันครบหน่งึ รอยยสี่ ิบวนั แตไ มค รบหน่งึ ป (รวมวันหยุด วนั 12.1.2 ลา วนั ที่บริษัทอนญุ าตใหหยุดงานเพ่ือประโยชนข องพนกั งาน และวันทบี่ รษิ ัทส่งั ให 12.1.3 หยดุ เพอื่ ประโยชนของบรษิ ัท) มีสิทธิไดรบั คาชดเชยไมน อยกวาอตั ราคาจา งสดุ ทาย 12.1.4 สามสบิ วนั หรือไมน อ ยกวาคา จา งของการทํางานสามสบิ วนั สุดทายสาํ หรับพนกั งานที่ 12.1.5 ไดร บั คา จา งตามผลงานโดยคํานวณเปนหนว ย 12.1.6 พนกั งานซง่ึ ทํางานตดิ ตอกนั ครบหน่งึ ป แตไ มครบสามป (รวมวันหยดุ วันลา วนั ที่ บริษัทอนุญาตใหหยุดงานเพื่อประโยชนของพนักงาน และวันที่บริษัทส่ังใหหยุดเพ่ือ ประโยชนข องบริษทั ) มีสทิ ธิไดรับคาชดเชยไมนอยกวาอัตราคาจางสุดทายเกาสิบวัน หรอื ไมน อ ยกวา คาจางของการทํางานเกา สบิ วันสุดทายสาํ หรบั พนักงานที่ไดร บั คาจาง ตามผลงานโดยคาํ นวณเปนหนวย พนกั งานซงึ่ ทํางานตดิ ตอกนั ครบสามป แตไมครบหกป (รวมวันหยดุ วนั ลา วนั ที่ บริษัทอนุญาตใหหยุดงานเพื่อประโยชนของพนักงาน และวันที่บริษัทสั่งใหหยุดเพื่อ ประโยชนของบริษัท) มีสิทธิไดรับคาชดเชยไมนอยกวาอัตราคาจางสุดทายหน่ึงรอย แปดสิบวันหรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานหนึ่งรอยแปดสิบวันสุดทายสําหรับ พนักงานทีไ่ ดร ับคาจา งตามผลงานโดยคํานวณเปนหนว ย พนักงานซง่ึ ทํางานติดตอกันครบหกป แตไ มครบสบิ ป (รวมวันหยดุ วันลา วันท่บี รษิ ทั อนุญาตใหหยุดงานเพ่ือประโยชนของพนักงาน และวันท่ีบริษัทสั่งใหหยุดเพื่อ ประโยชนข องบรษิ ทั ) มีสทิ ธไิ ดร ับคา ชดเชยไมนอ ยกวาอัตราคาจางสุดทายสองรอยส่ี สิบวนั หรอื ไมน อ ยกวาคาจา งของการทํางานสองรอยส่ีสิบวันสุดทายสําหรับพนักงาน ท่ไี ดร บั คา จา งตามผลงานโดยคํานวณเปน หนว ย พนักงานซึ่งทํางานตดิ ตอ กันครบสิบปขึน้ ไป (รวมวันหยดุ วันลา วนั ท่ีบรษิ ัทอนุญาตให หยุดงานเพ่ือประโยชนของพนักงาน และวันที่บริษัทส่ังใหหยุดเพื่อประโยชนของ บรษิ ัท) มสี ิทธไิ ดรับคาชดเชยไมนอยกวาอัตราคาจางสุดทายสามรอยวันหรือไมนอย กวาคาจางของการทํางานสามรอยวันสุดทายสําหรับพนักงานที่ไดรับคาจางตาม ผลงานโดยคํานวณเปนหนวย พนกั งานซ่งึ ทาํ งานติดตอกันครบย่ีสบิ ปข้นึ ไป (รวมวันหยดุ วนั ลา วันที่บริษทั อนญุ าต ใหหยุดงานเพื่อประโยชนของพนักงาน และวันท่ีบริษัทสั่งใหหยุดเพ่ือประโยชนของ บริษทั ) มีสิทธิไดรับคาชดเชยไมนอ ยกวาอัตราคาจางสุดทา ยส่รี อยวันหรือไมนอยกวา คาจางของการทํางานสามรอยวันสุดทายสําหรับพนักงานที่ไดรับคาจางตามผลงาน โดยคํานวณเปนหนว ย 41

ขอ 12. 2 ใ น ก ร ณี ที่ บ ริ ษั ท จ ะ เ ลิ ก จ า ง พ นั ก ง า น เ พ ร า ะ เ ห ตุ ที่ บ ริ ษั ท ป รั บ ป รุ ง ห น ว ย ง า น ขอ 12. 3 กระบวนการผลติ การจําหนา ยหรอื การบริการอันเน่อื งมาจากการนําเครื่องจักรมาใช ขอ 12. 4 หรือเปลี่ยนแปลงเคร่ืองจักรหรือเทคโนโลยี ซ่ึงเปนเหตุใหตองลดจํานวนพนักงาน บรษิ ทั จะแจง วันท่จี ะเลิกจา ง เหตุผลของการเลิกจางและรายชื่อพนักงานตอพนักงาน ตรวจแรงงานและพนกั งานท่จี ะเลกิ จางทราบไมนอ ยกวาหกสิบวันกอ นวนั ที่จะเลิกจา ง ในกรณีท่ีบริษัทไมแจงใหพนักงานท่ีจะเลิกจางทราบลวงหนา หรือแจง ลว งหนานอยกวา ระยะเวลาท่ีกําหนดตามวรรคแรก บริษัทจะจายคาชดเชยแทนการ บอกกลาวลวงหนาใหพนักงานเทากับคาจางอัตราสุดทายหกสิบวัน หรือเทากับ คาจางของการทํางานหกสิบวันสุดทายสําหรับพนักงานซึ่งไดรับคาจางตามผลงาน โดยคํานวณเปนหนว ย ในกรณีที่มีการจายคาชดเชยแทนการบอกกลาวลวงหนาตามวรรคสอง แลว ถือวาบริษัทไดจายสินจางแทนการบอกกลาวลว งหนา ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยแ ลว ในกรณที บี่ รษิ ทั เลิกจา งพนกั งานตามขอ 12.2 และพนักงานทํางานติดตอกันครบหกป ข้ึนไปโดยรวมวันหยุด วันลา วันท่ีบริษัทอนุญาตใหหยุดงานเพื่อประโยชนของ พนักงาน และวันท่ีบริษัทสั่งใหหยุดงานเพ่ือประโยชนของบริษัท บริษัทจะจาย คาชดเชยพิเศษเพิ่มขึ้นจากคาชดเชยตามขอ 12.1 สําหรับการทํางานเกินหกปให พนักงานซ่ึงเลกิ จางไมนอยกวา อัตราคาจางสุดทายสิบหาวันตอการทํางานครบหน่ึงป หรือไมนอยกวาคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย แตคาชดเชยตามขอนี้รวม แลวตองไมเกินอัตราสุดทายสามรอยหกสิบวันหรือไมเกินคาจางของการทํางานสาม รอยหกสิบวันสุดทายสําหรับพนักงานซ่ึงไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปน หนวย เพ่ือประโยชนในการคํานวณคาชดเชยพิเศษ เศษของระยะเวลาทํางานที่ มากกวา หนึ่งรอ ยแปดสบิ วัน ใหน ับเปนการทํางานครบหนึ่งป กรณีบริษัทยายสถานประกอบการไปต้ัง ณ สถานที่อื่น ซึ่งจะมีผลกระทบตอการ ดํารงชีวิตตามปกติของพนักงานหรือครอบครัว บริษัทจะแจงใหพนักงานทราบ ลว งหนาไมน อยกวาสามสิบวันกอนวันยายสถานประกอบการ กรณีบริษัทไมสามารถ แจงหรือแจงการยายนอยกวาสามสิบวัน บริษัทจะจายคาชดเชยพิเศษแทนการบอก กลา วลว งหนาเทากบั คาจางจํานวนสุดทายสามสิบวัน หากพนักงานไมประสงคจะไป ทาํ งานดว ยพนักงานมสี ิทธิบอกเลกิ สญั ญาภายใน 30 (สามสิบ) วันทาํ งาน หลงั จากท่ี ไดร บั แจง จากนายจา งโดยใหม สี ทิ ธิไดรบั คาชดเชยตามขอ 12.1 42

พนักงานมีสิทธิย่ืนคําขอใหคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานพิจารณา ภายในสามสิบวันนับแตวันที่บริษัทยายสถานประกอบการวาเปนกรณีที่บริษัทตอง บอกลวงหนาหรือพนักงานมีสิทธิบอกเลิกสัญญาจางโดยมีสิทธิไดรับคาชดเชยพิเศษ หรอื ไม การจดั สวัสดิการใหกับพนกั งานในบรษิ ัท บริษทั ไดเลง็ เห็นถึงความสาํ คัญของการจัดสวัสดิการตางๆ ใหกับพนักงาน ทั้งนี้ หากบริษัทใดมี การจัดสวัสดิการที่ดีใหกับพนักงานไมวาจะเปนในดานใดก็ตามจะเปนแรงผลักดันอันสําคัญอีกสวนหนึ่ง นอกเหนือจากในเรื่องของคาตอบแทนที่จะกระตุนจูงใจใหกับพนักงานมีความรูสึกทัศนคติอันดีและรักใน องคกร อีกทั้งยังเปนสวนที่ชวยใหพนักงานทุกคนมีขวัญกําลังใจในการปฏิบัติหนาท่ีของตนไดอยางเต็ม ศกั ยภาพและมีความสุข สําหรับในกลมุ ของบริษัทศรีตรัง ไดมีการจัดสวัสดิการใหกับพนักงานในหลายๆดานไมวาจะเปน เรื่องของการประกันสุขภาพ การประกันอุบัติเหตุ การใหความชวยเหลือการจัดการงานศพเม่ือพนักงาน เสยี ชีวิต การจัดสวัสดกิ ารบานพักพนักงาน เปนตน ซึ่งในคูมือพนักงานฉบับนี้จะไดกลาวไวโดยสรุป หากมี ขอสงสยั ใดๆ สามารภศึกษาขอ มลู เพิ่มเตมิ ไดจ ากคูมือและระเบยี บท่ีไดกําหนดไวในแตละเรื่องของสวัสดิการ น้ันๆ โดยอาจมีการพิจารณาแกไขปรับปรุง หรือเพิ่มเติมใหเหมาะสมกับสภาพการณไดในโอกาสตอไป ซึ่ง บรษิ ทั จะประกาศใหท ราบเปน กรณีไป ดานกองทนุ ประกนั ประกันสงั คม 1. วัตถปุ ระสงค เพอื่ เปน กองทนุ ใหห ลักประกนั แกผปู ระกนั ตนใหไดรับประโยชนทดแทน เมื่อตองประสบอันตราย เจบ็ ปว ยทพุ พลภาพหรอื ตาย ซ่ึงไมใ ชเ นือ่ งจากการทาํ งาน รวมทั้งกรณคี ลอดบุตร สงเคราะหบุตร ชราภาพ และกรณีวางงาน 43

2. การเรียกเกบ็ เงินสมทบ สํานักงานและกันสงั คมจัดเกบ็ เงินสมทบเขา กองทนุ ประกนั สังคมจาก 3 ฝา ย คือ 1.นายจา ง 2.ลูกจา ง 3.รัฐบาล โดยใหนายจางเปนผูมีหนาท่ีหักเงินสมทบของลูกจางนําสงประกันสังคมเปนประจําทุกเดือนซ่ึง ฐานคาจางที่คํานวณยึดตามหลักเกณฑท่ีสํานักงานประกันสังคมกําหนดเอาไวระหวางคาจางขั้นต่ํา 1,650 บาท และไมเกนิ 15,000 บาทตอเดอื น โดยคาํ นวณเปนรอ ยละทก่ี าํ หนดในแตล ะปปฏิทนิ 3. หลักเกณฑในการเกิดสิทธิ ลกู จา งจะไดรับสิทธิก็ตอเมือ่ ไดส ง เงนิ สมทบครบตามหลกั เกณฑใ นแตล ะกรณี 4. ประโยชนท ดแทน หมายถึง สทิ ธปิ ระโยชนท ผ่ี ูประกันตนหรือลูกจาง/ผูมีสทิ ธิไดรบั มี 7 กรณี 1) ประโยชนท ดแทนกรณปี ระสบอนั ตราย หรอื เจ็บปว ย 2) ประโยชนทดแทนกรณีคลอดบุตร 3) ประโยชนท ดแทนกรณีทพุ พลภาพ 4) ประโยชนทดแทนกรณเี สียชวี ติ 5) ประโยชนท ดแทนกรณีสงเคราะหบ ุตร 6) ประโยชนท ดแทนกรณีชราภาพ 7) ประโยชนทดแทนกรณีวา งงาน 5. เงอื่ นไขการไดรับเงินทดแทน 5.1 กรณีประสบอนั ตราย หรอื เจ็บปว ย อนั มใิ ชเน่ืองจากการทํางาน เงือ่ นไข ไดร ับสิทธกิ ต็ อเม่อื สง เงินสมทบครบ 3 เดอื น ภายในระยะเวลา 15 เดอื น กอ นการเจ็บปว ย สทิ ธิ • คา บรกิ ารทางการแพทย  กรณีเขารับการรักษาในสถานพยาบาลตามบัตรรับรองสิทธิหรือ สถานพยาบาลเครือขาย ไมตองเสียคาใชจายใด ๆท้ังสิ้น จนสิ้นสุดการ รกั ษา 44

 กรณีเขารักษาพยาบาลลักษณะเจ็บปวยฉุกเฉิน ยังสถานพยาบาลอ่ืนผู ประกันตนสามารถเบิกคารักษาพยาบาลท่ีเกิดขึ้นจริงตามความจําเปน ภายในระยะเวลาไมเกิน 72 ชั่วโมง นับแตเวลาท่ีผูประกันตนเขารับการ รักษาพยาบาลคร้ังแรก (ไมรวมวันหยุดราชการ) ตามประเภทและอัตรา การจายคา บริการทางการแพทย เบกิ ไดไ มจ ํากัดจาํ นวนครง้ั ประเภทผปู ว ยนอก  จายคา รกั ษาพยาบาลท่จี า ยจรงิ แตไ มเกนิ วนั ละ 1,000 บาท  คาตรวจวิเคราะหทางหองปฏิบัติการ เชนคาตรวจเลือด คา เอ็กซเรย ครั้งละไมเ กิน 200 บาท  คาหัตถการจากแพทย เชน เย็บแผล เขาเฝอก ไมเกินคร้ังละ 200 บาท ประเภทผูป วยใน  จา ยคารกั ษาพยาบาลทีจ่ า ยจรงิ แตไ มเ กนิ วันละ 2,000 บาท  กรณีจําเปนตองผาตัดใหญ ใชระยะเวลาในการผาตัดไมเกิน 1 ชั่วโมงจายตามจํานวนท่ีจายจริงไมเกิน 8,000 บาท ตอการ เจบ็ ปว ยแตละครงั้  กรณจี ําเปนตอ งผาตัดใหญ ใชระยะเวลาในการผาตัดไมเกิน 2 ชวั่ โมง จา ยตามจํานวนที่จายจริงไมเกิน 12,000 บาท ตอการ เจบ็ ปวยแตล ะคร้ัง  กรณีจําเปนตองผาตัดใหญ ใชระยะเวลาในการผาตัดเกิน 2 ช่วั โมง จา ยตามจริงไมเกนิ 16,000 บาท ตอ การเจ็บปวยแตละ คร้งั  จายคา หอ ง คาอาหาร ตามจํานวนที่จายจริงไมเกินวันละ 700 บาท  กรณีมคี วามจําเปนตอ งรับการรักษาพยาบาลในหอง ICU จาย คารักษาพยาบาลเพ่ิมตามความจําเปนไมเกินวันละ 4,500 บาท  กรณีมีการตรวจรักษาดวยเทคโนโลยีขั้นสูงไดแก CT-Scan จายตามจํานวนท่ีจายจริงไมเกิน 4,000 บาท และ MRI จาย ตามจาํ นวนทจ่ี ายจริงไมเกิน 8,000 บาทตอการเจ็บปวยแตละ ครง้ั  กรณีมีความจําเปนตองสงตัวผูปวยไปตรวจวินิจฉัยหรือสง ตอไปยังสถานพยาบาลอื่น สถานพยาบาลมีสิทธิ เบิกคา พาหนะไดตามอตั ราทีก่ ําหนด  กรณีอบุ ัติเหตุฉกุ เฉิน เขา รับการรักษายังสถานพยาบาลอ่ืน ผูประกันตน สามารถเบิกคารักษาพยาบาลท่ีเกิดข้ึนจริงตามความจําเปนภายใน ระยะเวลาไมเกิน 72 ช่ัวโมง นับตั้งแตเวลาที่ผูประกันตนเขารับการ 45

รักษาพยาบาลคร้ังแรก(ไมรวมวันหยุดราชการ) โดยไมจํากัดจํานวนคร้ัง ตามหลักเกณฑเ ดียวกบั กรณีเจบ็ ปวยฉุก  กรณที นั ตกรรม มีสิทธิไดรับคาบริการทางการแพทย 3 กรณี คือ กรณี อุดฟน ถอนฟน และขูดหินปูน เทาที่จายจริงตามความจําเปนแตไมเกิน 900 บาทตอ ป  กรณีฟอกเลือดดวยเคร่ืองไตเทียม ผูประกันตนท่ีเจ็บปวยดวยโรคไต วายเรอ้ื รงั ระยะสดุ ทาย มสี ิทธไิ ดร ับบริการทางการแพทย โดยการบําบัด ทดแทนไต  เงินทดแทนการขาดรายได กรณีหยุดงานตามใบรับรองแพทยแผน ปจ จุบนั ชั้นหนึง่ ผูป ระกันตนมีสิทธิไดรับเงินทดแทนการขาดรายไดรอยละ 50 ของคาจางครั้งละไมเกิน 90 วัน ปละไมเกิน 180 วัน เวนแตโรค เรื้อรงั ไมเ กนิ 365 วัน แตท้ังนี้จะไดรับสิทธิก็ตอเม่ือสิ้นสุดการจายเงินคา ลาปวยจากนายจา ง แลว เทานัน้  คาอุปกรณในการบําบัดรักษาโรค กรณีสูญเสียอวัยวะ หรือสูญเสีย สมรรถภาพของอวยั วะบางสวน จะไดรับคาอปุ กรณใ นการบําบัดรักษาโรค เชน เลนสเทียม ไมเทา คา้ํ ยันฯ ตามประเภทและอัตราท่กี ําหนด  คา ฟน ฟสู มรรถภาพ กรณีฟน ฟูสมรรถภาพภายหลังการประสบอันตราย หรอื เจ็บปว ย จะไมไดร บั สทิ ธิตามกฎหมาย ข้นั ตอนปฏบิ ัติ >> กรณีเขา รับการรกั ษาพยาบาล 1. เขารักษาพยาบาลตามบัตร และสถานพยาบาลเครือขาย ใหยื่นหลักฐานบัตรรับรองสิทธิ และ บัตรประจําตัวประชาชนใหกับสถานพยาบาลตามบัตร สถานพยาบาลดังกลาวจะใหการรักษา โดยไมต อ งเสียคาใชจ า ยใดๆ ทัง้ ส้ิน 2. เขาสถานพยาบาลอ่ืน(กรณีเจ็บปวยฉุกเฉินและอุบัติเหตุ) ยื่นหลักฐานสําเนาบัตรรับรองสิทธิ และสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน ใหกับสถานพยาบาลนั้นและรีบดําเนินการแจงไปยัง สถานพยาบาลตามบตั รภายใน 72 ชั่วโมงแรก(ไมนบั รวมวนั หยดุ ราชการ) 3. ตามขอ 2 หากผูประกันตนสํารองจายคารักษาพยาบาลไปกอนแลว สามารถเบิกคา รักษาพยาบาลคืนจากสํานักงานประกันสังคมไดตามหลักเกณฑท่ีกําหนด ใหนําหลักฐาน ใบรับรองแพทย ใบเสร็จรับเงิน สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนและสําเนาบัตรประกันสังคม ดําเนนิ การเบกิ เงนิ คนื กบั สาํ นักงานประกนั สังคมภายหลงั ตามหลกั เกณฑที่กาํ หนด >> กรณขี อรบั เงนิ ทดแทนการขาดรายไดจากประกนั สังคม 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook