Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดทำโครงสร้างรายวิชาประวัติศาสตร์ ม.5 (2-2564)

การจัดทำโครงสร้างรายวิชาประวัติศาสตร์ ม.5 (2-2564)

Published by Arpaporn Sonprasert, 2021-05-04 13:34:15

Description: การจัดทำโครงสร้างรายวิชาประวัติศาสตร์ ม.5 (2-2564)

Search

Read the Text Version

การจดั ทาโครงสร้างรายวชิ า รายวิชา ประวัติศาสตร์ รหัสวชิ า ส 23104 ระดับชั้น มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 จดั ทาโดย นางสาวอาภาภรณ์ สอนประเสรฐิ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ตาบลช่างเค่ิง อาเภอแมแ่ จ่ม จังหวดั เชียงใหม่ สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สานกั งานการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

คาอธิบายรายวิชา รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ รหสั วิชา ส 23104 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 เวลา 20 ชวั่ โมง จานวน 0.5 หน่วยกติ คาอธบิ ายรายวิชา สาระ : ประวตั ิศาสตร์ ศึกษาประวัติของบุคคลสาคัญท้ังชาวไทยและต่างประเทศท่ีมีส่วนสร้างสรรค์ วัฒนธรรมไทย และประวัติศาสตร์ไทย ศึกษาภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย วิถีชีวิตคนไทย ในสมัยต่างๆ การสืบทอด การเปลี่ยนแปลง แนวทางการอนุรักษ์ และการมีส่วนร่วม ในภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย โดยใช้กระบวนการและวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาประวัติของบุคคลสาคัญท้ังชาวไทยและชาว ต่างประเทศที่มีส่วนสร้างสรรค์ตลอดถึงการอนุรักษ์และการมีส่วนร่วม ในภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย ตระหนกั และเหน็ คณุ คา่ ความสาคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมีความรักความภาคภูมิใจและธารงความ เป็นไทย มาตรฐาน / ตวั ชี้วดั ส 4.3 ม.4-6/1 วเิ คราะหป์ ระเด็นสาคัญของประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ม.4-6/2 วเิ คราะหค์ วามสาคญั ของสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ตอ่ ชาติไทย ม.4-6/3 วิเคราะห์ปัจจยั ทสี่ ง่ เสรมิ การสร้างสรรคภ์ มู ปิ ญั ญาไทยและวัฒนธรรมไทยซง่ึ มีผลต่อสังคมไทยในยคุ ปัจจุบัน ม.4-6/4 วเิ คราะหผ์ ลงานของบคุ คลสาคญั ท้ังชาวไทยและต่างประเทศท่ีมีสว่ นสรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรมไทยและ ประวตั ิศาสตร์ไทย ม.4-6/5 วางแผนกาหนดแนวทางและมีส่วนร่วมการอนุรักษภ์ มู ปิ ญั ญาไทยและวัฒนธรรมไทย รวมทั้งหมด 5 ตวั ช้ีวดั

ผังมโนทศั น์ รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ รหัสวิชา ส 23104 ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ชื่อหน่วย สถาบันพระมหากษัตริย์ ชื่อหน่วย บคุ คลสาคญั ในประวัตศิ าสตร์ไทย จานวน 2 ช่ัวโมง : 5 คะแนน จานวน 7 ช่ัวโมง : 25 คะแนน รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 จานวน 20 ชั่วโมง ชื่อหน่วย ภมู ิปัญญาไทย ชอ่ื หน่วย การอนรุ ักษ์ภูมปิ ัญญา จานวน 6 ชั่วโมง : 25 คะแนน และวฒั นธรรมไทย จานวน 5 ช่ัวโมง : 25 คะแนน

หนว่ ยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ โครงสรา้ งรายวชิ ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภา รหสั มฐ.ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ 1 สถาบนั พระมหากษัตริย์ ส 4.3 ม.4-6/2 วิเคราะหค์ วามสาคัญของสถาบัน พระมหากษตั รยิ ต์ อ่ ชาตไิ ทย ค พ ด ข อ 2 บุคคลสาคญั ในประวตั ศิ าสตร์ ส 4.3 ม.4-6/4 วิเคราะห์ผลงานของบุคคลสาคัญ ไทย ท้ังชาวไทยและต่างประเทศที่มีส่วนสร้างสรรค์ ต วัฒนธรรมไทยและประวัติศาสตร์ไทย ก ห ช บ พ ค 3 ภมู ปิ ญั ญาไทย ส 4.3 ม.4-6/3 วเิ คราะหป์ ัจจยั ทสี่ ง่ เสรมิ การ สร้างสรรคภ์ มู ปิ ญั ญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมี บ ผลต่อสังคมไทยในยคุ ปจั จบุ ัน ป ค ถ ส ภ ช

ชา ประวัตศิ าสตร์ าคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 สาระสาคัญ เวลา นา้ หนักคะแนน คะแนน (ช่ัวโมง) K PA เตม็ สถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นสถาบันท่ีมี 3 11 5 ค ว า ม ส า คั ญ กั บ สั ง ค ม ไ ท ย ม า ตั้ ง แ ต่ อ ดี ต 2 พระมหากษตั รยิ ์มีบทบาทในการพัฒนาชาตไิ ทยใน 15 5 5 25 ด้านตา่ ง ๆ ท้งั การป้องกนั และรักษาเอกราช 7 ของชาติ รวมถึงสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทยให้ดารง 15 5 5 25 อยู่สืบตอ่ มาจนถึงปัจจบุ ัน 6 ความเจริญรุ่งเรืองและการพัฒนาของสังคมไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นผลจากการคิดและ การทางานของกลุ่มคนในหลากหลายบทบาท หลากหลายความสามารถ ท้ังชาวไทยและ ชาวต่างชาติ การศึกษาผลงานและบทบาทของ บุคคลสาคัญในประวัติศาสตร์ จึงเป็นการเรียนรู้ พัฒนาการของไทย และเป็นการเรียนรู้ท่ีจะสร้าง ความภาคภมู ใิ จในความเป็นไทย ภูมิปญั ญาไทย คือ ความรู้ความสามารถที่บรรพ บุรุษได้ส่ังสมมาจากการเรียนรู้ ค้นคว้า ทดลอง ปฏบิ ัติจริงและพฒั นาปรบั ปรงุ จนสามารถรวบรวม ความรู้นั้น ๆ ให้เป็นระบบแบบแผน ยึดถือปฏิบัติ ถา่ ยทอดสืบตอ่ กนั เพ่ือการดารงชวี ิตโดยพฒั นาให้ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางภูมิประเทศ ภูมิอากาศ วัฒนธรรม ประเพณี ความเช่ือ และวิถี ชวี ติ ความเป็นอยูข่ องสังคม

หน่วยท่ี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ รหัส มฐ.ตัวช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้ 4 การอนุรกั ษ์ภูมปิ ญั ญา ส 4.3 ม.4-6/5 วางแผนกาหนดแนวทางและการ บ และวฒั นธรรมไทย มีส่วนรว่ มการอนุรักษภ์ มู ปิ ญั ญาไทยและ แ วัฒนธรรมไทย ป ห ป ด ขอ สอบกลางภาค รวม

สาระสาคญั เวลา น้าหนักคะแนน คะแนน (ชว่ั โมง) K PA เตม็ ภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทย เป็นมรดกอันลา้ คา่ ที่ 15 5 5 25 บรรพบุรุษชาวไทยเรยี นร้แู ละสร้างสรรค์ขึน้ เป็นสง่ิ ที่ 5 แสดงถงึ เอกลักษณค์ วามเป็นไทย การอนรุ ักษภ์ ูมิ 48 16 16 20 ปญั ญาและวัฒนธรรมไทยจึงเปน็ บทบาทและ 100 หน้าท่ที คี่ นไทยทุกคนท้งั ภาครฐั และภาค ประชาชนจะต้องปฏบิ ตั ิ โดยการรว่ มมือรว่ มใจกนั ดว้ ยความสามัคคี เพอ่ื สืบทอดมรดกทางวฒั นธรรม ของไทยให้คงอยู่สบื ไป 20

โครงสรา้ งรายวชิ การวิเคราะห์มาต รหสั วชิ า ส 23104 ระดับช้นั มธั ยมศึกษา รหสั มฐ.ตวั ชวี้ ัด/ รู้อะไร / ทาอะไร ภาระงาน/ช้นิ ผลการเรียนรู้ อะไร 1. ชน้ิ งานที่ 3 เรอื่ ง ประ ส 4.3 ม.4-6/2 วเิ คราะห์ ในประวตั ิศาสตร์ไทย ความสาคญั ของสถาบนั 1. อธิบายองคค์ วามรู้ทาง พระมหากษตั รยิ ต์ อ่ ชาตไิ ทย ประวัตศิ าสตร์ 2. จาแนกความสาคัญผสู้ ร้างองค์ ความรู้และประโยชน์ขององคค์ วามรู้ ทางประวตั ศิ าสตร์ 3. เหน็ คุณค่าและความสาคญั ที่เกิด จากการเรียนรู้และทาความเขา้ ใจ ประวตั ิศาสตร์ ทาอะไร 1. ประเด็นที่ 1 ความเปน็ มาของชน ชาติไทย 2. ประเดน็ ท่ี 2 การคา้ กบั ตา่ งประเทศสมยั อยุธยา 3. ประเด็นที่ 4 ท่ีปรึกษาและ ขา้ ราชการตา่ งชาตใิ นสมัยรัชกาลที่ 5

ชา ประวัติศาสตร์ คณุ ลักษณะอันพึง ตรฐานและตัวชี้วดั ประสงค์ าปที ี่ 5 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 1. รักความเป็นไทย นงาน สมรรถนะสาคญั คณุ ลักษณะของวิชา ะเด็นสาคญั - 1. ความสามารถในการ 1. ความรบั ผดิ ชอบ สือ่ สาร 2. ใฝ่เรียนรู้ 2. ความสามารถในการคดิ

รหสั มฐ.ตวั ชี้วดั / ร้อู ะไร / ทาอะไร ภาระงาน/ชน้ิ ผลการเรียนรู้ อะไร 1. ชิ้นงานที่ 7 เรือ่ ง ภูม ส 4.3 ม.4-6/3 วิเคราะห์ ปัจจยั ทสี่ ่งเสริมการสร้างสรรค์ 1. อธิบายความหมาย และสาเหตขุ อง ภูมปิ ัญญาไทย และวฒั นธรรม การเกิดภมู ปิ ัญญาไทย ไทย ซ่ึงมีผลต่อสงั คมไทยใน 2. ศกึ ษาเรยี นรูว้ ิวฒั นาการของภูมิ ยคุ ปัจจุบนั ปัญญาไทย 3. เหน็ คณุ คา่ ของภมู ิปญั ญาไทยทเ่ี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรมทเ่ี กิดจากการสงั่ สมประสบการณ์ของบรรพบรุ ษุ ทาอะไร 1. ความหมายของภูมิปญั ญาไทย 2. สาเหตขุ องการเกดิ ภมู ิปัญญาไทย 3. ลักษณะของภมู ิปญั ญาไทย 4. ประเภทของภูมปิ ญั ญาไทย 5. สาขาของภมู ปิ ัญญาไทย

นงาน สมรรถนะสาคญั คณุ ลักษณะของวิชา คณุ ลักษณะอนั พึง ประสงค์ มิปัญญาไทย 1. ค วา ม ส า ม า ร ถ ในกา ร 1. ความรับผดิ ชอบ ส่ือสาร 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1. รักความเปน็ ไทย 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการ แกป้ ญั หา 4. ความสามารถในการใช้ ทักษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี

รหสั มฐ.ตวั ชี้วัด/ รู้อะไร / ทาอะไร ภาระงาน/ชิ้น ผลการเรยี นรู้ อะไร 1. ชน้ิ งานท่ี 5 พระราชก ส 4.3 ม.4-6/4 วิเคราะห์ พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยกอ่ น ผลงานของบุคคลสาคญั ทง้ั 1. อธบิ ายบทบาทของสตรีใน รัตนโกสินทร์ ชาวไทยและตา่ งประเทศท่มี ี ประวัตศิ าสตร์ไทย 2. ชน้ิ งานที่ 6 บคุ คลสา ส่วนสรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรมไทย 2. ศึกษาสบื คน้ ข้อมลู สตรผี มู้ บี ทบาท ประวตั ิศาสตร์ไทย และประวัติศาสตร์ไทย สาคัญในประวตั ิศาสตร์ไทย 3. เหน็ ความสาคญั ของบทบาทสตรีที่ มีตอ่ การพัฒนาสงั คมไทยจากอดีต- ปัจจุบนั ทาอะไร 1. พระราชกรณยี กจิ ของ พระมหากษตั ริยไ์ ทย 2. บทบาทของสตรใี นประวตั ิศาสตร์ ไทย 3. ศิลปนิ แห่งชาติ 4. บุคคลสาคญั ของไทยท่ไี ดร้ ับการยก ย่องจากองค์การยเู นสโก 5. ชาวตา่ งประเทศทมี่ สี ่วนสรา้ งสรรค์ ประวตั ศิ าสตร์ วัฒนธรรม และ ความกา้ วหน้าของสังคมไทย

นงาน สมรรถนะสาคัญ คณุ ลักษณะของวิชา คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ กรณยี กจิ ของ 1. ค วา ม ส า ม า ร ถ ในกา ร 1. ความรบั ผดิ ชอบ นสมยั สื่อสาร 2. ใฝเ่ รียนรู้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ความสามารถในการคิด 2. รกั ความเปน็ ไทย าคญั ใน 3. ความสามารถในการ แกป้ ญั หา 4. ความสามารถในการใช้ ทกั ษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี

รหัส มฐ.ตัวช้วี ดั / รู้อะไร / ทาอะไร ภาระงาน/ชิน้ ผลการเรยี นรู้ อะไร 1. ชิ้นงานที่ 8 เรื่อง การ ส 4.3 ม.4-6/5 วางแผน ปัญญาและวัฒนธรรมไท กาหนดแนวทางและการมี 1. อธิบายถึงบทบาทการดาเนนิ การ 2. ชน้ิ งานท่ี 9 เร่อื ง ผลง สว่ นรว่ มการอนุรักษ์ภมู ิ อนุรกั ษ์และคมุ้ ครองศลิ ปวัฒนธรรม ของกรมส่งเสริมวฒั นธร ปญั ญาไทยและ ของกรม วฒั นธรรมไทย 2. ศกึ ษาทาความเขา้ ใจบทบาท หนา้ ท่ีของกรมศลิ ปากรในการอนรุ ักษ์ และคุ้มครองศิลปวัฒนธรรม 3. เหน็ คณุ ค่าและความสาคญั ในการ อนุรักษแ์ ละคมุ้ ครองศิลปวัฒนธรรม ทาอะไร 1. นโยบายคมุ้ ครองและอนรุ ักษม์ รดก วฒั นธรรมไทย 2. การดาเนินการอนรุ กั ษแ์ ละ ค้มุ ครองศลิ ปวัฒนธรรม

นงาน สมรรถนะสาคญั คุณลักษณะของวิชา คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ รอนุรกั ษ์ภมู ิ- 1. ค วา ม ส า ม า ร ถ ในกา ร 1. ความรับผดิ ชอบ ทย สอ่ื สาร 2. ใฝเ่ รียนรู้ 1. รักความเป็นไทย งานสาคญั 2. ความสามารถในการคดิ รรม 3. ความสามารถในการ แก้ปัญหา