st การแสดงผลงาน นิทรรศการศิษยเกา คร้ังท่ี 1 “ฮวมสา งศิลป” ¤Á³ËÐÒÁǹ·Ô ÉØ ÂÂÒÈÅÒÂÑ ÊõҪÃÀá Å¯Ñ ÐÍÊºØ Ñ§Å¤ÃÁÒȪҸÊÒµ¹ÃÕ Faculty of Humanities and Social Sciences, Ubon Ratchathani Rajabhat University โดยศษิ ยเกา สาขาศิลปกรรมและทศั นศลิ ป คณะมนุษยศาสตรและสงั คมศาสตร มหาว�ทยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี
st การแสดงผลงาน นิทรรศการศิษยเกา คร้ังท่ี 1 “ฮวมสา งศิลป” ¤Á³ËÐÒÁǹ·Ô ÉØ ÂÂÒÈÅÒÂÑ ÊõҪÃÀá Å¯Ñ ÐÍÊºØ Ñ§Å¤ÃÁÒȪҸÊÒµ¹ÃÕ Faculty of Humanities and Social Sciences, Ubon Ratchathani Rajabhat University โดยศษิ ยเกา สาขาศิลปกรรมและทศั นศลิ ป คณะมนุษยศาสตรและสงั คมศาสตร มหาว�ทยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี
การแสดงผลงาน นิทรรศการศิษยเ กาคร้งั ท่ี 1 “ฮวมสางศิลป” THE 1st EXHIBITION OF ART เจาของและผจู ัดพม� พ สาขาทัศนศลิ ป คณะมนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร มหาวท� ยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธานี เลขท่ี 2 ถนนราชธานี ตำบลในเมือง อำเภอเมอื ง จงั หวัดอบุ ลราชธานี 34000 เร�ยบเรย� งเนือ้ หาและภาพประกอบ : ศิษยเ กาป 2557 ออกแบบและกราฟก� : ศิษยเกาป 2557 ถายภาพ : ศิษยเ กาป 2555 - 2560 พม� พคร้งั แรก กุมภาพนั ธ 2565 จำนวนทีพ่ �มพ 100 เลม พม� พท ่ี : หางหนุ สว นจำกัด ว�ทยาการพ�มพ 1973 336-338 ถนนผาแดง (สามแยกกองบิน21) อำเภอเมอื ง จงั หวัดอบุ ลราชธานี 34000
สารบัญ 6 • สารจากอธิการบดี มหาวท� ยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธานี 7 • สารจากคณบดี คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 8 • สารจากประธานหลักสตู รฯ สาขาว�ชาทัศนศลิ ป 9 • แบบเสนอขออนมุ ัติโครงการ ประจำปงบประมาณ 2565 สาขาว�ชาทศั นศิลป คณะมนุษยศาสตร 12 และสังคมศาสตร มหาว�ทยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธานี 14 • ศิลปนรับเชญิ (Artist of invited) : 15 ศลิ ปนแหง ชาติ สาขาทัศนศลิ ป ป 2563 (สอ่ื ผสม) อาจารยอำมฤทธ์ิ ชสู วุ รรณ, 16 อาจารยเ จษฎา คงสมมาศ 17 ศิลปนรบั เชิญ อาจารย ผศ.ดร.ศกั ดา บญุ ยืด, อาจารยประยุทธ สารัง 18 ศิลปน รบั เชิญ อาจารยจตุพล รกั เปย ม, อาจารย ดร.สนั ติ หวังช่นื 32 ศลิ ปนรับเชิญ อาจารยส นุ นั ทา ผาสมวงค 38 • จต� รกรรม (Painting) 48 • ภาพพม� พ (Printmaking) 52 • สือ่ ประสม (Mixed Media) • มัลติมเี ดยี (Multimedia Art) • ประวตั ิศลิ ปน (Artists’ Profiles)
ขอขอบคุณ • อธิการบดี มหาว�ทยาลัยราชภฏั อุบลราชธานี • คณบดี คณะมนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร • ประธานหลกั สูตรฯ คณาจารย และเจาหนาที่ สาขาว�ชาทัศนศลิ ป ทุกทาน • ทนุ ศิลปะอสี าน I-Saan Art Funds • หา งหุนสวนจำกดั ว�ทยาการพม� พ 1973
สารจากอธกิ ารบดี มหาว�ทยาลัยราชภฏั อุบลราชธานี ในนามของ มหาว�ทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิต นักศึกษา อาจารยสาขาว�ชา ทัศนศิลป ทุกทาน ที่ไดจัดโครงการแสดงผลงานนิทรรศการศิลปกรรม “ฮวม สาง ศิลป” ประจำป ๒๕๖๔ ซึ่งนับเปนการสรางเคร�อขาย และเผยแพรผลงานว�ชาการดานศิลปกรรมสูสาธารณชน อีกทั้งยังสรางตน ใหเปนแบบอยางแกเยาวชน อันนำมาซึ่งความสำเร็จ ในหนาที่การงาน และชีว�ต ภายหลังสำเร็จการศึกษา เปนความภาคภูมิใจของตนเอง ครอบครัว และมหาว�ทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ยิ�งทั้งนี้ทาง มหาว�ทยาลัย ราชภัฎอุบลราชธานี ขอขอบพระคุณผูสนับสนุน ศิลปน ทุกทาน ทุกองคกร ขอขอบคุณคณาจารย ภาคว�ชาทัศนศิลป และขออวยพรใหการดำเนินการโครงการสัมฤทธิ์ผลดังที่ตั้งไว และขอใหผลงานศิลปะ ทุกชิ�นงาน อยูในความทรงจำของสังคมตลอดไป (รองศาสตราจารยธ รรมรกั ษ ละอองนวล) รักษาการ อธิการบดี มหาว�ทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 6 สารจากอธิการบดี มหาวท� ยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานี
สารจากคณบดี คณะมนุษยศาสตรแ ละสังคมศาสตร สาขาว�ชาทัศนศิลป มหาว�ทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี เปนสาขาว�ชาที่มุงเนนการศึกษาและพัฒนา องคความรูดานศิลปกรรมเพ�่อตอบสนองมนุษยและสังคมของมนุษย ดังนั้น ศิลปะจ�งเปนหนึ่งในวัฒนธรรม ของมนษุ ย ตา งเพ�ยงวา จะเปนวัฒนธรรมระดับใด และเงอ�่ นไขใด อาทิ วฒั นธรรมพ�น้ บาน วัฒนธรรมทอ งถนิ� วัฒนธรรมสมัยใหม วัฒนธรรมรวมสมัย เปนตน ซึ่งไมวาจะเปนวัฒนธรรมชุดใด ศิลปกรรมตางลวนมีสวน สำคัญตอการประกอบสรางวัฒนธรรมดังกลาว ในการดำเนินการโครงการแสดงนทิ รรศการศิลปกรรม “ฮวม สา ง ศิลป” ประจำป ๒๕๖๔ เพอ่� เปน การ เผยแพรผลงานสรางสรรคว�ชาการทางทัศนศิลป ของศิษยเกา นักศึกษา คณาจารย และผูทรงคุณวุฒิ ออกสสู าธารณชน และเกดิ แลกเปลย่ี นความรแู ละขอ คดิ เหน็ ทางการสรา งสรรคด า นทศั นศลิ ป สรา งเครอ� ขา ย ทางศลิ ปกรรม อนั เปน การสง เสรม� ความกา วหนา ในวงวช� าการ และวช� าชพี ทางศลิ ปะตลอดจนเปน การสง เสรม� พัฒนาการเร�ยนการสอนการสรางสรรคทัศนศิลปขั้นสูงตอไป ในนามของคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร หวังเปนอยางยิ�งวาการจัดโครงการนี้ นอกจากจะเปน การสง เสรม� ความกา วหนา ในวงวช� าการและวช� าชพี ทางศลิ ปะของไทยแลว ยงั กอ ใหเ กดิ การพฒั นาความรว มมอื ทางดา นการศกึ ษา ดา นศลิ ปวฒั นธรรมกบั บคุ คลทว่ั ไป คณะมนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตรข อขอบพระคณุ ผสู นบั สนนุ ศลิ ปน ทกุ ทา น ทกุ องคก ร ขอขอบคณุ คณาจารยภ าควช� าทศั นศลิ ป และขออวยพรใหก ารดำเนนิ การ โครงการสัมฤทธิ์ผลดังที่ตั้งไว และขอใหผลงานศิลปะทุกชิ�นงาน อยูในความทรงจำของสังคมตลอดไป (ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.อานนั ท ทาปทา) คณบดีคณะมนษุ ยศาสตรและสงั คมศาสตร 7 สารจากคณบดี คณะมนษุ ยศาสตรและสังคมศาสตร
สารจากประธานหลกั สูตรฯ สาขาวช� าทศั นศลิ ป ขอแสดงความชื่นชม ยินดีกับศิษยเกา นักศึกษา สาขาว�ชาทัศนศิลป ที่ไดพยายามตั้งใจ ถายทอด ความรู และทักษะทางศิลปะ นำมาสูผลงานสรางสรรคทางทัศนศิลป นำไปสูการเผยแพรใหเปนที่ประจักษตอสังคม ตอไป อาจารยจ�งขอใหนำความรู ความสามารถไปปฏิบัติงานในสายอาชีพที่นักศึกษาคาดหวังไว บรรลุ ตามวัตถุประสงค เพ�อเกิดประโยชนตอชุมชนทองถิ�น สังคม และประเทศชาติ ตอไป (อาจารยประยทุ ธ สารัง) ประธานหลกั สูตรฯ สาขาว�ชาทัศนศลิ ป ส8ารจากประธานหลักสูตรฯ สาขาวช� าทศั นศลิ ป
สาขาวชิ าทัศนศิลแปบบคเณสนะอมขนอุษอยนศุมาสตั ติโครรแงลกะาสรังคปมระศจาำสปตงรบ มปหราะวมิทาณยาล2ยั5ร6า5ชภัฏอุบลราชธานี 45761253........5โคชสกผห7[[[7555ก5)คาถวรู่ือน../....า12โร1324]]ร[[[[[[[[[[[[ับ]าาโรวค//ง))))บคมนโ[[[[[[[[[ศผโถโ]]ยรกโ]///]]/]]]]/]]]ค[[คครหูรสสโสสภา/คกึอกตพกนสกิดงพแง]]]]]ารกพแพแแแแแคง]]]]รรณ]เลกออออารษบืาางลลัวอผช]ักรฒักกเกฒังปกงงผผผผผผารคอคกฒัฒัปกสคนงราดดดพักบดนก่นืนยยาศสอไกกาาาารางนนนนนนนนกาืน่นววพรอามปนสทคคคคกงนนรรราุทุทาจ้ีๆึกงจขบาากรรโาางงงงงงราทาๆาดชสัฒรจบพารนตูลลลาลรร่รีัดคาาัดษธธอาทาาาาาามมโรวทน:ตนร่ีดะี้ทคดัอใทรับสอรครฒัอออทอรกนนนนนนรทอนงเาจิรรรำหะอ[ักกอโข4ดลำกิพกดแ่ีภาทงีด่รงงงงโผใาะำววนยพบพพพยัี่าคน3บมงศเอเ.คหกจFอมิอาาค5กกกลง/รนฒัำาบมมี่ดม1ิดูในน]ุบรรถนฒั้ืฒฒัั.าุ…ตรกึรlบากาเรงเ1งเพ.ลับบับันะุบมม8ำิห…ุหงaชร1ไนอื่ินนิ่นนปำฐวเรรงษโอานนนคท…อมกรแเแกแแียgืืออำราาอกคงิชายบัก…นิอากกนนรจบียาสณาาางsี่วารเนผุงาผผร….วกกนศาบาแรศยาา3ูรปก.บดัh…คอบนินรดศงุงสครริท:กนรบัับนนกงกัลณะรราึกโาศเแนใiงัณุณะุคปกลิลกน…วสนpกอยสคาาจหงงหหยยหยะรษคสิลบา:ลอาาปารรงรยอถาาากัาฑภร…รนดับภทุุทรนนมกกาดปpมรรเสาะุชมจลรวิมนัง่างงศาอืสเ้ีอติคุา…ธธีกววรสนางกrเกวยอปอ่ืฒัาสกโแยัพกึพสoไรยทยยศศนลราอคสฒัร…รี้สันนืนโอลใามนิมษก่ยีนรjใูงงนาาาีพ่คทิหยนบืรeอรดคะด…นนโาาบแงกาาสสธงักรสรึงเคcสดโำคุณนนรธลโป…ร:รรูกงตตปครศุน(tเราคคศลรใภขรณกะนสนศารรภ…รรนึกงนัน(รรมลอกึอพาารขามคงกินกะมาาษม…ทงมองษรยงกสขทอฒัสาณากหกพหกาพเหคา…นงราับารรงๆงำดาาาาานภกะณนื้วาาบศคอคนร…ผยริมววรมงาวิชาบักถกลิณกบรูาุบุททิะปทิ.…พนทิยา.นับณิน่แปาสม)ูร.ำยธะรยท.ักน้ืใ…ยรษุผมณอ.หกรศาาะน)[.า[ศจศัาฐ.…งุบุว/นยรลกาเ.าลาลัดาึกน.ภ]งรว]ศัย.าล…ปสกแัยนัย.กษคศมแททิร.ทราแาตลร…ป.ภขาาหลิผ.ายสรผบัี่ด.อะรรอรา….ปชนราต.นมเแีาเปยะก.งผือรธล…ป.จรลปหอเ.นับรยีายไ.ัยดแรา….ะงรุงามอนนภ.แบัรน็ล.คเบัวโ…กีกหพาย(ปปยะกทิปIคร…าสมรmสทุรรรกยรรณาศา…ดงุงัธุงสิจาขpะริลคระรศ…ลใอาะสrปะมะฯดาoัยวน…ดมบดวศสิชvกโับภ…ัฒับหุกาปตาeบัหาส…นคาทนรรmยกลรตณทวด…ศัธใิจพกัยeรรร่ีนตะ…กส4ปงะรัฒnขศร…าูตมบรtอิลนรนระ…ุหงมปPา…เกน…นดแl …aาวน็ัก…ลรnย…ศะยเ…)งป…กกึทุ า…ในาษ…นธน…รมาศ……รปเ…หาพะ……รสา…ดื่อะ……วตับ…กเิท……รสันยทรคามิ่ี ล5ุณสยั รภเาพางพื่อการ แบบเสนอขออนมุ ตั โิ ครงการ ประจำปง บประมาณ 25695
สาขาวิชาทัศนศิลแปบบคเณสนะอมขนอษุ อยนศุมาสัตตโิ ครรแงลกะาสรงั คปมระศจาำสปตงรบ มปหราะวมทิาณยาล2ยั5ร6า5ชภฏั อุบลราชธานี 911111118135420..6-ม.......กหรมรใ1ทแแ11สวจ1าาน1อรผสตกวแรวล3ปีสศั213ลชัน222ำาะ3ณมาัตลสผถัวล.ักดผร...นะ2นขภ...ยจเ.ถถชามาุหน231ทะกร1งเเเนลทีศาวฏัาะพพพยงึนสเ...ปุน่ิมว้ีเมากีค่กวัิลชกี่เรนเกป1ห21เองือออ่่ื่ืทิอออทปรัดตวิทชคูราชิาดสยาปิงศา)))าบุลาแสสสาาาะลธรนคดิงี่ด1นณคาังรรารนอึกหจนผกัลจจจนปสภดิงงงลแคทาน0ดรวโวำุณทโยะศษำเูสเเเราาากัคมลงคักดะศำารม0เขาาำศัทสสสำนาารรรนตภูิลคศารพิมเเาะศรกมำจเานนรรรศัชงนหยยยควนรแปงปนิายกึมงาเรแกึามิิมะิมสมบุศธนกนนศนิตนพลกณิน/วษจกโรีปลไศศศษกใกำาีปลิำลาศิผคผนิุผดะมงาศหจงระนาษษิิษิรเาาารรรปปลิารูเหูเรรรลาโโริสลุบปะอรรสขงีุขะยยยคค็จนงปเกับรนมพมศวบสาปาราาัดคนสาเเเกบรัรรมากกกจจคูริทะลขริฤรกรณมิิทองงรปาผงววาาาาาสาณกิใปาศวธกรมกอหรธแดินญะรรมมกวทิาิภรจมวาแแแภิศาะกผรยถชมชิหโรกกมฒัธริกาหโรลลลาอืสาคนนอวนาคผาัมิบลพาศสพะะะานูสโริชทบปกำรษุลยรคีักอคติษองาตธศาาดใัศรงนนนตนยวสกงรรุปธนยรกรอกัะกำนาากกักััคศบงูาตารสเกาสไจย2เามมกศกศศศรารกมณัปนรรราร5ำรภจพไสณาิลาึกกกึึรศเจารินรปมฑ6ผาดุรตปงึภงผษษษหาิลคแชง4นพตยิตมพเรกลา2าาารปลนาขคศอแทแงอุอรติวยไอื5นสะรกอหมมพยษิดลนุเานัใบน6ผาอืนโนงรจมีศเีกงใะยรสสขคณั5อคมูขชโรักว่อืใวสากัผเรูคานิ้รนกรมาศีสกชิศฑยงาเนงัุลยวงรอืยสพกักศาวารกึคขชติิภงเกจงใขดุกสอาปยนาื่อษอามาเคหกาาาารพโาาสยภนทนเงไศาพณุรกาครยเผขรดอหล่ืตขไสาศัราระเรใทยาดลอเะพหลระาสรนคนโบงสวีไ่แใกัดอบรายกัตกใตณุศกชดิช8ถุยีพนวงษกยะสัณารุลผิาศร0างึสลมกเไรสณรตูรปับศลสวกัปมรฑักกแาขบงัรลิลดมยถะรรหษริจลิคเอตอมราคปขกภับงาาัพกาณะณนักิงนียกใดนาปกาใเวรจัฒสชนาาชพาระะลพาภิทรรำรนใวคสำเนมนกืร่าอมนในาปยวนไังบัมนมวนาาทใพไปิชกาวคนารหตสมษกุศัลนาาส2นสมกแผเนนนเากยรัยปนก5ูกาาลนูกรเุนจเอสศาร6นศาขลรอะผิดำพรัดายราผร5ดิลามุผยงคเชัฒสารกกบมลวอำผปนูเแงวบัภตปาวีคิุคงชเนยยพเำานรรใาฏัาคอาวลาาแาชมรแเนนิมหารอศองราตพ3สลรมอืสบศคีียกงมกบุิลน.งัรักะ5าขมมิลวนรรสาคปลผเส1นกิาาอภยำ่่นัปสูกมครกลงัยมเาทงทาาใาาะขควสงรรจกอมยชธร่ผีัง้ขาาอมรมวรายสาน่ัใหธนมอมางศชิอนบัรราาอใมบนสสงาาปณจงมผนจนอดกรคสุาสฏริดหีึงาชาามตลมับอสิชจงาจรนราัค่ำผสยมัวัอดดากเคมิดทิารพารบสทรีใงรหนชยยมในัสำนถคนอาทาโองัธูกศหวคลสบคศัก ตทิิษมยัารมนลอยยงยูคแศมุ กงาวเณลลิคกลชิาะปนะายัรา 10 แบบเสนอขออนุมตั ิโครงการ ประจำปง บประมาณ 2565
สาขาวิชาทัศนศลิแปบบคเณสนะอมขนอษุ อยนศุมาสตั ตโิ ครรแงลกะาสรังคปมระศจาำสปตงรบ มปหราะวมิทาณยาล2ัย5ร6า5ชภัฏอบุ ลราชธานี 17. งบประมาณ 18. โก-กกสแคาบาาาปรรรรเบรงหศปตะสกตึกดิรเอามษุหะตรบนิเราาถมคขือมาินอวมปผผา,มจลมลผูลจดพลโยัำคจกงึ คเราพานวรงกอนิ ปากเใอโมราจคกะรเผสรเสูเมงี่ยขานิกางรโารทคหรว อ่ีรมลงากกักจาิจฐจรกาะ,นรเผกรตลมดิาจงขากึ้นๆกใานไดรกสแางักรเกดบตำันเแนทลินึกะโขมคกอี ราคงรวกแาาตมรง ขตงอ้ั คอณนะุมกัตริโรคมรกงากราเรพ,อ่ื ภตาดิ พตถามายปกระิจเกมรนิ รผมล, 19. 20. แบบเสนอขออนมุ ัติโครงการ ประจำปงบประมาณ 251651
ศลิ ปน รับเชญิ (Artist of invited)
ศิลปนรับเชญิ (Artist of invited) อาจารยอำมฤทธิ์ ชสู วุ รรณ “ฤดูรอน 2564” ขนาด 60 x 80 ซม. ปท ส่ี รา งสรรค 2564 ฤดกู าลทเ่ี ปลย่ี นแปลง อารมณค วามรสู กึ เรา มักเปลี่ยนไปตามฤดูกาลเชนกัน แตสิ�งที่ สำคญั ชวี ต� เราตอ งมน่ั คงและไมเ ปลย่ี นแปลง ไปตามการเปลี่ยนแปลงภายนอก งานศิลปะ คอื การบนั ทกึ อารมณค วามรสู กึ ทเ่ี ราตอ งการ แสดงออก อาจารยเ จษฎา คงสมมาศ “รายรำ” ประตมิ ากรรม, ทองเหลือง, หินออน, 18 x 45 x 29 ซม. ปท ่ีสรา งสรรค 2563 \"พระพ�ฆเณศรายรำ\" มีทวงทาและทวงทำนองแสดงถึง ความออนชอยสนุกสนาน ราเร�ง มี 4 พระกร และ 4 พระบาท แสดงถึงการเคลื่อนไหว เคร�่องทรงประกอบดวยพระกร ถอื รวงขา ว, ถอื เคยี วเกย่ี วขา ว และสะพาย แคน แสดงถงึ ความ อุดมสมบูรณ มีความเปนอัตลักษณของภาคอีสานโดยแท 14 ศิลปนรับเชญิ (Artist of invited) ศลิ ปน แหงชาติ สาขาทัศนศลิ ป ป 2563 (ส่ือผสม) อาจารยอำมฤทธิ์ ชสู ุวรรณ, อาจารยเ จษฎา คงสมมาศ
ศลิ ปนรบั เชญิ (Artist of invited) อาจารย ผศ.ดร.ศักดา บญุ ยืด “ภาพถายชุด ดอกบัว” ถายภาพ, 4 x 6 นิ�ว. ปท ส่ี รา งสรรค 2561 อาจารย ผศ.ดร.ศกั ดา บญุ ยืด “ภาพถายชดุ แมลง” ถายภาพ, 14.8 x 21 นิว� . ปท่สี รา งสรรค 2561 อาจารยประยุทธ สารงั “Isan Culture” ภาพพ�มพ, 30 x 40 ซม. ปท ่สี รา งสรรค 2563 15 ศิลปน รบั เชญิ (Artist of invited) อาจารย ผศ.ดร.ศักดา บญุ ยืด, อาจารยประยุทธ สารงั
ศิลปนรับเชญิ (Artist of invited) อาจารยจตุพล รักเปย ม การออกแบบสถาปต ยกรรม, 42 x 52 ซม. อาจารย ดร.สันติ หวังช่นื “ความเชอ่ื ในนกหสั ดีลงิ ค” ผกู มัด ถกั ทอ, 120 x 120 x 280 ซม. ปท ี่สรา งสรรค 2564 16 ศลิ ปน รบั เชิญ (Artist of invited) อาจารยจตุพล รกั เปย ม, อาจารย ดร.สนั ติ หวงั ช่นื
ศิลปน รบั เชิญ (Artist of invited) อาจารยสุนนั ทา ผาสมวงค ผลงานชิ�นนี้มีเเรงบันดาลใจจาก วัตถุแหงความผูกพัน ที่เปนมรดกตกทอดรุนสูรุน อกี ทง้ั ยงั เปน สญั ลกั ษณแ ทนความรกั และยงั ซอ นไวซ ง่ึ วถ� ชี วี ต� ภมู ปิ ญ ญา อนั งดงาม “Time machine 1980 - 2021” ที่แม สงมอบยังลูกสาว ใหเ ปนตวั แทนยามคดิ ถึงมีคุณคา ยง�ิ ตอ จ�ตใจ จ�งไดนำวัตถนุ ี้ สื่อผสม, 50 x 30 ซม. มาเปนสวนหนึ่งในผลงานสรางสรรค ผสมผสานกับทัศนธาตุเสน แทนคาดวย ปท่ีสรางสรรค 2564 เสนใยโลหะ สีทอง คลองเกี่ยวพันกับวัตถุ บอกเลาเร�่องราว ผานสัญญะ ที่เปน ตัวแทนบุคคลที่รักยิ�งในชีว�ต 3 ชวงอายุ จากคุณยาย คุณแม และตัวผูสรางสรรค ความผูกพัน ในชวงเวลาที่ตางกัน ยุคสมัยที่แปรเปลี่ยน ยังคงมีวัตถุอันเปน สัญลักษณที่แทนตัวตน เมื่อมองเห็น ทุกครั้ง คงใหหวนคนึงหา มิคลาย 17 ศลิ ปน รับเชญิ (Artist of invited) อาจารยส ุนนั ทา ผาสมวงค
จต� รกรรม (Painting)
นายอนันท แสนทว�สุข สขุ ทเ่ี รย� บงา ย ไดจ าก ธรรมะ/ ธรรมชาติ แสง (หลกั ธรรม) ทเ่ี ปน ดง่ั เทยี นสอ งสวา ง นำทาง แดปุถุชน ผูคนที่หลากหลาย “แสง สงบ ธรรมะ” สนี ำ้ มนั , 90 x 70 ซม. จ2�ต0รกรรม (Painting)
นายปจฉยา ไชยสุวรรณ ผลงานชน�ิ นเ้ี ปน การพด� ถงึ การขาดหายของชน�ิ สว นทส่ี ำคญั ของจก� ซอว เมอ่ื เวลา ผา นไป ทง�ิ รอ งรอยปรศ� นา การเคยมอี ยขู องความสมบรู ณข องภาพ จ�ตรกรรม, 75 x 50 ซม. จ�ตรกรรม (Painti2ng1)
นายธวิ า พ�ดทอง เหตปุ จ จยั ในการใชช วี ต� บางอยา ง บางครง้ั ทำใหม นษุ ยเ กดิ ความรสู กึ หมดหนทาง แลวพยายามหาทางออก โดยจะหาผูที่เปนที่พ�่งใหกับจ�ตใจ ณ ชวงเวลาขณะนั้น “พระพฆ� เนศวร นิมิต 1” จากคนในครอบครัว เพ�่อน บุคคลที่นับถือหร�อสิ�งที่ใจศรัทธา และสำหรับตัวผม วาดเสนดินสอบนกระดาษ, 21 x 29.7 ซม. ไดคนพบวา การสรางพลังชีว�ตจากจ�ตว�ญญาณภายในตัวเราเปนสิ�งที่ทรงพลัง และสำคัญตอการตัดความรูสึกหมดหนทางออกจากใจไดดีที่สุด จ2ต� 2รกรรม (Painting)
นายวาราธา เชิดชู ความสุขที่เกิดข�้นจากภาษากายสื่อผสานเชื่อมโยงความรูสึกระหวางมนุษย กับสัตว กอเกิดเปนความรักความผูกพันอันลึกซึ้ง อิร�ยาบทของแมวที่กำลัง “ความฝน , ความสุข, ความรกั , แมว 2022” นอนหลับเพอฝนอยูนั้นแสดงใหเห็นถึงความสงบ หยุดนิ�ง ไมเคลื่อนไหว สภาวะที่ สีน้ำมันบนผืนผาใบ, 80 x 60 ซม. รางกายตัดการรับรูตอสิ�งแวดลอมนี้เปนตัวกระตุนใหศิลปนเกิดความประทับใจ ปท ส่ี รางสรรค 2565 จ�งนำมาถายทอดผานผลงานสรางสรรคในลักษณะของงานจ�ตรกรรม 2 มิติ สีน้ำมันบนผืนผาใบ จต� รกรรม (Painti2ng3)
นางสาวยุภาวดี โพธ์พิ า ผูสรางสรรคตองการนำเสนอความรูสึก ความประทับใจ ที่มีตอว�ถีชนบทอีสาน ความสุข ความอบอุน ที่ผูสรางสรรคผูกพัน แสดงใหเห็นถึงความเร�ยบงาย “อีสานนอ ย” การดำรงอยูของชาวอีสานที่ถูกถายทอดจากรุนสูรุนและถูกปลูกฝงความเปน วาดเสน, 75 x 55 ซม. อีสานไวตั้งแตยังเด็ก ถายทอดผานผลงานผานบุคคลในครอบครัวของ ผูสรางสรรค จ2ต� 4รกรรม (Painting)
นายธีระยุทธ แสงอาจ ผลงานชิ�นนี้ตองการนำเสนอ “ความงามที่ปรารถนาในสภาวะจ�ต” จ�งตองการ สะทอ นสง�ิ ทเ่ี ปน อยู และสง�ิ ทอ่ี ยากจะเปน ซง่ึ ความคดิ ความตอ งการสง ผลกระทบตอ “ความงามท่ีปรารถนาในสภาวะจ�ต” สภาวะจต� จต� ตอบสนองตอ ความรูสกึ ใหกระทำ เพ่อ� ใหเ กิดผลลัพธผ สู รา งสรรค สีอะคร�ลคิ บนแคนวาส, 55 x 65 ซม. จ�งตองการสะทอน สิ�งที่ปรารถนาผานความงามของดอกละอองฟองที่ลอยตัว ปทส่ี รางสรรค 2565 ผานจ�ดหนึ่งไปเจร�ญเติบโตในพ�้นที่ใหม เพ�่อสะทอนความตองการที่ปรารถนา ใหชีว�ตที่เปนอยูนั้นมีความสุขและดีข�้น จ�ตรกรรม (Painti2ng5)
นายศุภกติ ต ศรบ� ุระ ผสู รา งสรรคป ระทบั ใจในรปู ทรงตามธรรมชาตขิ องดอกไม เรอ่� งราวและความหมาย ในตัวดอกไม ที่ถูกทดแทนดวยสัญลักษณที่มี ความงาม ความหมาย แตกตาง “flower and flower” กนั ไปตามสถานท่ี และมอี กี ความหมายทน่ี า เศรา (so blue) ตามฤทธข์ิ องดอกไม วาดเสน ดว ยปากกา, 17 x 21 ซม. ทม่ี สี ว นประกอบเปน พษ� ทร่ี นุ แรงผสมอยภู ายในตน ของมนั ผสู รา งสรรคต อ งการ ปท ี่สรางสรรค 2565 นำเสนอความงดงามของดอกไมที่ปราศจากความหมายที่นาเศราใหออกมา ในรูปแบบของงานศิลปะโดยนำเอาเทคนิคการวาดดวยเสนปากกาผสานกับ จ2�ต6รกรรม (Painting) จ�นตนาการสรางเปนผลงานที่มีความงามและความเปนเอกลักษณเฉพาะตน
นายปร�ญญา หงษส ดี า ผสู รา งสรรคเ กดิ ความชอบจากการไดพ บเหน็ เครอ่� งจกั สานทอ่ี ยใู นชวี ต� ประจำวนั ของผูสรางสรรคเชน ติปขาว หวด กระดง เกิดความประทับใจในการสานไมไผ จต� รกรรม, 60 x 80 ซม. ทำใหเกิดเปนลวดลายที่สวยงามหลากหลาย แตกตางกันออกไป จ�งไดนำความ ประทับใจในลวดลายเคร�่องจักสาน มาผสมผสานเขากับแนวงานยุคเรเนอซองส หร�อแนวงานยุโรป ไดผานกระบวนการตัดทอนเพ�มเติม จัดองคประกอบเปน เอกภาพที่สามารถแสดงออกถึงความเปนอีสานดูรวมสมัย และมีความเปน เอกลักษณเฉพาะตน จ�ตรกรรม (Painti2ng7)
นางสาวพจ� �ตรา คำเรอ� ง “สุนทร�ยภาพความงามแหงว�ถีชนบทอีสาน” ขาพเจาตองการนำเสนอความงาม ของวถ� ชี วี ต� ความเปน ชนบท โดยมงุ เนน ใหเ หน็ รปู แบบวถ� ชี วี ต� ความเปน อยู ซง่ึ ราย- “สุนทรย� ภาพความงามแหง ว�ถีชนบทอสี าน” ลอ มไปดว ยบรรยากาศแหง ความสขุ มเี นอ้ื หาสาระเกย่ี วกบั การดำเนนิ ชวี ต� ของคน จ�ตรกรรมสอ่ื ผสม (หยดเทยี น), 60 x 80 ซม. ในพน้� ถน�ิ ทเ่ี รย� บงา ย สมั ผสั ถงึ ความรกั ความอบอนุ และความผกู พนั ทเ่ี ชอ่ื มโยง กบั วฒั นธรรม ประเพณี ในแถบอสี านบา นเกดิ ของขา พเจา จง� นำเรอ่� งราวดงั กลา ว มาถายทอดผานงานจ�ตรกรรมเทคนิคผสม โดยการหยดเทียนเปนสื่อในการ ถายทอดและแสดงออก จ2�ต8รกรรม (Painting)
นางสาวศิร�นภา ทังโส ขาพเจาตองการถายทอดผลงานประเภทจ�ตรกรรม 2 มิติ โดยมีแรงบันดาลใจ มาจากวัฒนธรรม ประเพณี ว�ถีชีว�ตความเปนอยูที่เร�ยบงายในพ�้นถิ�นเฉพาะตน “วถ� ีอสี าน” ทง้ั นข้ี า พเจา ตอ งการถา ยทอดคณุ คา ของเรอ่� งราวและความงามทางสนุ ทรย� ภาพ จ�ตรกรรมไทย, 50 x 70 ซม. ที่มีตอการดำเนินชีว�ตของคนอีสาน ผานผลงานสรางสรรคในรูปแบบจ�ตรกรรม ไทยแนวว�ถีชีว�ตความเปนอยูของคนพ�้นถิ�นอีสาน จ�ตรกรรม (Painti2ng9)
นายพ�ทกั ษ สายโยรัก พฤติกรรมการบูลลี่เปนภัยเง�ยบอันรายแรงที่มีผลกระทบตอสภาวะทางจ�ตของ ผูถูกกระทำในทางดานลบ จากชุดขอมูลทางความกดดันที่ไดสะสมมาเปนเวลา “สภาวะความกดดันภยั เงย� บจากสังคม” กวา 22 ป นำเสนอออกมาเปนภาพแทนความกดดันที่มีสาเหตุจากพลวัต สีอะครล� คิ บนผา ใบ, 60 x 85 ซม. ทางสังคมในรูปนามธรรมของความเจ็บปวดสภาวะทางจ�ตที่ถูกสะสม สื่อผาน จ�ตว�ทยารูปลักษณทางวัตถุเปนสื่อกลางในการถายทอดผลกระทบของภัยเง�ยบ จากสภาวะทางสังคม จ3�ต0รกรรม (Painting)
นายสรุ �ยา หัสดง จต� รกรรม, 20.9 x 43 ซม. จ�ตรกรรม (Painti3ng1)
ภาพพ�มพ (Printmaking)
นายประดษิ ฐ สีหลวย สายลมที่พัดผานยามว�กาลในฤดูที่หนาวเหน็บมาพรอมกับเสียงลมที่กระทบ กับใบไม เสียงสัตวในยามราตร� และยังมีเสียงที่ซอนเรนลึกลับ ที่ลอยมาตาม “จ�ตนาการจากฤดูหนาว” สายลม แสงที่สองระยิบระยับ ในพงปา ทำใหขาพเจาเกิดจ�ตนาการในยามราตร� ภาพพม� พ, 60 x 80 ซม. ภาพพ�มพ (Printmaki3ng5)
นายณฐั พงค ม่ันคง ความเสียดายในสถาปตยกรรมอันงดงามของชางโบราณเมืองอุบลไดสรางไว โดยเปนวัดที่สรางข�้นครั้งแรกสมัยกอตั้งเมืองอุบลซึ่งถูกร�้อไป ดวยความเสื่อม- “สมิ เกา วัดหลวงเมืองอุบล” สภาพไดมีภาพถายเกาปรากฏอยูจ�งเกิดความประทับใจ ไดนำมาถายทอด ภาพพม� พแ กะไม, 80 x 50 ซม. สรางสรรคเปนลักษณะภาพพ�มพแกะไมนี้ข�้นมา ปท่ีสรางสรรค 2565 ภ3า6พพม� พ (Printmaking)
นายกิตติศักดิ์ คำชา บันทึกความทรงจำที่งดงาม สะทอนถึงว�ถีชีว�ตแบบพ�้นบานอีสานที่มีรูปแบบ เฉพาะตน ตื่นเชา ลงแมน้ำ หนองน้ำ หาปู หาปลา ลงนาเกี่ยวขาว อาชีพหลัก “เคร�่องมือทำมาหากินชาวนาไทย” ของครอบครัวคือการเปนชาวนา ใชชีว�ตทามกลางความอุดมสมบูรณทาง เทคนคิ ผสมบนแผนไม (แกะรอ งลึก), ธรรมชาติและวัฒนธรรมทองถิ�น สัมผัสไดถึงความอบอุน อันเปนเสนห 60 x 80 ซม. ที่นาหลงใหลของคนอีสาน ภาพพม� พ (Printmaki3ng7)
ส่อื ประสม (Mixed Media)
นางสาวนงนภัส ธัญภทั รานนท “ความเหลื่อมล้ำ” คือ ความไมเทาเทียมกัน (inequality) เนื่องจากความไมเทา- “Nevermind” เทียมกันปรากฏในทุก ๆ เร�่อง ทุก ๆ พ�้นที่ ทุกๆภาคสวน และทุก ๆ เวลา ดังนั้น กึ่งเหมอื นจรง� โดยการใชเทคนิค Collage art จ�งเปนปรากฏการณที่ไมอาจจะขจัดใหหมดสิ�นไปได ความเหลื่อมล้ำทางสังคม (สือ่ ผสม), 72 x 54 ซม. เปน สง�ิ ทอ่ี ยคู กู บั สงั คมมาอยา งยาวนาน ในสงั คมนน้ั มคี วามแตกตา งกนั เปน ลำดบั ปท ี่สรา งสรรค 2564 มีสาเหตุจากอำนาจ ศาสนา เคร�อญาติ เกียรติภูมิ เชื้อชาติ ชาติพันธุ เพศ อายุ รสนิยมทางเพศและชนชั้น จากความเหลื่อมล้ำทางสัมคมในปจ�บันทำใหผูสรางสรรคผลงานเกิดแรงบันดาลใจที่จะสรางสรรคผลงานเพ�่อตอกย้ำ ย้ำเตือนตน และใหกำลังใจผูอื่นไมวาเราจะอยูภายใตอำนาจของใคร ศาสนาใด เพศ และชนชั้นไหน อยาหลงลืมวาบางอยาง เปลี่ยนแปลง บางสิ�งเลือนหายและเกิดข�้นใหมในทุกหวงขณะของการมีชีว�ตอยู การตัดสินผูคนจากสิ�งของที่เขามีหร�อแมแต การโพสต facebook ในโลกออนไลน ดังเชนหนังสือเร�่อง “เธอบอกเลิกผมดวยฟอนต Helvetica” กลาววา เราไมสามารถ เขาใจใคร หร�อตัดสินใครไดจากการเห็นภาพสตอร�่ที่เขาอัพ มนุษยมันมีมิติของความกวางความลึกมากกวาจอสี่เหลี่ยม ที่เราสไลดนิ�วเลื่อนข�้นเลื่อนลง นำมาสรางสรรคเปนผลงาน ไมวาเราจะเปนใคร อายุเทาไหรในตอนนั้น ตอนนี้ และอนาคตเราจะเปนคนแบบใด ผูสรางสรรคผลงานอยากจะย้ำเตือน เสมอวา “ไมเปนไรเราควรมีความสุขตามเง�่อนไขชีว�ตของตัวเอง” ผานรูปแบบการสรางสรรคผลงานสื่อผสม กึ่งเหมือนจร�ง โดยการใชเทคนิค Collage art 40 สอื่ ประสม (Mixed Media)
นายเจษฎา ศรม� าทอง การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ�งแวดลอมเปนเร�่องที่ทุกคนควรตระหนัก และใสใ จ ควบคไู ปกบั การอนรุ ักษว ฒั นธรรมทองถิน� การสรา งสรรคผลงานช�นิ นี้ “สีสันแหงความสขุ ของการอนุรกั ษ” ผสู รา งสรรคไดร บั โอกาสปฏบิ ตั หิ นา ทใ่ี นหนว ยงานดา นการอนรุ กั ษแ ละอยใู นพน้� ท่ี ส่อื ผสม, 80 x 60 ซม. ทม่ี คี วามเปน อตั ลกั ษณ นน่ั กค็ อื จงั หวดั ศรส� ะเกษ จง� เกดิ แนวความคดิ ทจ่ี ะถา ยทอด ปท ี่สรา งสรรค 2564 เรอ่� งราวดา นการอนรุ กั ษ ผา นรปู แบบการสรา งสรรคผ ลงานศลิ ปะสอ่ื ผสม 2 มติ ิ โดยใชสีน้ำตาลที่สื่อถึงการอนุรักทรัพยากรธรรมชาติมีนกเปนจ�ดเดน ซึ่งเปน นกพ�ราบที่สื่อถึงความอิสระเสร�ของสัตวปา ที่มนุษยไมควรเขาไปรบกวน สีแดง สื่อถึงสีลาวาของดินภูเขาไฟซึ่งมีอยูทั่วไปในพ�้นที่ ผสานกับลวดลายผาพ�้นเมือง อัตลักษณของจังหวัดศร�สะเกษ เร�ยกวา “ลายลูกแกว” และการแสวผาพ�้นเมือง ใชเ สน ดา ยเปน ตวั กลางในการสอ่ื สาร เรย� งรอ ยทบั ซอ นกนั แทนความรสู กึ ถา ยทอด และสะทอ นแนวความคดิ ของผลงาน 41 ส่ือประสม (Mixed Media)
นางสาวชฎาพร นวลพงษ ผูสรางสรรคไดมีโอกาสไปพบเห็นภาพเข�ยนสีผาแตมเกิดความประทับใจ ในรูปราง รูปทรง ที่ปรากฏในเร�่องราวของภาพเข�ยนสี ซึ่งมีความงามทั้งในเชิง “จ�นตนาการแหงวถ� ชี วี ต� ชนบทอีสาน” ประวัติศาสตรและหลักทางสุนทร�ยภาพจ�งไดนำความประทับใจนี้มาเปนแรง ส่อื ผสม, 75 x 105 x 15 ซม. บนั ดาลใจสงู านสรา งสรรค โดยหยบิ รปู ทรงตา ง ๆ ทป่ี รากฏในภาพเขย� นบางสว น ปที่สรางสรรค 2565 นำมาผา นการลดทอนเพม� เตมิ จน� ตนาการสคู วามคดิ สรา งสรรคผ สานกระบวน- การทางภูมิปญ ญาทอ งถ�ินประกอบดวยกลวธ� กี ารสาน การมดั การถกั การผกู การพัน และหอหุม ดวยวัสดุพ�้นถิ�นที่มีอยูในธรรมชาติ เชน ฟางขาว ปอ เตย เปนตน จนเกิดเปนรูปทรงใหมที่มีเอกลักษณสะทอนซึ่งความอุดมสมบูรณของ ภูมิปญญาทองถิ�นที่มีแนวเร�่องมาจากภาพเข�ยนสีผาแตม ส4่ือ2ประสม (Mixed Media)
นางสาวมิ�งขวญั ละมลู มอญ ผสู รา งสรรคม แี รงบนั ดาลใจมาจากความสขุ ของการเรม� ตน ปใ หม ทเ่ี ปรย� บเสมอื น ฤดูกาลผลิบานของชวงชีว�ตจ�งนำรูปทรงที่มีในธรรมชาติ โดยใชรูปทรงของ “ผลิบาน” กลบี กะหลำ่ ปลแี ละสายบวั มาสรา งสรรคเ ปน ผลงาน เพอ่� สอ่ื ถงึ เรอ่� งราวของปเ กา สอ่ื ประสม, 16 x 18 x 8 ซม. ที่กำลังจะผานไป เสมือนการผลัดใบของผลผลิต และนำสายบัวมา stamps จนเกิดลวดลายที่งดงาม มีสีสันสดใส และตัดแปะใหเปนรูปทรงของดอกไม เปร�ยบเสมือนผลผลิตของความสุขที่กำลังผลิบานตอนรับปใหม สื่อประสม (Mixed 43 Media)
นางสาวมาร�สา วช� าดี ผูสรางสรรคตองการทดแทนชองวางแหงความสุขที่ขาดหายไป เพ�ยงเพ�่อ ที่จะแสดงตัวตน ความรูสึก ความเพอฝน และจ�นตนาการ สรางความสุข “จน� ตนาการ อาภรณ แหงความสขุ หมายเลข 7” อยางอิสระเสร� โดยผานกระบวนการลดทอน เพ�มเติม รูปทรงอาภรณ การผกู การรอยวสั ดุธรรมชาต,ิ ของหญงิ สาวทเ่ี คยวาดฝน วา อยากทจ่ี ะสวมใสเ มอ่ื ครง้ั ยงั เยาวว ยั ผสมผสาน 50 x 120 x 25 ซม. จ�นตนาการ ประกอบสรางดวยเทคนิคและกลว�ธีการผูก การรอยดวยมือ ทีละชิ�นที่ปรากฏเปร�ยบดั่งการถักทอความฝน ที่แสดงใหเห็นถึงการเชื่อมโยง 44 จากจ�ตภายในออกมาทีละนิด จนเกิดเปนรูปทรงใหมที่มีเอกลักษณเฉพาะ และมีคุณคาตอจ�ตใจ ดวยวัสดุที่มีอยูตามธรรมชาติอันบร�สุทธิ์ และเร�ยบงาย สือ่ ประสม (Mixed Media) ที่มีในพ�้นถิ�น เพ�่อแทนคาทัศนธาตุ อีกทั้งยังซอนไวซึ่ง ว�ถีชีว�ต สะทอนความ เปนตัวตนของผูสรางสรรคเอง
นางสาวอมราภรณ คมขำ ผูสรางสรรคเกิดความชื่นชอบเกี่ยวกับศิลปะการมวนและการปะติดกระดาษ จง� ไดส รา งสรรคผ ลงานชน�ิ นอ้ี อกมาเปน รปู ดอกบวั และไดใหช อ่ื ภาพนว้ี า “ไมง าม- ส่อื ผสม, 60 x 80 ซม. อุบล” เนอ่ื งจากดอกบัวเปน ดอกไมประจำจังหวัดอุบลราชธานี จ�งอยากใหท กุ คน ที่พบเห็นผลงานชิ�นนี้ไดเห็นถึงความงามของดอกไมชนิดนี้ และผูสรางสรรค อยากถายทอดความเปนคนชาวอุบลผานงานศิลปะชิ�นนี้ 45 สือ่ ประสม (Mixed Media)
นายจร� ะวัฒน แถมศริ � นาคอุบลเปนศิลปะอีสานลานชางที่มีเอกลักษณเฉพาะตัวที่มีอยูในจังหวัด อุบลราชธานี โดยรูปลักษณจะไมเหมือนกับพญานาคแบบไทย จะแตกตาง “นาคอบุ ล” กันที่ตัวหงอน จะมีลักษณะปลายสะบัดลูลม มีหูและมีปกพบไดในสถานที่ Collage (ปะตดิ ) จากกระดาษหนังสือพ�มพ ตาง ๆ ในจังหวัดอุบลราชธานี เชน วัด พ�พ�ธภัณฑตาง ๆ และกระดาษร�ไซเคลิ , 60 x 80 ซม. ส4่อื 6ประสม (Mixed Media)
นายปองธรรม พรมสิงห \"ชนบทอสี าน\" วถ� แี หง ความสขุ อนั เรย� บงา ยบนผนื แผน ดนิ ทร่ี าบสงู ของประเทศไทย นำเสนอผานรูปแบบของบร�บทชุมชนทางภาคอีสานในอดีต ที่มีความเปนเอก- “ชนบทอสี าน” ลักษณในการดำรงชีว�ตอยางเร�ยบงาย แตเต็มเปยมไปดวย \"ความสงบ\" และ ส่ือผสม, 90 x 120 ซม. \"ความสุข\" ส่ือประสม (Mixed 47 Media)
มลั ตมิ ีเดยี (Multimedia Art)
Search