เอกสารเผยแพร่ 64สาระการเรียนรู้ 1. การทาํ งานของระบบปรับอากาศรถยนต์ 2. การติดต้งั คอมเพรสเซอร์ 3. การติดต้งั คอนเดนเซอร์ 4. การติดต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ 5. การติดต้งั ชุดอีวาพอเรเตอร์ 6. การติดต้งั ทอ่ สารทาํ ความเยน็ ระบบปรับอากาศรถยนต์กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. เช็คช่ือนกั เรียน 2. ตรวจงานท่ีมอบหมาย 3. สรุปผลงานที่ส่ง แนะนาํ ใหป้ รับปรุงแกไ้ ข 4. การดาํ เนินการสอน 4.1 ใหน้ กั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 4.2 ทบทวนบทเรียนท่ีผา่ นมา 4.3 ต้งั คาํ ถามเพอ่ื นาํ เขา้ สู่บทเรียน สรุปคาํ ตอบ 4.4 อธิบายเน้ือหาและยกตวั อยา่ งประกอบ 4.4.1 การทาํ งานของระบบปรับอากาศรถยนต์ 4.4.2 การติดต้งั คอมเพรสเซอร์ 4.4.3 การติดต้งั คอนเดนเซอร์ 4.4.4 การติดต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ 4.4.5 การติดต้งั ชุดอีวาพอเรเตอร์ 4.4.5 การติดต้งั ทอ่ สารทาํ ความเยน็ 4.5 ใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น โดยใชว้ ธิ ีการถาม-ตอบ อธิบายซ้าํ 4.6 ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเน้ือหาในบทเรียน 4.7 ใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิตามใบงานและบนั ทึกผลการปฏิบตั ิงาน 5. ใหน้ กั เรียนทาํ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ 6. ใหน้ กั เรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน 7. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน 8. ครูสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคลและบนั ทึกผล 9. อบรม คุณธรรม จริยธรรม 10. ใหผ้ เู้ รียนศึกษาคน้ ควา้ เรื่องท่ีจะเรียนคร้ังตอ่ ไปล่วงหนา้ และบนั ทึกหลงั การสอน
65ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอน วชิ างานปรับอากาศรถยนต์ 2. Power point 3. ชุดฝึกระบบปรับอากาศรถยนต์หลกั ฐานการเรียนรู้ทตี่ ้องการ 1. หลกั ฐานความรู้ท่ีตอ้ งการ 1.1 ร่องรอยการบนั ทึกองคค์ วามรู้บนสมุดบนั ทึก 1.2 ร่องรอยการศึกษาคน้ ควา้ เพิม่ เติมการวดั และประเมนิ ผล 1. วธิ ีประเมิน 1.1 ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ 1.2 สังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล 2. เครื่องมือประเมิน 2.1 แบบประเมินผลการเรียนรู้ 2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล 2.3 แบบประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจาํ หน่วยที่ 2 3. เกณฑก์ ารประเมินผล 3.1 แบบทดสอบเพ่ือประเมินผลการเรียนรู้อยใู่ นระดบั เกณฑผ์ า่ นถูกตอ้ ง 50% ข้ึนไป 3.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล เกณฑผ์ า่ น ตอ้ งไม่มีระดบั คุณภาพ ปานกลางข้ึนไปในทุกพฤติกรรม 3.3 แบบประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจาํ หน่วยที่ 2 ไดค้ ะแนน 50 % ข้ึนไปเอกสารเผยแพร่
66 แบบทดสอบเพอ่ื ประเมินผล ก่อนการเรียนรู้เอกสารเผยแพร่จงทาํ เครื่องหมายกากบาท (X) ลงหน้าข้อทถ่ี ูกทสี่ ุด1. ระบบการทาํ งานของระบบปรับอากาศรถยนตส์ ามารถแบง่ ออกเป็นก่ีดา้ นอะไรบา้ ง ก. 2 ดา้ น ดา้ นบนและดา้ นล่าง ข. 2 ดา้ น ดา้ นความดนั สูงและความดนั ต่าํ ค. 3 ดา้ น ดา้ นความดนั สูง ดา้ นความดนั กลาง และดา้ นความดนั ต่าํ ง. 3 ดา้ น ดา้ นความดนั ส่ง ดา้ นความดนั ดูด และดา้ นความดนั สะสม2. การติดต้งั คอมเพรสเซอร์ควรวางตาํ แหน่งของร่องพเู ล่ยแ์ ละพเู ล่ยเ์ พลาขอ้ เหวยี่ ง ในตาํ แหน่งใด ก. ตรงกนั ขา้ ม ข. แนวเดียวกนั ค. ทบั กนั ง. เหล่ือมกนั3. ควรติดต้งั คอมเพรสเซอร์ที่ชิดกบั เคร่ืองยนตห์ รือไม่ อยา่ งไร ก. ควร เพราะเป็นการลดแรงฉุด ข. ควร เพราะเป็นการเพิม่ ความแขง็ แรง ค. ไม่ควร เพราะจะทาํ ใหเ้ กิดช่องวา่ ง ง. ไม่ควร เพราะจะเกิดการรั่วได้4. คอนเดนเซอร์ที่นาํ มาติดต้งั ควรมีลกั ษณะใด เพราะเหตุใด ก. ขนาดเล็กเพอ่ื ประหยดั เน้ือที่ ข. ขนาดใหญเ่ พือ่ ใหน้ ้าํ ยาไหลไดด้ ี ค. ขนาดเลก็ เพอื่ ใหน้ ้าํ ยาไหลไดเ้ ร็ว ง. ขนาดใหญเ่ พ่ือระบายความร้อนไดม้ าก5. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ งในการติดต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ ก. ไมค่ วรติดต้งั ไวใ้ กลแ้ หล่งความร้อน ข. ควรติดต้งั ใหห้ ่างจาก Sight Glass ค. ควรติดต้งั ในแนวนอน ง. ควรติดต้งั ใหด้ า้ นท่ีมีอกั ษร IN ตอ่ กบั ทอ่ ทางออก
676. การติดต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ ควรหนั หวั ลูกศรไปยงั ตาํ แหน่งใดเอกสารเผยแพร่ ก. Evaporator ข. Expansion Valve ค. Condenser ง. Compressor7. เหตุใดจึงตอ้ งติดต้งั ชุดอีวาพอเรเตอร์แบบแขวนให้เงยข้ึนเล็กนอ้ ย ก. เพ่อื ใหเ้ กิดการระเหยของน้าํ ข. เพอื่ ใหเ้ กิดความสวยงาม ค. เพอ่ื ป้ องกนั การสูญเสียลมเยน็ ง. เพ่ือใหน้ ้าํ ไหลลงทอ่ น้าํ ทิ้งได้8. ขอ้ ใด ไม่ใช่ หลกั การติดต้งั ชุดอีวาพอเรเตอร์แบบฝัง ก. คาํ นึงถึงรุ่นและยหี่ อ้ ข. ทราบตาํ แหน่งท่ีติดต้งั ท่ีชดั เจน ค. เจาะรูสาํ หรับท่อน้าํ ทิง้ ที่ตวั รถ ง. ตอ้ งติดต้งั ท่อส่งลมเยน็ ใหแ้ น่น9. สิ่งท่ีควรปฏิบตั ิในการติดต้งั ท่อทางเดินสารทาํ ความเยน็ ก. หลีกเล่ียงการติดต้งั กบั ชิ้นส่วนเคลื่อนที่ ข. หลีกเลี่ยงการยดึ ทอ่ โดยใชแ้ คลม้ ป์ ยดึ ทอ่ ค. หลีกเลี่ยงการติดต้งั ท่อที่ส้นั เกินไป ง. หลีกเลี่ยงการใชน้ ้าํ มนั หล่อลื่นคอมเพรสเซอร์10. โดยปกติแลว้ คอนเดนเซอร์มกั จะถูกติดต้งั ไวท้ ี่ตาํ แหน่งใดของรถกระบะ ก. ดา้ นหนา้ หมอ้ น้าํ ข. ดา้ นหลงั หมอ้ น้าํ ค. หลงั คาใตท้ อ้ งรถ ง. กระโปรงทา้ ยรถ
68เฉลยคาํ ตอบแบบทดสอบเพอ่ื ประเมินผล ก่อนการเรียนรู้ ข้อ ก. ข. ค. ง. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เอกสารเผยแพร่
69 ใบความรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 1 เวลา 2 ชั่วโมงวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ (2101-2105)ชื่อหน่วย การตดิ ต้งั อปุ กรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์เร่ือง การตดิ ต้งั อุปกรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์ การทาํ งานของระบบปรับอากาศรถยนต์ ก่อนทาํ การติดต้งั อุปกรณ์ปรับอากาศรถยนต์ เราตอ้ งเขา้ ใจหลกั พ้ืนฐานในการทาํ งานของวฏั จกั รการทาํ ความเยน็ ว่ามีการทาํ งานอยา่ งไร วฏั จกั รการทาํ ความเยน็ ของระบบปรับอากาศรถยนต์ มีระบบหลกัท่ีแน่นอน แต่อาจจะเพิ่มขยายส่วนประกอบเพ่ือความเหมาะสมและเพ่ือประสิทธิภาพ จนดูเหมือนว่าจะแตกต่างกนั บา้ งแต่แทท้ ่ีจริงแลว้ วฏั จกั รการทาํ ความเยน็ คือ การถ่ายเทรับเอาความร้อนออกจากสถานท่ีที่ตอ้ งการขจดั ความร้อนน้นั เพ่อื อุณหภมู ิของสถานที่น้นั อยใู่ นระดบั ท่ีตอ้ งการ และนาํ ความร้อนท้งั หมดไปถ่ายเททิ้งภายนอก ดงั แสดงในรูป 2.1เอกสารเผยแพร่ รูปที่ 2.1 แสดงวฏั จกั รการทาํ ความเยน็ ในระบบปรับอากาศรถยนต์ ทมี่ า : สวสั ด์ิ บุญเถ่ือน. งานปรับอากาศรถยนต์. 2555 วัฏจักรทําความเย็นในเคร่ื องปรับอากาศรถยนต์เป็ นระบบทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression System) ซ่ึงเป็ นวฏั จกั รทาํ งานแบบทวนเข็มนาฬิกา โดยที่คอมเพรสเซอร์(Compressor) ทาํ หนา้ ที่ดูดสารทาํ ความเยน็ (Refrigerant) เขา้ ทางดา้ นดูด (Suction) และคอมเพรสเซอร์
70๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕จะอัดสารทาํ ความเย็นให้มีความร้อนสูงและความดันสูงออกทางด้านทางออกไปที่คอนเดนเซอร์(condenser) เพื่อระบายความร้อนออก เป็ นการคายความร้อนทิ้งดว้ ยกระบวนการควบแน่นท่ีความดนั สูงประมาณ 900-1,500 กิโลปาสคาล (kPa) หรือประมาณ 130-220 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว และอุณหภูมิสูงประมาณ 40 – 60 องศาเซลเซียล โดยทวั่ ไปจะอดั สารทาํ ความเยน็ ให้มีอุณหภูมิสูงกว่าระดบั อุณหภูมิของบรรยากาศประมาณ 15 องศาเซลเซียล สาํ หรับปริมาณความร้อนท่ีถ่ายเทออก มีค่าเท่ากบั ความร้อนแฝงของการควบแน่นไอกลายเป็ นของเหลวของสารทาํ ความเย็น ท้งั น้ีข้ึนอยู่กับชนิดของสารทาํ ความเย็นและสภาวะการใช้งานด้วย สารทาํ ความเยน็ จะกลายเป็ นของเหลวท่ีมีความดนั สูงแต่ยงั ร้อนอยู่ ให้ไหลออกไปยงั รีฟเวอร์ดรายเออร์ (Receiver Dryer) เพ่ือกรองความช้ืนและส่ิงสกปรกในระบบทาํ ความเย็นจากน้ันสารทาํ ความเย็นเหลวก็จะไหลไปยงั เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว (Expansion Valve) แล้วฉีดออกเป็นฝอยละอองเขา้ ไปในอีวาพอเรเตอร์ (Evaporator) สารทาํ ความเยน็ ท่ีฉีดเป็ นฝอยละอองคลา้ ยหมอกควนั น้นั ทาํ ให้สารทาํ ความเยน็ ขยายตวั ความดนัลดลง โดยสารทาํ ความเย็นจะกลายเป็ นไอเน่ืองจากผลของความดันที่ลดลง และจะดูดความร้อนจากภายนอกเพ่ือให้ตวั มนั เองกลายเป็ นไอหรือก๊าซท่ีมีความร้อนเพ่ิมข้ึน เป็ นการดูดกลืนความร้อนด้วยกระบวนการกลายเป็ นไอที่ความดนั ต่าํ ประมาณ 50 – 240 กิโลปาสคาล (kPa) หรือประมาณ 7 – 35 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ในขณะที่สารทาํ ความเยน็ เปล่ียนสถานะจากของเหลวกลายเป็ นไอ และเป็ นไออย่างสมบูรณ์น้นั จะดูดความร้อนแฝงให้กลายเป็ นไอ ทาํ ให้อุณหภูมิภายนอกรอบๆ ลดลง สารทาํ ความเยน็ ที่ดูดกลืนความร้อนบริเวณรอบๆ เข้ามาน้ัน มีค่าเท่ากบั ความร้อนแฝงของการกลายเป็ นไอของสารทาํ ความเย็นท่ีกลายเป็ นไอน้ีก็จะถูกดูดจากอีวาพอเรเตอร์เขา้ ไปในคอมเพรสเซอร์ และเริ่มตน้ การทาํ งานเป็ นวฏั จกั รเหมือนเดิมตอ่ ไป จากระบบการทํางานของเคร่ืองปรับอากาศรถยนต์ สามารถแบ่งระบบการทาํ งานออกเป็ น2 ข้นั ตอน ดงั น้ี 1. ดา้ นความดนั สูง 2. ดา้ นความดนั ต่าํ ด้านความดันสูง ในรูปที่ 2.2 แสดงระบบการทํางานของเคร่ื องปรับอากาศ จากวฏั จักรการทําความเย็นสารทาํ ความเยน็ จะไหลผา่ นอุปกรณ์ความดนั สูงในระบบทาํ ความเยน็ ดงั น้ีเอกสารเผยแพร่
71 รูปที่ 2.2 แสดงวฏั จกั รการทาํ ความเยน็ ในด้านความดนั สูง ทมี่ า : สวสั ด์ิ บุญเถอื่ น. งานปรับอากาศรถยนต์. 2555 1. อัดสารทําความเย็นเป็ นไอ สารทาํ ความเย็นที่เป็ นก๊าซหรือไอ มีสภาพความดันต่าํ จะถูกคอมเพรสเซอร์ดูดเขา้ มาทางดา้ นดูด สารทาํ ความเยน็ ที่เป็ นก๊าซจะถูกคอมเพรสเซอร์อดั ใหม้ ีอุณหภูมิสูงข้ึนประมาณ 70 องศาเซลเซียลและมีความดันสูงประมาณ 15 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร (213 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) ก๊าซท่ีถูกอดั น้ีจะถูกส่งออกทางดา้ นทางออกไปยงั คอนเดนเซอร์ 2. การระบายความร้อน สารทาํ ความเยน็ ท่ีเป็ นก๊าซซ่ึงมีความร้อนและความดนั สูง เมื่อถูกอดัก็จะไหลเข้ามาที่คอนเดนเซอร์และจะถูกทาํ ให้เย็นลง หรือถูกระบายความร้อนออกท่ีคอนเดนเซอร์ขณะน้ีความร้อนแฝงของการควบแน่นจะถูกดึงออกมาโดยอากาศระบายความร้อนผา่ นครีบคอนเดนเซอร์ทาํ ใหก้ ๊าซกลายเป็นของเหลว และมีอุณหภมู ิประมาณ 62 องศาเซลเซียส (114 องศาฟาเรนไฮต)์ 3. กรองความชื้นและส่ิงสกปรกออก สารทาํ ความเย็นที่เป็ นของเหลวจะไหลเข้าไปในรีซีฟเวอร์ดรายเออร์ ซ่ึงจะดูดกรองความช้ืนและกรองสิ่งสกปรกออก แลว้ ไหลตอ่ ไปยงั เอก็ ซ์แพนชนั วาลว์เอกสารเผยแพร่
72ด้านความดันตา่ํจากรูปท่ี 2.3 แสดงสารทาํ ความเยน็ ที่ไหลผา่ นดา้ นความดนั ต่าํเอกสารเผยแพร่ รูปที่ 2.3 แสดงวฏั จกั รการทาํ ความเยน็ ในด้านความดนั ตา่ํ ทมี่ า : สวสั ด์ิ บุญเถ่อื น. งานปรับอากาศรถยนต์. 2555 สารทาํ ความเยน็ ท่ีเป็นของเหลวกาํ ลงั ดนั สูงจะไหลเขา้ ไปในเอก็ ซ์แพนชนั วาลว์ และฉีดออกมาเป็ นฝอยละอองเข้าไปในอีวาพอเรเตอร์ จะทาํ ให้เกิดการขยายตวั ทันทีทนั ใด ซ่ึงจะเปลี่ยนเป็ นของเหลวที่มีความดันต่ําและอุณหภูมิต่ํา จากน้ันก็จะระเหยตัวกลายเป็ นไอดูดกลืนเอาความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอจากอากาศบริเวณรอบ ๆ โดยผา่ นครีบของอีวาพอเรเตอร์ ดงั น้นั จะทาํ ใหอ้ ากาศท่ีไหลหมุนเวียนผ่านเข้าไปในอีวาพอเรเตอร์เย็นลงด้วย เป็ นการทําความเย็นให้กับรถยนต์ หลังจากน้ันสารทําความเย็นจะเปล่ียนสถานะเป็ นไอหรื อก๊าซที่มีอุณหภูมิต่ําและความดันต่ํา ก๊าซน้ีก็จะถูกคอมเพรสเซอร์ดูดไปทาํ งานตามวฎั จกั รการทาํ ความเยน็ ต่อไป สารทาํ ความเยน็ ที่ทางออกของอีวาพอเรเตอร์มีอุณหภูมิ 3 องศาเซลเซียล (37 องศาฟาเรนไฮต์)และมีความดนั 2.1 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร (30 ปอนดต์ ่อตารางนิ้ว, 206 กิโลปาสคาล)
73 การตดิ ต้งั อปุ กรณ์ปรับอากาศรถยนต์ การติดต้ังอุปกรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์ในรถยนต์น้ัน นับได้ว่าเป็ นงานท่ีมีความสําคัญอย่างมาก หากติดต้งั เครื่องปรับอากาศไม่ดีหรือไม่ถูกวิธี ย่อมจะทาํ ให้เกิดปัญหาข้อขดั ขอ้ งตามมาอีกมากมาย แต่หากมีการติดต้งั อย่างถูกตอ้ งเหมาะสมตามหลกั วิชาการ นอกจากจะป้ องกนั ปัญหาขอ้ ขดั ขอ้ งอนั อาจเกิดข้ึนแลว้ ยงั ช่วยให้เครื่องปรับอากาศมีอายุการใชง้ านยาวนานข้ึน ประสิทธิภาพไดม้ าตรฐานฉุดกําลังจากเคร่ืองยนต์น้อย รวมท้ังความสิ้นเปลืองน้ํามันเช้ือเพลิงและการสึกหรอของเคร่ืองยนต์ท่ีนอ้ ยกวา่ อีกดว้ ย ในบทน้ีจะไดก้ ล่าวถึงการติดต้งั อุปกรณ์หลกั ของระบบ ท่อสารทาํ ความเยน็ ตามลาํ ดบัเอกสารเผยแพร่ อวี าพอเรเตอร์ ท่อดูด คอมเพรสเซอร์สวติ ช์ความดนั สูง ท่อส่ง รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ ท่อสารความเยน็ ด้านความดนั ตา่ํ คอนเดนเซอร์ รูปท่ี 2.4 แสดงอุปกรณ์ปรับอากาศรถยนต์ ทม่ี า : www.vintageair.com. 2555 การติดต้ังคอมเพรสเซอร์ สิ่งสําคัญในการติดต้ังคอมเพรสเซอร์ คือ การยึดแท่นคอมเพรสเซอร์เข้ากับเคร่ื องยนต์ในปัจจุบนั บริษทั ผูผ้ ลิต ได้ออกแบบแท่นยึดคอมเพรสเซอร์ให้เหมาะกับเคร่ืองยนต์ การติดต้ังจึงมีความสะดวกมากข้ึน อย่างไรก็ตามหากแท่นยึดคอมเพรสเซอร์ท่ีจัดไว้ให้ไม่พอดี จําเป็ นต้องสร้างแท่นยึดคอมเพรสเซอร์เองควรพิจารณาถึงสิ่งต่าง ๆ ดงั น้ี
เอกสารเผยแพร่ 74 1. ตาํ แหน่งท่ีติดต้ัง ควรชิดกับตวั เคร่ืองยนต์ เพ่ือลดแรงฉุดและควรอยู่ตาํ แหน่งท่ีสามารถใหบ้ ริการหรือซ่อมบาํ รุงคอมเพรสเซอร์และเครื่องยนตไ์ ดโ้ ดยสะดวก 2. ร่องพูเล่ยข์ องคอมเพรสเซอร์ และพูเล่ยเ์ พลาขอ้ เหวี่ยงตอ้ งอยู่ในแนวเดียวกนั มากที่สุดเท่าที่จะทาํ ได้ 3. เมื่อติดต้งั แลว้ คอมเพรสเซอร์ตอ้ งไมเ่ อียงมากเกินไป 4. แทน่ ยดึ คอมเพรสเซอร์สลกั เกลียวและแป้ นเกลียวท่ียดึ ตอ้ งมีความแขง็ แรง คอมเพรสเซอร์ รูปท่ี 2.5 การตดิ ต้งั คอมเพรสเซอร์ ทม่ี า : สวสั ด์ิ บุญเถ่อื น. งานปรับอากาศรถยนต์. 2555 การตดิ ต้ังคอนเดนเซอร์ เคร่ืองปรับอากาศท่ีติดต้งั กบั รถยนต์น่ังและรถกระบะ โดยทวั่ ไปมกั จะติดต้งั คอนเดนเซอร์ไว้บริ เ ว ณ ด้า น ห น้า ห ม้อ น้ํา ส่ ว นร ถ ย น ต์ป ร ะ เ ภ ท อื่ น เ ช่ น รถ ตู้ ร ถ โ ด ย ส า ร อ า จ ติ ด ต้ังคอนเดนเซอร์ไวบ้ นหลังคาใต้ท้องรถ หรือกระโปรงทา้ ยรถ ในท่ีน้ีจะกล่าวถึงเฉพาะท่ีติดต้ังบริเวณดา้ นหนา้ หมอ้ น้าํ เทา่ น้นั หลกั การในการพิจารณาติดต้งั คอนเดนเซอร์ มีดงั น้ี ควรตรวจสอบช่องวา่ งระหวา่ งหมอ้ น้าํ กบั กระจงั หน้ารถก่อนวา่ มีช่องวา่ งพอท่ีจะติดต้งั โดยการวดัคอนเดนเซอร์ไดห้ รือไม่
75 1. ควรเลือกใชค้ อนเดนเซอร์ขนาดใหญท่ ่ีสุด เท่าที่สามารถติดต้งั ได้ 2. ควรติดต้งั คอนเดนเซอร์ให้ห่างจากหมอ้ น้าํ อยา่ งนอ้ ย 1 นิ้ว 3. ควรติดต้งั ใหด้ า้ นทางเขา้ ของสารทาํ ความเยน็ อยดู่ า้ นบน และดา้ นทางออกอยดู่ า้ นล่างเสมอ 4. ขณะติดต้งั ควรระมดั ระวงั อยา่ ใหส้ กรูยดึ คอนเดนเซอร์ไปโดนท่อ เพราะจะทาํ ใหเ้ กิดการรั่วได้ คอนเดนเซอร์ รูปท่ี 2.6 การตดิ ต้งั คอนเดนเซอร์ ทม่ี า : สวสั ด์ิ บุญเถื่อน. งานปรับอากาศรถยนต์. 2555 การติดต้ังรีซีฟเวอร์ดรายเออร์ รี ซีฟเวอร์ดรายเออร์นิยมนํามาติดต้ังเข้ากับระบบเป็ นอุปกรณ์สุ ดท้าย ท้ังน้ีเพ่ือป้ องกันการดูดความช้ืนจากอากาศภายนอกโดยมีหลกั ในการติดต้งั ดงั น้ี 1. ควรติดต้งั บริเวณท่ีระบายความร้อนได้ดี ควรหลีกเลี่ยงการติดต้งั ไวใ้ กล้แหล่งความร้อนเช่นเคร่ืองยนต์ ทอ่ ร่วมไอเสีย เป็นตน้ 2. หลีกเล่ียงการติดต้งั ในตาํ แหน่งที่อุปกรณ์อื่นใดมากระแทกขณะทาํ งาน 3. ตาํ แหน่งที่ติดต้งั ควรเป็ นตาํ แหน่งที่สามารถมองเห็นสภาพสารทาํ ความเยน็ ท่ี Sigh Glassไดอ้ ยา่ งชดั เจน และสะดวกเอกสารเผยแพร่
เอกสารเผยแพร่ 76 รีซีฟเวอร์ รูปท่ี 2.7 แสดงตาํ แหน่งการตดิ ต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ ทม่ี า : สวสั ด์ิ บุญเถือ่ น. งานปรับอากาศรถยนต์. 2555 4. ควรติดต้ังรีซีฟเวอร์ดรายเออร์ให้อยู่ในแนวดิ่ง หากไม่สามารถทาํ ได้ก็ไม่ควรติดต้ังให้รีซีฟเวอร์ดรายเออร์เอียงเกิน 15 องศาจากแนวดิ่ง รูปที่ 2.8 แสดงการตดิ ต้งั รีซีฟเวอร์ไดรเออร์ ทม่ี า : สมนึก มงั กะระ. งานปรับอากาศรถยนต์. 2551
เอกสารเผยแพร่ 77 5. หา้ มต่อท่อสารทาํ ความเยน็ เขา้ กบั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ผิดทาง โดยจะตอ้ งให้ดา้ นที่มีอกั ษร INต่อกับท่อที่มาจากทางออกของคอนเดนเซอร์ หรื อหากสังเกตจากลูกศรแสดงทิศทางการไหลของสารทาํ ความเยน็ ที่ดา้ นขา้ งรีซีฟเวอร์ดรายเออร์ จะตอ้ งใหด้ า้ นหวั ลูกศรต่อไปยงั เอก็ ซ์แพนชน่ั วาลว์ การตดิ ต้ังชุดอวี าพอเรเตอร์ ชุดอีวาพอเรเตอร์บางคร้ังอาจเรียกว่า ตู้แอร์หรือตู้คอยล์เย็นชุดอีวาพอเรเตอร์จะประกอบด้วยโครงหรื อเปลือกนอก ตัวอีวาพอเรเตอร์ เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว มอเตอร์โบลเวอร์พร้อมใบพัดลมและแผน่ กรองฝ่ นุ อวี าพอเรเตอร์ รูปที่ 2.9 การตดิ ต้งั ชุดอวี าพอเรเตอร์ ทม่ี า : สวสั ด์ิ บุญเถื่อน. งานปรับอากาศรถยนต์. 2555 ชุดอีวาพอเรเตอร์มีอยู่ 2 แบบ คือ แบบแขวน และแบบฝัง โดยชุดอีวาพอเรเตอร์แบบแขวนจะสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน เม่ือติดต้งั ในห้องโดยสาร ส่วนชุดอีวาพอเรเตอร์แบบฝังจะไม่สามารถมองเห็นภายในห้องโดยสารได้ เพราะจะออกแบบให้ติดต้งั อยา่ งมิดชิดสังเกตเห็นไดเ้ พียงช่องจ่ายลมเยน็เท่าน้นั ดงั น้นั การติดต้งั ชุดอีวาพอเรเตอร์จึงตอ้ งพิจารณาจาก 2 แบบ คือ 1. การติดต้ังชุดอวี าพอเรเตอร์แบบแขวน หลกั ในการติดต้งั ชุดอีวาพอเรเตอร์แบบแขวน ควรพจิ ารณาดงั น้ี 1.1 ควรติดต้งั บริเวณดา้ นหนา้ รถ ตรงก่ึงกลางระหวา่ งคนขบั กบั คนนงั่ ขา้ ง
เอกสารเผยแพร่ 78 1.2 ตาํ แหน่งที่ติดต้งั ควรเป็ นตาํ แหน่งท่ีสะดวกต่อการติดท่อสารทาํ ความเยน็ ควรติดต้งั ให้ชุดอีวาพอเรเตอร์เงยข้ึนเล็กน้อย เพื่อให้น้ําท่ีเกิดจากการกล่นั ตวั ของไอน้ําในอากาศที่อีวาพอเรเตอร์ไหล ลงท่อน้าํ ทิ้งไดส้ ะดวก การเจาะรูสําหรับท่อน้าํ ทิ้งท่ีตวั รถควรเจาะในตาํ แหน่งที่มิดชิด ไม่เกะกะจนดูไมส่ วยงามและท่ีสาํ คญั น้าํ ทิง้ ตอ้ งไหลผา่ นไดโ้ ดยสะดวก 2. การตดิ ต้ังชุดอวี าพอเรเตอร์แบบฝัง โดยท่ัวไปชุดอีวาพอเรเตอร์แบบฝังจะถูกออกแบบและติดต้ังมาจากโรงงานผูผ้ ลิตแล้วถา้ หาก จะติดต้งั ภายหลงั จะตอ้ งใหต้ รงกบั ยห่ี อ้ และรุ่นของท้งั รถและเครื่องปรับอากาศ ดงั น้นั จึงไม่นิยมติดต้ังชุดอีวาพอเรเตอร์แบบฝัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับรถยนต์ท่ีไม่ได้ออกแบบไว้สําหรับติดต้ังชุดอีวาพอเรเตอร์แบบฝัง ซ่ึงมกั จะเป็ นรถรุ่นเก่า ๆ อย่างไรก็ตาม หากจะตอ้ งติดต้งั ชุดอีวาพอเรเตอร์แบบฝัง ควรพจิ ารณาหลกั ในการติดต้งั ดงั น้ี 2.1 ต้องคาํ นึงถึงเคร่ืองปรับอากาศท่ีจะติดต้ัง ควรเป็ นย่ีห้อและรุ่นท่ีใช้สําหรับรถยนต์ยห่ี อ้ และรุ่นที่จะติดต้งั 2.2 ช่างบริการจะตอ้ งทราบตาํ แหน่งตา่ ง ๆ ในการติดต้งั เป็ นอยา่ งดี เพราะหากติดต้งั ไม่ตรงตาํ แหน่งที่ออกแบบไวอ้ าจไมส่ ามารถติดต้งั ได้ 2.3 การติดต้งั ท่อส่งลมเยน็ จะตอ้ งติดต้งั ใหแ้ น่นเพ่อื ป้ องกนั การสูญเสียลมเยน็ การติดต้ังท่อสารทาํ ความเยน็ งานติดต้ังท่อทางเดินสารทําความเย็น ของเครื่ องปรับอากาศรถยนต์ ไม่มีความยุ่งยากเหมือนงานติดต้งั ทอ่ ทางเดินสารทาํ ความเยน็ ของเคร่ืองปรับอากาศภายในบา้ นเรือน ท้งั น้ีเพราะท่อทางเดินสารทาํ ความเยน็ ไดจ้ ดั ทาํ ไวเ้ ป็นชุดเรียบร้อยแลว้ เพยี งแต่มาตอ่ เขา้ กบั ระบบใหถ้ ูกตอ้ งเทา่ น้นั ท่อทางเดินสารทาํ ความเยน็ ท่ีใช้มีท้งั ชนิดท่อยางและท่อโลหะหรืออลูมิเนียม โดยท่อยางนิยมใช้ต่อระหว่างด้านอัดของคอมเพรสเซอร์กับด้านข้างของคอนเดนเซอร์ และระหว่างด้านทางออกของอีวาพอเรเตอร์กบั ดา้ นดูดของคอมเพรสเซอร์ ส่วนท่อโหละเป็ นที่นิยมใชร้ องลงมา ท้งั น้ีไม่ไดจ้ าํ กดัวา่ ตอ้ งเป็นไปตามน้ี อาจแตกตา่ งกนั บา้ งข้ึนอยกู่ บั บริษทั ผผู้ ลิตเครื่องปรับอากาศยห่ี อ้ น้นั ๆ การติดต้งั ทอ่ ทางเดินสารทาํ ความเยน็ ควรพิจารณาหลกั การติดต้งั ดงั น้ี 1. ควรหลีกเลี่ยงการติดต้งั ท่ีเบียดชิดกบั ชิ้นส่วนที่เคล่ือนที่ ความร้อน และวสั ดุแหลมคม 2. ควรยึดท่อให้ติดกับตวั รถ โดยใช้แคล้มป์ ยึดท่อ เพ่ือป้ องกนั การเคลื่อนไหวของท่อซ่ึงอาจทาํ ใหเ้ กิดการรั่วของสารทาํ ความเยน็ ตามขอ้ ต่อไดง้ ่าย 3. ควรหลีกเลี่ยงการติดต้งั ทอ่ ท่ีทาํ ใหม้ ีช่วงหกั โคง้ มาก และยาวเกินไป
เอกสารเผยแพร่ 79 4. ไม่ควรถอดฝาจุกปิ ดท่อทิง้ ไว้ เพราะอาจทาํ ใหค้ วามช้ืนในอากาศ เขา้ ไปในท่อไดม้ าก ควรถอดออกเม่ือตอ้ งการตอ่ เขา้ กบั อุปกรณ์เทา่ น้นั 5. ก่อนต่อทอ่ เขา้ กบั อุปกรณ์ใด ๆ ในระบบควรชโลมผิวสัมผสั ดว้ ยน้าํ มนั หล่อลื่นคอมเพรสเซอร์เพ่อื ช่วยป้ องกนั การรั่วของสารทาํ ความเยน็ ท่ีจุดต่อ รูปท่ี 8.6 การชโลมผวิ สัมผสั ด้วยนาํ้ มนั หล่อลน่ื คอมเพรสเซอร์ทโ่ี อลงิ หรือหน้าสัมผสั ทมี่ า : สมนกึ มงั กะระ. งานปรับอากาศรถยนต์ 2551 6. การขนั เกลียวขอ้ ต่อควรใชม้ ือหมุนเขา้ ไปจนสุดก่อน แลว้ จึงใชป้ ระแจขนั อีกคร้ังหน่ึง 7. การใช้ประแจขันเกลียวข้อต่อ ควรใช้ประแจปากตาย 2 ตวั จบั ข้อต่อในลักษณะทาํ มุมประมาณ 30 องศาต่อกนั แลว้ จึงใชม้ ือบีบเหมือนการบีบคีมตดั จะช่วยให้ขนั ไดง้ ่ายและแน่น และยงั ช่วยป้ องกนั ขอ้ ต่อชาํ รุดหรือขาดไดอ้ ีกดว้ ย รูปท่ี 8.7 การขนั ข้อต่อท่อสารทาํ ความเยน็ ทม่ี า : สวสั ด์ิ บุญเถือ่ น. งานปรับอากาศรถยนต์. 2555
80 ใบปฏบิ ัตงิ านท่ี 1 เร่ือง งานติดต้งั อปุ กรณ์ปรับอากาศรถยนต์สาระการเรียนรู้ - การติดต้งั คอมเพรสเซอร์ - การติดต้งั คอนเดนเซอร์ - การติดต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ - การติดต้งั ชุดอีวาพอเรเตอร์จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ติดต้งั คอมเพรสเซอร์ได้ 2. ติดต้งั คอนเดนเซอร์ได้ 3. ติดต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ได้ 4. ติดต้งั ชุดอีวาพอเรเตอร์ได้ 5. ใชเ้ ครื่องมือและอุปกรณ์ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั 6. แสดงใหเ้ ห็นถึงการปฏิบตั ิตามขอ้ กาํ หนดของการปฏิบตั ิงานท่ีต้งั ไว้เอกสารเผยแพร่
81 ใบปฏิบตั งิ านที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สัปดาห์ท่ี 2 เวลา 4 ช่ัวโมงวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ (2101-2105)ช่ือหน่วย การตดิ ต้งั อปุ กรณ์ปรับอากาศรถยนต์เร่ือง การติดต้ังอุปกรณ์ปรับอากาศรถยนต์หัวข้อ การติดต้งั อุปกรณ์ปรับอากาศรถยนต์เครื่องมอื เครื่องมือประจาํ ตวั ประแจแหวน ประแจปากตายวสั ดุ อุปกรณ์ ชุดฝึกปฏิบตั ิระบบปรับอากาศรถยนต์ข้นั ตอนการปฎบิ ัตงิ าน การถอดและติดต้งั อุปกรณ์ปรับอากาศรถยนต์เอกสารเผยแพร่1. เตรียมเครื่องมือ วสั ดุ อุปกรณ์ในการปฏิบตั ิงาน2. เตรียมชุดฝึกปฏิบตั ิงานปรับอากาศรถยนต์3. ถอดถอดท่อสารทาํ ความเยน็ ออก
เอกสารเผยแพร่ 82 4. นาํ ท่อสารทาํ ความเย็นออกจากชุดฝึ กปฏิบตั ิระบบ ปรับอากาศรถยนต์ นาํ ปลกั๊ อุดท่อทางเขา้ และออกท้งั สองดา้ นเพือ่ กนั ความช้ืน 5. ถอดคอมเพรสเซอร์ออกจากชุดฝึ กปฏิบัติระบบ ปรับอากาศรถยนต์ 6. นําคอมเพรสเซอร์ออกจากชุดฝึ กปฏิบัติระบบ ปรับอากาศรถยนต์ นําปลั๊กอุดท่อทางเข้าและออก ท้งั สองดา้ นเพ่ือกนั ความช้ืน 7. ถอดสลกั เกลียวยดึ แผงคอนเดนเซอร์ออก
เอกสารเผยแพร่ 83 8. นําคอนเดนเซอร์ ออกจากชุดฝึ กปฏิบัติระบบ ปรับอากาศรถยนต์ นําปลั๊กอุดท่อทางเข้าและออก ท้งั สองดา้ นเพ่อื กนั ความช้ืน 9. ถอดรีซีฟเวอร์ดรายเออร์ ออกจากชุดฝึ กปฏิบัติ ระบบปรับอากาศรถยนต์ 10. นาํ รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ออกจากชุดฝึ กปฏิบตั ิระบบ ปรับอากาศรถยนต์ นําปล๊ักอุดท่อทางเข้าและออก ท้งั สองดา้ นเพ่อื กนั ความช้ืน - 11. ถอดอีวาพอเรเตอร์ ออกจากชุดฝึ กปฏิบตั ิระบบ ปรับอากาศรถยนต์ นาํ ปลก๊ั อุดท่อทางเขา้ และออกท้งั สองดา้ นเพอ่ื กนั ความช้ืน
เอกสารเผยแพร่ 84 12. นําอีวาพอเรเตอร์ ออกจากชุดฝึ กปฏิบัติระบบ ปรับอากาศรถยนต์ นําปลั๊กอุดท่อทางเข้าและออก ท้งั สองดา้ นเพ่อื กนั ความช้ืน ข้ันตอนการประกอบอุปกรณ์ปรับอากาศรถยนต์ 13. ประกอบคอมเพรสเซอร์เขา้ กบั ชุดฝึ กปฏิบตั ิระบบ ปรับอากาศรถยนต์ ประกอบทอ่ สารทาํ ความเยน็ 14. ประกอบคอนเดนเซอร์เขา้ กับชุดฝึ กปฏิบตั ิระบบ ปรับอากาศรถยนต์ ขนั สลกั เกลียวใหแ้ น่น 15. ประกอบรีซีฟเวอร์ดรายเออร์ เขา้ กบั ชุดฝึ กปฏิบตั ิ ระบบปรับอากาศรถยนต์ ขนั แป้ นเกลียวใหแ้ น่น
85 16. ประกอบอีวาพอเรเตอร์ เขา้ กบั ชุดฝึ กปฏิบตั ิระบบ ปรับอากาศรถยนต์ ประกอบท่อสารทาํ ความเยน็ เขา้ กบั อีวาพอเรเตอร์ 17. ประกอบทอ่ สารทาํ ความเยน็ ขนั ขอ้ ต่อใหแ้ น่น- บนั ทึกผลงานในใบรายงานผลการปฎิบตั ิงาน- ทาํ ความสะอาดจดั เกบ็ เคร่ืองมือ วสั ดุ อุปกณ์และบริเวณปฎิบตั ิงานใหส้ ะอาดเรียบร้อยเอกสารเผยแพร่ แบบบนั ทึกผลการปฏิบตั งิ านที่ 2 เรื่อง การติดต้งั อปุ กรณ์ปรับอากาศรถยนต์รายการตรวจสอบ ผลการตรวจสอบ ผลการแก้ไข
1. คอมเพรสเซอร์ ติดต้งั ปกติ 86 เกิดปัญหา ..................................................................................2. คอนเดนเซอร์ ติดต้งั ปกติ .................................................................................. เกิดปัญหา .................................................................................. ..................................................................................3. ชุดอวี าพอเรเตอร์ ติดต้งั ปกติ .................................................................................. เกิดปัญหา .................................................................................. ..................................................................................4. รีซีฟเวอร์ คราย ติดต้งั ปกติ .................................................................................. เออร์ เกิดปัญหา .................................................................................. ..................................................................................5. ท่อทางเดินนํา้ ยา ติดต้งั ปกติ เกิดปัญหาเอกสารเผยแพร่ แบบประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน เร่ือง การติดต้งั อุปกรณ์ปรับอากาศรถยนต์ช่ือ-สกลุ .........................................................รหสั ประจําตวั ....................................ระดบั ช้ัน..............กล่มุ ท.่ี ......
87ลาํ ดบั รายการประเมิน ระดบั คะแนน หมาย 5 4 3 2 1 เหตุเกณฑ์ประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม 1. ความตรงตอ่ เวลา 2. การแต่งกาย 3. ความต้งั ใจในการปฏิบตั ิงาน 4. การทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ื่น 5. ความเสียสละ คะแนนรวมเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. การเตรียมและการเก็บรักษาเคร่ืองมือ วสั ดุ อุปกรณ์ 2. ทกั ษะในการปฏิบตั ิงาน 3. ปฏิบตั ิงานถูกตอ้ งตามข้นั ตอน 4. ความถูกตอ้ งของงาน 5. การสรุปผลการปฏิบตั ิงาน คะแนนรวมเอกสารเผยแพร่เกณฑ์การวดั ผลและประเมินผล เกณฑ์การประเมนิ ผลดมี าก = 5 คะแนนดี = 4 คะแนน ใหแ้ สดงผลการประเมินเป็นปานกลาง = 3 คะแนน 46 – 50 =Aพอใช้ = 2 คะแนน 41 – 45 =Bปรับปรุง = 1 คะแนน 36 – 40 =C 31 – 35 =Dผลการประเมิน = ………………. ต่าํ กวา่ 30 = F ลงชื่อ.....................................................ผปู้ ระเมิน ( )................................................................ / /................. ............................. .................. กจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรู้จงทาํ เคร่ืองหมาย หน้าข้อทเ่ี หน็ ว่าถูก และเครื่องหมาย หน้าข้อทเี่ หน็ ว่าผดิ ดงั ต่อไปนี้
เอกสารเผยแพร่ 88....................1. ร่องพเู ล่ยข์ องคอมเพรสเซอร์และพเู ล่ยเ์ พลาขอ้ เหวย่ี งควรอยใู่ นแนวทะแยง....................2. ตาํ แหน่งท่ีติดต้งั คอมเพรสเซอร์ควรอยหู่ ่างจากตวั รถยนต์ 1-2 นิ้ว เพ่ือลดแรงฉุด....................3. ควรเลือกใชค้ อนเดนเซอร์ขนาดใหญ่ท่ีสุดในการติดต้งั....................4. ควรติดต้งั คอนเดนเซอร์ให้ดา้ นทางเขา้ ของสารทาํ ความเยน็ อยดู่ า้ นบนและดา้ น ทางออกอยดู่ า้ นล่างเสมอ....................5. ควรติดต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ใกลก้ บั ทอ่ ร่วมไอเสีย....................6. ใหต้ ่อทอ่ รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ดา้ นที่มีอกั ษร IN ดา้ นเอก็ ซ์แพนชนั่ วาลว์....................7. ชุดอีวาพอเรเตอร์แบบแขวน ควรติดต้งั ใหเ้ งยข้ึนเลก็ นอ้ ย เพือ่ ใหน้ ้าํ ไหลลงสู่ทอ่ น้าํ ทิง้ ไดด้ ี....................8. ขณะติดต้งั ทอ่ สารทาํ ความเยน็ ควรถอดฝาจุกปิ ดท่อทิง้ ไว้ เพ่อื ใหม้ ีความช้ืนไหล เขา้ ไปในทอ่ ไดบ้ า้ ง....................9. การติดต้งั ระบบวงจรไฟฟ้ าควบคุมเครื่องปรับอากาศควรต่อผา่ นฟิ วส์และมีรีเลย์ ควบคุม....................10. การติดต้งั ระบบไฟฟ้ าควบคุมเคร่ืองปรับอากาศรถยนต์ ควรกาํ หนดโคดสีของ สายไฟ เพ่อื สะดวกในการแกไ้ ขปัญหาเมื่อเกิดขอ้ ขดั ขอ้ ง เฉลย กจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรู้จงทาํ เคร่ืองหมาย หน้าข้อทเ่ี หน็ ว่าถูก และเคร่ืองหมาย หน้าข้อทเ่ี ห็นว่าผดิ ดังต่อไปนี้
เอกสารเผยแพร่ 89....................1. ร่องพเู ล่ยข์ องคอมเพรสเซอร์และพเู ล่ยเ์ พลาขอ้ เหวย่ี งควรอยใู่ นแนวทะแยง....................2. ตาํ แหน่งท่ีติดต้งั คอมเพรสเซอร์ควรอยหู่ ่างจากตวั รถยนต์ 1-2 นิ้ว เพอื่ ลดแรงฉุด....................3. ควรเลือกใชค้ อนเดนเซอร์ขนาดใหญท่ ี่สุดในการติดต้งั....................4. ควรติดต้งั คอนเดนเซอร์ใหด้ า้ นทางเขา้ ของสารทาํ ความเยน็ อยดู่ า้ นบนและดา้ น ทางออกอยดู่ า้ นล่างเสมอ....................5. ควรติดต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ใกลก้ บั ทอ่ ร่วมไอเสีย....................6. ใหต้ ่อทอ่ รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ดา้ นท่ีมีอกั ษร IN ดา้ นเอก็ ซ์แพนชนั่ วาลว์....................7. ชุดอีวาพอเรเตอร์แบบแขวน ควรติดต้งั ใหเ้ งยข้ึนเลก็ นอ้ ย เพอ่ื ใหน้ ้าํ ไหลลงสู่ ทอ่ น้าํ ทิ้งไดด้ ี....................8. ขณะติดต้งั ทอ่ สารทาํ ความเยน็ ควรถอดฝาจุกปิ ดทอ่ ทิง้ ไว้ เพอ่ื ใหม้ ีความช้ืน ไหลเขา้ ไปในท่อไดบ้ า้ ง....................9. การติดต้งั ระบบวงจรไฟฟ้ าควบคุมเคร่ืองปรับอากาศควรต่อผา่ นฟิ วส์และมีรีเลย์ ควบคุม....................10. การติดต้งั ระบบไฟฟ้ าควบคุมเคร่ืองปรับอากาศรถยนต์ ควรกาํ หนดโคดสีของ สายไฟ เพ่อื สะดวกในการแกไ้ ขปัญหาเม่ือเกิดขอ้ ขดั ขอ้ ง แบบทดสอบเพอ่ื ประเมินผล หลงั การเรียนรู้จงทาํ เครื่องหมายกากบาท (X) ลงหน้าข้อทถี่ ูกทส่ี ุด
901. การติดต้งั คอมเพรสเซอร์ควรวางตาํ แหน่งของร่องพเู ล่ยแ์ ละพเู ล่ยเ์ พลาขอ้ เหวย่ี งเอกสารเผยแพร่ ในตาํ แหน่งใด ก. ตรงกนั ขา้ ม ข. แนวเดียวกนั ค. ทบั กนั ง. เหล่ือมกนั2. คอนเดนเซอร์ท่ีนาํ มาติดต้งั ควรมีลกั ษณะใด เพราะเหตุใด ก. ขนาดเล็กเพือ่ ประหยดั เน้ือที่ ข. ขนาดใหญ่เพอื่ ใหน้ ้าํ ยาไหลไดด้ ี ค. ขนาดเลก็ เพอ่ื ใหน้ ้าํ ยาไหลไดเ้ ร็ว ง. ขนาดใหญ่เพือ่ ระบายความร้อนไดม้ าก3. การติดต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ ควรหนั หวั ลูกศรไปยงั ตาํ แหน่งใด ก. Evaporator ข. Expansion Valve ค. Condenser ง. Compressor4. ขอ้ ใด ไม่ใช่ หลกั การติดต้งั ชุดอีวาพอเรเตอร์แบบฝัง ก. คาํ นึงถึงรุ่นและยหี่ อ้ ข. ทราบตาํ แหน่งท่ีติดต้งั ที่ชดั เจน ค. เจาะรูสาํ หรับท่อน้าํ ทิ้งท่ีตวั รถ ง. ตอ้ งติดต้งั ท่อส่งลมเยน็ ใหแ้ น่น5. วงจรไฟฟ้ าควบคุมเครื่องปรับอากาศรถยนตค์ วรตอ่ ผา่ นอุปกรณ์ใดบา้ ง ก. ฟิ วส์ ข. ฟิ วส์และรีเลย์ ค. ฟิ วส์ สวติ ชจ์ ุดระเบิดและรีเลย์ ง. ฟิ วส์ สวติ ช์ควบคุมความเร็ว สวติ ช์จุดระเบิดและรีเลย์6. โดยปกติแลว้ คอนเดนเซอร์มกั จะถูกติดต้งั ไวท้ ่ีตาํ แหน่งใดของรถกระบะ ก. ดา้ นหนา้ หมอ้ น้าํ ข. ดา้ นหลงั หมอ้ น้าํ ค. หลงั คาใตท้ อ้ งรถ
91 ง. กระโปรงทา้ ยรถ7. ควรติดต้งั คอมเพรสเซอร์ที่ชิดกบั เคร่ืองยนตห์ รือไม่ อยา่ งไร ก. ควร เพราะเป็นการลดแรงฉุด ข. ควร เพราะเป็นการเพิ่มความแขง็ แรง ค. ไมค่ วร เพราะจะทาํ ใหเ้ กิดช่องวา่ ง ง. ไมค่ วร เพราะจะเกิดการรั่วได้8. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ งในการติดต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ ก. ไม่ควรติดต้งั ไวใ้ กลแ้ หล่งความร้อน ข. ควรติดต้งั ใหห้ ่างจาก Sight Glass ค. ควรติดต้งั ในแนวนอน ง. ควรติดต้งั ใหด้ า้ นท่ีมีอกั ษร IN ตอ่ กบั ทอ่ ทางเขา้9. เหตุใดจึงตอ้ งติดต้งั ชุดอีวาพอเรเตอร์แบบแขวนให้เงยข้ึนเลก็ นอ้ ย ก. เพอื่ ใหเ้ กิดการระเหยของน้าํ ข. เพื่อใหเ้ กิดความสวยงาม ค. เพือ่ ป้ องกนั การสูญเสียลมเยน็ ง. เพื่อใหน้ ้าํ ไหลลงทอ่ น้าํ ทิง้ ได้10. สิ่งที่ควรปฏิบตั ิในการติดต้งั ท่อทางเดินสารทาํ ความเยน็ ก. หลีกเล่ียงการติดต้งั กบั ชิ้นส่วนเคล่ือนที่ ข. หลีกเลี่ยงการยดึ ท่อโดยใชแ้ คลม้ ป์ ยดึ ท่อ ค. หลีกเลี่ยงการติดต้งั ท่อท่ีส้ันเกินไป ง. หลีกเล่ียงการใชน้ ้าํ มนั หล่อลื่นคอมเพรสเซอร์เอกสารเผยแพร่เฉลยคาํ ตอบแบบทดสอบเพอื่ ประเมนิ ผล หลงั การเรียนรู้
92 ข้อ ก. ข. ค. ง. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เอกสารเผยแพร่ พฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั งิ านรายบุคคลท่ี ทาํ งาน ความสนใจ การแสดง การตอบ การยอมรับ ตามทไ่ี ด้รับ หมายเหตุ ชื่อ-สกลุ ความคดิ เห็น คาํ ถาม ฟังคนอนื่ มอบหมาย 43214321432143214321
เอกสารเผยแพร่ 93เกณฑ์การวดั ผล ใหค้ ะแนนระดบั คุณภาพของแตล่ ะพฤติกรรมดงั น้ี ดีมาก = 4 สนใจฟัง ไม่หลบั ไมพ่ ดู คุยในช้นั มีคาํ ถามที่ดี ตอบคาํ ถามถูกตอ้ ง ทาํ งานส่งครบ ตรงเวลา ดี = 3 การแสดงออกอยใู่ นเกณฑป์ ระมาณ 70% ปานกลาง = 2 การแสดงออกอยใู่ นเกณฑป์ ระมาณ 50% ปรับปรุง = 1 เขา้ ช้นั เรียน แต่การแสดงออกนอ้ ยมาก ส่งงานไมค่ รบ ไม่ตรงเวลา ลงชื่อ……………………………….ผ้สู ังเกต (……………………………….) …………/…………/……….. บันทกึ หลงั การสอน หน่วยที่ 2 เร่ือง การตดิ ต้ังระบบปรับอากาศรถยนต์ผลการใช้แผนการสอน 1. ดาํ เนินการตามแผนการสอน ครบถว้ น ไม่ครบถว้ น
94 เพราะ……………..…......………………………............................................................ 2. ความเหมาะสมของเวลาที่ใชใ้ นการเรียนการสอน น่าพอใจ ตอ้ งปรับปรุง เพราะ…............................................................................................................................ 3. ความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนการสอน น่าพอใจ ตอ้ งปรับปรุง เพราะ……......................................................................................................................... 4. ความเหมาะสมการใชส้ ่ือการสอน น่าพอใจ ตอ้ งปรับปรุง เพราะ ……………............................................................................................................ 5. ความเหมาะสมในการวดั และประเมินผล น่าพอใจ ตอ้ งปรับปรุง เพราะ ……….................................................................................................................... 6. บรรยากาศในการเรียนการสอน น่าพอใจ ตอ้ งปรับปรุง เพราะ ...............................................................................................................................ผลการเรียนของนักเรียน 7. ดา้ นพุทธิพิสยั (ความรู้) ประเมินจากแบบทดสอบทา้ ยบทเรียน น่าพอใจ ตอ้ งปรับปรุงเพราะ………………………………………….... 8. ดา้ นจิตพสิ ยั (ความสนใจ ฯลฯ) ประเมินจากแบบสงั เกตและแบบตรวจสอบ ผลการปฏิบตั ิ น่าพอใจ ตอ้ งปรับปรุงเพราะ...………………………….. 9. ดา้ นทกั ษะพิสยั (ทกั ษะในการปฏิบตั ิงาน) ประเมินจากแบบใบงานและใบปฏิบตั ิงาน น่าพอใจ ตอ้ งปรับปรุงเพราะ..………………………………………….. 10. ร่วมมือกบั ครูใชส้ ่ือการสอน น่าพอใจ ตอ้ งปรับปรุงเพราะ...………………………………………….. 11. ร่วมมือกบั ครูในการวดั และประเมินผล น่าพอใจ ตอ้ งปรับปรุงเพราะ...…………………………………………..ผลการสอนของครู 12. น่าพอใจ ตอ้ งปรับปรุง เพราะ………………………………………………................................................ 13. ปัญหา , แนวทางแกไ้ ขและขอ้ เสนอแนะ...................................................……………..เอกสารเผยแพร่
320 บรรณานุกรม1. วรเทพ ยอดดี. คู่มอื ปฏิบัติงานระบบปรับอากาศรถยนต์. กรุงเทพฯ: บริษทั ส.เอเซียเพรส จาํ กดั , 25482. วรี ะศกั ด์ิ มโนนอ้ ม. งานปรับอากาศรถยนต์. กรุงเทพฯ: บริษทํ สาํ นกั พิมพเ์ อมพนั ธ์ จาํ กดั , 25563. ธีรยทุ ธ ชยั วงศ.์ งานปรับอากาศรถยนต์. นนทบุรี ศูนยส์ ่งเสริมอาชีวะ, 25474. นริศ ศรีเมฆ, พิชยั โอภาสอนนั ต.์ งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบอื้ งต้น. กรุงเทพฯ: บริษทั สาํ นกั พิมพ์ เอมพนั ธ์ จาํ กดั , 25515. สมนึก มงั กะระ. การปรับอากาศรถยนต์. กรุงเทพฯ: ศูนยส์ ่งเสริมวชิ าการ, 25516. สมศกั ด์ิ สุโมตยกลุ . เคร่ืองปรับอากาศรถยนต์. กรุงเทพฯ: ซีเอด็ ยเู คชนั่ จาํ กดั , 25457. สวสั ด์ิ บุญเถ่ือน. งานปรับอากาศรถยนต์. กรุงเทพฯ:ซีเอด็ ยเู คชนั่ จาํ กดั , 25558. สุชาติ กิจพทิ กั ษ.์ งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบอื้ งต้น. นนทบุรี: ส่ือไทย, 25559. คู่มอื การใช้งานเคร่ืองปรับอากาศ. เข้าถึงได้จาก www.eminent.co.th/uploads/product/technical/th/1366255664.pdfสืบคน้ 9 มกราคม 255610.Automotive Air Conditioning Training Manual.pdf. เขา้ ถึงไดจ้ ากhttp://www.ariazone.com/manuals/Automotive%20Air%20Conditioning%20Training%20Manual.pdf.2สืบคน้ 10 กมุ ภาพนั ธ์ 255611. Air Conditioner in the Motor Vehicle. เขา้ ถึงไดจ้ ากhttp://www.volkspage.net/technik/ssp/ssp/SSP_208_d1.pdf สืบคน้ 21 ธนั วาคม 2555212. Basic Car Air Conditioning. เขา้ ถึงไดจ้ ากhttp://www.e-opee.ee/ download/euni repository/file/2910/Basic%20car%20AC%training%day%201.Pdf. สืบคน้ 17 ตุลาคม 2555เอกสารเผยแพร่
Search