Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5a9594854c8772000a2a07b5

5a9594854c8772000a2a07b5

Published by นางเปรมฤดี รานอก, 2019-03-18 03:52:37

Description: 5a9594854c8772000a2a07b5

Search

Read the Text Version

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี บทที่ 6 อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี 6.1 ความหมายอัตราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี ในปฏกิ ิริยาเคมีโดยทวั่ ไปน้นั เม่ือเวลาผา่ นไปปริมาณสารต้งั ตน้ จะลดลงแต่ปริมาณผลิต- ภณั ฑจ์ ะเพ่มิ ข้ึน สารตง้ั ตน้  ผลติ ภณั ฑ์ (ลดลง) (เพม่ิ ขนึ้ ) อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีหมายถงึ อตั ราการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารในปฏิกิริยา ซ่ึงอาจ เป็นอตั ราการลดลงของสารต้งั ตน้ อนั หาค่าไดจ้ ากสมการ อตั ราการลดลงของสารต้งั ตน้ = ปริมาณสารตง้ั ตน้ ท่ีลดลง เวลาทใี่ ชไ้ ป หรืออาจหมายถึงอตั ราการเพ่มิ ข้ึนของผลติ ภณั ฑ์ อนั หาค่าไดจ้ ากสมการ อตั ราการเพิม่ ข้ึนของผลติ ภณั ฑ์ = ปริมาณผลติ ภณั ฑท์ ่ีเกดิ ข้นึ เวลาทใ่ี ชไ้ ป อตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมีแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ 1. อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเฉล่ีย หมายถึงอตั ราการเกิดปฏิกิริยาท่ีคิดจากปริมาณสารที่ เปลย่ี นแปลงไปในช่วงเวลาท่ีกาหนด 2. อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยา ณ ขณะใดขณะหน่ึง หมายถึงอตั ราการเกิดปฏิกิริยาท่ีคิดจาก ปริมาณสารที่เปลี่ยนแปลงไปในช่วงเวลาท่ีส้นั มากๆ จนถือว่าเวลาท่ีเปลี่ยนแปลง (t) มีค่าเป็น 0 การหาค่าอตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมแี ต่ละแบบสามารถทาไดด้ งั ตวั อยา่ งต่อๆ ไป 1

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี 1. ในปฏิกิริยา A  D ถา้ ณ จุดเวลาหน่ึงพบว่ามสี าร D อยู่ 2 โมล เม่อื เวลาผา่ นไป 50 วินาที พบว่าปริมาณสาร D เปล่ยี นเป็ น 7 โมล อตั ราการเพ่ิมข้ีนของสาร D โดยเฉลยี่ มีค่า เท่ากบั ขอ้ ใดต่อไปน้ี 1. 0.1 โมล / วินาที 2. 0.01 โมล / วินาที 3. 0.1 โมล / ลิตร.วนิ าที 4. 0.01 โมล / ลติ ร.วินาที 2. ในปฏกิ ิริยา X  Y + Z ถา้ ณ จุดเวลาหน่ึงพบว่าสาร X มีความเขม้ ขน้ 0.8 โมล/ลติ ร เมื่อเวลาผา่ นไป 10 วินาที พบว่าความเขม้ ขน้ ของสาร X เปลี่ยนเป็น 0.6 โมล/ลติ ร อตั ราการลดลงของสาร X โดยเฉล่ยี มคี ่าเท่ากบั ขอ้ ใดต่อไปน้ี 1. 0.2 โมล / วนิ าที 2. 0.02 โมล / วินาที 3. 0.2 โมล / ลิตร.วนิ าที 4. 0.02 โมล / ลิตร.วนิ าที 3. สมมตุ ิปฏิกิริยา A + B  2 C กาหนดจานวนโมลสาร A ท่ีลดลง และสาร C ท่ีเพิ่มข้ึน เป็นดงั ตาราง เวลา (วนิ าที) 012345 จานวนโมลสาร C ( โมล ) 0 14 24 30 34 36 จงหาอตั ราการเกิดสาร C เฉลี่ยในช่วงเวลา 2 ถึง 4 วนิ าที ในหน่วยโมลต่อวินาที 1. 2.5 2. 5.0 3. 7.5 4. 10.0 2

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี 4. สมมตุ ิปฏกิ ิริยา A + B  2C จงหาอตั ราการลดลง ของสาร A ในชว่ งเวลา 1 ถึง 3 วนิ าที เวลา (วนิ าที) 012345 จานวนโมลสาร A ( โมล ) 20 13 8 5 3 2 5. สมมตุ ิปฏกิ ิริยา 2A + B  C จงหาอตั ราการเกิดสาร C เฉล่ีย ก. ในช่วงเวลา 5 ถึง 10 วินาที ข. ในช่วงเวลา 25 ถึง 30 วนิ าที เวลา (วนิ าที) 5 10 15 20 25 30 จานวนโมลสาร C ( โมล/ลติ ร ) 10 15 20 23 25 26 6. สมมุติปฏิกิริยา A + B  C จงหาอตั ราการเกิดสาร C เวลา (วนิ าที) 012345 จานวนโมลสาร C ( โมล ) 0 5 10 13 14 15 3

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com 2บทxท1่ี60–อ4ตั รmากoาlรใเนกิดปปรฏิมิการิ ตยิ ราเคมี 7(En 39) จากปฏิกิริยาหน่ึง หลงั เวลาผา่ นไป 10 วนิ าที เกดิ สาร D= สารละลาย 200 Cm3 จงหาอตั ราการเกิด D จะเป็นเท่าใดในหน่วย mol / dm3 .s1 8(แนว Pat2) ยอ่ ยโลหะ Zn ดว้ ยสารละลายกรด HCl ปริมาตร 40 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะ เกิด H2 ดว้ ยอตั ราเร็วเร่ิมตน้ 2.24 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตรต่อนาที ที่ STP อตั ราการลดลงของ HCl เท่ากบั กี่โมลาร์ต่อนาที 1. 2 x 10–4 2. 2 x 10–3 3. 5 x 10–3 4. 5 x 10–2 9. จากปฏิกิริยา A + B  C เมอ่ื นาความเขม้ ขน้ C (โมล/ลิตร) เวลา (วนิ าที ) ของ C ท่ีเกิดมาเขียนกราฟเทียบกบั เวลาไดด้ งั รูป จงหาอตั ราการเกิดสาร C ณ.จดุ วินาทีที่ 2 ใน 2 หน่วยโมล / ลิตร.วินาที 1 2 4

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี ในสมการท่ีดุลแลว้ อตั ราการเปลีย่ นแปลงปริมาณสารแต่ละตวั เป็ นโมลหรือโมลาร์ หาร ดว้ ยสมั ประสิทธ์ิแสดงจานวนโมลของสารน้นั ๆ จะมีค่าเท่ากนั ตวั อยา่ งเช่น ในปฏิกิริยา 4 A + 3 B  2 C + D จะไดว้ ่า อตั ราการ4ลดสารA = อตั ราการ3ลดสารB = อตั ราการ2เกิดสารC = อตั ราการ1เกิดสารD 10. การรวมตวั ของไนโตรเจน และ ไฮโดรเจน เป็นดงั สมการ N2 (g) + 3 H2 (g)  120–N2Hโ3ม(ลg)/ ลติ ร.วนิ าที ถา้ อตั ราการลดของ N2 เท่ากบั 1.5 x ก) จงหาอตั ราการเกิดของ NH3 (g) ข) จงหาอตั ราการลดของ H2(g) ในหน่วยโมล / ลิตร.วินาที 1. 1.0 x 10–2 , 4.1 x 10–2 2. 2.0 x 10–2 , 4.0 x 10–2 3. 3.0 x 10–2 , 4.5 x 10–2 4. 4.0 x 10–2 , 4.7 x 10–2 11. พิจารณาสมการ A + 2 B  5 C + 4 D นาสาร A ทาปฏิกิริยากบั สาร B จานวนหน่ึง เม่ือเวลาผา่ นไป 20 วินาที พบวา่ มีสาร C เกิดข้ึน 8 โมล อตั ราการสลายตวั เฉลีย่ ของสาร B ในช่วง เวลา 0 ถึง 20 วินาที มคี ่าเป็นกี่โมลต่อวนิ าที 5

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 6.2 แนวคดิ เกยี่ วกับการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมใี ดๆ น้นั สามารถอธิบายการเกิดไดโ้ ดยใชแ้ นวความคิดต่อไปน้ี แนวความคดิ ที่ 1 แนวความคดิ การชนกนั ของอนุภาคสารต้งั ต้น กล่าวว่า “ ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดข้ึนไดก้ ็ต่อเมื่ออนุภาคของสารต้งั ตน้ ซ่ึงอาจเป็ นโมเลกุล อะตอม หรือไอออน ตอ้ งมีการเคลื่อนท่ีเขา้ มาชนกนั ก่อน ” และการชนกนั อาจไม่เกิดปฏิกิริยา ทุกคร้ังก็ได้ การชนจะทาใหเ้ กิดปฏิกิริยาสาเร็จไดก้ ็ต่อเม่ือ 1. อนุภาคชนกนั ตรงแง่มมุ ที่เหมาะสม ตวั อยา่ งเช่นการเกิดปฏิกิริยาของ H2 + I2  2 H I H + I HI H I HI HI HI กรณีน้ีแง่มมุ การชนเหมาะสมปฏกิ ิริยาเกิดสาเร็จ สุดทา้ ยจะไดผ้ ลิตภณั ฑเ์ ป็น HI 2 โมเลกุล HH + I I กรณีน้ีแง่มุมการชนไมเ่ หมาะสมปฏิกิริยาเกิดไมส่ าเร็จ I HH + I กรณีน้ีแง่มุมการชนไม่เหมาะสมปฏกิ ิริยาเกดิ ไมส่ าเร็จ 2. อนุภาคท่ีชนกนั ตอ้ งมีพลงั งานจลน์มากพอท่ีจะสลายพนั ธะเก่า แลว้ เกิดพนั ธะใหม่ ได้ พลงั งานน้อยที่สุดท่ีชนแลว้ เพียงพอจะทาให้เกิดปฏิกิริยาสาเร็จเรียกว่าพลังงานก่อกัมมันต์ (พลงั งานกระตุ้น , Activation Energy) ใชส้ ญั ลกั ษณ์เป็น Ea 6

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตามแนวความคิดน้ีจะเห็นวา่ ปฏกิ ิริยาจะเกดิ เร็วหรือชา้ ข้ึนอยกู่ บั 1. ความถ่บี ่อยในการชน ถา้ อนุภาคของสารต้งั ตน้ ชนกนั บ่อยจะส่งผลใหอ้ ตั ราการเกิดปฏิกิริยาเกิดไดเ้ ร็วข้ึน 2. เปอร์เซน็ ตข์ องการชนแลว้ เกิดปฏิกิริยาสาเร็จ ถา้ การชนกนั ของอนุภาคสารต้งั ตน้ มเี ปอร์เซ็นตข์ องการชนสาเร็จสูง จะส่งผลให้ อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเกิดไดเ้ ร็วข้นึ แนวความคดิ ท่ี 2 แนวความคดิ สารเชงิ ซ้อนกมั มนั ต์ ตวั อย่างเช่น การเกิดปฏิกิริยาของ N2 + O2  2 N O N + O N–O N O N –+ O NO + NO ตามแนวความคดิ สารเชิงซอ้ นกมั มนั ต์ ข้นั ตอนการการเกิดปฏกิ ิริยาจะเป็นดงั น้ี ข้ันที่ 1 เมื่อโมเลกุลของ N2 และ O2 เขา้ ใกลก้ นั ทาให้อิเล็กตรอนคู่ร่วมพนั ธะถูก กระทบกระเทือน พนั ธะของสารต้งั ตน้ จะอ่อนลงและยดื ยาวกว่าเดิม ข้ันท่ี 2 มีพันธะใหม่อย่างอ่อนๆ กับคู่อะตอมท่ีเหมาะสม กลายเป็ นสารประกอบ เชิงซอ้ นใหม่ซ่ึงมพี ลงั งานในตวั สูงมาก เรียกสารเชิงซ้อนกมั มนั ต์ (Activeted Complex) ข้ันท่ี 3 สารเชิงซอ้ นกมั มันต์ (Activeted Complex) จะไม่เสถียร เรียกภาวะเช่นน้ีว่า สภาวะแทรนซิชัน ( Transition State ) สารน้ีอาจเปลี่ยนแปลงไปเป็ นผลิตภณั ฑ์ใหม่ ( N – O ) หรือยอ้ นกลบั ไปเป็นสารต้งั ตน้ ( N2 + O2 ) ก็ไดข้ ้ึนกบั พลงั งานของสารเชิงซอ้ น หากมพี ลงั งาน มากพอก็จะเกิดปฏิกิริ ยาได้ผลิตภัณฑ์ หากพลังงานไม่พอก็จะยอ้ นกลบั มาเป็ นสารต้ังต้น พลงั งานน้อยที่สุดที่ชนแลว้ เพียงพอจะทาให้เกิดปฏิกิริยาสาเร็จเรี ยกว่าพลังงานก่อกัมมันต์ (พลงั งานกระตุ้น , Activation Energy) ใชส้ ญั ลกั ษณ์เป็น Ea 7

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 12. ตามแนวความคดิ การชนกนั ของอนุภาคสารต้งั ตน้ ปฏกิ ิริยาจะเกิดไดเ้ ร็วเมือ่ 1. อนุภาคตอ้ งชนกนั ดว้ ยความถ่ีการชนสูง 2. มีเปอร์เซน็ ตก์ ารชนกนั สาเร็จสูง 3. ตอ้ งเป็นปฏิกิริยาที่มีการคายพลงั งาน 4. ขอ้ 1. และ 2. ถกู 13. ตามแนวความคิดสารเชิงซอ้ นกมั มนั ต์ ในการเกิดปฏกิ ิริยาเคมสี ารในขอ้ ใดต่อไปน้ีมพี ลงั งาน สูงที่สุด 1. สารต้งั ตน้ 2. สารเชิงซอ้ น 3. ผลติ ภณั ฑ์ 4. สารตกคา้ ง 14. ตามแนวความคิดสารเชิงซอ้ นกมั มนั ต์ ปฏกิ ิริยาจะเกิดสาเร็จก็ต่อเมอื่ 1. สารต้งั ตน้ มพี ลงั งานมากกว่าพลงั งานก่อกมั มนั ต์ 2. สารเชิงซอ้ นมพี ลงั งานมากกว่าพลงั งานก่อกมั มนั ต์ 3. ผลติ ภณั ฑม์ พี ลงั งานมากกวา่ พลงั งานก่อกมั มนั ต์ 4. ถกู ทุกขอ้ 8

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี 6.3 พลงั งานกบั การดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี ในสภาวะทรานซิชนั น้นั สารเชิงซอ้ นมีพลงั งานสูงมาก สูงกวา่ สารต้งั ตน้ และผลิตภณั ฑ์ ดงั น้นั หากเขียนกราฟแสดงพลงั งานแลว้ อาจเขยี นไดเ้ ป็นเช่นน้ี กรณที ี่ 1 พลงั งาน ( E ) สารเชงิ ซอ้ น สารต้งั ตน้ Ea ผลติ ภณั ฑ์ พลงั งานทด่ี ดู ( E) การดาเนินไปของปฏิกิริยา กรณีน้ีจะเห็นวา่ เม่ือปฏิกิริยาส้ินสุดผลิตภณั ฑม์ ีพลงั งานมากกวา่ สารต้งั ตน้ แสดงว่าปฏกิ ิริยาน้ีเป็น ปฏกิ ิริยาท่ีมีการดูดพลงั งาน กรณที ี่ 2 พลงั งาน ( E ) สารต้งั ตน้ สารเชงิ ซอ้ น Ea พลังงานทค่ี าย ( E) ผลิตภณั ฑ์ การดาเนินไปของปฏิกิริยา กรณีน้ีเม่ือปฏิกิริยาส้ินสุดผลติ ภณั ฑเ์ หลือพลงั งานนอ้ ยกว่าสารต้งั ตน้ แสดงวา่ ปฏกิ ิริยาน้ี เป็นปฏกิ ิริยาท่ีมีการคายพลงั งาน ไม่ว่าจะเป็นปฏิกริ ิยาที่มีการดูดหรือคายพลงั งาน เราหาพลงั งานท่ีดดู หรือคายไดจ้ าก E = Eผลิตภณั ฑ์ – Eสารต้งั ตน้ เม่อื Eผลติ ภณั ฑ์ คือพลงั งานของผลิตภณั ฑ์ Eสารต้งั ตน้ คือพลงั งานของสารต้งั ตน้ 9

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี E คือพลงั งานของปฏิกิริยา ถา้ E มีค่าเป็นบวก แสดงว่าเป็นพลงั งานที่ดดู เขา้ ไป ถา้ E มีค่าเป็นลบ แสดงว่าเป็นพลงั งานที่คายออกมา ผลต่างระหวา่ งพลงั งานของสารเชิงซอ้ นกบั สารต้งั ตน้ จะมคี ่าเท่ากบั พลงั งานก่อกมั มนั ต์ ( พลงั งานกระตุน้ , Ea) ดงั น้นั เราจึงหาพลงั งานก่อกมั มนั ตไ์ ดจ้ าก Ea = Eสารเชิงซอ้ น – Eสารต้งั ตน้ เมือ่ Ea คือพลงั งานก่อกมั มนั ต์ Eสารเชงิ ซ้อน คือพลงั งานของสารเชิงซอ้ น Eสารต้งั ตน้ คือพลงั งานของสารต้งั ตน้ พลงั งานก่อกมั มนั ต์ ( Ea) จะเป็นตวั บ่งช้วี ่าปฏกิ ิริยาเคมนี ้นั จะเกิดไดเ้ ร็วหรือชา้ ปฏกิ ริ ิยาใดมคี ่าพลงั งานก่อกัมมนั ต์ ( Ea ) สูงปฏกิ ริ ิยานจี้ ะเกดิ ได้ช้า ปฏกิ ริ ิยาใดมคี ่าพลงั งานก่อกมั มนั ต์ ( Ea ) ตา่ ปฏกิ ริ ิยานีจ้ ะเกดิ ได้เร็ว 15แนว En) ขอ้ สรุปเก่ียวกบั ปฏิกิริยา A และปฏกิ ิริยา B จากกราฟน้ี ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง พลงั งาน A พลงั งาน B ผลิตภณั ฑ์ สารต้งั ตน้ ผลิตภณั ฑ์ สารต้งั ตน้ การดาเนินไปของปฏกิ ิริยา การดาเนินไปของปฏกิ ิริยา 1. อตั ราของปฏิกิริยา A เร็วกวา่ อตั ราของปฏกิ ิริยา B เพราะปฏกิ ิริยา A เป็นปฏิกิริยาคาย ความร้อน 2. อตั ราของปฏิกิริยา B เร็วกวา่ อตั ราของปฏกิ ิริยา A เพราะปฏิกิริยา B เป็นปฏกิ ิริยาดดู ความร้อน 3. อตั ราของปฏกิ ิริยา A เร็วกวา่ อตั ราของปฏิกิริยา B เพราะพลงั งานก่อกมั มนั ตข์ อง ปฏิกิริยา A นอ้ ยกวา่ ของปฏิกิริยา B 4. อตั ราของปฏกิ ิริยา B เร็วกว่าอตั ราของปฏิกิริยา A เพราะพลงั งานก่อกมั มนั ตข์ อง ปฏกิ ิริยา B สูงกว่าของปฏิกิริยา A 10

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 16. กราฟแสดงการเปลย่ี นแปลงพลงั งานของปฏิกิริยา A(g) + B(g)  C(s) + D(g) พลงั งาน ( kJ / mol ) มีลกั ษณะตามกราฟ พลงั งานก่อกมั มนั ตแ์ ละ พลงั งานท่ีดดู หรือคายมคี ่าเท่าใด 15 สารเชิงซ้อน 1. พลงั งานก่อกมั มนั ต์ = 12 kJ / mol 7 ผลิตภณั ฑ์ และดูดพลงั งาน = 7 kJ / mol 3 สารต้งั ตน้ 2. พลงั งานก่อกมั มนั ต์ = 12 kJ / mol และดูดพลงั งาน = 4 kJ / mol การดาเนินของปฏิกริ ิยา 3. พลงั งานก่อกมั มนั ต์ = 15 kJ / mol และดดู พลงั งาน = 4 kJ / mol 4. พลงั งานก่อกมั มนั ต์ = 12 kJ / mol และคายพลงั งาน = 4 kJ / mol 17. กราฟแสดงการเปลยี่ นแปลงพลงั งานของปฏิกิริยา A(g) + B(g)  C(s) + D(g) พลงั งาน ( kJ / mol ) มลี กั ษณะตามกราฟ พลงั งานก่อกมั มนั ต์ และ พลงั งานท่ีดูดหรือคายมคี ่าเท่าใด 20 สารเชงิ ซ้อน 1. พลงั งานก่อกมั มนั ต์ = 20 kJ / mol 5 สารต้งั ตน้ และดดู พลงั งาน = 2 kJ / mol 2 ผลติ ภณั ฑ์ 2. พลงั งานก่อกมั มนั ต์ = 20 kJ / mol และดดู พลงั งาน = 3 kJ / mol การดาเนินของปฏกิ ริ ิยา 3. พลงั งานก่อกมั มนั ต์ = 15 kJ / mol และคายพลงั งาน = 2 kJ / mol 4. พลงั งานก่อกมั มนั ต์ = 15 kJ / mol และคายพลงั งาน = 3 kJ / mol 11

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี สาหรับปฏกิ ิริยายอ้ นกลบั ( คือยอ้ นจากผลติ ภณั ฑก์ ลบั มาเป็นสารต้งั ตน้ ) เราสามารถหา พลงั งานของปฏกิ ิริยายอ้ นกลบั ไดจ้ าก Eยอ้ นกลบั = Eสารต้งั ตน้ – Eผลิตภณั ฑ์ เม่อื Eผลติ ภณั ฑ์ คือพลงั งานของผลติ ภณั ฑ์ Eสารต้งั ตน้ คือพลงั งานของสารต้งั ตน้  Eยอ้ นกลบั คือพลงั งานของปฏกิ ิริยายอ้ นกลบั ถา้ E มีค่าเป็นบวก แสดงวา่ เป็นพลงั งานที่ดดู เขา้ ไป ถา้ E มีค่าเป็นลบ แสดงวา่ เป็นพลงั งานที่คายออกมา ผลต่างระหว่างพลงั งานของสารเชิงซอ้ นกบั ผลิตภณั ฑ์ จะมีค่าเท่ากบั พลงั งานก่อกมั - มนั ต์ ( พลงั งานกระตุน้ , Ea) ของปฏิกิริยายอ้ นกลบั ดงั น้ันเราจึงหาพลงั งานก่อกมั มนั ต์ของ ปฏิกิริยายอ้ นกลบั ไดจ้ าก Eaยอ้ นกลบั = Eสารเชิงซ้อน – Eผลติ ภณั ฑ์ เมือ่ Eaยอ้ นกลบั คือพลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องปฏกิ ิริยายอ้ นกลบั Eสารเชงิ ซ้อน คือพลงั งานของสารเชิงซอ้ น Eผลิตภณั ฑ์ คือพลงั งานของผลิตภณั ฑ์ 18. กราฟแสดงการเปลีย่ นแปลงพลงั งานของปฏิกิริยา A(g) + B(g)  C(s) + D(g) พลงั งาน ( kJ / mol ) มีลกั ษณะตามกราฟ สาหรับปฏกิ ิริยายอ้ นกลบั พลงั งานก่อกมั มนั ต์ และพลงั งานท่ีดูดหรือคาย 15 สารเชิงซอ้ น มีค่าเท่าใด 7 ผลิตภณั ฑ์ 1. พลงั งานก่อกมั มนั ต์ = 12 kJ / mol 3 สารต้งั ตน้ และ ดดู พลงั งาน = 7 kJ / mol การดาเนินของปฏกิ ริ ิยา 2. พลงั งานก่อกมั มนั ต์ = 12 kJ / mol และ ดูดพลงั งาน = 4 kJ / mol 3. พลงั งานก่อกมั มนั ต์ = 8 kJ / mol และดูดพลงั งาน = 4 kJ / mol 4. พลงั งานก่อกมั มนั ต์ = 8 kJ / mol และคายพลงั งาน = 4 kJ / mol 12

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 19(แนว มช) ถา้ ปฏิกิริยา 3O2(g)  2O3(g) เป็ นปฏกิ ิริยาดดู พลงั งาน 100 กิโลจูล/โมล มี ค่าพลงั งานก่อกมั มนั ต์ (Ea) เท่ากบั 300 กิโลจูล ค่าพลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องปฏกิ ิริยายอ้ นกลบั ในหน่วยกิโลจลู คือขอ้ ใดต่อไปน้ี 1. 100 2. 200 3. 300 4. 400 20(แนว En) พิจารณาแผนภาพต่อไปน้ี พลงั งาน ( kJ/mol ) 260 จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ ขอ้ ใดผดิ 1. ข้นั ที่เกดิ ปฏิกิริยาไดเ้ ร็วที่สุดคือข้นั ท่ี 3 220 240 2. ข้นั ท่ีเกดิ ปฏกิ ิริยาไดช้ า้ ที่สุดคือข้นั ท่ี 2 150 D 160 3. พลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องปฏกิ ิริยาไป A B 120 ขา้ งหนา้ มคี ่าเท่ากบั 120 kJ/mol 50 E+F 4. ปฏิกิริยาไปขา้ งหนา้ จะคายพลงั งาน 100 kJ/mol การดาเนินไปของปฏกิ ิริยา 13

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี 6.4 ปัจจยั ท่ีมผี ลต่ออตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาหน่ึงๆ จะเกิดไดช้ า้ หรือเร็วข้ึนกบั ปัจจยั ต่อไปน้ี 6.4.1 ความเข้มข้นของสารกบั อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี โดยทวั่ ไปแลว้ เม่ือความเขม้ ขน้ ของสารต้งั ตน้ สูงข้ึนจะส่งผลให้อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเกิด ไดเ้ ร็วข้ึน ท้งั น้ีเป็ นเพราะเม่ือความเขม้ ขน้ ของสารต้งั ตน้ มากข้ึน จะทาให้จานวนอนุภาคของสาร ต้งั ตน้ ในระบบมีมากข้ึน โอกาสที่อนุภาคของสารจะเกิดการชนกนั จึงมมี ากข้ึนดว้ ย ส่งผลใหอ้ ตั รา การเกิดปฏกิ ิริยาเกิดไดเ้ ร็วข้ึนดว้ ยนน่ั เอง แต่ปฏิกิริยาเคมบี างอยา่ งอาจไมข่ ้ึนกบั ความเขม้ ขน้ ของสารต้งั ตน้ บางสารหรือทุกสารก็ ได้ เช่นปฏิกิริยาการกาจดั แอลกอฮอลอ์ อกจากกระแสเลือดในตบั อตั ราการกาจดั แอลกอฮอลจ์ ะมี ค่าคงที่ไม่ว่าปริมาณแอลกอฮอลใ์ นเลือดจะมีอยมู่ ากหรือนอ้ ยเพยี งใดกต็ าม 6.4.2 พนื้ ที่ผวิ ของสารกบั อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี สาหรับปฏกิ ิริยาเน้ือผสมท่ีมสี ารต้งั ตน้ เป็นของแข็งน้นั ปฏกิ ิริยาจะเกิดที่ผวิ ของของแขง็ ดงั น้นั ถา้ พ้นื ท่ีผวิ มมี ากโอกาสที่อนุภาคสารต้งั ตน้ จะเขา้ มาชนกนั ยอ่ มมไี ดม้ าก จะส่งผลใหป้ ฏิกิริยา เกิดไดเ้ ร็ว ในทางกลบั กนั ถา้ พ้ืนท่ีผวิ มนี อ้ ยปฏกิ ิริยาจะเกิดไดช้ า้ ตวั อยา่ งเช่นการเผาถ่านหิน (คือ ทาปฏกิ ิริยาระหวา่ งอนุภาคถ่านหินกบั ออกซิเจนในอากาศ ) ถา้ ใชถ้ า่ นหินเป็นกอ้ นโอกาสท่ีออกซิเจนในอากาศจะสมั ผสั +O2 เกิดชา้ กบั อนุภาคถา่ นหินที่ผวิ จะเกิดไดน้ อ้ ยทาใหป้ ฏกิ ิริยาเกิดไดช้ า้ แต่ถา้ บดถ่านหินใหเ้ ป็นผงแลว้ โปรยไปในอากาศจะทาใหพ้ ้นื   +O2 เกิดเร็ว ที่มีมากข้ึนโอกาสท่ีออกซิเจนจะสมั ผสั กบั อนุภาคถ่านหินมี  มากข้ึน ปฏกิ ิริยาจะเกิดไดเ้ ร็วข้ึนถงึ ข้นั ระเบิดได้ 6.4.3 อุณหภูมกิ บั อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี ปฏกิ ิริยาเคมีโดยทว่ั ไปน้นั เมื่ออุณหภมู ิสูงข้ึน 10oC จะทาใหอ้ ตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเพิ่มข้ึน 2 – 3 เท่าตวั ท้งั น้ีเป็ นเพราะเมื่ออุณหภูมิสูงข้ึนจะทาให้อนุภาคสารต้งั ตน้ ที่มีพลงั งานจลน์สูง พอท่ีจะเกิดปฏกิ ิริยาสาเร็จมีจานวนมากข้ึน ทาใหเ้ กิดปฏกิ ิริยาไดง้ ่ายข้ึนเร็วข้ึนนน่ั เอง จริงๆ แลว้ เม่ืออุณหภูมิสูงข้ึนจะทาให้อนุภาคสารต้ังต้นชนกนั ถ่ีย่อยข้ึนด้วยแต่เหตุน้ีช่วยให้อตั ราการ เกิดปฏิกิริยาเพมิ่ ข้ึนเพยี ง 0.01 เท่าตวั เท่าน้นั 14

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี 6.4.4 ตวั เร่งปฏกิ ริ ิยาและตวั หน่วงปฏิกริ ิยาเคมี ตวั เร่งปฏิกิริยา ( Catalyst ) คือสารท่ี 1. ไม่เก่ียวขอ้ งกบั ปฏิกิริยา แมไ้ มม่ ตี วั เร่ง ปฏิกริ ิยาก็สามารถเกิดข้ึนไดเ้ อง 2. สามารถทาใหป้ ฏกิ ิริยาเกิดเร็วข้นึ ไดโ้ ดยอาศยั กลไกอยา่ งหน่ึงอยา่ งใด 3. เมอื่ ปฏกิ ิริยาสิ้นสุดตอ้ งไดต้ วั เร่งปฏกิ ิริยากลบั คืนมา ตวั อยา่ งเช่น ปฏกิ ิริยา 2KClO3 MnO2 2KCl + 3O2 ปกติแลว้ ปฏกิ ิริยาน้ีจะเกิดไดช้ า้ มาก แต่ถา้ เราเติม MnO2 เขา้ ไปดว้ ยจะทาใหป้ ฏิกิริยาเกิด เร็วข้ึน และเม่อื ปฏกิ ิริยาสิ้นสุดแลว้ ได้ MnO2 กลบั คนื มา ( แต่อาจเปลีย่ นลกั ษณะทางกายภาพ ) เช่นน้ีเรียกวา่ MnO2 เป็นตวั เร่งปฏิกิริยาของปฏกิ ิริยาน้ี เหตุที่ตวั เร่งปฏิกิริยาทาใหป้ ฏกิ ิริยาเกิดเร็วข้ึนไดเ้ ป็นเพราะตวั เร่งปฏกิ ิริยาจะทาใหพ้ ลงั งาน ก่อกมั มนั ตข์ องปฏกิ ิริยามคี ่าลดลงส่งผลใหป้ ฏิกิริยาเกิดเร็วข้ึนไดน้ นั่ เอง พลงั งาน ( kJ/mol) ก่อนใส่ตวั เร่ง สารต้งั ตน้ Ea1 หลงั ใส่ตวั เรผ่งลติ ภณั ฑ์ Ea2 E การดาเนินไปของปฏิกริ ิยา โปรดสงั เกตวา่ ตวั เร่งปฏิกิริยาเพียงแต่ลดพลงั งานก่อกมั มนั ต์เท่าน้นั ไม่ไดเ้ ปล่ียนแปลง พลงั งานของสารต้ังตน้ หรือของผลิตภณั ฑ์เลย ดงั น้ันพลงั งานที่ปฏิกิริยาดูดหรือคาย (E) จะ ยงั คงมคี ่าเท่าเดิม ส่วนตวั หน่วงปฏิกิริยา ( inhibitor ) จะเป็ นตวั ท่ีทาให้ปฏิกิริยาเกิดไดช้ า้ ลง ท้งั น้ีเพราะตวั หน่วงปฏิกิริยาจะทาใหพ้ ลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องปฏิกิริยามีค่าสูงข้ึน ส่งผลให้ปฏิกิริยาเกิดไดช้ า้ ลง นนั่ เอง เฉพาะปัจจยั การเพิม่ ความเขม้ ขน้ สารต้งั ตน้ เท่าน้นั ที่นอกจากจะทาใหป้ ฏกิ ิริยาเกดิ เร็วข้ึนแลว้ ยงั ส่งผลให้ได้ผลิตภณั ฑ์มากข้ึนดว้ ย ท้ังน้ีเพราะเมื่อความเขม้ ข้นสารต้ังต้นมากข้ึนจะทาให้ ปริมาณสารต้งั ตน้ มีมากข้ึนยอ่ มทาใหไ้ ดผ้ ลติ ภณั ฑเ์ กิดมากข้ึนดว้ ยเช่นกนั ส่วนปัจจยั อื่นๆ ทาให้ ปฏิกิริยาเกิดเร็วข้ึนก็จริง แต่ไม่ไดเ้ พ่มิ ปริมาณสารต้งั ตน้ ดงั น้นั ย่อมเกิดผลิตภณั ฑ์ในปริมาณเท่า เดิมเพียงแต่เกิดไดเ้ ร็วข้ึนดงั กลา่ วนน่ั เอง 15

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี 21(แนว มช) ในการศึกษาอตั ราการเกิดปฏิกิริยาระหว่างหินปูนท่ีมากเกินพอกบั กรด HCl ที่มี ความเขม้ ขน้ 0.1 โมล/ลติ ร ปริมาณ 20 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร ที่ 20o C ถา้ เปลย่ี นความเขม้ ขน้ ของกรดเป็น 0.5 โมล/ลิตรในปริมาณ และอณุ หภมู เิ ท่าเดิม ขอ้ ความใดถกู ตอ้ งท่ีสุด 1. อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาคงที่ 2. อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาลดลง 3. อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเร็วข้ึน 4. ขอ้ มลู ไมเ่ พียงพอที่จะหาคาตอบ 22. ใส่แท่งโลหะสงั กะสีรูปทรงกลม 1 ลกู บาศก์เซนติเมตร ลงในกรดไฮโดรคลอริกเขม้ ขน้ 0.1 โมล/ลิตร 20 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร แลว้ เขยา่ เบาๆ ถา้ เพิ่มสิ่งต่อไปน้ีเป็นสองเท่า อะไรจะทา ใหอ้ ตั ราเร็วของการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเพิม่ มากท่ีสุด 1. พ้นื ท่ีผวิ ของ Zn 2. ปริมาตรของ Zn 3. ปริมาตรของ HCl 4. ความเขม้ ขน้ ของ HCl 23. ข้อใดเป็ นเหตุผลที่ถูกตอ้ งที่สุดเพื่อแสดงว่าอตั ราการเกิดปฏิกิริยาจะเพ่ิมข้ึน เมื่ออุณหภูมิ เพ่ิมข้ึน 1. โมเลกลุ ของสารน้นั จะมกี ารชนกนั มากข้ึน 2. จะทาใหค้ วามดนั เพมิ่ ข้นึ 3. ทาใหพ้ ลงั งานกระตุน้ เพ่ิมข้ึน 4. โมเลกลุ บางส่วนมีพลงั งานสูงข้ึน 16

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 24(แนว มช) ในปฏกิ ิริยาดดู ความร้อน สารต้งั ตน้  สารผลิตภณั ฑ์ กาหนดใหค้ วามแตกต่างของพลงั งานระหว่างสารท้งั สองมคี ่าเท่ากบั 20 กิโลจูลต่อโมล และ พลงั งานกระตุน้ ของปฏิกิริยามีค่า 50 กิโลจลู ต่อโมล ดงั น้นั ถา้ เติมคะตะไลตล์ งไปปฏิกิริยาจะมี ผลอยา่ งไร 1. ปฏกิ ิริยาจะคายความร้อนและมีพลงั งานกระตุน้ มากกว่าเดิม 2. ปฏิกิริยาจะดดู ความร้อนและมพี ลงั งานกระตุน้ มากกว่าเดิม 3. ปฏกิ ิริยาจะคายความร้อนและพลงั งานกระตุน้ นอ้ ยกว่าเดิม 4. ปฏิกิริยาจะดดู ความร้อนเท่าเดิม และมีพลงั งานกระตุน้ นอ้ ยกว่าเดิม 25(แนว A-Net) จากปฏกิ ิริยาต่อไปน้ี A + B  C + D พบวา่ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพลงั งานกบั การดาเนินไปของปฏกิ ิริยาเป็นไปดงั รูป ขอ้ ใดถกู [A+B  C+D] x A+B y C+D การดาเนินไปของปฏกิ ริ ิยา 1. ปฏิกิริยาน้ีเป็นกระบวนการคายความร้อน 2. ผลิตภณั ฑม์ คี วามเสถยี รนอ้ ยกวา่ สารต้งั ตน้ 3. พลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องปฏิกิริยามคี ่าเท่ากบั x + y 4. เม่อื มีการเติมตวั เร่งลงในปฏกิ ิริยาจะทาใหค้ ่า y ลดลง 17

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี 26. พลงั งานก่อกมั มนั ตส์ าหรับปฏิกิริยา พลงั งาน Y X ท่ีดาเนินจากซา้ ยไปขวาคือ การดาเนินไปของปฏิกริ ิยา 1. W 2. X – W 3. Y – X W 4. Y – W 27. จากขอ้ ที่ผา่ นมา ถา้ เติมตวั เร่งปฏิกิริยาลงในปฏกิ ิริยาน้ี ส่วนใดจะมกี ารเปล่ียนแปลง 1. X 2. W 3. Y – X 4. W – X 28. ขอ้ ความต่อไปน้ี ขอ้ ใดถกู 1. เมอ่ื อณุ หภมู สิ ูงข้ึน โมเลกลุ สารต้งั ตน้ จะมีพลงั งานจลนส์ ูงข้ึนทาใหป้ ฏกิ ิริยาเกิดเร็วข้ึน 2. ตวั เร่งปฏกิ ิริยาจะทาใหพ้ ลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องปฏิกิริยาเพิ่มข้ึน 3. เมื่อเพิม่ อุณหภมู ใิ หส้ ูงข้ึน พลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องปฏกิ ิริยาจะลดลง 4. ตวั เร่งปฏิกิริยาจะทาใหส้ ารต้งั ตน้ มีพลงั งานจลนเ์ พ่มิ มากข้นึ ทาใหป้ ฏิกิริยาเกิดเร็วข้นึ 18

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี 29. พ้ืนที่ผิว อุณหภูมิสารต้งั ตน้ และตวั เร่งปฏิกิริยา ช่วยทาให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วข้ึนแต่ไม่เพิ่ม ปริมาณผลติ ภณั ฑ์ เหตุเพราะขอ้ ใดต่อไปน้ี 1. เพราะเกิดปฏิกิริยาผนั กลบั 2. เพราะเกิดภาวะสมดุล 3. เพราะปริมาณสารต้งั ตน้ มเี ท่าเดิม 4. เพราะปริมาณสารต้งั ตน้ มีมากข้ึน 30. การเพิ่มความเข้มข้นของสารต้งั ตน้ ช่วยทาให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วข้ึน และยงั ทาให้ปริมาณ ผลิตภณั ฑม์ มี ากข้ึนดว้ ย เหตุเพราะขอ้ ใดต่อไปน้ี 1. เพราะเกิดปฏิกิริยาผนั กลบั 2. เพราะเกิดภาวะสมดุล 3. เพราะปริมาณสารต้งั ตน้ มีเท่าเดิม 4. เพราะปริมาณสารต้งั ตน้ มีมากข้ึน  19

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี เฉลยบทที่ 6 อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี 1. ตอบข้อ 1. 2. ตอบข้อ 4. 3. ตอบข้อ 2. 4. 4 โมล / วนิ าที 5. ก. 1 mol / dm3 .s1 ข. 0.2 mol / dm3 .s1 6. 3 โมล / วนิ าที 7. 1x10–4 8. 5 x 10–3 11. ตอบ 0.16 9. ตอบ 0.5 10. ตอบข้อ 3. 15. ตอบข้อ 3. 19. ตอบข้อ 2. 12. ตอบข้อ 4. 13. ตอบข้อ 2. 14. ตอบข้อ 2. 23. ตอบข้อ 4. 27. ตอบข้อ 3. 16. ตอบข้อ 2. 17. ตอบข้อ 4. 18. ตอบข้อ 4. 20. ตอบข้อ 1. 21. ตอบข้อ 3. 22. ตอบข้อ 1. 24. ตอบข้อ 4. 25. ตอบข้อ 1. 26. ตอบข้อ 4. 28. ตอบข้อ 1. 29. ตอบข้อ 3. 30. ตอบข้อ 4.  20

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ต ะ ลุ ย ข้ อ ส อ บ เ ข้ า ม ห า วิ ท ย า ล ยั บทที่ 6 อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี 6.1 ความหมายอตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี 1.(En43 ต.ค.) สาร X สามารถสลายตวั ไดด้ ังสมการ 3 X  5 Y + 6 Z เม่ือวดั ความ เขม้ ขน้ ของสาร X ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาการสลายตวั พบวา่ ไดข้ อ้ มลู ดงั ตารางต่อไปน้ี เวลา (วินาที) (X) ( mol/dm3 ) 0.00 1.000 5.00 0.850 10.00 0.750 15.00 0.700 20.00 0.670 ถา้ อตั ราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 15 ถงึ 20 วนิ าที มคี ่าคงที่ และมคี ่าเท่ากบั อตั ราการเกิด ปฏิกิริยาเฉลี่ยในช่วงเวลาน้ี ความเขม้ ขน้ ของสาร X ในหน่วย mol/dm3 ที่เวลา 17 วินาที มีค่าเท่าใด 1. 0.670 2. 0.688 3. 0.690 4. 0.700 2.(En 39) แก๊ส NO2 สลายตวั ตามสมการ 4.42xN1O02–5(g)mol / dm23N.sO1 (g) + O2 (g) O2(g) ถา้ อตั ราการสลายตวั ของ NO2(g) เท่ากบั อตั ราการเกิด จะเป็นเท่าใดในหน่วย mol / dm3 .s1 1. 1.1 x 10–5 2. 2.2 x 10–5 3. 4.4 x 10–5 4. 8.8 x 10–5 3.(En 40) แก๊ส AB2 สลายตวั ไดต้ ามสมการ 2 AB2 (g)  2 AB (g) + B2(g) ถา้ อตั ราการ สลายตวั ของ AB2 เท่ากบั k1 mol / dm3 .s1 อตั ราการเกิด B2 จะเป็นเท่าใด 1. k41 2. k21 3. k1 4. 2 k1 4.(En 40) ปฏกิ ิริยาออกซิเดชนั ของ I – โดย S2O82 เป็นดงั น้ี 3 I – (aq) + S2O82 (aq)  I3 (aq) + 2SO42 (aq) 21

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี ถา้ [I]tt0it[0I]ti = 4.5 x 10–3 mol . dm–3 . s–1 ค่า โดย[SOt024เ]ปtti็iนจ[tุด0SเOริ่ม42ตน้] tข0องปเทฏ่ิกากริ ิบัยาเท่าใดในหtiน่วเปย็นเวmลoาlท.่ีปdmฏิก–3ิริ.ยsา–ด1าเนินไป i วนิ าที 1. 1.5 x 10–3 2. 3.0 x 10–3 3. 4.5 x 10–3 4. 6.0 x 10–3 5(En41 ต.ค.) พจิ ารณาสมการ A + 3 B  5 C + 4 D นาสาร A 1 โมล ทาปฏกิ ิริยากบั สาร B 3 โมล ในสารละลาย 1 ลติ ร เมื่อเวลาผา่ นไป 10 วนิ าที พบว่ามีสาร C เกิดข้ึน 4 โมล อตั ราการสลายตวั เฉลี่ยของสาร B ในช่วง เวลา 0 ถึง 10 วนิ าที มีค่าเป็นกี่โมลต่อวินาที 6(แนว Pat2) ย่อยโลหะ Zn ด้วยสารละลายกรด HCl ปริมาตร 40 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะ เกิด H2 ดว้ ยอตั ราเร็วเริ่มตน้ 2.24 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตรต่อนาที ท่ี STP อตั ราการลดลงของ HCl เท่ากบั ก่ีโมลาร์ต่อนาที 1. 2 x 10–4 2. 2 x 10–3 3. 5 x 10–3 4. 5 x 10–2 7(En44 ม.ี ค.) สาร X สามารถสลายตวั ไดด้ งั สมการ 3 X  5 Y + 6 Z เมื่อวดั ความเขม้ ขน้ ของสาร X ในขณะที่เกิดปฏกิ ิริยาการสลายตวั พบว่าไดข้ อ้ มลู ดงั ตารางต่อไปน้ี เวลา (วนิ าที) [X] (mol/dm3 ) 0.00 1.000 5.00 0.850 10.00 0.750 15.00 0.700 20.00 0.670 ที่เวลา 5 วินาที จะมีสาร Y เขม้ ขน้ ก่ีโมล/ลกู บาศกเ์ ดซิเมตร 1. 0.15 2. 0.25 3. 0.85 4. 1.42 22

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 8(แนว A-Net) ปฏิกิริยาการสลายตวั ของ P เป็นดงั สมการ P (g)  2 Q (g) จากขอ้ มลู การทดลองต่อไปน้ี เวลา ความดนั ( atm ) PQ 0.0 0.050 0.000 20.0 0.033 X 40.0 Y 0.050 60.0 0.020 Z X , Y และ Z มีค่าเท่าใด XYZ 1. 0.025 0.028 0.075 2. 0.034 0.025 0.060 3. 0.040 0.026 0.060 4. 0.045 0.030 0.075 9(En46 ต.ค.) สาร X สามารถสลายตวั ไดด้ งั สมการ 2 X  3 Y + 5 Z ในการติดตามความเขม้ ขน้ ของสารต้งั ตน้ X ในระหวา่ งการสลายตวั ไดข้ อ้ มลู ดงั น้ี เวลา (วนิ าที) [ X ] ( mol/dm3 ) 0.00 1.000 5.00 0.850 10.00 0.700 15.00 0.550 20.00 0.400 เมื่อเวลาผา่ นไป 8 วนิ าที จะมสี าร Y เกิดข้ึนกี่โมลต่อลกู บาศกเ์ ดซิเมตร 23

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี 10(En44 ต.ค.) สาร A สลายตวั ดงั สมการ A  2C ไดข้ อ้ มลู ดงั ตาราง เวลา (วนิ าที) [A] . mol / dm–3 0 3.0 2 2.6 5 2.0 7 1.6 10 1.0 จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ ความเขม้ ขน้ สาร C ที่เวลา 8 วินาที ควรเป็นเท่าใดในหน่วย mol . dm–3 1. 1.4 2. 1.6 3. 2.8 4. 3.2 11(แนว PAT2) พิจารณาขอ้ มลู การเปล่ียนแปลงความเขม้ ขน้ ของสารต่างๆ ในปฏิกิริยา เม่อื เวลา ผา่ นไปดงั น้ี การทดลอง เวลา [ A ] [ B ] [ C ] [ D ] ที่ ( นาที ) ( M ) ( M ) ( M ) ( M ) 1 0 10 10 0 0 1872 4 2644 8 2 0 20 20 0 0 1 16 14 4 8 2 12 8 8 16 จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ สมการปฏกิ ิริยาท่ีดุลแลว้ เป็นไปตามขอ้ ใด 1. A + B  C + D 2. 2A + 3B  2C + 4D 3. 3A + 2B  2C + 4D 4. 3A + 2B  4C + 2D 12(แนว PAT2) จากขอ้ มลู ในขอ้ ท่ีผา่ นมา ถา้ [A]ที่ 0 นาที = 40 M และ [C]ท่ี 0 นาที = [D]ที่ 0 นาที = 5 M หลงั จากเกิดปฏิกิริยาแลว้ กี่นาทีจึงจะมี [C] = 21 M 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 24

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 6.2 แนวคดิ เก่ียวกบั การเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี 13(แนว PAT2) ขอ้ ใดถกู ตามแนวความคิดเก่ียวกบั การเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. ทุกคร้ังท่ีสารต้งั ตน้ ชนกนั ในทิศทางท่ีเหมาะสม จะเกิดสารผลิตภณั ฑ์ 2. การสลายตวั ของสารเชิงซอ้ นกมั มนั ตอ์ าจไดส้ ารต้งั ตน้ หรือสารผลิตภณั ฑ์ 3. สารเชิงซอ้ นกมั มนั ตท์ ี่เกิดข้ึนระหวา่ งปฏกิ ิริยามพี ลงั งานต่ากวา่ สารต้งั ตน้ และผลิตภณั ฑ์ 4. การเกดิ สารเชิงซอ้ นกมั มนั ตป์ ฏกิ ิริยาจะคายพลงั งานออกมาซ่ึงเรียกพลงั งานน้ีวา่ พลงั งาน ก่อกมั มนั ต์ 6.3 พลังงานกบั การดาเนินไปของปฏกิ ิริยาเคมี 14(En 37) ขอ้ สรุปเก่ียวกบั ปฏิกิริยา A และปฏกิ ริ ิยา B จากกราฟน้ี ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง พลงั งาน A พลงั งาน B สารต้งั ตน้ ผลติ ภณั ฑ์ ผลิตภณั ฑ์ สารต้งั ตน้ การดาเนินไปของปฏิกิริยา การดาเนินไปของปฏกิ ริ ิยา 1. อตั ราของปฏกิ ิริยา A เร็วกวา่ อตั ราของปฏกิ ิริยา B เพราะปฏกิ ิริยา A เป็นปฏกิ ิริยาคาย ความร้อน 2. อตั ราของปฏิกิริยา B เร็วกว่าอตั ราของปฏิกิริยา A เพราะปฏกิ ิริยา B เป็นปฏกิ ิริยาดูด ความร้อน 3. อตั ราของปฏกิ ิริยา A เร็วกว่าอตั ราของปฏกิ ิริยา B เพราะพลงั งานก่อกมั มนั ตข์ อง ปฏิกิริยา A นอ้ ยกวา่ ของปฏกิ ิริยา B 4. อตั ราของปฏิกิริยา B เร็วกว่าอตั ราของปฏิกิริยา A เพราะพลงั งานก่อกมั มนั ตข์ อง ปฏกิ ิริยา B สูงกว่าของปฏิกิริยา A 25

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี 15(En43 ต.ค.) พจิ ารณารูปต่อไปน้ีการเปรียบ พลงั งาน เทียบพลงั งานก่อกมั มนั ต์ และการบอก ชนิดของปฏกิ ิริยา I และปฏกิ ิริยา II ใน II  ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง I I  II พลงั งานก่อกมั มนั ต์ของปฏกิ ริ ิยา ปฏกิ ริ ิยาดูดความร้อน การดาเนินไปของปฏกิ ริ ิยา 1. I = II I 2. I > II I ปฏกิ ริ ิยาคายความร้อน 3. I < II II II 4. I = II II II I I 16(En 32) กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลงั E (kJ/mol) ผลิตภณั ฑ์ งานของปฏิกิริยา A(g) + B(g)  C(s) +10 มลี กั ษณะดงั น้ี ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง +20 สารต้งั ตน้ 1. ปฏกิ ิริยาดูดความร้อน = 15 kJ/mol –10 พลงั งานสารต้งั ตน้ = 10 kJ/mol 2. ปฏกิ ิริยาคายความร้อน = 15 kJ/mol การดาเนินไปของปฏกิ ริ ิยา พลงั งานสารต้งั ตน้ = 5 kJ/mol 3. ปฏกิ ิริยาดูดความร้อน = 20 kJ/mol พลงั งานผลิตภณั ฑ์ = –15 kJ/mol 4. ปฏิกิริยาคายความร้อน = 20 kJ/mol พลงั งานผลติ ภณั ฑ์ = –20 kJ/mol 17(En42 ต.ค.) พิจารณาสมการ A + 2 B  C + 280 kJ …..…( 1 ) 2 X + Y + 150 kJ  3 Z …..…( 2 ) ถ้าระดับพลังงานของสารต้ังต้นในปฏิกิริ ยา ( 1 ) และ ( 2 ) เป็ น 510 และ 340 kJ ตามลาดบั ระดบั พลงั งานของผลิตภณั ฑจ์ าก 2 ปฏิกิริยาน้ีมคี ่าแตกต่างกนั ก่ีกิโลจลู 1. 200 kJ 2. 260 kJ 3. 370 kJ 4. 490 kJ 26

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี 18(En46 ต.ค.) กราฟแสดงพลงั งานและการดาเนินไปของปฏกิ ิริยาเป็นดงั น้ี พลงั งาน (kJ) 70 60 50 40 30 20 A2 + B2 10 2AB พิจารณาขอ้ สรุปต่อไปน้ีขอ้ ใดถกู ตอ้ ง การดาเนินไปของปฏิกริ ิยา 1. พลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องปฏิกิริยา A2 + B2  2 AB มีค่าเท่ากบั 40 kJ 2. ปฏกิ ิริยา A2 + B2  2 AB เป็นปฏกิ ิริยาดูดความร้อน 3. ปฏิกิริยา 2 AB  A2 + B2 มีการคายความร้อน 10 kJ 4. พลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องปฏิกิริยาไปขา้ งหนา้ มากกว่าพลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องปฏกิ ิริยา ยอ้ นกลบั 19(มช 40) ถา้ ปฏิกิริยา 3O2(g)  2O3(g) เป็ นปฏิกิริยาดูดพลงั งาน 140 กิโลจูล/โมล มีค่า พลงั งานก่อกมั มนั ต์ (Ea) เท่ากบั 420 กิโลจูล ค่าพลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องปฏิกิริยายอ้ นกลบั ในหน่วย กิโลจูลคือ 1. 140 2. 280 3. 420 4. 680 20(En47 ต.ค.) พจิ ารณาแผนภาพต่อไปน้ี 260 พลงั งาน ( kJ/mol ) 220 240 150 D 160 A B 120 50 E+F จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ ขอ้ ใดผดิ การดาเนินไปของปฏิกิริยา 27

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. ปฏิกิริยาน้ีเกดิ ไม่ไดเ้ พราะข้นั ที่ 3 มีพลงั งานก่อกมั มนั ตส์ ูงกว่าข้นั อ่ืน ๆ 2. การเรียงลาดบั อตั ราเร็วของปฏิกิริยา ข้นั ที่ 1 > ข้นั ท่ี 3 > ข้นั ท่ี 2 3. ปฏิกิริยาน้ีคายพลงั งาน 100 kJ/mol 4. สารผลิตภณั ฑข์ องปฏกิ ิริยาน้ีคือ B , D , E และ F 21(แนว PAT2) การเปล่ียนแปลงพลงั งานของปฏิกิริยา ก  จ แสดงดงั แผนภาพต่อไปน้ี ข ง พลังงาน (E) A Bค C จ กD การดาเนินไปของปฏกิ ิริยา (t) การเปล่ียนแปลงของพลงั งานนอ้ ยที่สุดท่ีทาใหเ้ กิดปฏิกริ ิยายอ้ นกลบั คือขอ้ ใด 1. A 2. C 3. A – B + C 4. A – B – D 22(แนว Pat2) กราฟพลงั งานกบั การดาเนินไปของปฏกิ ิริยา พลงั งาน I C+D A + B II X ขอ้ ใดถกู การดาเนินไปของปฏกิ ริ ิยา 1. การดาเนินไปของปฏิกิริยาตามเสน้ ทางท่ี I ดดู ความร้อนมากกว่าเสน้ ทางท่ี II 2. อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาของท้งั สองเสน้ ทางมีค่าเท่ากนั 28

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี 3. พลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องปฏิกิริยาไปขา้ งหนา้ ตามเสน้ ทางท่ี II สูงกว่าพลงั งานก่อ กมั มนั ตข์ องปฏิกิริยายอ้ นกลบั 4. สาร X ทาใหป้ ฏิกิริยาระหว่างสาร A และ สาร B เกิดไดเ้ ร็วข้ึน. 23(แนว PAT2) ปฏกิ ิริยา A + B  E E = –700 kJ เป็นปฏิกิริยาท่ีเกิดใน 3 ข้นั ตอนดงั น้ี ข้นั ตอนท่ี 1 A + B  2 C E = –500 kJ , Ea = 1000 kJ ข้นั ตอนท่ี 2 2 C  D E = X kJ , Ea = 500 kJ ข้นั ตอนท่ี 3 D  E E = Y kJ , Ea = 600 kJ พลงั งานศกั ยข์ องสาร A และ B = 1000 kJ พลงั งานศกั ยข์ องสาร D = 700 kJ ค่าของ X + Y เป็นกีก่ ิโลจูล 1. 600 2. –600 3. 200 4. –200 6.4 ปัจจยั ท่ีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี 24(En43 ต.ค.) ปฏิกิริยาต่อไปน้ีเกิดในสถานะแกส๊ และอตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาข้ึนกบั ความเขม้ ขน้ ของท้งั สาร A และ สาร B A + B  C ระบบ ก – สาร A 1 mol ทาปฏกิ ิริยากบั สาร B 1 mol ในภาชนะขนาด 1 dm3 ระบบ ข – สาร A 2 mol ทาปฏกิ ิริยากบั สาร B 2 mol ในภาชนะขนาด 2 dm3 ระบบ ค – สาร A 0.2 mol ทาปฏกิ ิริยากบั สาร B 0.2 mol ในภาชนะขนาด 0.1 dm3 จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ จงหาว่า I ระบบใดไดส้ าร C มากที่สุดภายในเวลาท่ีกาหนด I I ระบบใดมอี ตั ราการเกิดปฏิกิริยาสูงท่ีสุด I II 1. ก ข 2. ข ค 3. ค ข 4. ค ค 29

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี 25(En43 ม.ี ค.) โลหะอะลมู ิเนียมทาปฏิกิริยากบั สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ดงั สมการ 2 Al (s) + 2 NaOH (aq) + 6 H2O (l)  2 NaAl (OH)4 (aq) + 3 H2 (g) ถา้ ทาการทดลอง 2 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ใชแ้ ผน่ อะลมู ิเนียมขนาด 0.5 cm x 10 cm 1 ชิ้น ตอนท่ี 2 ใชอ้ ะลมู เิ นียมเป็นกอ้ นกลม 1 กอ้ น น้าหนกั ของอะลมู ิเนียมท่ีใชท้ ้งั 2 ตอนเท่ากนั ถา้ ขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการทดลองการทาปฏกิ ิริยาดงั กล่าวเป็นดงั น้ี ความเข้มข้นของสารละลาย ความเข้มข้นของสารละลาย NaOH ( mol.dm–3 ) NaAl (OH)4 ( mol.dm–3 ) เวลา ( s ) ตอนท่ี 1 ตอนท่ี 2 ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 0a a b d 2X A e h 4Y B f i 6Z C g j ขอ้ ใดผดิ ก. X > A ข. Z < C ค. b = d = 0 ง. f > i 1. ก. เท่าน้นั 2. ก. และ ข. 3. ก. ข. และ ค. 4. ก. ข. ค. และ ง. 26.(En41 ต.ค.) พจิ ารณากราฟความสมั พนั ธ์ 340500 KK ระหวา่ งความเร็วเฉลี่ยและสดั ส่วนจานวน 550 K โมเลกลุ ของแกส๊ ที่อุณหภมู ิต่างๆ ขอ้ สรุปใดถกู 1. สดั ส่วนจานวนโมเลกุลแก๊สเพ่ิมข้นึ เม่ืออุณหภูมิเพ่ิมข้ึน ความเร็วเฉล่ยี 2. การเพ่ิมอุณหภมู ทิ าใหค้ วามเร็วเฉล่ีย ของแก๊สเพ่ิมข้ึน 3. สดั ส่วนจานวนโมเลกุลที่มีความเร็วเฉลย่ี สูงเพิ่มข้ึนเม่ืออุณหภมู ิลดลง 4. จะพบโมเลกุลแก๊สที่มีความเร็วเฉลย่ี สูงที่อุณหภูมสิ ูงข้นึ เท่าน้นั 30

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 27(มช 40) ปฏิกิริยาการสลายตวั ของ N2O ในสภาวะที่มแี กส๊ คลอรีนอยดู่ ว้ ยมกี ลไกดงั น้ี Cl2(g)  2 Cl(g) N2O(g) + Cl(g)  N2(g) + ClO(g) 2 ClO(g)  Cl2(g) + O2(g) ตวั แคตาลติ ส์ ( ตวั เร่งปฏิกิริยา ) ในปฏิกิริยาน้ีคือ 1. Cl2(g) 2. Cl(g) 3. ClO(g) 4. O2(g) 28(En 40) จงพจิ ารณากราฟและขอ้ สรุปต่อไปน้ี พลงั งาน I II C+D A+B การดาเนินไปของปฏิกิริยา ก. สาร A ทาปฏิกิริยากบั สาร B ให้ C กบั D และคายความร้อนออกมา ข. สาร A ทาปฏกิ ิริยากบั สาร B ให้ C กบั D และมกี ารดดู ความร้อนเขา้ ไป ค. พลงั งานของสารต้งั ตน้ ต่ากว่าของผลิตภณั ฑ์ ง. เสน้ ทางการดาเนินของปฏิกิริยาตาม I ทาที่อณุ หภูมิสูงกว่าปฏิกิริยาตาม II จ. เสน้ ทางการดาเนินของปฏกิ ริ ิยาตาม II ใชต้ วั เร่ง แตต่ าม I เป็นการดาเนินของ ปฏกิ ิริยาตามปกติ ขอ้ สรุปจากกราฟขอ้ ใดถกู ตอ้ ง 1. ก. , ค. , ง. 2. ก. , ค. , จ. 3. ข. , ค. , จ. 4. ข. , ง. 31

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี 29(แนว A-Net) จากปฏิกิริยาต่อไปน้ี A + B  C + D พบว่าความสมั พนั ธร์ ะหว่างพลงั งานกบั การดาเนินไปของปฏกิ ิริยาเป็นไปดงั รูป ขอ้ ใดถกู [A+B  C+D] x A+B y C+D การดาเนินไปของปฏกิ ิริยา 1. ปฏกิ ิริยาน้ีเป็นกระบวนการคายความร้อน 2. ผลติ ภณั ฑม์ คี วามเสถียรนอ้ ยกว่าสารต้งั ตน้ 3. พลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องปฏกิ ิริยามคี ่าเท่ากบั x + y 4. เม่ือมกี ารเติมตวั เร่งลงในปฏกิ ิริยาจะทาใหค้ ่า y ลดลง 30(En48 ม.ี ค.) จากแผนภาพ ขอ้ สรุปใดถกู พลงั งาน Ea2 = 40 kJ C Ea1 = 20 kJ A+B 90 kJ การดาเนินไปของปฏกิ ิริยา ก. พลงั งานก่อกมั มนั ตท์ ี่มผี ลต่ออตั ราเร็วของปฏกิ ิริยา คือ Ea1 ข. การเติมตวั เร่งปฏกิ ิริยาลงไป จะทาใหค้ ่า Ea2 ลดลง ค. การเติมตวั เร่งปฏกิ ิริยา X ลงไป จะไดผ้ ลิตภณั ฑส์ ุดทา้ ย เป็นสารประกอบ CX ง. หลงั การเติมตวั เร่งปฏกิ ิริยา X ลงไป ปฏกิ ิริยาคายพลงั งาน 90 kJ 1. ก. และ ข. 2. ข. และ ค. 3. ก. และ ง. 4. ข. และ ง. 32

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี 31.(En47 ม.ี ค.) ปฏกิ ิริยา A2 + B2  2 AB มีแผนภาพพลงั งาน ดงั รูป พลงั งาน ( kJ ) 75 50 25 2 AB 0 A2 + B2 เวลา –25 ถา้ ใชต้ วั เร่งปฏกิ ิริยา พบว่าพลงั งานก่อกมั มนั ตล์ ดลง 10 kJ ขอ้ สรุปใดถกู ตอ้ งสาหรับปฏกิ ิริยาท่ีมตี วั เร่ง 1. พลงั งานก่อกมั มนั ตข์ อง A2 + B2  2 AB มคี ่า = 70 kJ 2. พลงั งานก่อกมั มนั ตข์ อง 2AB  A2 + B2 มีค่า = 45 kJ 3. พลงั งานของปฏกิ ิริยา A2 + B2  2AB มีค่า = 25 kJ 4. พลงั งานของปฏกิ ิริยา 2AB  A2 + B2 มีค่า = 15 kJ 32(En 41) ปฏิกิริยา Zn(s) + H2SO4(aq)  ZnSO4(aq) + H2(g) ปฏกิ ิริยาคายความร้อน ถา้ ใส่ผงสงั กะสีในกรดซลั ฟิ วริกเจือจางที่ ( i ) 25 องศาเซลเซียส และ ( ii ) 35 องศาเซลเซียส กรณี ( ii ) จะเกิดผลอยา่ งไรเมื่อเทียบกบั กรณี ( i ) ก. อนุภาคต่างๆ มีพลงั งานจลนส์ ูงข้ึน ข. พลงั งานก่อกมั มนั ตล์ ดลง ค. อนุภาคต่างๆ ชนกนั บ่อยคร้ังข้ึน ง. ปฏิกิริยาจะเกิดเร็วข้ึน จ. แกส๊ ไฮโดรเจนท่ีเกดิ ข้ึนมีปริมาณนอ้ ยลง ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง 1. ก. ข. และ ค. เท่าน้นั 2. ก. ค. และ ง. เท่าน้นั 3. ก. ข. ค. และ ง. เท่าน้นั 4. ก. ข. ค. ง. และ จ. 33(En 36) นาแกส๊ ไฮโดรเจนและแก๊สออกซิเจนมาผสมกนั ในภาชนะที่อุณหภมู หิ อ้ ง ( ระบบท่ี 1) พบว่าไม่มปี ฏิกิริยาเกิดข้ึน แต่ถา้ มีประกายไฟเกิดข้ึนภายในภาชนะท่ีมีแก๊สท้งั สองผสมกนั อยู่ ( ระบบที่ 2 ) จะเกิดปฏกิ ิริยาอยา่ งรวดเร็ว และรุนแรงมาก พิจารณาขอ้ ความต่อไปน้ี (ก) พลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องท้งั สองระบบมคี ่าเท่ากนั (ข) ปฏกิ ริ ิยาท่ีเกดิ ข้ึนระหว่างแกส๊ ไฮโดรเจนและแก๊สออกซิเจนเป็นปฏิกิริยาคายพลงั งาน 33

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทที่6 อตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี (ค) ปฏิกริ ิยาท่ีเกิดข้ึนระหวา่ งแก๊สไฮโดรเจนและแกส๊ ออกซิเจนเป็นปฏิกิริยาดดู พลงั งาน (ง) จานวนโมเลกุลท่ีมีพลงั งานมากกว่าพลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องท้งั สองระบบมีค่าไม่ต่างกนั ขอ้ สรุปใดถกู ตอ้ ง 1. (ก) และ (ข) 2. (ก) และ (ค) 3. (ค) และ (ง) 4. (ข) และ (ง) 34(En 39) ในการทดลองเปรียบเทียบผลของโลหะ 2 ชนิดต่อความสามารถในการเร่งปฏกิ ิริยา 2 N2O(g)  2 N2(g) + O2(g) ใหผ้ ลดงั น้ี ชนิดของโลหะ อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ิยาสัมพทั ธ์ ไม่ใช้ ชา้ ที่สุด ทองคา เร็ว ทองคาขาว เร็วท่ีสุด ขอ้ ใดผดิ 1. พลงั งานก่อกมั มนั ตข์ องปฏิกิริยาที่ใชท้ องคาขาวเป็นตวั เร่งจะต่าสุด 2. อตั ราการชนของ N2O บนทองคาขาวมีค่าสูงกวา่ บนทองคา 3. เมอื่ เพ่ิมความดนั จะมีผลใหท้ ้งั สามกรณีเกิดปฏกิ ิริยาไดเ้ ร็วข้ึน 4. ปฏิกิริยาดงั กลา่ วควรเกิดไดด้ ี ถา้ อุณหภมู สิ ูงข้ึน 35(มช 38) ปัจจยั ใดต่อไปน้ี มีผลทาใหอ้ ตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาลดลง ก. การเพ่ิมปริมาณสารต้งั ตน้ ข. การลดอุณหภูมิและความดนั ค. การเติมเอนไซม์ ง. การใชส้ ารในลกั ษณะท่ีเป็นกอ้ นแทนสารที่เป็นผง 1. ก. และ ข. 2. ก. และ ง. 3. ค. และ ง. 4. ข. และ ง. 36(En44 ม.ี ค.) ขอ้ ใดมีผลทาใหอ้ ตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมเี ปลย่ี นแปลงไปในทิศทางเดียวกนั 1. เพ่มิ อณุ หภมู ิ ลดความดนั 2. เพมิ่ พ้นื ท่ีผวิ ใส่ตวั เร่งปฏกิ ิริยา 3. เพมิ่ ความเขม้ ขน้ ของสารต้งั ตน้ เพ่ิมพลงั งานก่อกมั มนั ต์ 4. เพ่ิมพ้นื ที่ผวิ เพ่มิ ขนาดภาชนะท่ีบรรจุ 34

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี 37(En 36) ปฏิกิริยา A(s) + B(aq)  C(aq) + D(g) เป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน อตั รา การเกิดปฏกิ ิริยาจะเพ่มิ ข้ึนเมือ่ ใด 1. ลดขนาดของ A เพมิ่ ความเขม้ ขน้ ของ B ลดอุณหภูมิ 2. ลดปริมาณของ D เพ่มิ ความเขม้ ขน้ ของ B ลดอุณหภมู ิ 3. เพิม่ ขนาดของ A ลดความดนั เพ่มิ อณุ หภูมิ 4. ลดขนาดของ A เติมตวั เร่งปฏกิ ิริยา เพิ่มอณุ หภมู ิ 38(En 35) ปฏิกิริยา A + B  P เกิดชา้ แต่สมบูรณ์และเป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน พบว่า อตั ราของปฏิกิริยาข้ึนกบั ปริมาณของสารต้งั ตน้ A แต่ไม่ข้ึนกบั ปริมาณสารต้งั ต้น B การ กระทาท้งั หมดในขอ้ ใดต่อไปน้ีมีผลทาใหป้ ฏกิ ิริยาเกิดไดเ้ ร็วข้ึน 1. ลดอุณหภมู ิ เพิ่มสาร A 2. ลดอุณหภูมิ เอาสาร P ออก 3. เพม่ิ อณุ หภูมิ เพ่มิ สาร A เพิ่มสาร B 4. ลดอุณหภมู ิ เพ่ิมสาร A เอาสาร P ออก 39(En 37) ปฏกิ ิริยา A(aq) + B(aq)  C(aq) + D(aq) เป็นปฏกิ ิริยาคายความร้อน ขอ้ ใดผดิ 1. ถา้ ลดอุณหภมู ิ อตั ราการเกิดปฏิกิริยาจะลดลง 2. ถา้ เติมตวั เร่งปฏิกิริยา อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาจะเพ่มิ ข้นึ 3. ถา้ เติม A อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาจะเพิม่ ข้นึ 4. ถา้ เติม C อตั ราการเกิดปฏิกิริยาจะลดลง 40.(En 38) ถา้ สร้างกราฟของอตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมที ม่ี เี อนไซมเ์ ป็นตวั เร่งปฏิกิริยากบั อณุ หภมู คิ วรจะไดร้ ูปกราฟเป็นแบบใดมากที่สุด 1. อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี 2. อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อุณหภมู ิ อุณหภูมิ 3. อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี 4. อตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี อณุ หภูมิ อุณหภมู ิ 35

สรปุ เขม้ เคมี เลม่ 2 www.pec9.com บทท่ี6 อตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี 41. พ้ืนที่ผิว อุณหภูมิสารต้งั ตน้ และตวั เร่งปฏิกิริยา ช่วยทาให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วข้ึนแต่ไม่เพ่ิม ปริมาณผลติ ภณั ฑ์ เหตุเพราะขอ้ ใดต่อไปน้ี 1. เพราะเกิดปฏิกิริยาผนั กลบั 2. เพราะเกิดภาวะสมดุล 3. เพราะปริมาณสารต้งั ตน้ มีเท่าเดิม 4. เพราะปริมาณสารต้งั ตน้ มีมากข้ึน 42(มช 41) ในการศึกษาอตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาระหว่างหินปนู ที่มากเกินพอกบั กรด HCl ที่มคี วาม เขม้ ขน้ 0.1 โมล/ลติ ร ปริมาณ 20 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร ที่ 20o C ถา้ เปลยี่ นความเขม้ ขน้ ของ กรดเป็น 0.5 โมล/ลิตร ในปริมาณและอุณหภมู เิ ท่าเดิม ขอ้ ความใดถกู ตอ้ งที่สุด 1. อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาคงท่ี แต่ผลติ ภณั ฑเ์ พิม่ ข้ึน 2. อตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาคงที่ และผลิตภณั ฑค์ งเดิม 3. อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเร็วข้ึน และผลติ ภณั ฑม์ ากข้ึน 4. อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเร็วข้ึน แต่ผลติ ภณั ฑค์ งเดิม  เ ฉ ล ย ต ะ ลุ ย ข้ อ ส อ บ เ ข้ า ม ห า วิ ท ย า ล ยั บทที่ 6 อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี 1. ตอบข้อ 2. 2. ตอบข้อ 2. 3. ตอบข้อ 2. 4. ตอบข้อ 2. 5. ตอบ 0.24 6. ตอบข้อ 3. 7. ตอบข้อ 2. 8. ตอบข้อ 2. 9. ตอบ 0.36 10. ตอบข้อ 4. 11. ตอบข้อ 2. 12. ตอบข้อ 2. 13. ตอบข้อ 2. 14. ตอบข้อ 3. 15. ตอบข้อ 2. 16. ตอบข้อ 2. 17. ตอบข้อ 2. 18. ตอบข้อ 4. 19. ตอบข้อ 2. 20. ตอบข้อ 1. 21. ตอบข้อ 4. 22. ตอบข้อ 3. 23. ตอบข้อ 4. 24. ตอบข้อ 2. 25. ตอบข้อ 1. 26. ตอบข้อ 2. 27. ตอบข้อ 1. 28. ตอบข้อ 3. 29. ตอบข้อ 1. 30. ตอบข้อ 4. 31.ตอบข้อ 3. 32. ตอบข้อ 2. 33. ตอบข้อ 1. 34. ตอบข้อ 2. 35. ตอบข้อ 4. 36.ตอบข้อ 2. 37. ตอบข้อ 4. 38. ตอบข้อ 3. 39. ตอบข้อ 4. 40. ตอบข้อ 1. 41. ตอบข้อ 3. 42. ตอบข้อ 3.  36


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook