Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กรย่อความ By ครูออย

กรย่อความ By ครูออย

Published by Guset User, 2021-11-07 08:46:14

Description: กรย่อความ By ครูออย

Search

Read the Text Version

การยอ่ ความ การย่อความเป็นทักษะการเขียนที่เก่ียวเนื่องกับการอ่านจับ ใจความสาคัญ การย่อความจึงเป็นการเขียน ที่ผู้เขียนได้เก็บสาคัญ ของเรื่องที่อ่าน แล้วเรียบเรียงขึ้นมาใหม่ด้วยสานวนภาษาของตนเอง ข้อความที่ เรียบเรียงข้ึนใหม่นั้นจะต้องกระชับ รัดกุม และมีใจความ สาคญั ครบถ้วน

จดุ หมายในการเขยี นย่อความ เพอ่ื นยิ าม เพื่อสรปุ ยอ่ ความ เพื่อเลา่ เรื่องยอ่ ความหมาย

หลักการเขียนย่อความ หลกั การเขียนยอ่ ความ การเขียนยอ่ ความ มหี ลกั ดงั นี้ ๑) ข้ันแรกต้องอ่านเรื่องท่ีจะย่อน้ันต้ังแต่ต้นจนจบอย่างละเอียดเสียก่อน เพ่ือให้ เขา้ ใจเรอื่ งโดยรวม และเข้าใจว่า ผแู้ ต่งตอ้ งการเสนอความคดิ ใดเปน็ สาคัญ ๒) ข้นั ตอนตอ่ มา คือ อ่านเรื่องอีกคร้งั หนงึ่ โดยจับใจความสาคัญในแต่ละย่อหน้า และบันทึกเป็นวลี หรือประโยคด้วยภาษาของตนเอง แต่อย่างไรก็ตาม บางย่อหน้าก็เป็น ข้อความท่ีมีรายละเอยี ดหรือประเด็นท่ีไม่สาคัญ ผู้ย่อความก็ควรพิจารณาย่อหน้านั้น ๆ ตาม ความเหมาะสม

หลักการเขยี นยอ่ ความ (ต่อ) ๓) ผยู้ อ่ ความจะต้องพิจารณาแต่ละย่อหน้าว่า มีส่วนใดเป็นพลความ และส่วนใด เป็นใจความสาคัญ โดยพลความ คือ ใจความที่เป็นข้อความประกอบ ซ่ึงหลักในการสังเกต คือ ข้อความท่ีเป็นพลความส่วนใหญ่จะ เป็นประโยคขยายความซ่ึงอาจจะเป็นการให้ รายละเอยี ด การยกตัวอยา่ ง หรือการเปรยี บเทยี บเพอื่ ใหใ้ จความสาคญั ชดั เจนข้ึน ๔) ข้ันตอนสุดท้าย คือ เม่ือจับใจความสาคัญของเรื่องท้ังหมดแล้ว ก็เรียบเรียง เน้อื หาใหถ้ ูกต้องตาม รูปแบบของการยอ่ ความ

รปู แบบการเขยี นย่อความ ๑) สว่ นข้นึ ต้นของย่อความ เปน็ ส่วนท่กี ลา่ วถึงรายละเอียดเก่ียวกับเร่ืองท่ีจะย่อ เชน่ ประเภทของเรอ่ื ง ชอื่ เรื่อง ชื่อผแู้ ต่ง ซ่ึงแบ่งตามประเภทของเรอื่ ง ดงั น้ี (๑) ย่อหนังสือทว่ั ๆ ไป นทิ าน นยิ าย พงศาวดาร เรื่องสั้น ฯลฯ เช่น ยอ่ เรอื่ ง ช่อื ของกิน ของ ส.พลายนอ้ ย จาก หนังสอื กระยานยิ าย หนา้ ๗๒-๗๗ ความว่า

รปู แบบการเขียนยอ่ ความ (ตอ่ ) (๒) ย่อหนังสือราชการ เช่น ย่อหนังสือราชการท่ี ศธ ๑๖๐๙/๑๐๐๐๒ ลงวันท่ี ๑๒ กันยายน ๒๕๖๐ ของนางปราฏ ปราบริปู ผู้อานวยการสถาบันภาษาไทย ถึง คณบดี อักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เร่ือง ขออนุญาตให้ข้าราชการเข้า ร่วมเป็น กรรมการ ความว่า

รปู แบบการเขียนย่อความ (ตอ่ ) (๓) ย่อบทความ เช่น ย่อบทความ ของ อารียา หุตินทะ เรื่อง เสียงพูดของ สัตว์ช้ันต่าในกวีนิพนธ์ไทยร่วมสมยั จาก วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ปี ที่ ๒๓ พ.ศ. ๒๕๔๓ หนา้ ๑๐๖-๑๓๐ ความวา่

รปู แบบการเขยี นย่อความ (ตอ่ ) (๔) ย่อร้อยกรอง เช่น ย่อโคลงนิราศ เร่ือง โคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัย ของ เจ้าฟ้า อภัย จาก วรรณกรรมสมยั อยุธยา เลม่ ๓ หน้า ๗๖-๙๙ ความว่า

๒. สว่ นเนอ้ื หาของยอ่ ความ เปน็ สว่ นทีก่ ล่าวถงึ ใจความสาคัญของเร่อื งที่ ต้องการย่อ วตั ถปุ ระสงค์ของผยู้ อ่ วา่ ตอ้ งการจะให้เรื่องท่ยี อ่ มีความยาวเทา่ ไร กลวธิ ีในการ เรยี บเรียงส่วนเน้ือหาของย่อความ มีดงั นี้ (๑) เปล่ียนสรรพนามบรุ ษุ ที่ ๑ และสรรพนามบรุ ุษที่ ๒ เป็นสรรพนามบุรุษท่ี ๓ (๒) ไม่ควรใชอ้ กั ษรย่อ ยกเว้นอกั ษรยอ่ ท่ีรจู้ กั กันโดยท่วั ไป เช่น พ.ศ. ค.ศ. เปน็ ต้น (๓) ไม่เปลย่ี นคาราชาศพั ท์เปน็ คาสามัญ (๔) เรยี บเรียงเนอ้ื หาท้งั หมดใหเ้ หลือย่อหน้าเดียว โดยมคี วามยาวประมาณ ๑ ใน ๓ ของเนื้อหาเดิม (๕) เมอ่ื เรียบเรียงเนอ้ื หาเสรจ็ ให้อา่ นทวนอีกคร้ัง เพ่ือตรวจสอบวา่ ไดใ้ จ ความสาคัญครบถว้ นหรือไม

๓. ประโยชน์ของการยอ่ ความ (๑) เปน็ การฝึกทกั ษะการอา่ นจับใจความ และทักษะการเขยี นไปใน คราวเดียวกนั (๒) เป็นพืน้ ฐานในการศกึ ษาวิชาการด้านต่าง ๆ เพราะสามารถชว่ ย ในเรื่องการประมวลความคิดและบนั ทึกความรูต้ ามหลักการย่อความได้ (๓) เปน็ การฝึกการเกบ็ ข้อมูล และบันทึกข้อมลู เพ่อื สร้างงานเขยี น อ่นื ๆ ต่อไป

แบบข้นึ ยอ่ ความ ๑. ยอ่ ความเรยี งร้อยแก้วธรรมดา ขึ้นตน้ ดงั นี้ ยอ่ เรื่อง.............................ของ (ชอ่ื ผแู้ ต่ง)......................จากหนังสอื .....................................หน้า ............ความวา่ ๒ . ยอ่ จดหมาย ข้นึ ต้นดงั นี้ จดหมายของ.............................ถงึ ...........................ลงวนั ท่ี............เดอื น .....................พ.ศ. ...... ความวา่ ๓. ย่อคาประกาศ แถลงการณ์ คาสงั่ ระเบียบ ข้ึนตน้ ดังนี้ คาประกาศของ............................แก.่ .........................ลงวนั ที่ ..........................................ความวา่ ๔. ย่อคาปราศรัย สุนทรพจน์ พระราชดารสั ขึน้ ตน้ ดงั นี้ คาปราศรยั ของ............................แก.่ ........................เนอ่ื งใน ......................................... ทาง (สถานทีส่ ่ือที่กล่าว).......................................... ณ วันที่....................................ความวา่

๕. ยอ่ ปาฐกถา คาบรรยาย คาสอน ข้ึนตน้ ดังนี้ คาบรรยายของ...........................เรอ่ื ง.......................แก่...................ที่ .............ณ วนั ที่.....................เวลา..............................................ความว่า ๖. ย่อคาประพันธ์ ข้ึนต้นดังน้ี คาประพันธ์ประเภท.......................เรอ่ื ง.....................ของ ........................................ ตอน.....................................ความว่า

ตัวอย่าง การเขียนย่อความ

ท่มี าข้อมลู : YouTube รูปแบบการยอ่ นทิ านและตวั อยา่ งการยอ่ นิทาน ต้นฉบบั ครูโอ๋ ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ เพ่อื การศกึ ษา

แบบฝกึ หดั เรื่อง การย่อความ (เกบ็ คะแนน) ๑๐ คะแนน (ทาลงสมดุ ) นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ ย่อความเรื่อง ควายหงานกบั ผักหวานป่า จากหนงั สือเรยี น ภาษาพาที หน้าท่ี ๘ นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ยอ่ ความเรือ่ ง ประเพณลี งแขกทานา จาก หนงั สอื เรียน ภาษาพาที หน้าที่ ๒๖


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook