Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเขียนเรียงความ

การเขียนเรียงความ

Published by Guset User, 2021-11-07 08:43:44

Description: การเขียนเรียงความ

Search

Read the Text Version

By ครูออย

การเขียนเรียงความ เรียงความ คือ การนาข้อความต่าง ๆ มาแต่งเรียบเรียงให้เป็นเร่ือง ใช้ภาษาในลักษณะท่ีใช้พูดหรือเขียนกันเป็นสามัญหรือเป็นร้อยแก้วธรรมดา มิใช่ร้อยกรอง หรือ หมายถึงเร่ืองท่ีนาข้อความต่างๆ มาแต่งเรียบเรียงข้ึน ดังนั้น การเขียนเรียงความคือการเรียบเรียงข้อความเป็นเร่ืองราว เพ่อื แสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึก โดยใช้ถ้อยคา สานวนภาษาท่ีถกู ต้อง

การเขียนเรียงความประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังน้ี คานา คานา คานา

คานา คานา เป็นการเร่ิมเร่ืองท่ีจะเขียนเพ่ือเร้าความสนใจให้ผู้อ่าน ติดตามเร่ืองต่อไป คานาไม่ควรมีความยาวมากนัก ปกติมีเพียงหน่ึงย่อ หน้า อาจจะนาด้วยคาถาม การให้นิยาม(ความหมาย) บทเพลง บทกลอน หรือวิธีอ่นื ๆ

คานา เน้ือเร่ือง เป็นความรู้ ความคิด ความคิดเห็น หรือ ข้อเท็จจริงท่ีได้มาจากประสบการณ์ การศึกษาคันคว้า ควร เขียนตามโครงเร่ืองที่วางไว้เพ่ือไม่ให้ผู้อ่านสับสนเน้ือเร่ืองอาจมี หลายย่อหน้าแต่ต้องให้ต่อเน่อื งเป็นเร่อื งเดียวกัน

คานา สรุป เป็นการเขียนตอนท้าย อาจสรุปประเด็น สาคัญของเร่ือง ให้ข้อคิด หรือยกสุภาษิต คาคม ฯลฯ ท่ีสอดคล้องเหมาะสมมาเป็นการสรุปเร่ืองก็ได้ ไม่ควร เขียนสรุปยาวมาก ปกติจะมีเพียงหนึ่งย่อหน้า เช่นเดียวกับคานา

เรียงความท่ดี ีควรมีลักษณะ ดังน้ี ๑. ถูกต้องตามลักษณะและรูปแบบของเรียงความ คอื มีคานา เน้ือเร่อื ง สรุป ๒. มีเน้ือหาชัดเจนและมีสาระ ลาดับความคิด ลาตับเร่อื ง และดาเนินเร่อื งดี ๓. ใช้ภาษาได้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษา สานวนภาษาสละสลวย ๔. ให้ข้อคิดเชิงสร้างสรรค์หรอื แสดงความคิดเห็นท่นี ่าสนใจและเป็นประโยชน์ก่อนเขียน เรียงความ ควรวางแผนการเขียนโดยเยนเป็นโครงเร่อื งคร่าวจัดลาดับความคิด ช่วยให้สามารถเขียนสาระสาคัญได้ต่อเน่อื งไปจนจบเป็นเร่อื ง ไม่วกไปวนมา ไม่สับสนวกวน

๑. เขียนช่ือเร่อื งไว้ท่กี ่งึ กลางหน้ากระดาษ ๒. ลายมอื เขียนให้ชัดเจน อ่านง่าย ถูกต้อง ๓. เว้นว่างหน้ากระดาษทั้งด้านซ้ายและขวาพองาม ไม่เขียนชิดริมกระดาษหรอื เขียนตก ขอบกระดาษ รวมทั้งไม่เขียนฉีกคา

๔.ก่อนลงมือเขียนต้องวางโครงเร่ืองก่อนเพ่ือลาดับ เร่อื งราวให้เป็นไปตามลาดับก่อน-หลัง ไม่สับสนวกวน ๕. เรียงความต้องมีคานา เน้อื เร่อื ง และสรุป ๖. การย่อหน้าไม่ควรเขียนเรียงความย่อหน้า เดียว อย่างน้อยจะต้องมีย่อหน้าคานา เน้อื เร่อื ง และสรุป ในเน้ือเร่ืองอาจมีหลายย่อหน้าได้แล้วแต่เน้ือเร่ือง การย่อ หน้าแต่ละครั้งควรตรงกัน ๗. เน้ือเร่ืองและช่ือเร่ืองต้องมีความสัมพันธ์กัน จึงจะ เรียกว่าเขียนได้ตรงตามจุดประสงค์

คานา ช่ือเร่ือง เน้ือเร่อื ง กึ่งกลางหน้ากระดาษ สรุป

คานา ช่ือเร่ือง ตัวอย่าง เน่ือเร่อื ง การประหยดั สรุป เราคงจะเคยได้ยินคาขวัญของรัฐบาลสมัยหน่ึงท่ีว่า “ทุกคนต้องทางานหาเงิน ชาติที่เจริญต้องประหยัด” แสดงว่าการ ประหยัดเป็นเรือ่ งที่สาคัญมาก ฉะนั้นเราทกุ คนควรจะรู้จักประหยดั การประหยัด หมายถึง การรู้จักใช้อย่างถูกทางไม่สุรุ่ยสุร่ายหรือฟุ่มเฟือย การประหยัดเงินก็คือการรู้จักใช้เงินตามฐานะ ใช้ จ่ายแต่ส่ิงท่ีจาเป็น เป็นคนที่รู้จักใช้เงินอย่างฉลาด ไม่ต้องกู้หนี้ยืมสินผู้อ่ืน เช่น เสื้อผ้า เครื่องใช้ น้า ไฟ ฯลฯ ก็หมายถึ งว่าเราได้ใช้สิ่ง นั้นให้ได้ประโยชน์มากท่ีสุด คุ้มค่ามากที่สุด ไม่ปล่อยทิ้งให้เสียประโยชน์และเราควรจะประหยัดแม้วาจา คาพูด ซ่ึงจะทาให้เราอยู่ ร่วมกับผูอ้ ่นื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ไม่กอ่ ความราคาญแก่ผอู้ ื่น คนท่ีไม่ประหยัดจะใช้จ่ายเงินทองไปในทางท่ีไม่ถูกต้อง เช่น ซื้อของราคาแพง ซ้ือของเงินผ่อน เที่ยวเตร่ ดื่มสุรา ไม่แบ่งเ งิน เก็บเป็นส่วนเพื่อใช้จ่ายเวลาจาเป็น เม่ือเงินทอนหมดไม่มีที่จะหามาใช้มักจะได้รับความทุกข์ ส่วนการตระหนี่ต่างจากการประหยัด ตรงท่ีมุ่งเก็บทุกอย่างไม่ยอมใช้ แม้เม่ือจาเป็น เช่น เจ็บป่วย ก็รอให้หายเอง ไม่ยอมไปพบแพทย์ กลัวส้ินเปลือง อาจทาให้ถึงตายได้ อยา่ งนีน้ ับว่าทาไมถ่ ูก การประหยัดทาได้หลายวิธี เช่น นาเงินไปฝากธนาคาร ซ้ือพันธบัตรรัฐบาล ซ้ือสลากออมสิน ซ้ือของท่ีจาเป็นและไม่แพง เกนิ ไป พยายามใช้ของทีผ่ ลิตขน้ึ ในประเทศ เลอื กซอื้ อาหารทม่ี ีตามฤดูกาลมีประโยชนแ์ ก่ร่างกาย ปลูกพชื ผักสวนครวั ไว้รับประทานเอง ไม่ควรไปหาร้านอาหารแพงๆ อันเป็นการสิ้นเปลือง พวกสุรายาเมา การเท่ียวเตร่หรือการพนันก็ไม่ควรแตะต้อง เพราะจะทาให้หมด เงินทอง ร้จู ักคบเพอื่ นที่ดี เชน่ นี้นบั วา่ ประหยดั ถกู ทาง ดงั คาประพนั ธ์ ของ สุนทรภู่ทวี่ ่า “มสี ลึงพึงบรรจบให้ครบบาท อย่าใหข้ าดสงิ่ ของตอ้ งประสงค์ มนี ้อยใช้น้อยค่อยบรรจง อย่าจา่ ยลงใหม้ ากจะยากนาน”

๕ เทคนิค เขยี นเรียงความยังไงใหป้ ัง By ครูออย

1. ตั้งรู้ก่อนว่าจะเขียนเรื่อง อะไร? เพ่ือเป็นแนวทาง ไม่ให้เรา เขียนออกไปนอกเร่อื ง

2. หากใครคดิ ไม่ออกว่าจะเขยี นอะไร ใหอ้ า่ น หนงั สือเยอะๆ ศึกษาเทคนคิ การเขยี นของนกั เนียน ตา่ งๆ จะทาให้เราซมึ ซบั เทคนิค และรู้ว่าเขียนแบบ ไหนถึงนา่ อา่ น เพราะกม็ บี างคนเขยี นยาวมาก แต่ไม่ สนกุ เลย

3. ควรจะทาการศึกษาขอ้ มลู เพ่ือนามาเขยี นให้ดี และ เพ่ือความถกู ตอ้ ง 4. มสี มาธิ ตัง้ สติกอ่ นเขยี นงานทกุ คร้ัง หาที่เงยี บๆ เป็นสว่ นตวั นง่ั ทา เวลาสมองเราแล่น มือเขยี นหรอื พมิ พง์ าน อยู่ ถา้ มใี ครมาเรียกปุบ๊ นี่คือจบเลย ความคดิ หลดุ ทันที 5. เน้ือเร่อื งควรมคี วามสอดคลอ้ งกนั และมี ความสมั พันธต์ อ่ เนือ่ งกนั ในแต่ละยอ่ หนา้

จำนวนบรรทดั ในกำรเขียนเรียงควำม คำนำ (ไม่ควรเกิน 3-5 บรรทัด) คือ การเกริ่นนา ต้องเขียนให้กระชับ กระตุ้น ความสนใจของคนอ่าน วิธีการเขียนคานาทาได้หลายวิธี เช่น พูดถึงสถานการณ์บางอย่าง เพ่อื โยงมาเขา้ เนือ้ เรอื่ งของเรา เน้ือเรื่อง (ควรจะมี ประมาณ ๕-๗ บรรทัด) ในเน้ือเร่ืองควรมีความสอดคล้อง กัน หากมีการยกตัวอยา่ งให้เห็นภาพด้วย จะทาใหเ้ รียงความของเราดูน่าสนใจและเข้าใจ ง่ายมากข้ึน และอย่าลืมจัดย่อหน้าลาดับให้ดี เรียงความจะดูน่าอ่านยิ่งข้ึน ไม่ควรเขียน เป็นพืดยาวทเี ดยี ว บทสรุปปิดท้ำย (ควรจะมีประมาณ ๓ บรรทัด) เป็นการสรุปในสิ่งท่ีเราพูดมา ท้ังหมดในเน้ือเรื่อง ว่าเรากล่าวถึงอะไร จุดสาคัญคือตรงไหน และสามารถควรฝากข้อคิด ความรู้ ความประทับใจแก่ผู้อ่าน การเขียนสรุปมีหลายวิธี อาจสรุปด้วยคาถาม ข้อคิด สุภาษิต บทร้อยกรอง อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยใช้ถ้อยคาที่กระชับ คมคาย เพ่ือให้คนอ่าน ประทับใจและนาขอ้ คดิ ไปใช้ได้

แบบฝึกหดั ใหน้ ักเรียนเลือกหวั ขอ้ ท่ีกาหนดใหต้ ่อไปนี้ แล้ว นาไปเขียนเรียงความ จานวน ๑ เร่ือง ( ทาลงสมดุ ) ความซือ่ สัตย์ ความพอเพียง ประเพณไี ทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook