การออกแบบและสารสนเทศ วิชา โปรแกรมสานกั งาน จดั ทาโดย ด.ญ.พยิ ะดา กนั ทวงค์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที 1ี่ /6
รายงาน ขอ้ มลู สารสนเทศและเทคโนโลยี เสนอ คุณครู สุรฉิ าย เปน็ เอก จดั ทาโดย เด็กหญิง พิยะดา กันทวงค์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1/6รายนี้เปน็ ส่วนหนึ่งขอรายวชิ าโปรแกรมสานกั งาน รหสั วิชา ง22201 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนแม่เมาะวิทยา
คำนำ รายงาน ฉบับน้ีเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาโปรแกรมสานักงาน ง2201 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่1/6โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและนามาประยุกค์ใช่ในชีวิตประจาวัน ใช่เพื่อเป็นเอกสารในการประกอบการเรียนรู้ ในรายวิชานี้จะตอ้ งขอบ คณุ ครูสุริฉาย เปน็ เอก ท่ใี หค้ าปรึกษาและแนวทางการศึกษา และเพื่อนๆทุกคนทคี่ อยช่วยเหลอื มาโดยตลอด หวงั เป็นอย่างย่งิ วา่ รายงานฉบับน้ีจะใหค้ นรู้แกป่ ระโยชน์ทุกๆคน พยิ ะดา กนั ทะวงค์ จดั ทาโดย
สำรบัญคานา หน้าสารบญั กความหมายของข้อมลู ขประเภทของข้อมลู 1การจัดการสารสนเทศ 2วิธีการประมวลผล 3ระดับของสารสนเทศ 4ผังมโนทัศนส์ รปุ ผล 5แหลง่ อา้ งองิ 6 7
ข้ อ มู ล แ ล ะ ส า ร ส น เ ท ศ | 1 สารสนเทศ (information) เป็นผลลัพธ์ของการประมวลผล การจัดดาเนินการ และการเข้าประเภทข้อมูลโดยการรวมความรู้เข้าไปต่อผู้รับสารสนเทศน้ัน สารสนเทศมีความหมายหรือแนวคิดท่ีกว้างและหลากหลาย ตงั้ แต่การใช้คาวา่ สารสนเทศในชีวิตประจาวัน จนถึงความหมายเชิงเทคนิค ตามปกติในภาษาพูด แนวคิดของสารสนเทศใกล้เคียงกับความหมายของการส่ือสาร เง่ือนไข การควบคุม ข้อมูล รูปแบบ คาสั่งปฏบิ ตั ิการ ความรู้ ความหมาย สอื่ ความคิด การรับรู้ และการแทนความหมาย ปัจจุบันผู้คนพูดเก่ียวกับยคุ สารสนเทศว่าเป็นยุคท่ีนาไปสยู่ ุคแห่งองค์ปัญญา นาไปสู่สังคมอุดมปัญญาหรือสังคมแห่งสารสนเทศ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ แม้ว่าเม่ือพูดถึงสารสนเทศ เป็นคาที่เกี่ยวข้องในศาสตร์สองสาขา คือ วิทยาการสารสนเทศ และ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ซ่ึงคาว่า \"สารสนเทศ\" ก็ถูกใช้บ่อยในความหมายที่หลากหลายและกว้างขวางออกไป และมกี ารนาไปใช้ในส่วนของ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การประมวลผลสารสนเทศ ส่ิงที่ได้จากการนาข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนามาใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์สารสนเทศจึงหมายถึง ข้อมูลท่ีผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ทันเวลา และอยู่ในรูปที่ใช้ได้สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมดูแลเป็นอย่างดี เชน่อาจจะมีการกาหนดให้ผูใ้ ดบ้างเป็นผู้มีสิทธ์ิใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลท่ีเป็นความลับจะต้องมีระบบขั้นตอนการควบคมุกาหนดสทิ ธิ์ในการแก้ไขหรือการกระทากับข้อมูลวา่ จะกระทาไดโ้ ดยใครบา้ ง นอกจากน้ีข้อมลู ทเ่ี ก็บไว้แล้วต้องไม่เกดิ การสญู หายหรือถูกทาลายโดยไม่ได้ต้งั ใจ การจัดเก็บข้อมูลท่ีดี จะตอ้ งมีการกาหนดรูปแบบของข้อมูลให้มีลักษณะง่ายต่อการจัดเก็บ และมีรูปแบบเดียวกันอย่างมีระบบ ข้อมูลแต่ละชุดควรมีความหมายและมีความเปน็ อิสระในตัวเอง นอกจากนีไ้ ม่ควรมีการเก็บข้อมลู ซ้าซ้อนเพราะจะเปน็ การสิน้ เปลอื งเน้ือทีเ่ กบ็ ข้อมลูขอ้ มลู สารสนเทศ ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่แสดงถึงลักษณะหรือเหตุการณ์ต่างๆ โดยอยู่ในรูปแบบท่ีเหมาะสมในการใชส้ อ่ื สาร แปลความหมายและประมวลผล ซึ่งอาจทาด้วยคนหรือคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลท่ีผ่านการประมวลได้เป็นสารสนเทศท่ีมีความถูกต้องทันต่อสถานการณ์ท่ีสนใจ มคี วามนา่ เช่อื ถือ มีความหมาย มีคุณคา่ และเป็นประโยชน์สาหรับผูใ้ ช้ การประมวลผลสารสนเทศ (Information processing) หมายถึง การดาเนินการต่างๆ กับข้อมูลเพอื่ ใหไ้ ด้ผลลัพธท์ ่มี ีความหมาย และมีประโยชนต์ อ่ การนาไปใชง้ านมากย่ิงข้ึน
ข้ อ มู ล แ ล ะ ส า ร ส น เ ท ศ | 2ประเภทของสารสนเทศ 1. โดยอาศยั ประสบการณ์ และความสามารถของผู้บรหิ ารเอง ผู้บริหารอาจกาหนดเงอื่ นไขและทาการเปลี่ยนแปลงเงอ่ื นไขต่างๆ ไปจนกระทั่งพบสถานการณท์ ี่เหมาะสมท่สี ดุ แล้วใช้เปน็ สารสนเทศทช่ี ว่ ยตดั สินใจ 2. เป็นระบบสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของผู้บริหาร โดยจัดทารายงานเพ่ือช่วยตัดสินใจของผู้บริหารระดับต่าง ๆ ด้วยการนาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ผล เพ่ือให้ได้ทางเลือกในการตัดสินใจได้หลายๆทางและให้ผู้ใช้ไดต้ ดั สนิ ใจเลอื กทางเลือกเอง 3. เป็นระบบเก่ียวกับธุระกรรมเกี่ยวกับการบันทึกข้อมูลหรือการปฏิบัติงานขององค์การเช่น การซ้ือขายสินค้า การบนั ทึกคลังจานวนสนิ คา้ หรือแมก้ ระท้งั วธิ ีชาระเงินของลูกค้า 4. เป็นระบบทผ่ี บู้ รหิ ารระดับกลางต้องการนาคอมพวิ เตอรเ์ ข้ามาชว่ ยจดั การสารสนเทศ โดยจะรวมทงั้สารสนเทศภายในและภายนอก สารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมท้ังอนาคต ซึ่งผลลัพธม์ ักจะอยู่ในรูปของรายงานสรปุ 5. เป็นระบบที่สนับสนุนงานในสานักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะประสานการทางานของบคุ ลากรรวมท้งั กับบุคคลภายนอก หรอื หน่วยงาน แบง่ ได้เปน็ 5 ประเภท คือ ระบบจัดการเอกสาร ระบบการจัดการข่าวสาร ระบบการทางานร่วมกัน /ประชุมทางไกล ระบบการประมวลภาพ และระบบการจัดการสานักงาน 6. สรา้ งขน้ึ เพอื่ สนบั สนนุ สารสนเทศและการตัดสินใจ สาหรับผู้บรหิ ารระดบั สูงโดยเฉพาะหรือ EIS 7. เป็นระบบคอมพิวเตอร์ท่ีถูกออกแบบมาให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ตัวอยา่ ง 8. ระบบประมวลผลรายการประจา (Transaction Processing Systems : TPS) 9. ระบบสารสนเทศเพ่อื การบริหาร (Management Information Systems : MIS) 10. ระบบสนบั สนุนการตัดสนิ ใจ (Decision Support Systems : DSS) 11. ระบบสารสนเทศเพอ่ื ผ้บู รหิ ารระดับสงู (Executive Information Systems : EIS) 12. ระบบผ้เู ชยี่ วชาญ (Expert System : ES) 13. ระบบสานกั งานอัตโนมัติ (Office Automation Systems : OAS) 14. EIS ก็คือส่วนหน่ึงของระบบ DSS ท่ีแยกออกมาเพ่ือเน้นในการให้สารสนเทศท่ีสาคัญต่อการบริหารแก่ผู้บริหารระดบั สงู สุด 15. ซึง่ ทาหนา้ ท่ีกาหนดแผนระยะยาวและเป้าหมายของกิจการ สารสนเทศสาหรับผู้บรหิ ารระดับสูงน้ีจาเป็นตอ้ งอาศยั ขอ้ มลู ภายนอกกิจกรรมเปน็ อย่างมาก
ข้ อ มู ล แ ล ะ ส า ร ส น เ ท ศ | 3 16. หลักการของระบบสร้างขึ้นจากแนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการตัดสินใจ โดยให้ผู้ใช้โตต้ อบโดยตรงกบั ระบบ ทาให้สามารถวิเคราะห์ ปรับเปล่ียนเง่ือนไขและกระบวนการพิจารณาได้ 17. ด้านการแพทย์ : การให้คาแนะนาแก่หมอในการสั่งยาปฏิชีวนะให้คนไข้ซึ่งต้องคานึงถึงปัจจัยต่างๆ2) ด้านการผลิต : การให้คาแนะนาแก่โรงงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ช้ินส่วนเคร่ืองบิน3) ด้านธรณีวิทยา : ให้คาแนะนาแก่นักธรณีวิทยาในการวิเคราะห์ดินและน้ามัน เพ่ือพิจารณาในการขุดเจาะน้ามัน4)ด้านกระบวนการผลิต : ให้คาแนะนาในการกาหนดตารางเวลาในกระบวนการผลิต (Expert SystemsScheduling) 18. ด้านกระบวนการทางานของบริษัทบัตรเครดิต : ใช้ ES ช่วยในกระบวนการทางานตั้งแต่การประมวลการสมัครของลูกค้า การอนุมัติเครดิต การรวมบัญชีท่ีค้างชาระเกินกาหนด6) ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ : การออกแบบ ES มาสาหรบั ชว่ ยบริษัทที่ทาธรุ กจิ ตา่ ง7) ดา้ นการคา้ ระหว่างประเทศ บริษัทท่ีติดต่อกบั กลุ่มประเทศ NAFTA ต้องเผชิญปญั หากบั ภาษแี ละกฎระเบยี บทสี่ ลบั ซับซ้อนสาหรบั สนิ ค้าต่างๆการจัดการสารสนเทศ การจัดการสารสนเทศมี 3 ข้ันตอน คือ การเก็บรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลข้อมลู และการดแู ลรกั ษาข้อมลูการเกบ็ รวบรวมและตรวจสอบขอ้ มลู เปน็ ข้นั ตอนแรกในการจัดการสารสนเทศ ซึง่ ควรกระทาควบคู่กันไป คอื เมอ่ื เก็บรวบรวมข้อมูลได้แลว้ ก็ทาการตรวจสอบข้อมูลนนั้ ทนั ที เพ่อื ให้ไดข้ อ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ งตามความต้องการมากทส่ี ุด 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นการจัดการกับข้อมูลจานวนมาก จึงควรกาหนดว่าจะต้องใช้ข้อมูลอะไร บา้ ง ขอ้ มลู ไดม้ าจากไหน และจัดเกบ็ ข้อมูลน้ันมาได้อยา่ งไร 2. การตรวจสอบขอ้ มูล เปน็ การตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมูลทเ่ี กบ็ รวบรวมมาเพื่อไดส้ ารสนเทศที่คุณภาพการประมวลผลข้อมูล การประมวลผลข้อมลู คือ การนาข้อมลู ท่ีมอี ยู่แล้วหรือขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากการเกบ็ รวบรวมและตรวจสอบมากระทาเพ่อื ให้ขอ้ มูลเปล่ยี นแปลงไปจนเกิดผลลัพธต์ ามทตี่ ้องการ ดงั นี้ 1. การรวบรวมเปน็ แฟม้ ขอ้ มูล เปน็ การแยกประเภทของขอ้ มลู ทเี่ ก็บรวบรวมมาอยา่ งเป็นระบบตามกล่มุและประเภทของข้อมูลนน้ั เพอ่ื ให้สามารถดาเนินการในขน้ั ตอนต่อไปได้อย่างสะดวกและรวดเรว็ ยิ่งข้ึนทัง้ นอี้ าจเกบ็ ไวใ้ นรูปของแฟ้มเอกสารหรือแฟ้มขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนิกสใ์ นคอมพิวเตอร์กไ็ ด้
ข้ อ มู ล แ ล ะ ส า ร ส น เ ท ศ | 4 2. การจัดเรียงข้อมูล เป็นข้ันตอนการประมวลผลข้อมูล เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหาหรืออ้างอิงข้อมูลในอนาคต 3. การคานวณ เปน็ การประมวลผลทตี่ ้องการผลลัพธ์หรือสารสนเทศท่ีมีความละเอยี ดถกู ตอ้ ง แมน่ ยาเนื่องจากทีร่ วบรวมและจัดเก็บมาน้ันอาจมที ้ังรูปแบบของข้อความและตวั เลข ซง่ึ ต้องมกี ารคานวณหาค่าเฉล่ียหรือ ผลรวมของขอ้ มูลน้นั ๆ 4. การทารายงาน เป็นการประมวลผลที่มีความสลับซับซอ้ นมากทีส่ ุด โดยมีจดุ ประสงคห์ ลักเพื่อเผยแพร่ข้อมูลในอนาคต ผู้ดาเนินการจะต้องสรุปข้อมูลเพื่อทารายงานให้ตรงกับความต้องการในการใช้สารสนเทศนนั้ ๆ โดยจะตอ้ งนาเสนอรายงานในรูปแบบทส่ี อดคล้องกบั วัตถุประสงค์ของการจดั การสารสนเทศการประมวลผล กระทาใด ๆ ก็ตามที่ทาให้สารสนเทศเปลี่ยนไป และสามารถสังเกตการเปล่ียนแปลงได้โดยผู้สังเกต(observer) กล่าวคือ เป็นกระบวนการและหรือวิธีการ ท่ีทาให้ข้อมูลข่าวสารความรู้ใดก็ตาม แปลรูปไปเป็นข้อมูลชนิดใหม่ท่ีใหค้ วามหมายหรือคงรปู แบบเดิมเอาไว้ เช่น การเจริญเตบิ โตของต้นไม้ ไดถ้ กู สังเกตการณ์และบันทึกไว้ เป็นไฟล์คอมพิวเตอร์แบบตารางเพื่อจัดเก็บข้อมูลทางสถิติของการเจริญเติบโตของต้นไม้ และนาข้อมูลนั้นเปลยี่ นไปเป็นกราฟแสดงใหเ้ หน็ ถึงอตั ราการเจริญเตบิ โต การประมวลสารสนเทศ ยังหมายถึงการประมวลผลข้อมูลสารสนเทศที่ถูกจัดเก็บไว้ในรูปของไฟล์ในคอมพิวเตอร์ ได้ถูกอ่านขึ้นมาจากท่ีจัดเก็บ (storage) เพ่ือเอาไปประมวลผ่านหน่วยประมวลผล (processor)เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมาและแสดงผลออกมาในหน่วยแสดงผลทางหน้าจอหรือทางพรินเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับขอ้ มูลทต่ี ้องการไดอ้ ย่างถกู ต้อง นอกจากนั้น การประมวลสารสนเทศ ยังมีความหมายในเชงิ จิตวิทยาว่าด้วยเรื่องกระบวนการรับรู้ ซ่ึงเกยี่ วกบั การศกึ ษาเพือ่ ใหเ้ ข้าใจวิธีการคิดของมนษุ ย์ การประมวลสารสนเทศ หรือ Information processing เป็นการเปลี่ยนแปลง (การประมวลผล)ของ ข้อมูลสารสนเทศด้วยวิธีการใด ๆ ที่สามารถมองเหน็ ได้ดว้ ยการสงั เกต ลักษณะทก่ี ล่าวถงึ เปน็ กระบวนการที่สามารถอธิบายได้ว่า ทุก ๆ สิ่งท่ีเกิดข้ึนในโลกน้ี ต้ังแต่ การตกของก้อนหินหน่ึงก้อน (ลักษณะของตาแหน่งท่ีถูกเปลี่ยนแปลง) ไปจนถึง การพิมพ์ตัวอักษรจากระบบคอมพิวเตอร์ดิจิตอล ต่อมาจึงมีการกล่าวขานว่า การประมวลสารสนเทศ เปน็ การเปล่ียนแปลงของขอ้ ความตัวอักษรให้เปน็ การแสดงผล ในรูปแบบ presentationสิ่งพมิ พ์หรือเอกสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ในคอมพวิ เตอรก์ ็ได้
ข้ อ มู ล แ ล ะ ส า ร ส น เ ท ศ | 5ระดบั ของสารสนเทศ1. ระดบั บคุ คล ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับบุคคลน้ัน จะเป็นการที่แต่ละบุคคลในองค์กรจะสร้างและใช้สารสนเทศเพ่ือเพ่ิมประสิทธภิ าพในการทางานสว่ นตวั เท่านั้น เช่น การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิรด์ ในการพมิ พ์เอกสาร การใชโ้ ปรแกรมไมโครซอฟตพ์ าวเวอรพ์ อยต์ในงานนาเสนอสาหรบั การสอนหรอื บรรยาย โดยสามารถกรอกข้อความ ตาราง ภาพ ภาพเคลื่อนไหวและเสียง ท่ีช่วยดึงดูดให้ผู้ฟังสนใจตลอดเวลา การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซลล์กรอกข้อมูล คานวณ สร้างกราฟ และทานายผลลัพธ์ของข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นตน้2. ระดับกลุ่ม ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับกลุ่มน้ัน จะเป็นการท่ีกลุ่มของคนในองค์กรที่ต้องทางานร่วมกนั จะสร้างและใช้สารสนเทศรว่ มกัน ซ่ึงจะสง่ เสรมิ การดาเนนิ งานของกลุม่ ใหม้ ีประสิทธภิ าพมากขน้ึ หลักการ คือ นาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาเช่ือมโยงกันเป็นเครือข่ายระยะใกล้หรือระยะไกล ทาให้มกี ารใชท้ รพั ยากร ไดแ้ ก่ ข้อมูลและอปุ กรณเ์ ทคโนโลยีพื้นฐานรว่ มกนั3. ระดบั องคก์ ร ระดับของการเก่ียวข้องกับสารสนเทศในระดับองค์กรนั้น จะเป็นการที่แผนกต่าง ๆ ในองค์กร เช่นแผนการขายและการตลาด แผนการผลิต แผนกจัดซ้ือ แผนกบคุ คล แผนกการเงินและการบัญชี เป็นตน้ มกี ารสร้างและส่งผ่านสารสนเทศจากแผนกหนึ่งไปยังอีกแผนกหน่ึงได้โดยสร้างสารสนเทศในรูปแบบรายงาน หรือกราฟเพอ่ื ให้ผู้บรหิ ารนาไปประกอบการตดั สนิ ใจได้
ผงั มโนทัศสรปุ เนื้อหา ข้ อ มู ล แ ล ะ ส า ร ส น เ ท ศ | 6 ข้อมลู สารสนเทศ ข้อมลู คือสง่ิ ตา่ งๆ หรือข้อเท็จจริงที่เราสนใจ ซง่ึ ได้รับจากประสาทความหมายและประเภทของข้อมลู และ สมั ผสั หรือสอ่ื ตา่ งๆ การแบง่ ประเภทของข้อมลู ขนึ ้ อยกู่ บั ความสารสนเทศ ต้องการของผ้ใู ช้ และเกณฑ์ทน่ี าไปมาพจิ ารณาการจดั การสารสนเทศ สารสนเทศ คือ สงิ่ ที่ได้จากการประมวลผลข้อมลู เพ่ือนามาใช้ ประโยชน์ด้านการวางแผน การพฒั นา การควบคมุ และการ วธิ ีการประมวลผลข้อมลู ตดั สนิ ใจการแบง่ ประเภทของสารสนเทศสามารถแบง่ ได้หลาย รูปแบบ เชน่ การแบง่ สารสนเทศตามหลกั แหง่ คณุ ภาพ ตามแหง่ ระดบั ของสารสนเทศ กาเนดิ ตามสาขา ความรู้ และตามการนาไปใช้งาน การจดั การสารสนเทศเป็นการดาเนินการหรือกิจกรรม ตา่ งๆ ที่เกี่ยวกบั สารสนเทศ นามาจดั ทาเป็นฐานข้อมลู โดยมงุ่ เน้นที่จะรวบรวม ประมวลผล และเผยแพร่ ข้อมลู ซงึ่ สามารถดาเนินการได้โดยการเก็บรวบรวม และตรวจสอบข้อมลู การประมวลผลข้อมลู และการ ดแู ลรักษาข้อมลู การประมวลผลข้อมลู สามารถทาได้ด้วยการประมวลผลแบบ กลมุ่ คือการประมวลทเี่ ก็บสะสมข้อมลู ได้ช่วงหนง่ึ แล้วจงึ ทา การประมวลผลแบบทนั ที คอื การ ประมวลผลทเ่ี กิดขนึ ้ พร้อม กบั ข้อมลู ที่ได้รับในขนาดนนั้ สารสนเทศมคี วามสาคญั กบั ผ้ใู ช้ในทกุ ระดบั องค์กร สามารถ แบง่ สารสนเทศตามระดบั ขององค์กรเป็นสารสนเทศระดบั บคุ คลสารสนเทศระดบั กลมุ่ และสารสนเทศระดบั องค์กร นอกจากนยี ้ งั สามารถแบง่ สารสนเทศตามระดบั ของผ้บู ริหารได้ เป็นผ้บู ริหารระดบั ลา่ ง ผ้บู ริหารระดบั กลาง และผ้บู ริหาร ระดบั สงู อกี ด้วย
ข้ อ มู ล แ ล ะ ส า ร ส น เ ท ศ | 7อ้างอิง ร.ศ.ดร. อำนวย เดชชัยศรี. (2556). เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1. กรุงเทพมหำนคร : วัฒนำพำนิชจำกดั จุฬำลัย ปำนพยับ. (2556). หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ (ออนไลน์). แหล่งท่ีมำ :https://th.wikipedia.org/wiki สืบคน้ เมอ่ื 18 กรกฎำคม พ.ศ.2561
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: