Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรม การบริหารโรงเรียนบ้านดงยาง

นวัตกรรม การบริหารโรงเรียนบ้านดงยาง

Published by ไปรยา เย็นสรง, 2021-08-30 16:02:24

Description: นวัตกรรม การบริหารโรงเรียนบ้านดงยาง

Search

Read the Text Version

การบรหิ ารโรงเรียนขนาดเลก็ ส่มู าตรฐานด้วย “DONGYANG MODEL” โรงเรียนบ้านดงยาง ตำบลวังเยน็ อำเภอเมือง จังหวดั กาญจนบรุ ี สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ก คำนำ เอกสารการนำเสนอผลงานโรงเรียนขนาดเล็กของโรงเรียนบ้านดงยางฉบับน้ี จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการบริหารจัดการของ สถานศกึ ษาโรงเรยี นขนาดเลก็ ของสำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้น พื้นฐาน ที่ต้องการส่งเสริมโรงเรียนขนาดเล็กที่มีการบริหารจัดการทั้งด้านการมีส่วนร่วม ด้านโอกาสทาง การศึกษาและคุณภาพ การศกึ ษาทมี่ ีประสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ล โรงเรียนบ้านดงยางได้จัดทำนวตั กรรมด้านการพัฒนาการศึกษา โดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ทั้งนี้โรงเรียนได้ รวบรวมหลักฐาน เอกสารจากกจิ กรรมต่าง ๆ ที่โรงเรียน ดำเนนิ การมาเพ่ือเสรมิ สรา้ งคณุ ภาพแกน่ ักเรียนซ่งึ เป็นเปา้ หมายการพัฒนา เอกสารฉบับนี้จัดทำสำเร็จได้รับความร่วมมือ ร่วมใจของคณะครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนที่ทำกิจกรรมต่าง ๆ ของ โรงเรยี นในภาพรวมประสบผลสำเร็จด้วยดี จนสง่ ผลทำใหค้ ะแนนเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรยี นผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน และ ผลการสอบ NT สูงกว่าระดับประเทศ รวมถึงผลการพัฒนานักเรียนในด้านต่าง ๆ มีการพัฒนาขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งเป็นความ ภาคภูมิใจของโรงเรยี น เป็นอย่างย่ิง ทางโรงเรียนขอขอบพระคณุ ผู้ทีเ่ กี่ยวข้องทกุ ท่านมา ณ โอกาสนี้ และหวังเป็นอยา่ งยิ่งว่า เอกสาร ฉบับ น้จี ะเปน็ ประโยชนต์ ่อการพัฒนาโรงเรียนขนาดเลก็ ทีม่ บี ริบทใกล้เคยี งกนั สืบไป โรงเรียนบา้ นดงยาง

สารบญั ข คำนำ หน้า สารบญั สภาพบรบิ ทโรงเรียน ก ขอ้ มูลพ้ืนฐานของโรงเรยี น ข การบรหิ ารโรงเรยี นขนาดเล็กสู่มาตรฐานด้วย “DONGYANG MODEL 1 ความเป็นมาของนวตั กรรม 3 ทม่ี าและความสำคัญของปญั หา 7 การออกแบบนวตั กรรม 7 การดำเนนิ การพัฒนานวตั กรรม 7 การมีสว่ นรว่ มในการพัฒนานวัตกรรม 8 ผลทเ่ี กิดจากการนำนวัตกรรมไปใช้ 14 ประโยชนข์ องนวตั กรรมในการแกป้ ัญหาหรือพัฒนาคุณภาพของกลมุ่ เป้าหมาย 24 การใช้ทรัพยากรในการพฒั นานวัตกรรม 24 การเรยี นรู้ร่วมกนั ในการพัฒนานวตั กรรม 30 ลักษณะของนวัตกรรมท่นี ำไปใช้ 30 การยอมรับนวัตกรรม 30 บทเรยี นทีไ่ ด้รบั 30 ผลงานท่ีสำเรจ็ 32 32 ผลงานทเี่ กิดกับสถานศึกษา 34 ผลงานทเ่ี กดิ ข้นึ กบั ผ้บู รหิ าร 34 ผลงานของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 35 ผลงานนกั เรยี น 35 ภาคผนวก 39 41

1 การบรหิ ารโรงเรยี นขนาดเลก็ สมู่ าตรฐานด้วย “DONGYANG MODEL” โรงเรยี นบ้านดงยาง ตำบลวังเย็น อำเภอเมืองกาญจนบรุ ี สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 1 1. สภาพบรบิ ทโรงเรยี น 1.1 ที่ต้ังและขนาด โรงเรียนบ้านดงยาง เป็นโรงเรยี นขนาดเล็ก ตง้ั อยทู่ ี่บา้ นเลขที่ 35 หมทู่ ่ี 1 ตำบลวังเยน็ อำเภอเมืองกาญจนบุรี จงั หวดั กาญจนบุรี สงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน รหัสไปรษณีย์ 71000 ก่อสร้างขึ้นบนที่ดินที่ราษฎรบริจาค ที่ดินดังกล่าวได้รายงานขึ้นทะเบียน ที่ราชพัสดุ แปลง หมายเลขท่ี กจ. 271 มีอาณาเขต ดังนี้ ทศิ เหนอื จรดท่ดี นิ เอกชน ทิศตะวันออก จรดถนนสาธารณะ ทิศตะวันตก จรดที่ดนิ เอกชน ทิศใต้ จรดท่ดี นิ เอกชน 1.1 ประวัติของโรงเรยี น โรงเรียนบ้านดงยาง สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2511 เดิมตั้งอยู่ในเขตหมู่ 7 บ้านดงยาง ตำบลกลอนโด อำเภอเมือง กาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี โดยความเดิมก่อนการก่อตั้งโรงเรียนขึ้นมานั้น ชาวบ้านได้ส่งบุตรหลานเข้าเรียนท่ี โรงเรียนวัดยางเกาะ ซึ่งตั้งอยู่ฝัง่ ตรงข้ามกบั ลำน้ำแควน้อย เด็กนักเรียนต้องข้ามเรือโดยสารไปเรียนเป็นประจำทุกวนั และตอ่ มาได้เกิดอุบัติเหตุเรือล่มเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2510 เด็กนักเรียนเสียชวี ติ ไป 6 คน ชาวบ้านจึงพร้อมใจ กันสร้างโรงเรียนบ้านดงยางขึ้น โดยมีแกนนำคือนายอิ่ม จันทสูตร (ผู้ใหญ่บ้านในสมัยนั้น) นายสำรวย – นางสำราญ โชคเทอดธรรม บริจาคที่ดินให้เป็นสมบัติของทางราชการ คิดเป็นเนื้อที่ 6 ไร่ นายบุ้น ศิริมั่ว บริจาคที่ดิน 2 งาน ร่วมกบั ชาวบา้ นสละกำลังแรงงานและกำลังทรัพย์ ก่อสรา้ งอาคารเรยี นแบบ ป.1จ. หลงั คามุงสงั กะสี เคร่ืองบนไม้จริง ไม่มีฝา ไม่ได้เทพื้น สิ้นค่าก่อสร้างเป็นเงิน 10,135.- บาท ก่อสร้างแล้วเสร็จและเปิดทำการสอนเมื่อ วันที่ 1 พฤษภาคม 2512 โดยมี นายวเิ ชยี ร เสนาบุตร ครโู รงเรียนวัดยางเกาะ ดำรงตำแหน่งครูใหญเ่ ปน็ คนแรก ในปี พ.ศ. 2517 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนถาวร แบบ ป.1 ก.ขนาด 4 ห้องเรียน เป็น งบประมาณจากทางราชการ 140,000.- บาท ต่อมาในปี พ.ศ.2533 ตำบลด่านมะขามเต้ียไดย้ กฐานะเปน็ กิ่งอำเภอ หมบู่ า้ นดงยางจงึ ได้แยกจากตำบลกลอนโด ก่งิ อำเภอด่านมะขามเตยี้ มาขนึ้ อยูก่ บั ตำบลวังเย็น อำเภอเมืองกาญจนบุรี สังกดั กลมุ่ โรงเรียนบ้านเก่าเปน็ ชน้ั อนบุ าล 1 อนุบาล 2 และอนุบาล 3 ตอ่ มาในปีการศึกษา 2541 ได้ยุบช้ันอนุบาล 3 เนื่องจากไม่มีความพร้อมในด้านอาคารสถานที่และบุคลากร แต่ยังคงเปิดทำการสอนชั้นอนุบาล 1 – 2 และช้ัน ประถมศึกษาปที ี่ 1 – 6 ตราประจำโรงเรยี น ปรัชญาของโรงเรยี น นตฺถิ ปญฺญา สมาอาภา  ปรชั ญา (ไม่มีแสงสวา่ งใด เสมอดว้ ยปญั ญา)

2  คำขวัญ ประพฤติดี กฬี าเดน่ เน้นความรู้ คูค่ ุณธรรม  สญั ลักษณ์ของโรงเรยี น ดอก – ผล ของต้นยาง  สปี ระจำโรงเรยี น ชมพู – เขียว สชี มพู หมายถึง สขุ ภาพสมบูรณ์แข็งแรง ความรัก ความสามคั คี ความปรารถนาดตี อ่ กนั สีเขียว หมายถงึ ความอุดมสมบรู ณ์ ความพอเพยี งท่ีอยู่เคียงคู่คุณธรรม อัตลักษณ์ มารยาทงามตามวถิ ีพทุ ธ เอกลักษณ์ มคี ุณธรรมนำสู่พอเพียง แผนทโ่ี รงเรยี นบ้านดงยาง

3 ๒. ขอ้ มลู พืน้ ฐานของโรงเรยี น ๒.๑ ชอ่ื สถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านดงยาง เลขที่ 35 หมู่ที่ ๑ ตำบลวังเย็น อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี รหัสไปรษณีย์ ๗๑ 000 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ เปิดสอนระดับชั้นอนุบาลถึงระดับช้ั น ประถมศึกษาปที ี่ 6 พื้นทที่ ั้งหมด 6 ไร่ 2 งาน - ตารางวา ๒.๒ ขอ้ มูลด้านการบรหิ าร ๑) ข้อมูลผู้บริหาร นางสาวรัชนกี รณ์ วงษ์ทพิ ย์ โทรศพั ท์ 093-5718666 วุฒกิ ารศึกษา ปรญิ ญาตรี ครุศาสตร-บัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา ปริญญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนน้ี ตง้ั แตว่ ันที่ ๑ มนี าคม ๒๕๖๒ จนถึงปัจจุบนั ๒.๓ ข้อมลู นักเรยี น (ณ วันที่ ๑๐ มิถนุ ายน ๒๕๖3) จำนวนนกั เรยี นในโรงเรยี นท้งั สนิ้ 43 คน จำแนกตามระดับชนั้ ทีเ่ ปิดสอน ชัน้ เรยี น จำนวน จำนวนนกั เรยี น ครูประจำชน้ั หอ้ งเรียน ชาย หญิง รวม อนบุ าล 1 อนบุ าล ๒ 1 1 4 5 นางสาวไอรนิ ทร์ ดอนแหยม อนุบาล ๓ 1 รวมกอ่ นประถมศึกษา 1 4 2 6 นางสาวไอรนิ ทร์ ดอนแหยม ประถมศึกษาปที ่ี ๑ 3 ประถมศึกษาปที ่ี ๒ 1 2 2 4 นางสาวไอรินทร์ ดอนแหยม ประถมศึกษาปที ่ี ๓ 1 ประถมศึกษาปีที่ ๔ 1 7 8 15 ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ 1 ประถมศึกษาปีที่ ๖ 1 2 3 5 นางสาวพัชรี กิตกิ าญจน์ 1 รวมประถมศึกษา 6 2 1 3 นางสาวพชั รี กิติกาญจน์ รวมทั้งหมด 9 2 2 4 นางสาวกันธิมา สายมี 3 1 4 นางสาวกันธมิ า สายมี 3 3 6 นายภาณพุ งศ์ อว่ มบุตร 4 2 6 นายภาณุพงศ์ อ่วมบุตร 16 12 28 23 20 43 เขตบรกิ ารการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น พืน้ ท่บี รกิ าร 1 หมบู่ า้ น คอื หมูท่ ่ี ๑ บา้ นดงยาง

4 ๒.๔ ขอ้ มลู ครแู ละบคุ ลากร ตำแหนง่ ท่ี เลขท่ี ช่ือ – สกลุ ว/ด/ป วนั เดือนปี วิชาเอก ตำแหนง่ วทิ ยฐานะ บรรจุ ๑ 809 น.ส.รชั นีกรณ์ 4 เม.ย.20 1 ธ.ค.48 ค.ม.การบรหิ าร ผู้อำนวยการ ชำนาญการ วงษ์ทพิ ย์ การศกึ ษา พิเศษ ๒ 813 น.ส.ไอรนิ ทร์ 28 มี.ค.29 9 ส.ค.53 ค.บ.การศึกษา คศ.3 ชำนาญการ ดอนแหยม ปฐมวัย พเิ ศษ ๓ 814 น.ส.พชั รี 20 ม.ค.05 16 พ.ค. 32 ค.บ. คศ.2 ชำนาญการ กติ ิกาญจน์ บรรณารกั ษ์ ๔ 812 นายภาณพุ งศ์ 29 ส.ค.34 5 พ.ย 61 วท.บ.ชวี วทิ ยา ครคู ศ.1 - อ่วมบุตร ๕ - น.ส.ลดาวลั ย์ 2 ก.ค.34 17 พ.ย.58 ค.บ.เทคโนโลยี ครอู ัตราจา้ ง - ศักด์ิสงั วร สารสนเทศและ สอ่ื สาร การศกึ ษา ๖ - น.ส.กันธิมา 24 ก.ย.35 13 ธ.ค.59 ค.บ.เทคโนโลยี ครูอตั ราจ้าง - สายมี สารสนเทศและ สอื่ สาร การศกึ ษา ๗ - น.ส.ประภสั สร 10 พ.ค.35 19 พ.ย.61 ค.บ.เทคโนโลยี เจา้ หน้าท่ี - กองป้อง สารสนเทศและ ธุรการ สอื่ สาร การศกึ ษา

5 ๒.๕ จำนวนบคุ ลากร จำแนกตามระดบั การศกึ ษา เพศ ระดบั การศึกษา ประเภทบุคลากร ชาย หญงิ ต่ำกว่า ป.ตรี ป.โท ป.เอก ป.ตรี ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา ข้าราชการครู -๑- -๑- พนกั งานราชการ ครูอัตราจา้ ง 1๒ - 21 - นกั การภารโรง เจ้าหนา้ ท่ธี ุรการ ------ รวม -2-2- - ๒.๖ ข้อมลู อาคารสถานท่ี ๑-๑- - - -1-๑- - 26152 - ลำดบั แบบอาคาร จำนวน/หลัง จำนวนหอ้ ง/ที่ ๑. อาคารเรยี น ๑ หลงั ๖ ห้อง - แบบ ป.๑ จ ๑ หลงั ๘ ห้อง - แบบ ป.๑ ก ๑ หลงั - ๖ ทนี่ ่งั ๒. อาคารอเนกประสงค์ 2 หลงั ๑ สนาม ๓. ส้วม ๑ สนาม ๑ สนาม - แบบ อน่ื ๑ สนาม ๑ สนาม ๑ สนาม ๑ สนาม 4. สนามกฬี า ๑ สนาม 1 หอ้ ง - สนามตะกรอ้ ๑ หลงั - สนามวอลเลย์บอล - สนามฟุตบอล ๕. อาคารประกอบอนื่ ๆ - สนามเดก็ เลน่ - โรงอาหาร

6 ๒.7 ลกั ษณะของชุมชน สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนเกษตรกรรมในชนบท ตั้งอยู่นอกเขตเทศบาล ภายใน หมบู่ ้านมรี ะบบสาธารณปู โภค ถนนลาดยาง มไี ฟฟา้ ใช้ทกุ หลังคาเรือน มีระบบประปาหมู่บ้า แต่ยังบริการได้ไม่ครบทุก หลังคาเรือน เนื่องจากลักษณะของชุมชน จะตั้งบ้านเรือนในเขตพืน้ ที่การเกษตรของตนเอง จึงทำให้บางหลังคาเรือน ยงั อยู่นอกเขตรศั มกี ารบรกิ ารประปา อาชีพของประชากรสว่ นใหญ่ทำการเกษตรกรรม พณิชยกรรม รับจ้าง ตามลำดับ เศรษฐกิจของประชากรไม่ค่อยดีนัก เนื่องจากปัญหาเรื่องของราคาพืชผลทางการเกษตรไม่แน่นอน ผลผลิตเสียหาย ต้นทุนทางการเกษตร เช่น ค่าเมล็ดพันธ์พืช ค่ารถไถ ค่ายา สารเคมี ค่าปุ๋ย ฯลฯ มีราคาสูง และค่าครองชีพ อื่น ๆ สงู ข้ึน ในขณะท่รี ายไดล้ ดต่ำลง โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรยี น อยู่ใกล้แหลง่ เรยี นรู้ และอยู่ใกล้กับวัด ไดร้ บั การสนับสนุนจากเจ้าอาวาสเป็นอย่างยิ่ง เจ้าอาวาสสนับสนุนเรื่องของการเรียนการสอนหลักธรรม และนำนักเรียนที่เรียนเข้าร่วมสอบธรรมศึกษาและยังมอบ เสื้อผ้า ของใช้และทุนการศึกษาให้กับนักเรียนตามโอกาสต่าง ๆ เมื่อโรงเรียนได้จัดกิจกรรมเกี่ยวกับโรงเรียนวิถีพุทธ หรือกิจกรรมอื่น ๆ เจ้าอาวาสให้การสนับสนุน และโรงเรียนยังอยู่ใกล้องค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น ซึ่งได้รับเงิน สนับสนนุ ในด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน สภาพเศรษฐกิจของชุมชน ประชากรส่วนใหญ่มีฐานะยากจน ใช้เวลาในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม และรับจา้ งทั่วไป ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษาเปน็ อยา่ งดี โดยการเขา้ ประชุมและร่วมแสดงความคิดเห็น เพื่อร่วมกันพัฒนาโรงเรียน มีการเสียสละกำลังทรัพย์อย่างเต็มกำลังความสามารถแต่ก็ไม่เพียงพอ งบประมาณที่ได้รับ จัดสรรจากทางราชการของโรงเรียนมีข้อจำกัด ทำให้การพัฒนาตามโครงการต่าง ๆ มีปัญหาและอุปสรรคพอสมควร แหลง่ เรยี นรูใ้ นชุมชนและภูมปิ ัญญาชาวบ้าน ที่นักเรยี นสามารถศึกษาและฝึกประสบการณ์ได้คือ เรื่องสุขภาพอนามัย การทำอาหารคาวหวาน การทำการเกษตร แม้สภาพเศรษฐกิจของชุมชนไม่ค่อยดี แต่ก็ให้ความสนใจต่อการจัด การศึกษาของโรงเรียนมองเห็นความสำคัญและความจำเป็นต่อการศึกษาของบุตรหลาน ให้การสนับสนุนช่วยเหลือ กิจกรรมของโรงเรียนเป็นอยา่ งดี

7 “การบริหารโรงเรยี นขนาดเล็กสูม่ าตรฐานด้วย “DONGYANG MODEL” ความเป็นมาของนวตั กรรม เป็นสิง่ ใหมท่ ่ีไม่เคยมีหรือ ปรากฎมาก่อน การประชาสมั พันธ์ DONG YANG MODEL การออกแบบ รายงานผล ให้ผู้ท่ี สอดคล้องกบั สภาพปญั หาและ เก่ียวขอ้ งได้รบั ทราบ ความต้องการพัฒนา ทุก กจิ กรรมสอดคลอ้ งกัน การดำเนินการ ประชมุ ดำเนนิ ตามกิจกรรม กำกับ ติดตาม ประเมินผลพัฒนาอยา่ ง ตอ่ เนื่อง ๑. ทม่ี าและความสำคญั ของปญั หา โรงเรียนบ้านดงยาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ เป็นหน่วยงานทาง การศึกษาที่มีภารกิจที่สำคัญ คือ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ตามเป้าหมายของ พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ และตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลกั สตู รการศึกษาข้ันพื้นฐาน โรงเรียนบ้านดงยาง เป็นโรงเรียนขนาด เล็ก จากการศึกษา สภาพการบริหารจัดการ และผลที่เกิดขึ้นในการบริหารจัดการของโรงเรียนขนาดเล็ก พบว่า มี ปญั หาท่สี ำคญั ดงั น้ี ๑) การบริหารวิชาการ ครูไม่ครบชั้น และจำนวนผู้เรียนในแต่ละชั้นมีจำนวนน้อย ทำให้ครูไม่สามารถจัด กิจกรรมการเรียนการสอนให้หลากหลายได้ สังคมผู้เรียนคับแคบ การเรียนรู้ระหว่างผู้เรียนไม่กว้างพอ ผู้เรียนจึงมี ความจำกัดในการพฒั นาการเรยี นรู้ ทไ่ี มส่ ามารถเรียนรู้ได้ทุกเรื่อง ดงั น้นั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนอยู่ในระดับค่อนข้าง ต่ำ และผลคะแนนการสอบระดับชาติ (NT/O-NET) ควรได้รับการพัฒนาให้สูงขึ้น ซึ่งในการจัดชั้นเรียน ของ สถานศกึ ษาต้องจดั ช้นั เรียนให้ผู้เรยี นได้ศึกษาหาความรู้ ตามระดบั ชั้นให้สอดคลอ้ งกับหลกั สตู ร ๒) การบริหารงบประมาณ การจัดสรรงบประมาณให้แก่โรงเรียนขนาดเล็กมีค่อนข้างจำกัด ได้รับงบ ประมาณ ที่จะนำมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนไม่เพียงพอ ทั้งน้ี เพราะกระทรวงศึกษาธิการจัดสรรงบประมาณ ให้ตามรายหัวของจำนวนผู้เรียน โรงเรียนมีจำนวนผู้เรียนน้อย ทำให้ได้รับงบประมาณนอ้ ย ตามไปด้วยจึงไม่เพียงพอ ต่อการจัดการศึกษา และดูแลผู้เรียนได้อย่างมีคุณภาพ ทำให้ขาดแคลนทั้งอาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องสื่อ ต่าง ๆ อกี ทั้งยังต้องใช้จ่ายเงินจำนวนน้ีเพ่อื การสาธารณปู โภค และค่าดำเนินการอนื่ ๆ อีกหลายอยา่ ง

8 ๓) การบรหิ ารงานบุคคล ความขาดแคลนบคุ ลากรทจี่ ะจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยมคี รูไม่ครบช้ันเรียน ไมค่ รบกลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูหน่ึงคนต้องรับผิดชอบดูแลผเู้ รยี นหลายช้ัน หรอื รับผดิ ชอบชนั้ เดยี วแตต่ อ้ งสอนทุกกลุ่ม สาระ อีกทั้งโอกาสที่จะเจริญก้าวหน้าในหน้าที่ราชการก็มีจำกัดไม่เหมือนครูท่ีสอนในสถานศึกษาขนาดกลาง หรือ ขนาดใหญ่ ที่มโี อกาสได้รบั การพัฒนาตน พัฒนางาน และมคี วามก้าวหน้าในวชิ าชีพ ดงั นัน้ ถา้ ครูขาดขวัญและกำลังใจ ในการทำงาน จะมผี ลกระทบโดยตรงตอ่ ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล ในการทำงาน ท้งั ของตนเอง สถาบันการศกึ ษา และประเทศชาติ ๔) การบรหิ ารทัว่ ไป การไดร้ ับการส่งเสริมสนบั สนุนจากท้องถนิ่ ชุมชน ผูป้ กครองขาดความเชื่อม่ันในการจัด การศึกษา เพราะโรงเรียนขนาดเล็กส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในชุมชนที่ห่างไกลและมีปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ มีข้อจำกัด มากมาย เช่น ครูไม่ครบชนั้ ขาดสือ่ และเทคโนโลยสี มัยใหม่ ฯลฯ ซึ่งมผี ลกระทบต่อความม่นั ใจของผู้ปกครองในการส่ง บตุ รหลานมาเข้าเรยี น จากสภาพปัญหา ข้าพเจ้าได้ระดมความคิดทั้งจากคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการ สถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรยี น และชุมชน ที่จะพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนบ้านดงยางให้ได้คุณภาพตามมาตรฐาน ที่ประชุมมีมติว่าโรงเรียนควรมีการวางแผนที่ชัดเจน มีการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนใช้เทคโนโลยีในการจัด การศึกษา โดยครูเป็นคนช่วยกันคิด ช่วยกันทำ ในการจัดการเรียนรู้ และยึดวิถีพอเพียง มีการประเมินกิจกรรมการ เรยี นรูอ้ ย่างชัดเจน และประชาสัมพันธใ์ ห้ชมุ ชนรับทราบ ข้าพเจ้าจงึ ไดร้ ่วมกนั คิดนวัตกรรมขึ้นมา เพ่ือใช้ในการพัฒนา การศึกษาของโรงเรียนบ้านดงยาง คือ “นวัตกรรม การบริหารโรงเรียนขนาดเล็กสู่มาตรฐานด้วย “DONGYANG MODEL” ๒. การออกแบบนวตั กรรม 1. วัตถุประสงค์ ๑.1 เพ่อื เป็นเครื่องมือในการบรหิ ารจดั การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี นบา้ นดงยาง 1.2 เพอื่ ศึกษาผลการดำเนินงานในการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็ ด้วย “DONGYANG MODEL” 1.3 เพ่อื ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรยี นโรงเรียนบา้ นดงยาง 2. ความสำคัญของการดำเนนิ งาน การดำเนินงานตามแนวการบรหิ ารโรงเรียนขนาดเลก็ สู่มาตรฐานดว้ ย “DONGYANG MODEL” ทำให้ เกิดองค์ความรู้ให้เชิงการบริหารโรงเรียนที่ยึดข้อมูลเป็นฐานการดำเนินการพัฒนายกระดับคุณภาพ ด้วยการ เชื่อมโยง เครือข่าย สร้างความร่วมมือกันระหว่างโรงเรียนโดยยึดภาระงานหลักเป็นกรอบในการปฏิบัติงานและ ดำเนินการพัฒนาคุณภาพตามหลักและทฤษฎี การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (Schoolbased Management ; SBM) การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management ; RBM) และวงจรคุณภาพ (PDCA) บริหาร จัดการพัฒนาคณุ ภาพอย่างเปน็ ระบบและจดั กระทำอย่างต่อเนื่อง 3.1หลกั และทฤษฎที ีน่ ำมาเปน็ กรอบแนวคดิ ในการสร้าง Model ๑) การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-based Management ; SBM) เป็นรูปแบบการบริหาร โรงเรียน ตามแนวทางที่บัญญัติในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นรูปแบบการบริหารจัดการ โรงเรียน แนวใหม่ ที่มีการกระจายอำนาจบริหารจัดการทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการ บรหิ ารทว่ั ไป ไปยงั สถานศึกษามากขนึ้ เปน็ นวัตกรรมทางการบริหารที่ใหส้ ถานศึกษามีอิสระในการบรหิ ารและจัดการ เรยี นการสอนและทีส่ ำคญั คือ เปน็ การคืนอำนาจใหป้ ระชาชนไดเ้ ข้ามามสี ว่ นรว่ มในการจดั การศึกษาอยา่ งแทจ้ ริง

9 ทมี่ า : https://www.xmind.net/m/s4Jk/ หลักการสำคัญ ๑. หลักการกระจายอำนาจ (Decentralization) ซึ่งเป็นการกระจายอำนาจการจดั การศึกษา จากกระทรวง และสว่ นกลางไปยังสถานศกึ ษาให้มากที่สดุ โดยมีความเช่อื วา่ โรงเรยี นเป็นหน่วยสำคญั ในการเปล่ียนแปลงและพัฒนา การศึกษาเด็ก ๒. หลักการมีส่วนร่วม (Participation or Collaboration or Involvement) เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้อง และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีส่วนร่วมในการบริหาร ตัดสินใจ และร่วมจัดการศึกษา ทั้งครู ผู้ปกครองตัวแทนศิษย์เก่า และ ตัวแทนนักเรียน การที่บุคคลมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา จะเกิดความรูส้ กึ เปน็ เจ้าของ และจะรับผิดชอบในการจดั การศกึ ษามากข้นึ ๓. หลักการคืนอำนาจจัดการศึกษาให้ประชาชน (Return Power to People) ในอดีตการจัดการศึกษา จะ ทำหลากหลายทั้งวัดและองค์กรในท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินการ ต่อมามีการร่วมการจัดการศึกษาไปให้ กระทรวงศึกษาธิการ เพือ่ ใหเ้ กิดเอกภาพและมาตรฐานทางการศึกษา แตเ่ มอ่ื ประชากรเพ่ิมข้ึน ความเจริญต่างๆ ก้าว ไปอย่างรวดเร็ว การจัดการศึกษาโดยส่วนกลางเริ่มมีข้อจำกัด เกิดความล่าช้าและไม่สนองความต้องการของผู้เรียน และชมุ ชนอยา่ งแทจ้ ริง จึงตอ้ งมกี ารคนื อำนาจใหท้ อ้ งถิ่นและประชาชนไดจ้ ดั การศึกษาเองอีกครั้ง ๔. หลักการบริหารตนเอง (Self-managing) ในระบบการศึกษาทั่วไป มักจะกำหนดให้โรงเรียน เป็นหน่วย ปฏิบัติตามนโยบายของส่วนกลาง โรงเรียนไม่มีอำนาจอย่างแท้จริง สำหรับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานน้ัน ไม่ได้ปฏิเสธเรื่องการทำงานให้บรรลุเป้าหมาย และนโยบายของส่วนรวม แต่มีความเชื่อว่าวิธีการทำงานให้บรรลุ เป้าหมายนน้ั ทำได้หลายวิธี การท่ีส่วนกลางทำหนา้ ทีเ่ พียงกำหนดนโยบายและเปา้ หมาย แล้วปล่อยให้โรงเรยี นมีระบบ การบริหารด้วยตนเอง โดยใหโ้ รงเรยี นมีอำนาจหนา้ ท่แี ละความรบั ผดิ ชอบในการดำเนนิ งาน ซึง่ อาจดำเนนิ การได้

10 หลากหลายดว้ ยวธิ กี ารทแี่ ตกตา่ งกนั แล้วแตค่ วามพร้อมและสถานการณข์ องโรงเรยี น ผลท่ไี ด้นา่ จะมปี ระสิทธิภาพสงู กวา่ เดิม ที่ทุกอย่างกำหนดมาจากสว่ นกลาง ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรอื ทางอ้อม ๕. หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล (Check and Balance) ส่วนกลางมีหน้าที่กำหนดนโยบาย และควบคุม มาตรฐาน มีองค์กรอิสระทำหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพการบริหาร และการจัดการศึกษาเพื่อให้มีคุณภาพ และ มาตรฐานเป็นไปตามกำหนด และเปน็ ไปตามนโยบายของชาติ ลักษณะสำคัญของโรงเรยี น ที่บริหารงานแบบ (SBM) 1. บุคลากรทุกคนมีสว่ นร่วมในการกำหนด วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ ของโรงเรียน 2. ผู้บริหารมีการบรหิ ารงานแบบเก้ือหนนุ 3. มีการพัฒนาทงั้ ระบบอย่างต่อเน่ือง (Whole School Approach) 4. ผนู้ ำมีการกระต้นุ บุคลากรในโรงเรียน 5. การบริหารเชิงกลยุทธ์ เน้นการแก้ปัญหาได้ทนั การ 6. เน้นการทำงานเปน็ ทีม 7. ผู้ปกครองมสี ่วนในการสนบั สนุนโรงเรยี นอยา่ งเต็มที่ 8. ประเมนิ ผลท้ังระบบ ( Input , Process ,Output) 2) แนวคิดของการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management ; RBM) หรือแบบมุ่งเน้น ผลงาน เป็นวธิ ีการและเทคนคิ ทพี่ ัฒนาข้ึน ในราชการของประเทศสวีเดน เพื่อช่วยให้เกิดประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล ในระบบราชการ และเน้นหนักไปที่การบริหารระบบ การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ มักจะมีชื่อเรียกที่แตกต่างกัน ออกไป เช่น การบริหารงานโดยยึดวัตถุประสงค์ (Management by Objective ; MBO) การบริหารแบบเน้น ผลสำเร็จ (Managing for Results) การบริหารที่เน้นผล (Results – Oriented Management) หรือการบริหารผล การดำเนินงาน (Performance หรือการมุ่งเน้นให้ความสำคัญต่อผลสัมฤทธิ์ (ผลผลิตและผลลัพธ์) ซึ่งจะช่วยให้ หลักประกันและสามารถตอบคำถาม แกป่ ระชาชนไดว้ า่ การดำเนนิ งานของรัฐบาลและหนว่ ยงานราชการเป็นไปอย่าง มีคุณภาพ หรือเกิดความคุ้มค่าเงินภาษีอากรของประชาชนหรือไม่ เพียงใด โดยต้องการที่จะปรับปรุงระบบการ บริหารงานราชการให้มีความทันสมัย ขจัด ความไม่คล่องตัวทางการบริหาร ตลอดจนได้เปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ การบริหารแบบเดิม ที่มุ่งเน้นให้ความสำคัญ ต่อปัจจัยนำเข้าและกฎระเบียบ มาใช้วิธีการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ เพอื่ ปรับเปลยี่ นวธิ ีการบรหิ ารรัฐกจิ ให้มีลักษณะเป็นอยา่ งภาคธุรกิจเอกชน โดยมงุ่ เนน้ ถึงประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล ของการบริหาร กำหนด ยทุ ธศาสตร์ วัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายขององค์กร พร้อมทั้งต้องสร้างตวั บ่งชี้ความสำเร็จของ การดำเนินงานที่ชัดเจนและสามารถตรวจสอบได้ ส่วนราชการที่มีการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์สามารถผลิตผลงานที่มี คุณภาพมากกว่าเดิม โดยใช้งบประมาณน้อยลงเป็นการเพิม่ คุณค่าให้แกผ่ ลงานทัง้ ทางด้านประสิทธิผล ประสิทธิภาพ คุณภาพ และความพงึ พอใจของประชาชนผู้รับบริการ

11 3) วงจรควบคุมคณุ ภาพ (PDCA) การบริหารงานโดยใช้วงจรควบคุมคุณภาพ (PDCA) เป็นการทำงานที่เป็นระบบ มีเป้าหมายชัดเจน มีการ ดำเนินตามแผน มีการตรวจสอบประเมินผล และมีการปรับปรุงแก้ไข เป็นวงจรต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จที่ คาดหวงั และ เพ่อื แสวงหาสภาพทด่ี กี ว่า วงจรควบคุมคณุ ภาพ (PDCA) ประกอบดว้ ย ขน้ั ตอนที่ ๑ การวางแผน (Plan) ได้แก่ การเตรียมการไวล้ ว่ งหน้าเพือ่ จะทำงานใหส้ ำเร็จ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยกำหนดเป้าหมาย จดั ทำแผนตามเปา้ หมาย แนวทางการดำเนนิ งาน ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รบั ผิดชอบ และการ ประเมินผล ขั้นตอนที่ ๒ การดำเนินตามแผน (Do) ได้แก่ การดำเนินงานต่อเนื่องจากการวางแผน โดยมีการอบรม ประชุมชี้แจง มอบหมายผู้รับผิดชอบ และให้การสนับสนุนงบประมาณ ทรัพยากร บุคลากร และดำเนินการ นิเทศ แนะนำ กำกบั ตดิ ตาม เพ่อื ใหง้ านเป็นไปตามแผนท่ีกำหนด ขั้นตอนที่ ๓ การตรวจสอบ (Check) ได้แก่ การประเมินผลการปฏิบัติตามแผน โดยจัดให้มีการประเมินผล ตาม แผนที่กำหนด วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุที่เกี่ยวข้อง จากการเปรียบเทียบระหว่างเป้าหมายกับการดำเนินตาม แผน เพ่ือ จะทราบวา่ ตอ้ งปรับปรุงแกไ้ ขอยา่ งไร ขั้นตอนที่ ๔ การปรบั ปรุงแกไ้ ข (Act) ไดแ้ ก่ การนำผลการวิเคราะห์ปญั หา และสาเหตทุ ่ีเก่ียวขอ้ งมาปรับปรุง แกไ้ ข และหากผลการดำเนินงานยงั ไม่เปน็ ไปตามเป้าหมายก็ต้องปรับเปลีย่ นวิธีการดำเนินงานใหม่ให้เหมาะสมในการ วางแผนระยะตอ่ ไป แต่ถ้าผลการประเมินพบว่างานสำเรจ็ ตามเปา้ หมายแล้ว ในการวางแผนครงั้ ต่อไปต้องปรับเปลี่ยน เปา้ หมายให้สูงขน้ึ เพ่ือใหเ้ กดิ การพฒั นา และจดั ทำรายงานไว้เป็นหลักฐาน ทีม่ า : https://sites.google.com/site/klumtalung/khorngsrang 4. คำกำจัดความของคำว่า “DONGYANG MODEL” ดงั นี้ D = Development (การพัฒนา) Y = Yourself (การพึ่งพาตนเอง) O = Objective (วัตถปุ ระสงค์) A = Achievement (ความสำเร็จ) N = Nice Plan (การวางแผนปฏิบัตงิ านทีด่ เี ย่ียม) N = Network (เครือขา่ ย) G = Good Govervance (หลักธรรมาภิบาล) G = Good Teamwork (ทมี งานทีด่ ี)

5. นำนวัตกรรม “DONGYANG MODEL” มาจัดเรียงลำดับตามกระบวนการบริหารจดั การ ดงั นี้ 12 D O N G Y A N G Development Objective Nice Plan(การ Good Govervance Yourself Achievement Network Good (การพัฒนา) (วตั ถุประสงค์ วางแผนปฏบิ ัตงิ าน (หลักธรรมาภิบาล) (การพงึ่ พาตนเอง) (ความสำเร็จ) (เครือข่าย) Teamwork ) ทีด่ เี ยีย่ ม) (ทีมงานทีด่ )ี 3 4 5 7 8 2 1 6 6. ใช้กระบวนการ PDCA ในการบรหิ ารจัดการนวตั กรรม “DONGYANG MODEL” ๑) การวางแผน Plan N (Nice Plan) การวางแผนปฏิบัติงานที่ดีเยี่ยม หมายถึง การวางแผนโดยอาศัยทฤษฎีการบริหารอย่าง หลากหลาย ได้นำหลักและทฤษฎีการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ วงจรควบคุม คุณภาพ (PDCA) หลักธรรมาภิบาล มาใช้เปน็ กลไกสำคัญในการพัฒนาระบบงาน และเปน็ ตวั ขบั เคล่อื นการดำเนินงาน ของบุคลากรใน ฝ่ายงานต่าง ๆ ทำให้การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนมีประสิทธิภาพโดยทุกฝ่าย ต้องมีส่วนร่วมใน การวางแผนปฏบิ ัติ ตรวจสอบ ประเมินผล แกไ้ ขปรบั ปรุง เพือ่ การพัฒนาคุณภาพอย่างเป็นระบบ และจัดกระทำอย่าง ตอ่ เนอื่ ง มคี ณุ ภาพได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ๒) ปฏบิ ัติตามแผน Do ปฏิบัติงานตามแผน โดยการพัฒนาการบริหารจัดการ พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน โดยการยึดหลัก ธรรมาภิบาล และสามารถพึ่งพาตนเองได้ พัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันด้วยนวัตกรรมใหม่ มีระบบข้อมูลสารสนเทศ ท่ที ันสมยั ด้วยทมี งานท่มี คี ณุ ภาพ ดงั น้ี D = Development (การพฒั นา) Y = Yourself (การพึง่ พาตนเอง) O = Objective (วัตถปุ ระสงค์) A = Achievement (ความสำเร็จ) N = Nice Plan (การวางแผนปฏิบตั งิ านทดี่ เี ย่ียม) N = Network (เครอื ข่าย) G = Good Govervance (หลักธรรมาภบิ าล) G = Good Teamwork (ทมี งานที่ดี) ๓) ตรวจสอบ Check ตรวจสอบคุณภาพตามตวั ชวี้ ดั ที่ A = Achievement (ความสำเร็จ) ๔) ปรับปรงุ แก้ไข Action นำผลที่ได้ประชาสมั พันธใ์ หผ้ ู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ งทราบและนำที่ไดไ้ ปพัฒนาอย่างยง่ั ยนื N = Network (เครอื ขา่ ย)

13 Flow Chart นวตั กรรมการบริหารโรงเรียนขนาดเลก็ สู่มาตรฐาน ดว้ ย“DONGYANG MODEL” การวเิ คราะหส์ ภาพ ปญั หาของโรงเรียน Swot Analysis Plan (1) N = Nice Plan (การวางแผนปฏบิ ตั ิงานทด่ี เี ยย่ี ม) (๒) O = Objective (วัตถปุ ระสงค์) (๓) D = Development (การพัฒนา) DO (๔) G = Good Govervance 1. โรงเรียนมีคณุ ภาพ (หลกั ธรรมาภบิ าล) ตามมาตรฐาน Feedback (๕) Y = Yourself 2. นกั เรียนมี (การพ่ึงพาตนเอง) ผลสมั ฤทธิ์ทางการ เรยี นทด่ี ีข้ึน (๖) G = Good Teamwork (ทีมงานที่ด)ี Check No (๗) A = Achievement (ความสำเรจ็ ) Yes Action (๘) N = Network (เครอื ข่าย)

14 3. การดำเนินการพัฒนานวตั กรรม ข้ันตอน วธิ ปี ฏบิ ตั ิ การดำเนินการพฒั นานวตั กรรมการบริหารโรงเรียนขนาดเลก็ สูม่ าตรฐาน ด้วย DONGYANG MODEL ในการดำเนนิ งาน ใชว้ งจรควบคมุ PDCA ดังนี้ ๑. การวางแผน Plan N = Nice Plan “การวางแผนปฏิบัติงานที่ดีเยี่ยม”เป็นการวางแผนโดยอาศัยทฤษฎีการบริหารอย่างหลากหลาย ได้นำหลักและทฤษฎีการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน การบริหารแบบมุ่งผลสมั ฤทธ์ิ วงจรควบคุมคณุ ภาพ (PDCA) หลักธรร มาภิบาล มาใชเ้ ปน็ กลไกสำคัญในการพฒั นาระบบงาน และเป็นตัวขับเคล่ือนการดำเนินงานของบุคลากรใน ฝ่ายงานต่าง ๆ ทำ ให้การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนมีประสิทธิภาพโดยทุกฝ่าย ต้องมีส่วนร่วมในการวางแผนปฏิบัติ ตรวจสอบ ประเมินผล แก้ไขปรับปรุง เพื่อการพัฒนาคุณภาพอย่างเป็นระบบ และจัดกระทำอย่างต่อเนื่อง มีคุณภาพได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน การ วางแผนดา้ นการเรยี นการสอนโรงเรยี นบา้ นดงยางต้องการใหค้ ุณภาพการศึกษาเพ่ิมขน้ึ โดยให้ เตมิ เต็ม เชน่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น มีความรักถิ่นฐาน วางแผนโครงสร้างบริหารเพื่อสนับสนุนด้านการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ โดยรวมกับคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อกำหนดทิศทางการบรหิ ารใหม้ ปี ระสิทธิภาพใหก้ ารศึกษาเปน็ ระบบ ๑.๑ ศกึ ษาทำความเข้าใจกระบวนการและสร้างความตระหนักให้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการ สถานศกึ ษา ผู้ปกครอง นกั เรียน ชมุ ชนและผมู้ สี ว่ นได้เสียรับทราบแนวคิดของทางโรงเรียน ๑.๒ ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง นกั เรยี น ชมุ ชนรว่ มกนั วิเคราะห์ สภาพ ปัญหาของโรงเรียนบ้านดงยาง จากอดีตถึงปัจจุบัน โดยการจัดทำ SWOT Analysis เพื่อค้นหาจุดแข็ง จุดเด่น จุดด้อย ของหนว่ ยงาน ๑.๓ ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผ้ปู กครอง นักเรียน ชุมชนรว่ มกันกำหนดวสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ และเป้าหมายของโรงเรียน ๑.๔ จัดทำแผนกลยุทธ์ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาโรงเรียนใหม้ ีมาตรฐาน โดยคำนึงถึง “DONGYANG MODEL” โรงเรียนบ้านดงยาง มุ่งเน้นการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วมในการบริหารและการจัดองค์กรเพื่อให้สถานศึกษา สามารถตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายได้อย่างแท้จริง ด้วยความเป็นอิสระ มีความคล่องตัวในการ ดำเนินงาน และมีประสิทธิภาพในการวางแผนการบริหารงาน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการมีส่วนร่วมของทุก ฝ่าย คือ ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา และชุมชน ซึ่งจากการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของสถานศึกษา และความต้องการของชุมชนมาจัดทำแผนกลยุทธ์ แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำของโรงเรยี น ๒. ปฏบิ ัติตามแผน Do ปฏิบตั ิงานตามแผน โดยการพฒั นาการบรหิ ารจัดการ พฒั นากิจกรรมการเรียนการสอน โดยการยึดหลัก ธรรมาภบิ าล และสามารถพ่งึ พาตนเองได้ พัฒนาการเรียนรูร้ ่วมกนั ด้วยนวัตกรรมใหม่ มีระบบข้อมลู สารสนเทศ ทท่ี ันสมยั ดว้ ยทมี งานท่มี ีคณุ ภาพ 2.1 O = Objective (วัตถปุ ระสงค์) หมายถึง แนวทางในการพฒั นาท่เี ราคาดหวัง พฒั นาการบรหิ ารจัดการ พัฒนากจิ กรรมการเรียนการสอน พัฒนาการเรียนรรู้ ว่ มกันด้วยนวตั กรรมใหม่ ๆ สง่ิ ที่ตั้งใจใหบ้ รรลุตามความคาดหวังหรือ ประสบผลสำเรจ็ ในการบริหารงานที่มีคุณภาพ หรือภาพความสำเรจ็ ของโรงเรียน ได้แก่ ศักยภาพของนักเรียน สมรรถนะ ของครู สมรรถนะของผู้บริหาร คุณภาพของโรงเรียน และการยอมรับการมีสว่ นรว่ มของผู้ปกครองและชุมชน คุณภาพของนกั เรยี น หมายถึง นกั เรียนมีนิสยั ใฝร่ ู้ รกั การอา่ นและการคน้ คว้า สามารถแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง เป็นคนดีมีคุณธรรม ร้จู กั คิด วเิ คราะห์ มีทกั ษะการดำรงชีวติ ในสังคมยคุ ใหม่ ใช้หลกั เศรษฐกิจพอเพียงต่อเนื่อง ตลอดชวี ิต ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเพือ่ การเรยี นรูส้ รา้ งงานสร้างอาชพี โดยปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง สามารถนำเสนอผลงานไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ สบื สานวิถวี ัฒนธรรมไทยอย่างมั่นใจในตนเอง เป็นคนดีคนเกา่ อยู่ ในสังคมอย่างเปน็ สุข มีคณุ ลักษณะทด่ี สี มวยั มีการเรยี นรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 มีคุณภาพ

15 ตามมาตรฐาน มีทักษะที่จำเป็น สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต รวมทั้งเป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้าที่ มีความรับผิดชอบและมีจิต สาธารณะ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียน รู้และพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกับวัย สมรรถนะของครู หมายถึง ครูมีทักษะวิชาชีพในการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยใช้สื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัย เหมาะสมกับนักเรียน มีความกระตือรือร้น สนใจ ใส่ ใจ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน ได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองตามศักยภาพอย่างเต็มกำลังความสามารถ สมรรถนะผู้บริหาร หมายถึง ผู้บริหารเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงให้โรงเรียนมีการบริหารจัดการที่ดี มี ความรู้ ความสามารถในการพัฒนาวิชาการ หลักสูตร นวัตกรรมและกระบวนการเรียนรู้ ไปสู่การปฏิบัติอย่างมี ประสิทธิภาพและคุณภาพ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่นักเรียน โดยอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง คุณภาพของโรงเรียน หมายถึง การจัดการศึกษาจนเกิดผลผลิตที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถ่ิน ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา สามารถพัฒนาสู่มาตรฐานสากลบนพื้นฐานของความเป็นไทย มีการจัด บรรยากาศการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนและมีความเป็นประชาธิปไตย การยอมรับและการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน หมายถึง ผู้ปกครองให้การยอมรับเชื่อถือ มี ความรู้สึกรว่ มเป็นเจา้ ของและสนบั สนุนการดำเนนิ งานของโรงเรียน ๒.2 D = Development “การพฒั นา” การพัฒนา หมายถึง การพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินกิจกรรม ตามแผนที่ กำหนดไว้ ให้แก่คณะกรรมการแต่ละชุดด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การประชุม การอบรม การศึกษาดูงาน การ พัฒนาบุคลากรนี้ให้เป็นไปตามความต้องการของบุคลากร และที่สำคัญต้องมีการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีด้าน ICT ให้มี สมรรถนะท่ีสามารถเป็นเคร่ืองมือ สำหรบั บุคลากรในการสืบคน้ ข้อมูลต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ภาระงานท่ีปฏิบัติ ซ่ึงฝ่าย บริหารต้องจัดให้มี และนับว่าเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการพัฒนาบุคลากรจน มีความรู้ ความสามารถในการที่จะนำไปพัฒนาภาระงานของตน ตลอดจนทีมงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลผลิตที่ได้ คือ ทมี งานทีม่ คี ณุ ภาพสงู (High Quality Team) การพฒั นาด้านองค์ความรู้ (Knowledge) การพฒั นาด้านการพัฒนาทักษะ (Skill) และการพัฒนา ด้าน ความสามารถ (Ability) ของบุคลากรให้มคี วามเชีย่ วชาญเพิ่มขึน้ โดยอาศัยผา่ นระบบการศึกษา (Education) และ การฝกึ อบรม (Training) ๑) ผู้บรหิ ารต่อการพัฒนาโรงเรยี น ผู้บริหารโรงเรียนเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญที่สุด ที่จะนำพาสถานศึกษาไปสู่ความเป็นเลิศ เพราะเป็น ผู้นำที่มี อำนาจสูงสุดในโรงเรียน ผู้บริหารจึงต้องมีความรอบรู้ในการบริหาร มีวิสัยทัศน์ มีความสามารถ รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ โปรง่ ใส เอาใจใส่และทมุ่ เทให้กับการทำงานอยา่ งจรงิ จัง ๑.1 ยึดคณุ ภาพนักเรยี นเป็นเป้าหมายสูงสดุ ในการบรหิ ารสถานศึกษา 1.2 ใช้มาตรฐานการศึกษาของชาติ และมาตรฐานการศึกษาข้นั พน้ื ฐานเปน็ แนวทางในการบรหิ ารจัดการ

16 1.3 ยึดหลกั การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เปน็ กรอบกำกับการบริหาร 1.4 ยดึ หลกั ธรรมมาภิบาล (Good Governance) ซึ่งประกอบด้วย หลักนติ ิธรรม หลักคณุ ธรรม หลกั ความ โปรง่ ใส หลกั การมสี ว่ นร่วม หลกั ความรับผิดชอบ และหลกั ความค้มุ ค่า เปน็ หลักในการบริหารอย่างต่อเน่ือง ตลอดท้ัง มจี รรยาบรรณวิชาชพี บรหิ าร 1.5 ใชก้ ระบวนการกล่มุ ในการทำงานและแก้ปญั หา เนน้ การมสี ่วนร่วมของทกุ คนทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 1.6 พฒั นาโรงเรยี นใหเ้ ป็นองคก์ ารแหง่ การเรียนอยา่ งแท้จรงิ มีสมรรถภาพในการจดั การความรู้ 1.๗ ใช้กรอบแนวทางจากยุทธศาสตร์ชาติ กฎหมาย ระเบียบ แบบแผนที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา โดย ปรับให้สอดคล้องกบั สภาพปัญหา ของความต้องการของสถานศกึ ษา ๒) การพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา การพฒั นาบุคลากรใน ๓ มิติ มิติที่ ๑ การพฒั นาทัศนคติ (Attitude) คือ การทำให้บคุ ลากรเปลีย่ นวิธีคิด และการทำให้บุคลากร รู้สึกว่า ตนเองมคี ณุ ค่าและมีความสำคัญต่อองค์กร มติ ทิ ่ี ๒ การพัฒนาลกั ษณะนสิ ยั (Traits) คอื ทำใหบ้ ุคลากรมคี วามรกั ความผกู พันกบั องค์กร มิติที่ ๓ การพัฒนาการจูงใจ (Motivation) คือ การสร้างแรงจูใจให้กับบุคลากรทั้งในรูปของ เงินเดือน คา่ จ้างสวัสดกิ าร และตำแหน่งงานทีส่ งู ขน้ึ การพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา รูปแบบของการพัฒนามุ่งเน้นการสร้างเครือข่ายที่มีคุณภาพ วิธีการ พัฒนาตอ้ งมีความหลากหลาย การพัฒนาแล้วจัดทำแผนพัฒนาตนเอง (Individual Development Plan : ID-Plan) โดยใช้ ข้อกำหนดสมรรถนะ (Competency)ของครูและบุคลากร ประยุกต์ใช้ในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอน กระบวนการต่าง ๆ ทใี่ ชเ้ พื่อช่วยให้ข้าราชการมีความรู้ ทกั ษะ และทัศนคติท่ีจำเป็นในการปฏบิ ัติงานในหน้าท่ี และเพื่อให้ เกิดความรว่ มมือกันระหวา่ งข้าราชการ ในการปฏบิ ตั ิงานรว่ มกันในองค์กร ๓) พัฒนาผู้เรยี น นักเรียนมีทักษะชีวิต (Life Skills) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills / Knowledge Skills) และทักษะ การทำงาน (Working Skills)พัฒนาให้นักเรียนมสี มรรถนะสำคญั ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการ แก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ผู้เรียนในทุกระดับชั้นจะเรียนรู้ด้วย กระบวนการและเทคนิควิธีที่หลากหลาย การเรียนเชิงรุกที่ผู้เรียน ต้องลงมือกระทำเพื่อให้เกิดความเข้าใจต่อสิ่งที่เรียน เปิด โอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้และพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกับช่วงวัย มีคุณลักษณะที่ดีสมวัย มีการเรียนรู้ที่ ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จำเปน็ สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีประสทิ ธิผล มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรูอ้ ย่างตอ่ เน่ืองตลอดชวี ิตรวมทัง้ เป็นพลเมืองท่ีรู้สิทธิและ หนา้ ที่ มคี วามรับผิดชอบและมจี ิตสาธารณะ เปดิ โอกาสให้นักเรียนได้เรยี นรู้และพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกบั วยั ๔. พฒั นาโรงเรยี น โรงเรียนทีม่ คี ุณภาพจะต้องมบี รรยากาศทเี่ อ้ือต่อการเรียนการสอน บรรยากาศดงั กลา่ ว หมายถึง ความรู้สึกที่ ประชาชนหรือชุมชนมีต่อโรงเรียนว่าเป็นสถานที่ ๆ มีการเรียนเกิดขึ้นจริงอย่างได้ผล โรงเรียนที่มี บรรยากาศน่าอยู่ ดังกล่าว จะทำให้ทั้งครูและนักเรียนอยากจะมีชีวิตร่วมกันในโรงเรียน โรงเรียนจะต้องสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ การเรียน การพฒั นานกั เรียนทุกด้านตามวัยและวฒุ ภิ าวะ ๕. พัฒนารว่ มกับชมุ ชน การเยยี่ มเยยี นศึกษาปัญหาท่ีอยู่ของนกั เรยี น และทใ่ี กล้เคียง ศกึ ษาพจิ ารณาชุมชนในฐานะที่เป็นแหล่งสำคัญ ของการเรียนรู้ เรียนรู้เกี่ยวกับเด็กให้มากที่สุด ประเมินผลนักเรียนจากสภาพที่เป็นอยู่ ช่วยให้นักเรียนเจริญงอกงาม พัฒนาไปในทางของเด็ก เมื่อเด็กมีความพร้อม ช่วยให้ผู้ปกครองเข้าใจจุดหมายอันแท้จริงของการศึกษา วางแผนจัด พิจารณาหลายๆ อย่าง หรือปรับปรุงแก้ไขปัญหา สังคม ปัญหาเศรษฐกิจ และปัญหาอื่น ๆ ที่เป็นปัญหาความร่วมมอื เกี่ยวข้องกับเด็ก จัดหลักสูตรให้แตกต่างกัน และให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคลหรือให้เด็กได้เรียนเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทาง วฒั นธรรมและให้เด็กเข้าใจสงั คม วางแผนจดั กจิ กรรมให้นักเรยี น เรียนรว่ มกัน เพ่ือให้เด็กได้เรียนรู้ มคี วามร่วมมอื กัน

17 ด้วยดีระหว่างบุคคล และ ระหวา่ งกลุ่ม ให้เดก็ แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และรว่ มมือกนั และตอ้ งศกึ ษาทำความเขา้ ใจให้ แจม่ แจง้ เพอื่ ใหม้ ีการพฒั นาเปล่ยี นแปลง เปน็ ผลตอ่ ความเจรญิ งอกงามของเดก็ และความเจรญิ ก้าวหน้าของชุมชน 2.3 G = Good Govervance (หลักธรรมาภิบาล) หมายถึง การนำหลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความ โปรง่ ใส หลกั การมสี ่วนรว่ ม หลักความรับผิดชอบ และหลกั ความคุ้มค่า เปน็ หลกั ในการบริหารงานโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง ตลอดท้ังมีจรรยาบรรณวิชาชีพบรหิ าร เพื่อเป็นการพฒั นาการบรหิ ารโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล การบริหารที่ดีมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลนั้นจะขาดเสียมิได้ คือ การบริหารโดยใช้หลักธรรมาภิบาล คอื คุณธรรมของนักปกครองนักบรหิ ารท่ีดี (Good Governance) ตามพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลกั เกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีวิธีการประยุกต์ใช้ หลักธรรมาภิบาลที่เป็น กฏหมายเพ่ือใชใ้ นการบริหารจดั การสถานศึกษาให้บรรลุเจตนารมณ์ ของพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ ดังตอ่ ไปนี้ 1. หลักนิติธรรม ผู้บริหารจะต้องยึดหลักความถูกต้อง คือ มีการพิจารณาวินิจฉัย ปัญหา การตัดสินใจ (Decision Making) และสั่งการ (Command) ด้วยความถูกต้องตามกฎหมายบ้านเมือง และกฎระเบียบ ข้อบังคับ ระเบียบ วินัยข้าราชการ และจรรยาบรรณครู ซึ่งเป็นข้อบังคับภายใต้ข้อตกลงร่วมกัน ให้ถูกต้องตามหลักศีลธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีดีของสงั คม ถูกตอ้ งตามนโยบายของผ้บู ังคับบัญชาหนว่ ยเหนือ และถกู ตอ้ งตรงประเด็นตาม หลักวิชา และได้รับความพึงพอใจ จากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในระบบงานของสถานศึกษาทั้ง 4 งาน อันได้แก่ งาน บริหารวชิ าการ งานบรหิ ารงบประมาณ งานบรหิ ารบคุ คล และงานบริหารทั่วไป 2. หลักคุณธรรม ผู้บริหารจะต้องยึดหลักความเหมาะสม คือ รู้จักคิด พูด ทำกิจการงาน และปฏิบัติงานได้ เหมาะสม ถูกกาลเทศะ บุคคล สังคม และสถานการณ์ ตามหลักสัปปุริสธรรม 7 และหลักความยุติธรรม คือ มีการวินิจฉัย สั่งการ และปฏิบัติต่อผู้อยู่ใต้ปกครอง และบุคคลที่เกี่ยวข้อง ด้วยความชอบธรรม บนพื้นฐานแห่งหลักธรรม หลักการ เหตุผล และข้อมูลท่ถี ูกต้อง เช่ือถอื ได้ และตรงประเด็น และดว้ ยความเท่ียงธรรม คือ ไม่อคติ หรือลำเอียงด้วยความหลงรัก หลงชัง ด้วยความกลัวเกรง และด้วยความหลง ไม่รู้จริง คือ ขาดข้อมูลที่ถูกต้องเชื่อถือได้ และสมบูรณ์ เป็นเครื่อง ประกอบการวนิ ิจฉัย ตัดสนิ ใจ ให้ความเทย่ี งธรรม 3. หลกั ความโปร่งใส ผ้บู รหิ ารจะต้องยึดหลักความบริสุทธิ์ คือ มกี ารวินิจฉยั สั่งการ กระทำกิจการงาน ด้วยความ บริสุทธิ์ใจ คือ ด้วยเจตนา ความคิดอ่าน ที่บริสุทธิ์โปร่งใส ใช้ระบบสารสนเทศสามารถตรวจสอบได้ ตลอดเวลา โดยใช้ หลกั การ PDCA ในระบบงานของสถานศึกษาทั้ง 4 งาน 4. หลักการมีส่วนร่วม ผู้บริหารจะต้องให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการศึกษา ทั้งครู นักเรียน ผู้ปกครอง ตลอดทั้งชุมชนมีส่วนร่วมดำเนินการจัดการศึกษาในโครงการและกิจกรรมของสถานศึกษาที่จัดขึ้นตลอดปีการศึกษา ใน รูปแบบของคณะกรรมการ 5. หลักความรับผิดชอบ ผู้บริหารจะต้องให้ผู้ที่มีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการศึกษาได้ตะหนักถึงความ รับผิดชอบร่วมกัน ในผลของการจดั การศึกษาที่มผี ลผลติ คอื ตัวผเู้ รียนทีม่ ีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ท่แี ตกต่างกัน 6. หลกั ความคุม้ คา่ ผ้บู รหิ ารจะตอ้ งใชห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงในการดำเนนิ การกบั ทรพั ยากรทางการศึกษาอย่าง คุม้ ค่า และเกิดประโยชนส์ ูงสดุ โดยใช้หลกั การ PDCA เข้ามาตรวจสอบคณุ ภาพของระบบงานทัง้ 4 งานอยา่ งครบถ้วน โรงเรียนบ้านดงยางได้ใช้หลัก “ธรรมาภิบาล” ในการบริหารจัดการสถานศึกษา และกระจายเป็นข้อปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ พึงใช้ประกอบในการปฏิบัติงานของแต่ละบุคคล ให้บรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายของการจัดการศึกษา ก่อใหเ้ กิดประโยชน์สุขแกส่ ว่ นรวมได้เป็นอย่างดีและยั่งยืนตลอดไป 2.4 Y = Yourself (การพึ่งพาตนเอง) หมายถึง ความสามารถที่จะช่วยเหลือตนเองให้ได้มากที่สุด ใน การบรหิ ารจัดการ โดยใชศ้ ักยภาพสถานศึกษาของตนเองมากท่สี ุด โดยมีความสมดุลและความพอดีในการจัดการเพื่อมุ่งให้ ผู้เรยี นประสบผลสำเร็จตามวัตถปุ ระสงค์ทต่ี ั้งไว้ การพึ่งตนเองเป็นความสามารถทีบ่ ุคคล มีความคดิ เป็นของตนเอง ตดั สินใจไดด้ ว้ ยตนเองอย่างมั่นใจ พยายามที่จะ ช่วยเหลือตนเอง สามารถกระทำกิจกรรมต่าง ๆ ใหป้ ระสบความสำเร็จได้ดว้ ยตนเอง ทง้ั ในดา้ นการเรียน การปฏิบัติภารกิจ ต่าง ๆ จากความสำคัญของการพ่ึงตนเอง กระทรวงศึกษาธกิ าร จึงไดก้ ำหนดเป็นจดุ มุ่งหมายของการจัดการเรยี นการสอน

18 ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 (กระทรวงศึกษาธิการ , 2546) ได้กำหนด ในมาตรา 7 ไว้ว่า ...จะต้องมุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษา ผลประโยชน์ของส่วนรวมส่งเสริมการเรียนรู้วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นและของไทย ควบคู่ไปกับความรู้สากล มี ความสามารถในการประกอบอาชีพ พ่งึ ตนเอง ได…้ การจดั การเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้เกิดการพ่ึงพาตนเอง มีจุดมุ่งหมาย ที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถพึ่งพาตนเองได้ คือ ไม่เป็นภาระของผู้อื่น ทำงานได้ด้วยตนเอง ตัดสินใจด้วยตนเอง ถ้าหาก ผู้เรียนมีลกั ษณะดังกล่าวน้ี ย่อมแสดงว่าการจัดการเรียนการสอนประสบความสำเร็จ เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาส และยงั เป็นการเตรียมความพร้อมในการประกอบอาชีพต่อไป และในการที่จะให้บุคคลใดบุคคลหน่ึงเกิดการพ่ึงตนเองได้นั้น ต้องอาศัยกระบวนการ วิธีการและเครื่องมือต่าง ๆ มากมายหลายอย่าง แต่เป็นที่เชื่อกันว่าสิ่งที่สำคัญยิ่งต่อการพึ่งตนเอง ของบคุ คล คือ การจัดการศึกษา หลักการพง่ึ พาตนเอง ต้องมีความพอดี 5 ประการ 1. ความพอดดี า้ นจิตใจ ตอ้ งเข็มแข็ง พง่ึ ตนเองได้ มีจิตสำนึกทดี่ ี เออ้ื อาทร และนกึ ถงึ ประโยชนส์ ว่ นรวม 2. ความพอดีดา้ นสงั คม ต้องชว่ ยเหลอื เกือ้ กลู กัน สรา้ งความเขม้ แข็งใหช้ มุ ชน รู้จักผนกึ กำลัง และมี กระบวนการเรียนรู้ท่เี กิดจากรากฐานท่ีมน่ั คงและแขง็ แรง 3. ความพอดีดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม รู้จักใชแ้ ละจัดการอย่างฉลาดรอบคอบ เพือ่ ให้เกดิ ความยัง่ ยนื สงู สุด และใชท้ รัพยากรในประเทศเพ่ือพัฒนาประเทศใหม้ ั่นคงอยู่เปน็ ข้นั เป็นตอนไป 4. ความพอดีด้านเทคโนโลยี รจู้ ักใชเ้ ทคโนโลยที ่เี หมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการ และควรพฒั นา เทคโนโลยจี ากภมู ปิ ัญญาชาวบ้านของเราเอง เพื่อสอดคล้องและเป็นประโยชนต์ อ่ สภาพแวดลอ้ มของเราเอง 5. ความพอดีดา้ นเศรษฐกิจ เพ่ือรายได้ ลดรายจา่ ย ดำรงชีวติ อยา่ ง นักเรียนโรงเรียนบ้านดงยางทุกคนตั้งใจเรียน ตั้งใจปฏิบัติงานของตนเอง มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมาย นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียนแล้ว เมื่อมีเวลาว่างก็มักจะเข้าไปอ่านหนังสือที่ห้องสมุดของโรงเรียน ที่มี หนังสือหลายประเภทให้นักเรียนได้เลือกอ่านตามความสนใจ นักเรียนมีความขยันในการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สามารถทำงานได้ด้วยตนเอง และเสร็จตามกำหนดเวลา โดยไม่สร้างความเดือดร้อนให้ผู้อื่น และ สามารถนำความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวัน ลักษณะการพ่ึงพาตนเองของนักเรียนในการเรียน นักเรียนทกุ คนสามารถ ช่วยเหลือตนเองได้ในด้านการเรียน อ่านหนังสือเรียนล่วงหน้ามาก่อนที่จะเรียน สนใจใฝ่รู้ที่จะหยบิ หนังสือมาอ่านทบทวน บทเรียนที่ได้เรียนผ่านไปแล้ว ทำการบ้านและทำชิ้นงานท่ีครูมอบหมาย ดว้ ยตนเอง มคี วามรับผิดชอบท้ังต่อตนเองและต่อ ผูอ้ ื่น สง่ ผลให้นกั เรยี นน้ันสามารถพ่ึงพาตนเองได้ และยังเปน็ ทพี่ ึ่งของคนอน่ื ได้อีกด้วย 2.5 G = Good Teamwork (ทีมงานที่ดี) การทำงานเป็นทีม ผ่านการประสานงานในทีมงานอย่างเป็น ระบบทุกขั้นตอน ที่ได้รับมอบหมาย มีการตั้งคณะกรรมการ ที่มีความถนัดในแต่ละกิจกรรม ให้ทุกคนในทีมงานมี เป้าหมายในกิจกรรมร่วมกัน เพื่อให้บุคลากรในองค์กร เป็นส่วนหนึ่งของความสำเร็จ มีจิตสำนึกและรู้สึกภาคภูมิใจ ร่วมกัน โรงเรียนบ้านดงยางเน้นการทำงานร่วมกันเป็นทีมและมีคุณภาพโดยมีการประสานงานในทีมเป็นระบบทุก ขน้ั ตอน ในการจัดกิจกรรมทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย มกี ารแตง่ ตั้งคณะกรรมการทำงานทีม่ ีความถนดั และกจิ กรรมของทุกคน ในทีมงาน มเี ป้าหมาย มคี วามพึงพอใจ ทกุ คนเห็นความสำคญั ของทกุ บทบาทในการทำงาน ในการบรหิ ารงานโรงเรยี น โดยมีการดำเนินงานภายในโรงเรยี นร่วมกนั ดงั นี้ 1) การบริหารงานวิชาการ มีการพัฒนาหลักสูตร โดยโรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคลอ้ งกับหลักสูตร แกนกลาง ครอบคลุมความต้องการของผู้เรียน ชุมชน และท้องถิ่น มีการจัดการแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ครอบคลุม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้มีการพัฒนาเด็กตั้งแต่ระดับปฐมวัยใหม้ ีสมรรถนะ และคุณลักษณะที่ดีสมวยั ในทุกด้าน โดยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 มีคุณภาพตาม มาตรฐาน มีทักษะที่จำเป็นของโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิผล มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้อยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวิต รวมทั้งเป็นพลเมืองท่ีรู้สทิ ธแิ ละหน้าท่ี มีความรับผิดชอบ และมจี ิตสาธารณะ มกี ารจดั การเรียนรู้ทส่ี นองความต้องการ ความสนใจ และความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล มกี ารวัดผล

19 และประเมินผล จดั ทำหลักเกณฑแ์ ละแนวปฏิบัตใิ นการวัดและประเมนิ ผล โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา ขนั้ พ้ืนฐาน เพอื่ ใหท้ ุกฝ่ายถอื ปฏิบตั ริ ว่ มกนั และเป็นมาตรฐานเดยี วกัน โดยมกี ารดำเนนิ การ ดงั ตอ่ ไปน้ี - สนับสนนุ ใหเ้ ดก็ ปฐมวยั ไดเ้ ขา้ เรยี นทุกคนมพี ัฒนาการท่ดี ี ท้ังร่างกายจติ ใจอารมณ์ สงั คมและสตปิ ัญญาใหส้ มกบั วยั - ดำเนนิ การใหเ้ ดก็ และเยาวชนไดร้ บั การศกึ ษาจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน อยา่ งมคี ณุ ภาพ รวมท้งั ส่งเสริม และพฒั นาผเู้ รียนท่มี คี วามสามารถพิเศษสคู่ วามเปน็ เลิศ - พฒั นาระบบดแู ลชว่ ยเหลือเดก็ และเยาวชนทอ่ี ยู่ในการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน รวมทั้งเด็กตกหล่นและท่ีออก กลางคันให้ได้รับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทีเ่ ทา่ เทียมกัน - ส่งเสริมใหเ้ ดก็ พิการและผ้ดู อ้ ยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพ มีทักษะในการดำเนนิ ชีวติ มี พ้ืนฐานในการประกอบอาชพี ดำรงชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษกิจพอเพียง - สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาให้ผ้เู รียนมคี วามรู้ มีทกั ษะการเรียนรู้ ทักษะที่จำเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 เป็น คนดี มวี นิ ยั มีความรักในสถาบันของชาติ และยึดมั่นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข - พัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ีสมรรถนะ และทักษะดา้ นการอา่ น คณิตศาสตร์ นวัตกรรมและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ - ปรับปรงุ และพฒั นาระเบยี บการวดั และประเมินผลเพอื่ เปน็ แนวทางการประเมนิ ผลผเู้ รยี นอย่างมีประสิทธภิ าพ - นิเทศ กำกับ ติดตาม การจดั การเรยี นการสอน 8 กลุม่ สาระการเรียนรู้ 2) การบริหารงานบุคคล มีการบริหารจัดการ โดยการวางแผนอัตรากำลังในสถานศึกษาวิเคราะห์ความ ต้องการและจัดทำแผนอัตรากำลังโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งเสริมและพัฒนา บุคลากรในสถานศึกษา จัดทำมาตรฐานภาระงานสำหรับบุคลากรในสถานศึกษา การประเมินผลการปฏิบัติงานตาม มาตรฐานภาระงาน มีการควบคุม กำกับ ตรวจสอบ และจัดสวัสดิการให้แก่บุคลากรในสถานศึกษา มีการส่งเสริม สนับสนุนบุคลากรให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการสร้างขวัญและกำลังใจอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ให้ทุกคน สามารถปฏบิ ัตงิ านในความรับผดิ ชอบได้อย่างมีคณุ ภาพ อยา่ งเต็มความสามารถ โดยมีการดำเนินการ ดังต่อไปนี้ - พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เปน็ ครูยุคใหม่ มศี กั ยภาพในการจัดการเรยี นการสอน มที ักษะใน การปฏิบตั ิหน้าที่ มีความรคู้ วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มีการพฒั นาตนเองทางวชิ าชีพอย่างต่อเน่อื ง - ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ให้บุคลากรมีและเลื่อนวทิ ยฐานะสูงขึ้น - มอบหมาย กำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผดิ ชอบของข้าราชการครู โดยกำหนดภาระงาน อย่างชดั เจน - จดั สวสั ดิการให้แก่บุคลากรในสถานศึกษา เพ่ือสร้างขวญั กำลงั ใจ ในรปู แบบตา่ ง ๆ - จัดการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 3) การบริหารงบประมาณ มีการบริหารจัดการดำเนินการวางแผนพัฒนาโรงเรียน จัดองค์กร จัดระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบการประกันคุณภาพภายใน การควบคุมภายใน การบริหารงบประมาณ พัสดุและ สินทรัพย์ การใช้งบประมาณ จัดระบบการบริหารการเงิน บัญชี และพัสดุ มีการควบคุมการใช้งบประมาณอย่างเป็น ระบบ สรุปรายงานผลในการบริหารงบประมาณ และการตรวจสอบภายใน โดยยึดหลักความถูกต้อง ตามระเบียบ กฎหมายทกี่ ำหนด มีความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ และเกิดผลคุ้มคา่ ในการใช้งบประมาณอยา่ งเปน็ ระบบและมีประสิทธภิ าพ โดย มีการดำเนนิ การ ดงั ต่อไปน้ี - จัดทำแผนพฒั นาสถานศึกษา ระยะ 4 ปี แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี โดยผา่ นความเหน็ ชอบของ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐานของโรงเรยี น -จัดทำแผนการใช้งบประมาณมีการใช้เงนิ ตามแผน มกี ารควบคมุ กำกบั ตดิ ตามมีการรายงานและประเมินผล 4) การบรหิ ารงานทั่วไป มีการบรหิ ารจดั การดำเนนิ การ วางแผนงาน จดั ทำสารสนเทศเกีย่ วกับงานกิจการ กำหนดหน้าที่ ความรบั ผดิ ชอบงานบริการอาคารสถานทแี่ ละส่งิ แวดล้อม จัดบรรยากาศอาคารเรียน จดั การสอื่ สาร และประชาสมั พันธ์ มาตรการรกั ษาความปลอดภยั โดยมกี ารดำเนนิ การ ดงั ต่อไปน้ี - ดูแลความปลอดภยั ให้กบั ผ้เู รยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา จากภยั พิบตั ิและภยั คุกคามทุกรปู แบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการมีสุขภาพท่ีดี และปรับภูมิทศั น์อาคารสถานที่ มีมาตรการกำกับ ดูแลอย่างทว่ั ถึง

20 - จัดทำคำส่งั แต่งตง้ั เวรยามและมีสถานท่ี/สิง่ อำนวยความสะดวกในการอย่เู วร วัสดุอุปกรณร์ ักษาความ ปลอดภัยเพียงพอ และประสานงานกบั ตำรวจในการรักษาความปลอดภัย มกี ารสรุปและรายงานผลการปฏิบตั งิ าน ตลอดทั้งรายงานผลใหผ้ ้เู กีย่ วขอ้ งไดร้ บั ทราบ - จดั กจิ กรรมส่งเสริมความสัมพันธร์ ะหว่างโรงเรียนกับชุมชน - ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง นักเรยี นดำเนินงานตามนวัตกรรม “DONGYANG MODEL” - จดั ตั้งคณะกรรมการดำเนินการภายในโรงเรียนและแลกเปลี่ยนการเรยี นรู้ซง่ึ กนั และกัน - ปรับปรุงและพฒั นาระบบการบริหาร - พฒั นาครูตามความต้องการจำเป็นในการยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียน เพอื่ เพ่มิ ผลสมั ฤทธทิ์ างการ เรยี นและเพ่ือปลกุ ฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม วัฒนธรรมไทย และวถี ีชวี ิตท่พี อเพียง และหา่ งไกลยาเสพติดให้กบั เด็กนักเรียน - พัฒนาส่งิ แวดล้อม แหล่งเรียนรูภ้ ายในโรงเรียน ส่ือให้เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้ ICT สนับสนุน การเรียนรู้ 3. ตรวจสอบCheck กำกับ ติดตาม และประเมนิ ผล ตรวจสอบคุณภาพตามตวั ช้ีวัด A = Achievement (ความสำเรจ็ ) ความสำเรจ็ ดา้ นนกั เรยี น นักเรียนมีนิสัยใฝ่รู้ รักการอ่าน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เพิ่มขึ้น และการค้นคว้า สามารถแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง เป็นคนดีมีคุณธรรม รู้จักคิดวิเคราะห์ มีทักษะการดำรงชีวิตในสังคมยุคใหม่ เข้าใจและรู้จักใช้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ สร้างงาน สร้าง อาชีพ สามารถนำเสนอผลงานได้อย่างสร้างสรรค์ สืบสานวิถีวัฒนธรรมไทยอย่างมั่นใจในตนเอง รักความเป็นไทย รกั ษค์ วามเปน็ ท้องถ่นิ ใสใ่ จในการรว่ มกันรับผิดชอบต่อสังคม เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนได้เรยี นรแู้ ละพฒั นาอย่างเต็มตาม ศักยภาพ เหมาะสมกบั ชว่ งวยั มีคณุ ลักษณะท่ดี สี มวัย มกี ารเรียนรทู้ ี่ตอบสนองตอ่ การเปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ 21 มี คุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จำเป็น สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิผล มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตรวมทั้งเป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้าที่ มีความรับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะ เปิดโอกาสให้นักเรียนไดเ้ รียนรูแ้ ละพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกับวัย สามารถพึ่งพา ตนเองได้ ความสำเรจ็ ดา้ นครู มีความเป็นมืออาชีพ มีศักยภาพในการจัดการเรียนรู้ มีทักษะการใช้สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีทักษะวิชาชีพในการพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้สื่อ นวัตกรรม และ เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับนักเรียน มีความกระตือรือร้น สนใจ ใส่ใจ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้เรียนรู้ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม จติ สาธารณะ จงรักภกั ดีต่อองคก์ ร มีการเรียนรู้และพัฒนาตนเองตามศักยภาพอย่างเตม็ กำลังความสามารถ มกี ารทำงานแบบเปน็ ทมี รว่ มคิด รว่ มประสาน รว่ มทำจนทำใหง้ านสำเรจ็ บรรลวุ ัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายที่วางไว้ ความสำเรจ็ ดา้ นผูบ้ ริหาร เป็นผนู้ ำในการเปลีย่ นแปลงให้โรงเรียนมีการบริหารจดั การท่ดี ีด้วยระบบคุณภาพ มีความรู้ความสามารถใน การพฒั นาวชิ าการ หลกั สตู ร นวัตกรรมและกระบวนการเรยี นร้ไู ปสูก่ ารปฏบิ ตั ิอย่างมีประสิทธภิ าพและคุณภาพ เกดิ ประโยชน์สงู สดุ แกน่ ักเรียน โดยอาศยั การมสี ่วนร่วมจากทุกฝ่ายท่ีเกย่ี วข้อง ความสำเร็จดา้ นโรงเรียน โรงเรียนมีการบริหารจัดการที่ดี มีคุณภาพ มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่อบอุ่น ปลอดภัย เอื้อต่อการ เรียนรู้เป็นที่ยอมรับของสังคม เป็นต้นแบบของการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งเกิดจากการร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ ร่วมพัฒนา รว่ มสนับสนุนจากผมู้ ีสว่ นเกี่ยวข้อง

21 ความสำเร็จดา้ นผู้ปกครองและชมุ ชน ให้การยอมรับ เช่ือถือ มีความรู้สึกรว่ มเป็นเจ้าของ มสี ่วนร่วมพฒั นาและสนบั สนนุ การดำเนินงานของโรงเรียน 4. ปรบั ปรุงแก้ไข Action N = Network (เครือขา่ ย) การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ระหวา่ งกันในทมี งาน และในชมุ ชนเพือ่ เปลี่ยนพฤตกิ รรมใน การจัดการเรียนการสอน เพ่อื นำปญั หาต่าง ๆ มาช่วยกนั แก้ไข ปรบั ปรุงในการพัฒนางาน การสร้าง “เครอื ขา่ ย” สามารถช่วยแก้ปัญหาได้ เป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลและองค์กรได้แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารรวมท้ังบทเรียนและประสบการณ์กับบุคคลหรือองค์กรที่อยู่นอกหน่วยงานของตน ลดความซ้ำซ้อนในการ ทำงาน ให้ความร่วมมือและทำงานในลักษณะที่เอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน เสมือนการเปิดประตูสู่โลกภายนอก โรงเรียนได้ดำเนินกิจกรรม ด้วยความร่วมมือของคณะครู ผู้นำท้องถิ่น ชุมชน องค์กรท้ องถิ่น องค์กรเอกชน เพ่อื สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม สรา้ งโอกาสทางการศกึ ษา และพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา เพ่อื ให้บรรลุเปา้ หมายร่วมกนั โรงเรียนได้ดำเนินกิจกรรม ด้วยความร่วมมือของคณะครู ผู้นำท้องถิ่น ชุมชน องค์กรท้องถิ่น องค์กรเอกชน เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วม สร้างโอกาสทางการศึกษา และพัฒนาคุณภาพการศึกษา กระบวนการและวิธีการสร้าง เครือขา่ ยการเรยี นรู้ เพ่ือพัฒนาไปสรู่ ะดับของการลงมอื ทำกิจกรรมร่วมกนั เพ่ือใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายร่วมกัน ๑. ประชุมคณะครูและคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ให้ตระหนักถึงความจำเป็นในการสร้าง เครือข่าย เพอื่ ทจี่ ะทำงานให้บรรลุเปา้ หมายรวมทัง้ พจิ ารณาถึงองคก์ รตา่ งๆ ท่ีเห็นว่าเหมาะสมเพ่ือเขา้ เปน็ เครอื ขา่ ยในการทำงานร่วมกัน ประชุมคณะครูและคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ๒. ติดต่อกับองค์กรที่จะร่วมเป็นเครือข่าย เพื่อชักชวนให้เข้าร่วมเป็นเครือข่ายในการเรียนรู้ โดยต้อง สร้าง ความคุ้นเคย การยอมรบั และความไว้วา่ งใจระหวา่ งกันมกี ารให้ข้อมลู และแลกเปลยี่ นข้อมลู กระตุ้นให้คดิ ร่วมกนั เพ่ือ แก้ปัญหาหรอื พัฒนาในเรือ่ งเดยี วกนั ของเครือขา่ ยเป็นการเตรยี มกลุ่มเครือข่าย มูลนิธิครกู าญจนบรุ ี มามอบทุนการศึกษา และค่ายฝึกไทรโยค ๓. สร้างพันธกรณีร่วมกัน สร้างความผูกพันร่วมกัน ตกลงใจในความสัมพันธ์ต่อกันและตกลงที่จะทำงาน ร่วมกันเป็นเครือข่าย เพื่อตอบสนองความต้องการหรือแก้ปัญหาร่วมกัน ถ่ายทอดเพ่ิมพูนความรู้ การไปศึกษาดูงาน ทำใหเ้ กดิ เปน็ กลมุ่ ศึกษาเรียนรขู้ ้ึนในองค์กรเครือข่าย

22 การประชุมเครือข่ายและการไปศึกษาดงู าน ๔. พัฒนาความสัมพันธ์ร่วมกัน สร้างเครือข่ายให้เกิดผลงานเป็นรูปธรรม โดยเริ่มทำกิจกรรมที่ใช้ ทรัพยากร ร่วมกัน มีการตกลงในเรื่องของการบริหารจัดการขององค์กรเครือข่าย การกำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดกิจกรรม กำหนดบทบาทของสมาชิก รวมท้ังสิทธิหน้าทข่ี องผเู้ กี่ยวข้องเกดิ เป็นกลุ่มกิจกรรมข้นึ ในองค์กรเครือขา่ ย การรวมกลุ่มจดั กิจกรรมร่วมกัน ๕. ทำกิจกรรมร่วมกัน เกิดขึ้นหลังจากมีการพัฒนาความสัมพันธ์ร่วมกันแล้ว และนำไปสู่การทำกิจกรรมร่วมกัน จนมีผลงานเป็นท่ีปรากฎชดั เกิดประโยชน์ร่วมกันในองค์กรเครือข่าย จนเกิดการขยายกลุ่มเครือขา่ ยมากยิ่งข้ึน จดั ทำกิจกรรมรว่ มกนั การสร้างเครือข่ายนับเป็นเรื่องท่ีมีความสำคัญในปัจจบุ ัน เนอื่ งด้วยเครือข่ายเป็นการจัดระบบให้กลุ่ม บุคคลหรือ องค์กรที่เป็นสมาชิกดำเนินกิจกรรมบางอย่างร่วมกัน เพื่อนำไปสู่จุดหมายที่เห็นพ้องต้องกัน การรวมตัว เป็นเครือข่ายจึง ควรทำในลักษณะการแลกเปลี่ยน ต้องสกัดเอาส่วนดีหรือ จุดแข็งของแต่ละฝ่ายมาเรียนรู้ และสนับสนุนกันและกัน เป็น การผนึกกำลัง (synergy) ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จากการทำงานเป็นเครือข่ายมักจะมีผลที่ดีกว่าผลรวมที่เกิดจากการปล่อยให้ต่าง คนต่างทำแล้วนำผลลัพธ์ของแต่ละคนมารวมกัน ดังนั้น การสร้างเครือข่ายในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ จะช่วยให้การ ดำเนินกิจกรรมเป็นไปอย่างมีระบบ มีประสิทธิภาพ ให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษาสำเร็จตามเป้าหมาย นำผลที่ได้ ประชาสมั พนั ธใ์ หผ้ ู้มสี ว่ นเกี่ยวขอ้ งทราบ และนำทไ่ี ด้ไปพฒั นาอย่างต่อเน่ือง

23 5. การตรวจสอบคณุ ภาพ นิเทศ กำกับ ตดิ ตามโดยผู้บริหาร และสำรวจความพงึ พอใจของชมุ ชน โดยการสงั เกตและสัมภาษณ์ 6. แนวทางนำไปใช้ประโยชน์ ๑. ผู้บริหารสามารถนำไปพัฒนาไปพัฒนา ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และโรงเรียนได้ตาม จุดประสงคแ์ ละเปา้ หมายของโรงเรยี นไดอ้ ยา่ งครบถว้ น ๒. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ดำเนนิ งานตามแผนงานที่วางไว้ ๓. ผ้บู ริหาร กำกบั ติดตาม และประเมนิ ผลการทำงานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 7. ปัจจัยความสำเร็จ ๑. โรงเรียนได้จัดทำวิสัยทัศน์ เพื่อแสดงจุดยืนและเจตนารมณ์ของโรงเรียนให้ผู้มาใช้บริการทราบว่า ทาง โรงเรียนจะพาผูเ้ รียนเดินทางไปตามทิศทางที่กำหนดไวน้ ี้ดว้ ยความมุ่งมนั่ อย่างแทจ้ ริง ๒. ความจำเป็นที่จะต้องมีระบบคุ้มกันในตัวทด่ี ีพอสมควรต่อการมผี ลกระทบใด ๆ อนั เกดิ จากการเปลย่ี นแปลง ทั้งภายนอกและภายใน ท้งั น้ี จะตอ้ งอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง อยา่ งย่งิ ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้าง พื้นฐานจิตใจให้มีสำนึกใน คุณธรรม ความซือ่ สตั ยส์ จุ ริต และใหม้ คี วามรอบรู้ทีเ่ หมาะสม ๓. พัฒนาระบบงาน และเป็นตัวขับเคลื่อนการดำเนินงานของบุคลากรในฝ่ายงานต่างๆ ทำให้การบริหาร จัด การศึกษาโรงเรียนมีประสิทธิภาพโดยทุกฝ่าย ต้องมีส่วนร่วมในการวางแผน ปฏิบัติ ตรวจสอบ ประเมินผล แก้ไขปรับปรุง เพอ่ื การพฒั นาใหบ้ รหิ ารจดั การพัฒนาคณุ ภาพอยา่ งเป็นระบบและจัดกระทำอย่างต่อเนอ่ื ง มคี ุณภาพ ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ๔. การทำงานร่วมกนั เปน็ ทีมและมคี ุณภาพโดยมีการประสานงานในทีมเปน็ ระบบทุกขั้นตอนในการจดั กิจกรรมย่อย ที่ได้รับมอบหมาย มีการแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานที่มีความชำนาญ และความถนัด และภารกิจของทุกคนในทีมงาน มี เปา้ หมาย มคี วามพงึ พอใจ ทกุ คนเห็นความสำคัญของทกุ บทบาทในการทำงานในการบรหิ ารงาน โรงเรียนโดยมกี ารทำงานรว่ มกนั ๕. วิธีการที่หลากหลาย การสัมมนา การศึกษาดูงาน การพัฒนาบุคลากรนี้ให้เป็นไปตามความต้องการ ของ บุคลากร และท่สี ำคัญต้องมีการพัฒนาส่ือเทคโนโลยีด้าน ICT ให้มีสมรรถนะที่สามารถเปน็ เครื่องมือ สำหรบั บุคลากรในการ สืบค้นข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาระงานที่ปฏิบัติ ซึ่งฝ่ายบริหารต้องจัดให้มีและนับว่า เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในการ ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการพัฒนาบุคลากร จนมีความรู้ความสามารถในการที่จะนำไปพัฒนา ภาระงานของตนตลอดจน ทมี งานไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ผลผลิตท่ีได้ คือ ทมี งานทีม่ ีคณุ ภาพสูง ๖. วิธีการพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการแนะนำหรือเรียนรู้ จากเทคนิคการนิเทศแบบเสนอแนะ เปน็ วิธีการพัฒนาบคุ ลากรให้สามารถปฏบิ ตั ิงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๗. การสร้างเครือข่าย สามารถช่วยแก้ปัญหาได้ ด้วยการเปิดโอกาสให้บุคคลและองค์กรได้แลกเปลี่ยน ข้อมูล ข่าวสารรวมทั้งบทเรียน และประสบการณ์กับบุคคลหรือองค์กรที่อยู่นอกหน่วยงานของตน ลดความซ้ำซ้อน ในการทำงาน ใหค้ วามรว่ มมือ และทำงานในลักษณะที่เอ้ือประโยชนซ์ ึ่งกันและกัน ๘. นวัตกรรมการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือที่ถ่ายทอดการเรียนรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก เพิ่มพูนทักษะ และ ประสบการณ์ด้านสถานการณ์การเรียนรู้กระตุ้นให้เกิดการพัฒนาด้านศักยภาพการคิด การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มแกผ่ ู้เรียน นอกจากน้ันสื่อยังเปน็ เครื่องมือการเรียนรู้ ในการให้ผเู้ รียนแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง ๙. พัฒนานักเรียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานของการจัดการศึกษา การจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียน ขั้นตอนการดำเนินการ ผู้บริหาร ครู และผู้เกี่ยวข้องสร้างความตระหนักร่วมกันในการพัฒนา ผู้เรียน เพือ่ ใหม้ คี ุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร โรงเรียนบ้านดงยาง เป็นโรงเรียนขนาดเล็กที่มีจำนวนครูไม่ครบชั้น คณะครูที่ให้ความสำคัญต่อการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษา มที ศั นคติในการทำงานท่ีสอดคล้องกัน และมีความพร้อมในการปรับเปลี่ยนแนวทางการปฏิบัติงานให้มี ประสทิ ธิภาพย่ิงข้ึน ชมุ ชนมคี วามเข้มแข็ง มีความตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษา และให้ความร่วมมือในการพัฒนา โรงเรียนเป็นอย่างดี การไดร้ ับสนับสนนุ จากหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องในการจัดกิจกรรมใหน้ ักเรียนไดเ้ รียนรู้

24 ประสบการณ์นอกห้องเรียน ความเข้มแข็งของผู้บริหารโรงเรียน มภี าวะผู้นำ และมวี สิ ัยทัศน์ ให้ความสำคัญกับการมีส่วน รว่ มของทกุ ฝา่ ยนำไปสู่ความสำเร็จทีม่ ่ันคง 4. การมีส่วนร่วมในการพฒั นานวัตกรรม คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านดงยาง คณะกรรมการสถานศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ทุกฝ่ายท่ีเกีย่ วข้องมีส่วน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมประเมนิ และร่วมพัฒนาในการวิเคราะห์ศักยภาพนวัตกรรม ของการบริหารโรงเรียนขนาดเล็กสู่มาตรฐาน ด้วย “DONGYANG MODEL” ทำให้แกป้ ญั หาและพฒั นางานให้สอดคล้องกับ ความต้องการ และสภาพจรงิ ของโรงเรียน ได้ส่งผลใหก้ ารทำงานมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล การบริหารโรงเรียนตามหลัก DONGYANG MODEL สำเร็จได้ เพราะผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นดงยาง คณะกรรมการสถานศกึ ษา นักเรียน ผูป้ กครอง และชุมชน ทุกฝา่ ยที่เก่ียวขอ้ งมีส่วนรว่ มคิด ร่วมทำ รว่ มประเมินและรว่ มพัฒนา โดยมีปัจจัยแห่งความสำเร็จ ดงั น้ี ๑) ผู้บริหาร เป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง กล้าคิด กล้าทำ กล้าตัดสินใจ กล้าเปลี่ยนแปลง มีภาวะผู้นำ มีคุณธรรม และประพฤติตนเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี บรหิ ารจัดการโรงเรยี นด้วยระบบคุณภาพ มคี วามรู้ความสามารถในการ พัฒนาวิชาการ หลักสูตร นวัตกรรมและกระบวนการเรียนรู้ไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพและคุณภาพ เกิด ประโยชนส์ ูงสุดแกน่ กั เรยี น โดยอาศยั การมสี ว่ นรว่ มจากทกุ ฝา่ ยท่เี กี่ยวขอ้ ง ๒) ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความเป็นมืออาชีพ มีศักยภาพในการจัดการเรียนรู้ มีทักษะการใช้สื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยีทท่ี ันสมยั มีทกั ษะวชิ าชพี ในการพฒั นาหลักสตู ร และกระบวนการเรยี นรู้อย่างมปี ระสิทธิภาพโดย ใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับนักเรียน มีความกระตือรือร้น สนใจ ใส่ใจ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้ เรียนรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม จิตสาธารณะ จงรักภักดีต่อองค์กร มีการเรียนรู้และพัฒนาตนเองตามศักยภาพอย่างเตม็ กำลงั ความสามารถ มีการทำงานแบบเปน็ ทีม รว่ มคดิ ร่วมประสาน รว่ มทำจนทำใหง้ านสำเร็จบรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าหมายท่ีวางไว้ ๓) นักเรียนมีนิสัยใฝ่รู้ รักการอ่านและการค้นคว้า สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เป็นคนดีมี คุณธรรม รู้จักคิดวิเคราะห์ มีทักษะการดำรงชีวิตในสังคมยุคใหม่ เข้าใจและรู้จักใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการ ดำรงชีวิต ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ สร้างงาน สร้างอาชีพ สามารถนำเสนอผลงานได้ อย่างสร้างสรรค์ สืบสานวิถีวัฒนธรรมไทยอย่างมั่นใจในตนเอง รักความเป็นไทย รักษ์ความเป็นท้องถิ่น ใส่ใจในการ ร่วมกันรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม 4) คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ผู้นำชุมชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องใหก้ ารยอมรบั และใหก้ ารสนบั สนนุ ด้านงบประมาณในการพัฒนาการศึกษา 5) ผปู้ กครองและชุมชน ให้การยอมรบั เชอ่ื ถอื มีความรูส้ ึกร่วมเปน็ เจา้ ของ มสี ่วนรว่ มพัฒนาและสนบั สนนุ การดำเนินงานของโรงเรยี น 6) โรงเรียน เปน็ โรงเรยี นช้นั ดี มคี ณุ ภาพ มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีอบอุ่น ปลอดภัย เอื้อต่อการ เรียนรู้เป็นท่ียอมรบั ของสังคม เปน็ ต้นแบบของการปฏริ ูปการศึกษาท่แี ทจ้ ริง ซ่ึงเกดิ จากการรว่ มคดิ รว่ มปฏิบัติ รว่ มพัฒนา ร่วมสนบั สนุนจากผูม้ สี ่วนเกยี่ วขอ้ ง 7) ทรพั ยากรและแหลง่ เรียนรู้ โรงเรยี นมีความพร้อมด้านนวัตกรรมต่าง ๆ ด้านวัสดุอุปกรณ์การเรียนการ สอน สอื่ และเทคโนโลยี 5. ผลท่เี กดิ จากการนำนวัตกรรมไปใช้ ผลการดำเนินงานโดยใช้ นวัตกรรมการบริหารโรงเรียนขนาดเล็กสู่มาตรฐาน ด้วย “DONGYANG MODEL” ถือ เปน็ นวตั กรรมท่ีสำคัญในการพัฒนาองค์กร และคุณภาพนักเรียน โรงเรยี นมีความเชื่อม่ันว่า การบริหารงานแบบมีส่วนร่วม และมีการส่งเสริมให้บุคลากรได้ปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพทำให้เกิดประสิทธิภาพ ในการทำงานและเกิดประสิทธิผลกับ ผู้เรียน มีความสุขในการทำงาน ส่งผลให้นักเรียนได้รับความรู้ มีความสามารถ และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนเพิ่มข้ึน บคุ ลากรทำงานได้อย่างสร้างสรรค์ ตรงตามศกั ยภาพ ความสามารถ ใหค้ วาม

25 ร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งงานการสอนและงานพิเศษอย่างเต็มความสามารถ ครูและบุคลากร นักเรียน และโรงเรียน ได้รับการยกย่องเป็นประกาศเกียรติคุณ จนเกิดขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โรงเรียนมีความพร้อมด้วยอาคาร สถานที่ มีห้องเรียน และห้องปฏิบัติการเพียงพอที่จะใช้เป็นห้องเรียน และได้นำความรู้จากการใช้นวัตกรรมการบริหาร โรงเรยี นขนาดเล็กสมู่ าตรฐาน ดว้ ย “DONGYANG MODEL” ทำใหเ้ กดิ ผลต่อสถานศึกษา ดงั นี้ ๑. N (Nice Plan) โรงเรียนได้วางแผนการบริหารงาน โดยการนำหลักและทฤษฎีการบริหารงานโดยใช้โรงเรียน เป็นฐาน วงจรควบคุมคุณภาพ (PDCA) หลักธรรมาภิบาล มาใช้เป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาระบบงาน และเป็นตัว ขับเคลื่อนการดำเนินงานของบุคลากรในฝ่ายงานต่าง ๆ ทำให้การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนมีประสิทธิภาพ ทุกฝ่ายมี สว่ นร่วมในการวางแผนปฏบิ ตั ิ ตรวจสอบ ประเมนิ ผล แกไ้ ขปรับปรุง เพ่อื การพัฒนาคุณภาพอย่างเปน็ ระบบ และจัดกระทำ อย่างต่อเนื่อง มีคุณภาพได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีความศรัทธาการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย มีคุณธรรม จริยธรรม มีความเป็นไทยและไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด มีทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีและ การสื่อสารภาษาต่างประเทศ น้อมนำปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสสู่ ถานศกึ ษา จากวิสัยทศั นท์ ำใหโ้ รงเรยี นประสบผลสำเร็จในดา้ นการบริหารจัดการศึกษา โรงเรยี นมีประสิทธภิ าพ ทุกฝ่าย มีส่วนร่วมในการวางแผนปฏบิ ัติ ตรวจสอบ ประเมินผล แกไ้ ขปรบั ปรุง เพ่อื การพัฒนาคุณภาพอย่างเป็นระบบ ทำให้ผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ที่เพิ่มขึ้น นักเรียนมีประชาธิปไตย มีคุณธรรม จริยธรรม มีความเป็นไทยและไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด โรงเรียนได้รับรางวลั เป็นสถานศึกษาที่จัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2562 ได้อย่างมีคุณภาพ และสมควรไดร้ บั การ ยกย่องให้เปน็ แบบอย่างที่ดี ครมู กี ารใชเ้ ทคโนโลยีในการเรียนการสอน และการบริหารโรงเรียน ใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศในการบรหิ ารงาน 2. O = Objective (วัตถุประสงค)์ โรงเรยี นมวี ตั ถุประสงค์ในการบริหารงาน มวี ัตถุประสงค์ของกิจกรรมการ เรยี นรู้ที่มีประสิทธิภาพ ทำใหโ้ รงเรยี นประสบผลสำเรจ็ ในดา้ นตา่ ง ๆ ดังนี้ 1) นกั เรียนมีนสิ ัยใฝร่ ู้ รักการอ่านและการค้นคว้า สามารถแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง เป็นคนดีมคี ุณธรรม รู้จัก คดิ วิเคราะห์ มีทักษะการดำรงชีวิตในสังคมยุคใหม่ ใชห้ ลักเศรษฐกิจพอเพียงต่อเน่ืองตลอดชวี ติ ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ และการส่ือสารเพื่อการเรียนรูส้ รา้ งงานสร้างอาชีพโดยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำเสนอผลงานได้ อย่างสร้างสรรค์ สืบสานวถิ วี ัฒนธรรมไทยได้อย่างมั่นใจ เป็นคนดี คนเกง่ อยใู่ นสังคมอย่างเป็นสุข มคี ุณลักษณะทด่ี ีสมวยั มกี ารเรยี นรทู้ ่ีตอบสนองต่อการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ 21 มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน มที ักษะท่ีจำเป็น สามารถ แกป้ ัญหา ปรบั ตวั ส่ือสาร และทำงานร่วมกับผู้อืน่ ได้อย่างมีประสิทธผิ ล มีวนิ ัย มนี สิ ยั ใฝ่เรียนรู้อยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวติ รวมท้ังเป็นพลเมืองที่ร้สู ิทธิและหน้าท่ี มีความรับผิดชอบและมีจติ สาธารณะ เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นได้เรยี นรแู้ ละพัฒนา อย่างเต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกับวยั 2) ครูมีทักษะวชิ าชีพในการพฒั นาหลักสตู รและกระบวนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธภิ าพ โดยใชส้ ่อื นวตั กรรม และเทคโนโลยที ่ีทนั สมัย เหมาะสมกับนกั เรยี น มีความกระตือรือรน้ สนใจ ใส่ใจ ดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ได้เรียนรู้และ พฒั นาตนเองตามศักยภาพอย่างเตม็ กำลังความสามารถ 3) ผู้บรหิ ารเปน็ ผู้นำการเปล่ยี นแปลงให้โรงเรียนมกี ารบริหารจัดการท่ีดี มีความรู้ ความสามารถในการพัฒนา วชิ าการ หลักสูตร นวตั กรรมและกระบวนการเรียนรู้ ไปสกู่ ารปฏบิ ัติอยา่ งมีประสิทธภิ าพและคุณภาพ เกิดประโยชนส์ ูงสดุ แก่นักเรยี น โดยอาศัยการมีส่วนรว่ มจากทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง 4) โรงเรียนมีการจดั การศึกษาจนเกิดผลผลติ ทส่ี อดคลอ้ งกับความต้องการของท้องถนิ่ ผูเ้ รยี นมีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษา สามารถพัฒนาส่มู าตรฐานบนพื้นฐานของความเป็นไทย มีการจัดบรรยากาศการเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อการ พฒั นาศักยภาพผูเ้ รียนและมีความเป็นประชาธปิ ไตย 5) ผูป้ กครองให้การยอมรับเช่ือถือ มีความร้สู ึกรว่ มเป็นเจ้าของและสนบั สนนุ การดำเนินงานของโรงเรยี น สง่ ผลให้สถานศกึ ษา ผู้บรหิ าร ครู นักเรยี น และโรงเรยี นได้รบั การยกย่องเปน็ ประกาศเกยี รตคิ ณุ ในระดับ ตา่ ง ๆ อยา่ งน้อย ๑รางวัลตอ่ ปกี ารศึกษา จนเกดิ ขวญั และกำลงั ใจในการปฏิบตั ิงาน

26 3. D = Development (การพัฒนา) โรงเรียนได้ดำเนินจัดกิจกรรมตามแผนที่กำหนดไว้ด้วยวิธีการที่ หลากหลาย เช่น การสัมมนา การศึกษาดูงาน และที่สำคัญต้องมีการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีด้าน ICT ให้มีสมรรถนะที่ สามารถเปน็ เครื่องมือสำหรับบคุ ลากรในการสบื ค้นขอ้ มูลตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานท่ีปฏิบตั ิ พัฒนาแล้วสามารถนำมา ประยุกต์ใชใ้ นการพฒั นากระบวนการเรยี นการสอนหรือในภารกิจท่ตี นเองรับผิดชอบ ดงั น้ี ๑) พัฒนาผู้บริหารโรงเรียน ผู้บริหารจะต้องมีความรอบรู้ในการบริหาร มีวิสัยทัศน์ มีความสามารถ รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ โปร่งใส เอาใจใส่และทุ่มเทให้กบั การทำงานอย่างจรงิ จงั เป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง ดำเนินการ ใหโ้ รงเรียนมกี ารบริหารจัดการที่ดี มคี วามรู้ ความสามรถในการพัฒนาวชิ าการ หลกั สตู ร นวตั กรรม และกระบวนการ เรียนรไู้ ปสกู่ ารปฏิบัติอยา่ งมีคุณภาพ และประสิทธิผล เกดิ ประสิทธิภาพสูงสุดแกน่ ักเรียนโดยอาศยั การมีส่วนร่วมจาก ทุกฝ่ายทีเ่ กย่ี วข้อง ๒) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา มีทักษะวิชาชีพในการพัฒนาหลักสูตรการเรียน และกระบวนการ เรียนรู้อยางมีประสิทธิภาพ การจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัย เหมาะสมกับนักเรียน มี ความกระตือรือร้น สนใจ ใส่ใจ ดูแล ช่วยเหลือนักเรียนให้เรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพอย่างเต็มกำลัง ความสามารถ ๓) พัฒนาผู้เรียน นักเรียนมีทักษะชีวิต ทักษะการเรียนรู้ และทักษะการทำงาน พัฒนาให้นักเรียนมีสมรรถนะ สำคญั มีความสามารถในการส่ือสาร มคี วามสามารถในการคิด มีความสามารถในการแก้ปัญหา และความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้และพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกับช่วงวัย มีคุณลักษณะที่ดีสมวัย มีการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จำเป็น สามารถ แกป้ ัญหา ปรับตัว สือ่ สาร และทำงานรว่ มกบั ผู้อื่นไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธผิ ล มีวนิ ัย มีนสิ ยั ใฝ่เรียนร้อู ยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวิต รวมทงั้ เป็นพลเมอื งที่รูส้ ทิ ธแิ ละหน้าที่ มคี วามรบั ผดิ ชอบและมีจิตสาธารณะ เปิดโอกาสให้นักเรยี นไดเ้ รียนรแู้ ละพัฒนา อยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ เหมาะสมกับวัย ๔) พฒั นาโรงเรียน ทำให้โรงเรียนมคี ณุ ภาพ มีบรรยากาศ และสภาพแวดลอ้ มที่อบอ่นุ ปลอดภัย เอื้อต่อการ เรียนรู้ มเี อกลกั ษณ์ความโดดเดน่ เปน็ ต้นแบบของการปฏริ ูปการศึกษาท่แี ท้จรงิ ซึง่ เกดิ จากการรว่ มคิด ร่วมปฏิบตั ิ รว่ ม พฒั นา ร่วมสนับสนุนจากผู้มสี ว่ นเกีย่ วข้อง ทำให้โรงเรียนมีการบรหิ ารจดั การท่มี ปี ระสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ล ตามโครงสร้างการบริหารจดั การการดำเนนิ งานภายในโรงเรียน ดังน้ี - การบริหารงานวิชาการ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การพฒั นาหลักสูตร โดยโรงเรียนมหี ลักสูตรสถานศึกษาที่ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง ครอบคลุมความต้องการของผู้เรียน ชุมชน และท้องถิ่น มีการจัดการแหล่งเรยี นร้ทู ี่ เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครอบคลุมภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการพัฒนาเด็กตั้งแต่ระดับปฐมวัยให้มี สมรรถนะ และคุณลักษณะที่ดีสมวัยในทุกด้าน โดยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ทีต่ อบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษที่ 21 มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จำเป็นของโลกอนาคตสามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตรวมทั้งเป็นพลเมืองที่รู้สิทธิ และหน้าที่ มีความรับผิดชอบและมีจิตสาธารณะ มีการจัดการเรียนรู้ที่สนองความต้องการ ความสนใจ และความ แตกต่างระหว่างบุคคล มีการจัดทำหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผล โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน เพอ่ื ให้ทกุ ฝ่ายถอื ปฏบิ ัติร่วมกันและเป็นมาตรฐานเดยี วกัน - การบริหารงานงบประมาณ มีการบริหารจัดการดำเนินการวางแผนพัฒนาโรงเรียน จัดองค์กร จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบการประกนั คุณภาพภายใน การควบคุมภายใน การบริหารงบประมาณ พัสดแุ ละ สินทรัพย์ การใช้งบประมาณ จัดระบบการบริหารการเงิน บัญชี และพัสดุ มีการควบคุมการใช้งบประมาณอย่างเป็น ระบบ สรุปรายงานผลในการบริหารงบประมาณ และการตรวจสอบภายใน โดยยึดหลักความถูกต้อง ตามระเบียบ กฎหมายที่กำหนด มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และเกิดผลคุ้มค่าในการใช้งบประมาณอย่างเป็นระบบ และมี ประสิทธภิ าพ

27 - การบริหารงานบุคคล มีการบริหารจัดการ โดยการวางแผนอัตรากำลังในสถานศึกษาวิเคราะห์ความ ต้องการและจัดทำแผนอัตรากำลังโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งเสริมและพัฒนา บุคลากรในสถานศึกษา จัดทำมาตรฐานภาระงานสำหรับบุคลากรในสถานศึกษา การประเมินผลการปฏิบัติงานตาม มาตรฐานภาระงาน มีการควบคุม กำกับ ตรวจสอบ และจัดสวัสดิการให้แก่บุคลากรในสถานศึกษา มีการส่งเสริม สนับสนุนบุคลากรใหม้ ีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง รวมทั้งการสร้างขวัญและกำลังใจอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ให้ทุกคน สามารถปฏบิ ัติงานในความรบั ผดิ ชอบได้อยา่ งมีคณุ ภาพ อยา่ งเตม็ ความสามารถ และมคี ณุ ภาพ - การบริหารทั่วไป ส่งเสริม สนับสนุน มีการบริหารจัดการดำเนินการ วางแผนงาน จัดทำสารสนเทศ เกี่ยวกับงานกิจการ กำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบงานบริการอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม จัดบรรยากาศอาคาร เรยี น จัดการสอื่ สารและประชาสมั พันธ์ มาตรการรกั ษาความปลอดภัย - การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ มีการนำนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน สกู่ ารปฏบิ ตั ขิ องโรงเรยี น ให้เกดิ ผลสำเรจ็ อยา่ งเป็นรปู ธรรม ๕) พัฒนาร่วมกับชุมชน ชุมชนให้การยอมรับ เชื่อถือมีความรู้สึกร่วมเป็นเจ้าของ และร่วมสนับสนุนการ ดำเนินงานของโรงเรียน ให้ความไวว้ างใจในการจดั การเรียนร้เู พือ่ พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของนักเรยี น ส่งผลให้สถานศึกษา ผูบ้ ริหาร ครู นักเรียน และโรงเรียนได้รับการยกย่องเปน็ ประกาศเกียรตคิ ุณในระดับ ต่าง ๆ อย่างน้อย ๑ รางวัลตอ่ ปกี ารศกึ ษา จนเกิดขวัญและกำลงั ใจในการปฏิบตั ิงาน 4. G = Good Govervance (หลกั ธรรมาภิบาล) โรงเรยี นบ้านดงยางได้ใชห้ ลัก “ธรรมาภิบาล” ในการบริหาร จัดการสถานศึกษา และกระจายเป็นข้อปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ พึงใช้ประกอบในการปฏิบัติงานของแต่ละบุคคล ให้บรรลุ ความสำเร็จตามเป้าหมายของการจดั การศึกษา ก่อให้เกดิ ประโยชนส์ ุขแก่ส่วนรวมได้เป็นอย่างดี ซึง่ มีแนวปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1) หลักนติ ธิ รรม ผ้บู รหิ ารจะต้องยึดหลักความถูกต้อง คือ มกี ารพิจารณาวนิ ิจฉัย ปัญหา การตัดสินใจ (Decision Making) และสั่งการ (Command) ด้วยความถูกต้องตามกฎหมายบ้านเมือง และกฎระเบียบ ข้อบังคับ ระเบียบ วินัย ข้าราชการ และจรรยาบรรณครู ซึ่งเป็นข้อบังคับภายใต้ข้อตกลงร่วมกัน ให้ถูกต้องตามหลักศีลธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่ดีของสังคม ถูกตอ้ งตามนโยบายของผบู้ ังคับบัญชาหน่วยเหนือ และถูกต้องตรงประเด็นตามหลักวิชา และได้รับ ความพึงพอใจ จากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในระบบงานของสถานศึกษาทั้ง 4 งาน อันได้แก่ งานบริหารวิชาการ งานบริหาร งบประมาณ งานบรหิ ารบุคคล และงานบริหารทว่ั ไป 2) หลักคุณธรรม ผู้บริหารจะต้องยึดหลักความเหมาะสม คือ รู้จักคิด พูด ทำกิจการงาน และปฏิบัติงานได้ เหมาะสม ถูกกาลเทศะ บุคคล สังคม และสถานการณ์ ตามหลักสัปปุริสธรรม 7 และหลักความยุติธรรม คือ มีการวินิจฉัย สั่งการ และปฏิบัติต่อผู้อยู่ใต้ปกครอง และบุคคลที่เกี่ยวข้อง ด้วยความชอบธรรม บนพื้นฐานแห่งหลักธรรม หลักการ เหตุผล และขอ้ มูลทถ่ี ูกต้อง เชื่อถือได้ และตรงประเด็น และดว้ ยความเที่ยงธรรม คอื ไม่อคติ หรือลำเอียงด้วยความหลงรัก หลงชัง ด้วยความกลัวเกรง และด้วยความหลง ไม่รู้จริง คือ ขาดข้อมูลที่ถูกต้องเชื่อถือได้ และสมบูรณ์ เป็นเครื่อง ประกอบการวนิ ิจฉัย ตัดสินใจ ให้ความเทยี่ งธรรม 3) หลักความโปร่งใส ผบู้ ริหารจะต้องยึดหลักความบรสิ ุทธิ์ คือ มกี ารวินิจฉัย ส่ังการ กระทำกิจการงาน ด้วยความ บริสุทธิ์ใจ คือ ด้วยเจตนา ความคิดอ่าน ที่บริสุทธิ์โปร่งใส ใช้ระบบสารสนเทศสามารถตรวจสอบได้ ตลอดเวลา โดยใช้ หลกั การ PDCA ในระบบงานของสถานศึกษาท้ัง 4 งาน 4) หลักการมีส่วนร่วม ผู้บริหารจะต้องให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการศึกษา ทั้งครู นักเรียน ผู้ปกครอง ตลอดทั้งชุมชนมีส่วนร่วมดำเนินการจัดการศึกษาในโครงการและกิจกรรมของสถานศึกษาที่จัดขึ้นตลอดปีการศึกษา ใน รปู แบบของคณะกรรมการ 5) หลักความรับผิดชอบ ผู้บริหารจะต้องให้ผู้ที่มีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการศึกษาได้ตะหนักถึงความ รบั ผิดชอบรว่ มกนั ในผลของการจัดการศึกษาที่มีผลผลติ คอื ตวั ผ้เู รยี นท่ีมคี ณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ทแ่ี ตกต่างกนั 6) หลักความคุ้มค่า ผู้บริหารจะต้องใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินการกับทรัพยากรทางการศึกษา อยา่ งคุ้มค่า และเกิดประโยชน์สงู สุด โดยใชห้ ลักการ PDCA เขา้ มาตรวจสอบคุณภาพของระบบงานทัง้ 4 งานอยา่ งครบถว้ น

28 5. Y = Yourself (การพ่ึงพาตนเอง) นักเรียนโรงเรียนบ้านดงยางทุกคนตั้งใจเรียน ต้ังใจปฏบิ ัติงานของตนเอง มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียนแล้ว เมื่อมีเวลาว่างก็มักจะเข้าไปอ่าน หนังสือที่ห้องสมุดของโรงเรียน ที่มีหนังสือหลายประเภทให้นักเรียนได้เลือกอ่านตามความสนใจ นักเรียนมีความขยันใน การทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สามารถทำงานได้ด้วยตนเอง และเสร็จตามกำหนดเวลา โดยไม่ สร้างความเดือดร้อนให้ผู้อื่น และ สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ลักษณะการพึ่งพาตนเองของนักเรียน ในการเรียน นักเรียนทุกคนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในด้านการเรียน อ่านหนังสือเรียนล่วงหน้ามาก่อนที่จะเรียน สนใจ ใฝร่ ู้ท่ีจะหยิบหนังสือมาอ่านทบทวนบทเรียนที่ได้เรียนผ่านไปแลว้ ทำการบ้านและทำช้ินงานท่ีครูมอบหมาย ด้วยตนเอง มี ความรบั ผิดชอบทงั้ ต่อตนเองและต่อผู้อ่นื ส่งผลให้นกั เรยี นน้ันสามารถพงึ่ พาตนเองได้ และยังเปน็ ทีพ่ ่ึงของคนอื่นได้อีกด้วย สง่ ผลให้สถานศึกษา ผู้บรหิ าร ครู นักเรยี น และโรงเรยี นได้รับการยกย่องเปน็ ประกาศเกียรตคิ ณุ ในระดับ ต่าง ๆ อย่างน้อย ๑รางวลั ต่อปกี ารศกึ ษา จนเกิดขวญั และกำลงั ใจในการปฏบิ ตั งิ าน 6. G = Good Teamwork (ทีมงานทีด่ ี) โรงเรียนบา้ นดงยางเน้นการทำงานร่วมกันเปน็ ทีมและมคี ุณภาพโดยมี การประสานงานในทีมเป็นระบบทุกขั้นตอน ในการจัดกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย มีการแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานที่มี ความถนัด และกิจกรรมของทุกคนในทีมงาน มีเป้าหมาย มีความพึงพอใจ ทุกคนเห็นความสำคัญของทุกบทบาทในการ ทำงาน ในการบรหิ ารงานโรงเรยี น ทำให้โรงเรียนประสพผลสำเร็จในการทำงาน ในด้านการบรหิ ารงานต่าง ๆ ดงั นี้ - การบริหารงานวิชาการ ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาหลักสูตร โดยโรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง ครอบคลุมความต้องการของผู้เรียน ชุมชน และท้องถิ่น มีการจัดการแหล่งเรยี นร้ทู ่ี เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครอบคลุมภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการพัฒนาเด็กตั้งแต่ระดับปฐมวัยให้มี สมรรถนะ และคุณลักษณะที่ดีสมวัยในทุกด้าน โดยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษที่ 21 มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จำเป็นของโลกอนาคตสามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตรวมทั้งเป็นพลเมืองที่รู้สิทธิ และหน้าที่ มีความรับผิดชอบและมีจิตสาธารณะ มีการจัดการเรียนรู้ที่สนองความต้องการ ความสนใจ และความ แตกต่างระหว่างบุคคล มีการจัดทำหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผล โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน เพือ่ ให้ทุกฝ่ายถอื ปฏบิ ัติรว่ มกันและเป็นมาตรฐานเดียวกัน - การบรหิ ารงานงบประมาณ มีการบริหารจดั การดำเนินการวางแผนพฒั นาโรงเรียน จดั องคก์ ร จัดระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบการประกันคุณภาพภายใน การควบคุมภายใน การบริหารงบประมาณ พัสดุและ สินทรัพย์ การใช้งบประมาณ จัดระบบการบริหารการเงิน บัญชี และพัสดุ มีการควบคุมการใช้งบประมาณอย่างเป็น ระบบ สรุปรายงานผลในการบริหารงบประมาณ และการตรวจสอบภายใน โดยยึดหลักความถูกต้อง ตามระเบียบ กฎหมายที่กำหนด มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และเกิดผลคุ้มค่าในการใช้งบประมาณอย่างเป็นระบบ และมี ประสทิ ธิภาพ - การบริหารงานบุคคล มีการบริหารจัดการ โดยการวางแผนอัตรากำลังในสถานศึกษาวิเคราะห์ความ ต้องการและจัดทำแผนอัตรากำลังโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งเสริมและพัฒนา บุคลากรในสถานศึกษา จัดทำมาตรฐานภาระงานสำหรับบุคลากรในสถานศึกษา การประเมินผลการปฏิบัติงานตาม มาตรฐานภาระงาน มีการควบคุม กำกับ ตรวจสอบ และจัดสวัสดิการให้แก่บุคลากรในสถานศึกษา มีการส่งเสริม สนับสนุนบุคลากรให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการสร้างขวญั และกำลังใจอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ให้ทุกคน สามารถปฏบิ ตั ิงานในความรบั ผดิ ชอบไดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ อย่างเตม็ ความสามารถ และมคี ณุ ภาพ - การบริหารทั่วไป ส่งเสริม สนับสนุน มีการบริหารจัดการดำเนินการ วางแผนงาน จัดทำสารสนเทศ เกี่ยวกับงานกิจการ กำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบงานบริการอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม จัดบรรยากาศอาคาร เรยี น จัดการส่ือสารและประชาสมั พนั ธ์ มาตรการรักษาความปลอดภัย - การขบั เคลื่อนนโยบายสู่การปฏบิ ัติ มีการนำนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน สกู่ ารปฏบิ ัตขิ องโรงเรยี น ให้เกิดผลสำเรจ็ อยา่ งเป็นรูปธรรม

29 7. ตรวจสอบ Check กำกับ ติดตาม และประเมนิ ผล ตรวจสอบคุณภาพตามตัวชี้วัด A = Achievement (ความสำเรจ็ ) - โรงเรียนประสบความสำเรจ็ ดา้ นนักเรียน นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เพิ่มขึ้น มีนิสัยใฝ่รู้ รักการอ่านและการค้นคว้า สามารถแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง เป็นคนดีมีคุณธรรม รู้จักคิดวิเคราะห์ มีทักษะการดำรงชีวิตในสังคมยุคใหม่ เข้าใจและรู้จักใช้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ สร้างงาน สร้าง อาชีพ สามารถนำเสนอผลงานได้อย่างสร้างสรรค์ สืบสานวิถีวัฒนธรรมไทยอย่างมั่นใจ รักความเป็นไทย รักษ์ความ เป็นท้องถิ่น ใส่ใจในการร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคม เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้และพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกับช่วงวัย มีคุณลักษณะที่ดีสมวัย มีการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน มีทักษะที่จำเป็น สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตรวมทั้งเป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้าที่ มีความรับผิดชอบและมีจิต สาธารณะ เปิดโอกาสใหน้ กั เรียนไดเ้ รยี นรู้และพฒั นาอยา่ งเต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกบั วยั สามารถพึ่งพาตนเองได้ โรงเรียนประสบความสำเร็จด้านครู มีความเป็นมืออาชีพ มีศักยภาพในการจัดการเรียนรู้ มีทักษะการใช้สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีทักษะวิชาชีพในการพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้สื่อ นวัตกรรม และ เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับนักเรียน มีความกระตือรือร้น สนใจ ใส่ใจ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้เรียนรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม จิตสาธารณะ จงรกั ภักดีตอ่ องคก์ ร มกี ารเรียนรู้และพัฒนาตนเองตามศักยภาพอย่างเตม็ กำลังความสามารถ มกี ารทำงานแบบเป็นทมี ร่วมคิด รว่ มประสาน รว่ มทำจนทำใหง้ านสำเรจ็ บรรลุวัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายที่วางไว้ โรงเรียนประสบความสำเร็จด้านผ้บู รหิ าร เปน็ ผู้นำในการเปลีย่ นแปลงใหโ้ รงเรยี นมีการบริหารจดั การท่ดี ีด้วยระบบคุณภาพ มีความรูค้ วามสามารถใน การพัฒนาวิชาการ หลกั สูตร นวตั กรรมและกระบวนการเรยี นรไู้ ปสกู่ ารปฏิบตั ิอย่างมปี ระสิทธภิ าพ เกดิ ประโยชน์ สูงสุดแกน่ ักเรียน โดยอาศัยการมีส่วนร่วมจากทกุ ฝา่ ยท่ีเกยี่ วขอ้ ง โรงเรยี นประสบความสำเรจ็ ดา้ นโรงเรยี น โรงเรียนมบี รรยากาศและสภาพแวดลอ้ มทีอ่ บอนุ่ ปลอดภยั เอ้อื ต่อการเรยี นรู้เปน็ ทยี่ อมรับของสงั คม เป็น ต้นแบบของการปฏริ ูปการศกึ ษา ซ่งึ เกดิ จากการรว่ มคิดร่วม ปฏบิ ัตริ ่วมพัฒนา รว่ มสนบั สนนุ จากผ้มู ีส่วนเกย่ี วข้อง มีการบริหารจดั การพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาท่ดี ีมคี ุณภาพ โรงเรยี นประสบความสำเรจ็ ด้านผปู้ กครองและชุมชน ให้การยอมรับ เชื่อถือ มีความรู้สกึ ร่วมเป็นเจ้าของ มีสว่ นร่วมพฒั นาและสนบั สนนุ การดำเนินงานของโรงเรียน 8. ปรับปรุงแกไ้ ข Action N = Network (เครอื ข่าย) โรงเรียนมกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรูร้ ะหวา่ งกนั ในทีมงาน และในชุมชน เพอ่ื ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการเรียนการสอน และเพื่อนำปัญหาต่าง ๆ มาช่วยกันแก้ไข ปรับปรุงในการพัฒนา งานการบริหารจดั การศกึ ษา และพัฒนากจิ กรรมการเรียนการสอน การสรา้ ง “เครอื ข่าย” สามารถช่วยแก้ปญั หาได้ ด้วยการเปิดโอกาสให้บคุ คลและองค์กรได้แลกเปล่ียนข้อมูล ข่าวสารรวมท้ังบทเรียนและประสบการณ์กับบุคคลหรือองค์กรที่อยู่นอกหน่วยงานของตน ลดความซ้ำซ้อนในการ ทำงาน ให้ความร่วมมือและทำงานในลักษณะที่เอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน เสมือนการเปิดประตูสู่โลกภายนอก โรงเรียนได้ดำเนินกิจกรรม ด้วยความร่วมมือของคณะครู ผู้นำท้องถิ่น ชุมชน องค์กรท้องถิ่น องค์กรเอกชน เพอ่ื สง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ ม สรา้ งโอกาสทางการศึกษา และพฒั นาคุณภาพการศึกษา เพ่อื ให้บรรลุเปา้ หมายร่วมกนั

30 6. ประโยชน์ของนวัตกรรมในการแก้ปัญหา หรือพัฒนาคณุ ภาพของกลุ่มเป้าหมาย นวัตกรรมการบริหารโรงเรียนขนาดเล็กสู่มาตรฐาน ด้วย “DONGYANG MODEL” จากอดีตที่นักเรียนไม่มี พฒั นาการด้านผลสัมฤทธ์ิ ครูไม่ได้รับรางวลั ดีเด่น และสถานศกึ ษาไม่มีรางวัลทแ่ี สดงให้เหน็ ถึงการพัฒนาคุณภาพของ การศึกษา จึงแสดงว่าการใช้นวัตกรรมการบริหารโรงเรียนขนาดเล็กสู่มาตรฐาน ด้วย “DONGYANG MODEL” สามารถนำไปพัฒนา ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และโรงเรียนได้ตามจุดประสงค์และเป้าหมายของ โรงเรียนได้อย่างครบถ้วน ส่งผลให้นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีผลสัมฤทธิ์ที่เพิ่มขึ้นในการทดสอบ ระดับประเทศ และสูงกว่าระดับค่าเฉลี่ยระดับประเทศ 2 วิชา ครูผู้สอนนักเรียน ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรม การประกวดเลา่ นิทานคุณธรรม ระดับช้นั ป.4-ป.6 งานศิลปหัตถกรรมนกั เรียนครั้งที่ 69 ครูดีไม่มีอบายมุข และครดู ีเดน่ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และภาษาไทย ผ้บู รหิ ารไดร้ บั รางวลั ผลงานนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี ประเภทผู้บริหารสถานศึกษา ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับดีเยี่ยม ครูดีไม่มีอบายมุข ด้านสถานศึกษา โรงเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.ระดับ 1 ดาว และ ระดับ 2 ดาว กิจกรรมโรงเรียนดีต้องมีที่ ยืน โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.โรงเรียนได้รับรางวัลเป็นสถานศึกษาที่จัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2562 ได้อย่างมีคุณภาพ และสมควรได้รับการยกย่องให้เป็นแบบอย่างที่ดี โรงเรียนได้รับรางวัลเกียรติ บัตรมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 สูงกว่าระดับคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โรงเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรมีผลการประเมิน คณุ ภาพผู้เรยี น (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2562 สูงกวา่ ระดับคะแนนเฉล่ียระดบั ประเทศ ๗. การใชท้ รัพยากรในการพัฒนานวัตกรรม โรงเรียนได้มีการประยุกต์ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะสม คุ้มค่า สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้งการ มอบหมายงานให้กับคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา การจัดสรรงบประมาณ การใช้วัสดุอุปกรณ์และการใช้ กระบวนการบรหิ ารจัดการตามโครงสรา้ งการบริหารและโครงการตา่ ง ๆ ผู้มีสว่ นได้เสยี ก็มสี ่วนร่วมในการใชท้ รัพยากร ท่มี ีอยู่ใหเ้ กิดประโยชน์ และคมุ้ ค่า เช่น ครเู ปน็ วิทยากรให้ชุมชน ๘. การเรยี นรูใ้ นการพัฒนานวตั กรรม การคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมในการเรียนรู้ต้องอาศัยกระบวนการคิด การลงมือทำและระดมความคิด ในการ ใช้นวัตกรรมการบริหารโรงเรียนสู่มาตรฐานด้วย DONGYANG MODEL ต้องมีการเรียนรู้ควบคู่ไปกับการพัฒนา นวัตกรรม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือจัดประชุม เพราะการทำงานเมื่อลงมือกระทำไปแล้วงานบางอย่างอาจจะมี ปญั หาในการใช้เคร่ืองมอื ในการทำงานจึงต้องมีการเรียนรรู้ ว่ มกนั ในการพัฒนางานควบคู่ไปดว้ ย ๙. ลักษณะของนวตั กรรมท่ีนำไปใช้ เป็นนวตั กรรมท่นี ำไปใช้ในการบริหารงานโรงเรยี นบ้านดงยาง ตามชื่อ ภาษาอังกฤษ DONGYANG ดงั น้ี 1. N = Nice Plan “การวางแผนปฏิบัติงานที่ดีเยี่ยม”เป็นการวางแผนโดยอาศัยทฤษฎีการบริหารอย่าง หลากหลาย ได้นำหลักและทฤษฎีการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ วงจรควบคุมคุณภาพ (PDCA) หลักธรรมาภิบาล มาใช้เป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาระบบงาน และเป็นตัวขับเคลื่อนการดำเนินงานของบุคลากร ใน ฝ่ายงานต่าง ๆ ทำให้การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนมีประสิทธิภาพโดยทุกฝ่าย ต้องมีส่วนร่วมในการวางแผนปฏิบัติ ตรวจสอบ ประเมินผล แก้ไขปรับปรุง เพื่อการพัฒนาคุณภาพอย่างเป็นระบบ และจัดกระทำอย่างต่อเนื่อง มีคุณภาพได้ ตามเกณฑ์มาตรฐาน การวางแผนด้านการเรียนการสอนโรงเรียนบ้านดงยางต้องการให้คุณภาพการศึกษาเพ่ิมขึน้ โดยให้ เติม เตม็ เชน่ ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น มคี วามรักถ่ินฐาน วางแผนโครงสร้างบริหารเพ่ือสนับสนุนด้านการ เรียนการสอนให้มีคุณภาพ โดยรวมกับคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อกำหนดทิศทางการบริหารให้มีประสิทธิภาพให้ การศึกษาเป็นระบบ โดยการ มีส่วนร่วมของทุกฝ่าย คือ ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศกึ ษา และชมุ ชน ในการวางแผนพฒั นาการศึกษาของโรงเรยี นบ้านดงยาง

31 ๒. ปฏิบตั ติ ามแผน Do ปฏิบัติงานตามแผน โดยการพัฒนาการบริหารจัดการ พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน โดยการยึดหลัก ธรรมาภิบาล และสามารถพึ่งพาตนเองได้ พัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันด้วยนวัตกรรมใหม่ มีระบบข้อมูลสารสนเทศ ทีท่ นั สมยั ด้วยทีมงานทม่ี ีคุณภาพ 2.1 O = Objective (วตั ถปุ ระสงค์) เป็นแนวทางในการพัฒนาท่ีเราคาดหวัง ในการบรหิ ารจัดการกิจกรรมการ เรยี นการสอน ให้บรรลตุ ามความคาดหวังหรือประสบผลสำเร็จในการบรหิ ารงานที่มคี ุณภาพ หรือภาพความสำเร็จของ โรงเรียน ได้แก่ ศักยภาพของนักเรียน สมรรถนะของครู สมรรถนะของผู้บริหาร คุณภาพของโรงเรียน และการยอมรบั การมี สว่ นร่วมของผปู้ กครองและชมุ ชน ๒.2 D = Development “การพัฒนา” เป็นการพฒั นาบคุ ลากรเพื่อเพ่ิมขดี ความสามารถในการดำเนิน กิจกรรม ตามแผนท่ีกำหนดไว้ ใหแ้ ก่คณะกรรมการแตล่ ะชดุ ดว้ ยวธิ กี ารทีห่ ลากหลาย เช่น การประชุม การอบรม การศึกษาดูงาน พฒั นาบคุ ลากรให้เปน็ ไปตามความตอ้ งการของบุคลากร และที่สำคญั ต้องมีการพฒั นาส่ือเทคโนโลยี ด้าน ICT ใหม้ ีสมรรถนะทสี่ ามารถเปน็ เคร่ืองมือ สำหรับบคุ ลากรในการสืบคน้ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วข้องกบั ภาระงานที่ ปฏบิ ัติ ซึง่ ฝา่ ยบริหารตอ้ งจัดใหม้ ี และนบั วา่ เปน็ สิ่งจำเป็นอยา่ งยิง่ ในการส่งเสริมสนบั สนนุ ใหม้ ีการพฒั นาบุคลากร จนมีความรู้ความสามารถในการที่จะนำไปพัฒนาภาระงานของตน ตลอดจนทีมงานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล 2.3 G = Good Govervance (หลักธรรมาภิบาล) เป็นการนำหลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า เป็นหลกั ในการบรหิ ารงานโรงเรียนอย่างต่อเน่ือง ตลอดท้ัง มีจรรยาบรรณวชิ าชพี บริหาร เพอื่ เปน็ การพฒั นาการบริหารโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2.4 Y = Yourself (การพึ่งพาตนเอง) ความสามารถที่จะช่วยเหลือตนเองให้ได้มากที่สุด ในการบริหาร จัดการ โดยใช้ศักยภาพสถานศึกษาของตนเอง มีความสมดุลและความพอดีในการจัดการเพื่อมุ่งให้ผู้เรียนประสบ ผลสำเร็จตามวตั ถุประสงคท์ ตี่ ้ังไว้ 2.5 G = Good Teamwork (ทมี งานที่ดี) การทำงานเป็นทมี ผา่ นการประสานงานในทีมงานอยา่ งเปน็ ระบบทุกขนั้ ตอน ทไี่ ด้รบั มอบหมาย มกี ารตง้ั คณะกรรมการ ท่ีมีความถนัดในแต่ละกิจกรรม ให้ทกุ คนในทีมงานมี เป้าหมายในกิจกรรมรว่ มกัน เพ่ือให้บุคลากรในองค์กร เป็นส่วนหนึ่งของความสำเรจ็ มีจิตสำนกึ และรู้สึกภาคภูมิใจ ร่วมกนั โรงเรียนบา้ นดงยางเนน้ การทำงานรว่ มกนั เป็นทีมและมีคุณภาพโดยมีการประสานงานในทีมเป็นระบบทุก ขัน้ ตอน ในการจดั กจิ กรรมที่ได้รับมอบหมาย มกี ารแตง่ ตง้ั คณะกรรมการทำงานท่ีมคี วามถนดั และกิจกรรมของทกุ คน ในทมี งาน มีเป้าหมาย มีความพงึ พอใจ ทุกคนเหน็ ความสำคัญของทกุ บทบาทในการทำงาน ในการบริหารงาน โรงเรยี น โดยมีการดำเนนิ งานภายในโรงเรยี นร่วมกัน 3. ตรวจสอบCheck กำกบั ติดตาม และประเมินผล ตรวจสอบคณุ ภาพตามตวั ชวี้ ดั A = Achievement (ความสำเร็จ) 4. ปรบั ปรงุ แกไ้ ข Action N = Network (เครือข่าย) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันในทีมงาน และในชุมชน เพื่อปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการจัดการเรียนการสอน และเพื่อนำปัญหาต่าง ๆ มาช่วยกันแก้ไข ปรับปรุงในการพัฒนางานในการ บริหารจัดการ และพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน การสร้าง “เครือข่าย” สามารถช่วยแก้ปัญหาได้ ด้วยการเปิด โอกาสให้บุคคลและองค์กรได้แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารรวมทั้งบทเรียนและประสบการณ์กับบุคคลหรือองค์กรที่อยู่ นอกหนว่ ยงานของตน ลดความซ้ำซอ้ นในการทำงาน ใหค้ วามรว่ มมือและทำงานในลักษณะที่เออ้ื ประโยชน์ซึ่งกันและ กัน เสมือนการเปิดประตูสูโ่ ลกภายนอกโรงเรียนได้ดำเนินกิจกรรม ด้วยความร่วมมือของคณะครู ผู้นำท้องถิ่น ชุมชน องค์กรท้องถิ่น องค์กรเอกชน เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วม สร้างโอกาสทางการศึกษา และพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพ่ือให้บรรลเุ ปา้ หมายร่วมกนั

32 การสร้างเครือข่ายนับเปน็ เรื่องท่ีมีความสำคัญในปัจจุบัน เนอื่ งด้วยเครือข่ายเป็นการจัดระบบให้กลุ่ม บุคคลหรือ องค์กรที่เป็นสมาชิกดำเนินกิจกรรมบางอย่างร่วมกัน เพื่อนำไปสู่จุดหมายที่เห็นพ้องต้องกัน การรวมตัว เป็นเครือข่ายจึง ควรทำในลักษณะการแลกเปลี่ยน เอาส่วนดีหรือ จุดแข็งของแต่ละฝ่ายมาเรียนรู้ และสนับสนุนกันและกัน เป็นการผนึก กำลัง (synergy) ซง่ึ ผลลัพธ์ที่ได้จากการทำงานเป็นเครือข่ายมักจะมีผลท่ีดีกว่าผลรวมที่เกิดจากการปล่อยให้ต่างคนต่างทำ แล้วนำผลลัพธ์ของแต่ละคนมารวมกัน ดังนน้ั การสรา้ งเครือข่ายในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ จะช่วยใหก้ ารดำเนินกิจกรรม เป็นไปอย่างมีระบบ มีประสิทธิภาพ ให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษาสำเร็จตามเป้าหมาย นำผลที่ได้ประชาสมั พันธ์ใหผ้ ้มู ี สว่ นเก่ยี วข้องทราบ และนำที่ได้ไปพัฒนาอย่างตอ่ เนอื่ ง ๑๐. การยอมรับนวตั กรรม จากการบริหารโรงเรียนตามหลัก DONGYANG MODEL ของโรงเรียนพบว่า คณะกรรมการสถานศึกษา ผ้ปู กครอง นักเรยี น และชุมชนให้การยอมรับในการดำเนินงานดา้ นการพฒั นาการศึกษาของโรงเรยี น ส่งผลให้โรงเรียน ได้รบั รางวลั ตา่ ง ๆ ในปี พ.ศ ๒๕62 ดังน้ี ด้านสถานศึกษา โรงเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.ระดับ 1 ดาวและ 2 ดาว กิจกรรม โรงเรียนดีต้องมีที่ยืน โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. โรงเรียนได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ เป็นผู้ทำคุณประโยชน์ โดย การนำคณะครูและนักเรียนมาเป็นจิตอาสา ในการพัฒนาสถานที่ต่าง ๆ ในตำบลวังเย็น โรงเรียนได้รับรางวัลเป็น สถานศึกษาที่จัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2562 ได้อย่างมีคุณภาพ และสมควรได้รับการยก ย่องใหเ้ ป็นแบบอยา่ งท่ีดี โรงเรยี นไดร้ ับรางวลั เกยี รตบิ ัตรมผี ลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 สูงกว่าระดับคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โรงเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรมีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 สูงกวา่ ระดบั คะแนนเฉลี่ยระดบั ประเทศ ด้านผู้บริหารได้รับรางวัลเกียรติบัตร “คุรุชน คนคุณธรรม” ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. รางวัลผลงานนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี ประเภทผู้บริหารสถานศึกษา ตาม โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ครดู ีไมม่ อี บายมุข ด้านครูได้รับรางวัล เกียรติบัตรรางวัลผลงานนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี ประเภทครู ตามโครงการโรงเรียน คุณธรรม สพฐ.ปกี ารศึกษา 2563 ระดับดีเยยี่ ม ครผู ู้สอนนกั เรียน ได้รับรางวัลระดับเหรยี ญเงนิ การประกวดโครงงาน ส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรมสพฐ. และโครงการนกั เรียนคุณภาพประจำตำบล ด้านนักเรียนได้รับรางวัลจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 1 และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพ่ิมขึ้น 11.บทเรียนท่ไี ด้รบั 11.๑ ข้อจำกัด ๑.การบรหิ ารโรงเรยี นขนาดเลก็ สมู่ าตรฐานด้วย “DONGYANG MODEL” การมสี ว่ นร่วม สร้างโอกาสทาง การศึกษา และพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา เป็นการทำงานร่วมกันระหวา่ งฝ่ายต่างๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งในพน้ื ท่ี ในการร่วมกนั กำหนดปัญหา และแนวทางในการแก้ไขตามบริบทสภาพการณข์ องโรงเรียน ดงั นน้ั การเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนจึงเกิด เฉพาะโรงเรียนเทา่ นัน้ ๒.ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทุกคน ทุกฝ่ายต้องให้ความร่วมมืออย่างจริงจังต่อเนื่อง ควรทำความ เข้าใจในทุกกิจกรรมของโรงเรียน และให้ความสำคัญต่อการมีส่วนร่วม การส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา และ การ พัฒนาคุณภาพทางการศึกษา ๓.การเปลี่ยนแปลงและประสบการณ์การเรียนรู้ บอกถึงคุณภาพการศึกษา ความสามารถของ นักเรียนใน ดา้ นตา่ งๆ ซึ่งเกดิ จากนักเรยี นไดร้ ับประสบการณจ์ ากกระบวนการเรียนการสอนของครู ๔. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียน ผู้บรหิ าร ครู และผู้เก่ยี วข้องต้องสรา้ งความตระหนักร่วมกนั ในการ พัฒนาผู้เรยี นเพอ่ื ใหม้ คี ณุ ภาพตามเปา้ หมายของหลกั สตู ร

33 ๕. การติดต่อสื่อสารสองทางระหว่างโรงเรียน และผู้ปกครองนักเรียนมีความสำคัญต่อการพัฒนา นักเรียน เปน็ อย่างดี 11.๒ ประโยชน์ ๑. โรงเรียนมปี ระสิทธภิ าพในการบรหิ ารจดั การศกึ ษา ๒. ผู้มสี ว่ นเก่ยี วข้องกับการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนให้ความไวว้ างใจในการจัดการศึกษาของ โรงเรียน ๓. ผู้ปกครอง ชมุ ชน ให้ความช่วยเหลือโรงเรียนในการพัฒนาการจัดการศกึ ษาของโรงเรียน ๔. ผู้มีส่วนเกยี่ วขอ้ งมีความเข้าใจอนั ดตี ่อการจัดการศกึ ษาของโรงเรียน ๕. บุคลากรทางการศกึ ษาของโรงเรยี นได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ๖. ผู้เรียนมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน และมาตรฐานการศึกษา ๗. ขอ้ เสนอแนะสำหรบั การพฒั นาต่อยอดนวตั กรรม การบริหารโรงเรียนขนาดเล็กสู่มาตรฐานด้วย “DONGYANG MODEL” เพื่อใช้พัฒนาการจัดการ โรงเรียน ซ่ึงไดผ้ ลเป็นทน่ี ่าพอใจ จงึ ควรมกี ารนำรปู แบบนไ้ี ปใช้กับการจัดการในโรงเรียนอ่ืนที่มบี ริบททแ่ี ตกตา่ งกัน ๘. การขยายผลและเผยแพรผ่ ลการพฒั นา - ประชาสัมพนั ธใ์ นโรงเรยี นและชมุ ชน - เผยแพรท่ างสื่อ เว็ปไซต์, Facebook,จดหมายข่าวของโรงเรียน และไลน์

๑2. ผลงานทส่ี ำเร็จ 34 ผลงานทเี่ กดิ กบั สถานศึกษา ปที ี่รับ ท่ี ชือ่ รางวัลท่ไี ดร้ บั หนว่ ยงานทีม่ อบให้ 2562 2562 1. โรงเรียนได้รบั รางวัลเกียรติบัตรโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.ระดบั 1 สพป.กาญจนบรุ ี 2562 2562 ดาว กิจกรรมโรงเรียนดีตอ้ งมีท่ียนื โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เขต 1 2562 2. โรงเรยี นได้รับรางวลั เกียรตบิ ัตรโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.ระดบั 2 สพป.กาญจนบรุ ี 2562 2562 ดาว กิจกรรมโรงเรยี นดีตอ้ งมีที่ยนื โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. เขต 1 2562 2563 3. โรงเรยี นได้รบั รางวัลเชิดชเู กียรติ เปน็ ผทู้ ำคณุ ประโยชน์ โดยการนำ เครือข่ายพัฒนา 2564 คณะครูและนกั เรียนมาเป็นจิตอาสา ในการพัฒนาสถานท่ีต่าง ๆ ใน คุณภาพการศึกษา ตำบลวังเย็น วงั เยน็ 4. โรงเรียนได้รับรางวัลเป็นสถานศึกษาท่ีจดั ทำรายงานประจำปขี อง สพป.กาญจนบรุ ี สถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2562 ได้อยา่ งมีคณุ ภาพ และสมควร เขต 1 ได้รับการยกยอ่ งใหเ้ ป็นแบบอย่างที่ดี 5. โรงเรยี นได้รับรางวัลเกยี รติบัตรมีผลการทดสอบทางการศึกษา สพป.กาญจนบรุ ี ระดบั ชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (O-NET) ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปี เขต 1 การศกึ ษา 2562 สงู กว่าระดับคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 6. โรงเรยี นได้รับรางวัลเกยี รตบิ ัตรมีผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน สพป.กาญจนบุรี (NT) ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 สงู กวา่ ระดบั เขต 1 คะแนนเฉล่ียระดบั ประเทศ 7. โรงเรยี นได้รับตราพระราชทานบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย มูลนิธิสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา 8. โรงเรยี นไดร้ ับรางวลั เกียรติบัตร เป็นโรงเรียนท่มี ผี ลการประเมินการ สพป.กาญจนบุรี จัดการศึกษาเพือ่ พฒั นาคุณภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อม อยู่ใน เขต 1 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ปีการศกึ ษา 2562 9. โรงเรยี นไดร้ บั รางวลั ผ่านการคดั เลือก การนำเสนอผลงาน และการ สพป.กาญจนบุรี ประกวดแขง่ ขนั กิจกรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมสรา้ งสรรคผ์ ่านสอ่ื เขต 1 ภาพยนตรส์ นั้ ผ่านการประเมนิ ระดบั เหรยี ญเงิน ภายใตโ้ ครงการ เสริมสรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรม และธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา (โครงการ โรงเรียนสจุ รติ ) 10. โรงเรียนไดร้ ับรางวลั โรงเรียนดไี มม่ อี บายมขุ สคล.,สพฐ,มจร.,สสส.

ผลงานทีเ่ กดิ กับผู้บริหาร 35 ปที ี่รับ ท่ี ช่ือรางวัลทไ่ี ดร้ ับ หนว่ ยงานทมี่ อบให้ 2562 1. รางวลั เกยี รติบัตร “คุรชุ น คนคณุ ธรรม” ระดับเขตพ้นื ท่ี สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 2562 2562 การศกึ ษา ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ตามโครงการโรงเรยี นคุณธรรม 2563 สพฐ. 2563 2563 2. รางวลั ผลงานนวตั กรรมสรา้ งสรรค์คนดี ประเภทผูบ้ รหิ าร สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 2563 2564 สถานศกึ ษา ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ปที รี่ ับ 2562 3. รางวัลเชิดชูเกียรติ เป็นผปู้ ระกอบคณุ งามความดีดว้ ยความเสยี สละ เครอื ข่ายพัฒนาคุณภาพ 2562 ทำคณุ ประโยชนเ์ พอื่ ส่วนรว่ ม และสังคม สมควรไดร้ ับการยกย่อง ให้ การศกึ ษาวังเย็น 2562 2562 เปน็ บุคคลมีจติ อาสา 2562 4. รางวลั เกียรตบิ ัตร“ครุ ชุ น คนคุณธรรม” ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สพป.กาญจนบุรี เขต 1 2562 ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ตามโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. 5. รางวัลผลงานนวัตกรรมสรา้ งสรรคค์ นดี ประเภทผ้บู ริหาร สพป.กาญจนบุรี เขต 1 สถานศึกษา ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดบั ดีเยยี่ ม 6. รางวลั เกยี รตบิ ตั รยกย่องเชิดชเู กียรติ เป็นบุคคลท่มี คี ุณ จรยิ ธรรม เครือข่ายพัฒนาคณุ ภาพ โดยยดึ หลกั พอเพยี ง วนิ ยั สุจริต จิตสาธารณะ การศึกษาวงั เย็น 7. เกยี รตบิ ัตรเป็นวทิ ยากรจดั ทำและปรับปรุงหลักสตู รปฐมวัย เครอื ข่ายพัฒนาคุณภาพ การศึกษาวงั เย็น 8. รางวัลเกยี รติบตั รครดู ีไม่มีอบายมุข สคล.,สพฐ,มจร.,สสส. ผลงานของครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ท่ี ชอ่ื รางวัลทีไ่ ด้รบั หน่วยงานทมี่ อบให้ นายภาณุพงศ์ อ่วมบุตร ได้รับเกียรตบิ ัตรรางวัล ดังน้ี 1. เกียรติบัตรรางวลั “ครุ ชุ น คนคุณธรรม” กจิ กรรมโรงเรยี นดีตอ้ งมี สพป.กาญจนบุรี เขต 1 ทย่ี นื โครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. 2. ครูผู้สอนนักเรียน ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรม การ สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 ประกวดเล่านิทานคุณธรรม ระดับชั้น ป.4 -ป.6 งาน ศิลปหตั ถกรรมนักเรยี นคร้งั ท่ี 69 3. ครผู ู้สอนนกั เรียน ไดร้ บั รางวัลระดบั เหรยี ญทอง กิจกรรม การประกวด สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 เพลงคณุ ธรรม ระดบั ช้ัน ป.4-ป.6 งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียนครงั้ ท่ี 69 4. ครผู ู้สอนนักเรยี น ไดร้ ับรางวลั ระดบั เหรยี ญเงิน กจิ กรรม การ สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 แข่งขันเครือ่ งร่อน ประเภทร่อนนาน ยิงยาง ระดับชนั้ ป.4-ป.6 งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียนคร้ังท่ี 69 5. ครผู ู้สอนนกั เรียน ได้รบั รางวลั ระดับเหรยี ญทองแดง กจิ กรรม การ สพป.กาญจนบุรี เขต 1 แข่งขนั เคร่อื งรอ่ น ประเภทรอ่ นนานปลอ่ ยดว้ ยมอื ระดับชนั้ ป.4-ป.6 งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียนครง้ั ท่ี 69 6. ครผู ้สู อนนักเรียน ไดร้ ับรางวลั เกียรตบิ ตั รที่มีผลการทดสอบทาง รร.บ้านดงยาง การศึกษาระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 สงู กวา่ ระดับคะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้

ผลงานของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 36 ปที ร่ี บั ที่ ชอื่ รางวัลท่ีได้รับ หนว่ ยงานทมี่ อบให้ 2562 นายภาณุพงศ์ อว่ มบุตร ได้รบั เกียรตบิ ตั รรางวลั ดังนี้ 2563 2563 7. เกยี รติบัตรรางวลั เชิดชเู กียรติ เป็นผปู้ ระกอบคณุ งามความดดี ้วยความ เครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพ เสยี สละ ทำคณุ ประโยชน์เพื่อสว่ นรว่ ม และสงั คม สมควรได้รบั การยกยอ่ ง การศึกษาวงั เยน็ 2563 ให้เป็นบุคคลมีจิตอาสา ในการพัฒนาสถานทต่ี า่ ง ๆ ในตำบลวงั เยน็ 2563 8. เกียรติบัตรรางวัล“ครุ ชุ น คนคณุ ธรรม” ระดับเขตพืน้ ท่ี สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 2563 2563 การศกึ ษา ตามโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. 2563 9.. เกยี รตบิ ัตรรางวัลผลงานนวตั กรรมสรา้ งสรรคค์ นดี ประเภทครู สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 2564 2564 ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.ปกี ารศกึ ษา 2563 ระดับดี 2564 เยย่ี ม 2562 10. เกยี รตบิ ัตรรางวัล ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ เปน็ บคุ คลที่มคี ุณ เครอื ข่ายพัฒนาคณุ ภาพ 2562 จริยธรรม โดยยดึ หลักพอเพยี ง วินัย สุจริต จติ สาธารณะ การศึกษาวงั เย็น 2562 11. ครผู ู้สอนนกั เรยี น ไดร้ ับรางวลั ระดับเหรยี ญเงิน การประกวด สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 โครงงานสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามโครงการโรงเรียน คุณธรรมสพฐ. และโครงการนักเรียนคุณภาพประจำตำบล 12. เกียรติบัตรรางวัลเปน็ วทิ ยากรและพ่ีเล้ียงโครงการ การประกัน เครือข่ายพัฒนาคณุ ภาพ คณุ ภาพการศึกษา การศกึ ษาวังเยน็ 13. เกยี รตบิ ัตรรางวลั บุคคลต้นแบบ “ครูดีศรีกาญจน์ 1” ประจำปี เครอื ข่ายพัฒนาคณุ ภาพ 2564 ประเภทครผู ู้สอน กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และ การศกึ ษาวังเยน็ เทคโนโลยี” 14. เกยี รตบิ ัตรรางวัลบคุ คลต้นแบบ “ครูดีศรีกาญจน์ 1” ประจำปี เครือข่ายพฒั นาคณุ ภาพ 2564 ประเภทครผู สู้ อน กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย” การศึกษาวงั เย็น 15. เกยี รติบตั รรางวลั ครูดีไม่มีอบายมุข สคล.,สพฐ,มจร,สสส. 16. เกยี รตบิ ัตรรางวลั บคุ คลตน้ แบบ “ครดู ีศรีกาญจน์ 1” ประจำปี สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 2564 ประเภทครูผูส้ อน กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี” 17. เกยี รติบัตรรางวัลบุคคลต้นแบบ “ครดู ศี รีกาญจน์ 1” ประจำปี สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 2564 ประเภทครูผสู้ อน กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย” นางสาวกนั ธิมา สายมี ไดร้ ับเกียรตบิ ัตรรางวัล ดงั น้ี 18. ครผู สู้ อนนักเรยี น ได้รับรางวัลระดบั เหรยี ญเงิน กจิ กรรม การ สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 แข่งขนั เครอื่ งรอ่ น ประเภทร่อนนาน ยงิ ยาง ระดับชัน้ ป.4-ป.6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนคร้ังที่ 69 19. ครผู สู้ อนนกั เรยี น ได้รบั รางวลั ระดบั เหรียญทองแดง กิจกรรม สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 การแข่งขนั เครื่องร่อน ประเภทร่อนนานปล่อยดว้ ยมือระดับชั้น ป.4- ป.6 งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียนคร้ังที่ 69 20. เกียรตบิ ตั รรางวัลเชิดชเู กียรติ เปน็ ผู้ประกอบคุณงามความดดี ้วย เครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพ ความเสยี สละ ทำคุณประโยชน์เพ่ือส่วนรว่ ม และสงั คม สมควร การศกึ ษาวังเยน็ ไดร้ บั การยกย่อง ใหเ้ ป็นบคุ คลมจี ิตอาสา ในการพฒั นาสถานท่ี ต่าง ๆ ในตำบลวงั เย็น

ผลงานของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 37 ปีทีร่ ับ ท่ี ชื่อรางวัลท่ไี ด้รบั หน่วยงานที่มอบให้ 2562 2563 นางสาวกนั ธิมา สายมี ได้รับเกยี รตบิ ตั รรางวัล ดังนี้ 2563 2564 21. เกยี รตบิ ตั รรางวัล เป็นครูผู้สอนนักเรยี น ได้รบั รางวลั เกยี รติบตั ร โรงเรยี นบา้ นดงยาง 2562 2562 ทม่ี ีผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปี 2563 ท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 ได้คะแนนเฉลย่ี สูงกว่าระดับประเทศ 2563 22. เกียรติบัตรรางวัล ยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็นบุคคลที่มีคุณ เครอื ข่ายพัฒนาคณุ ภาพ 2564 2562 จรยิ ธรรม โดยยดึ หลกั พอเพยี ง วินยั สุจริต จติ สาธารณะ การศึกษาวังเยน็ 2562 23. ครผู ูส้ อนนกั เรียน ไดร้ บั รางวลั ระดบั เหรยี ญเงิน การประกวด สพป.กาญจนบุรี เขต 1 2563 โครงงานสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามโครงการโรงเรียน คณุ ธรรมสพฐ. และโครงการนักเรยี นคุณภาพประจำตำบล 24. เกียรติบตั รรางวัลครูดีไม่มีอบายมุข สคล.,สพฐ,มจร.,สสส. นางสาวลดาวัลย์ ศักดิ์สงั วร ได้รบั เกยี รตบิ ตั รรางวัล ดงั น้ี 25. ครูผู้สอนนักเรียน ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรม การ สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 แข่งขันเครื่องร่อนแบบเดินตาม ระดับชั้นป.1-ป.3 งาน ศิลปหัตถกรรมนกั เรียนครัง้ ท่ี 69 26. เกยี รติบัตรรางวลั เชดิ ชเู กียรติ เป็นผู้ประกอบคุณงามความดดี ว้ ย เครือข่ายพัฒนาคุณภาพ ความเสียสละ ทำคุณประโยชน์เพื่อสว่ นร่วม และสงั คม สมควร การศกึ ษาวงั เยน็ ได้รับการยกย่อง ใหเ้ ปน็ บุคคลมจี ติ อาสา ในการพฒั นาสถานที่ ตา่ ง ๆ ในตำบลวังเย็น 27. เกียรติบัตรรางวัล ยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็นบุคคลที่มีคุณ เครือข่ายพัฒนาคุณภาพ จริยธรรม โดยยดึ หลักพอเพียง วินยั สุจริต จติ สาธารณะ การศกึ ษาวงั เย็น 28. เกียรติบัตรรางวัล การนำเสนอผลงาน และการประกวดแข่งขัน สพป.กาญจนบุรี เขต 1 กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมสร้างสรรค์ผ่านสื่อภาพยนตร์สั้น ผ่าน การประเมินระดับเหรียญเงินภายใต้โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา (โครงการโรงเรยี นสจุ ริต) 29. เกียรตบิ ัตรรางวลั ครูดีไมม่ ีอบายมุข สคล.,สพฐ,มจร.,สสส. นางสาวประภสั สร กองป้อง ไดร้ ับเกียรตบิ ตั รรางวลั ดงั น้ี 30. ครผู สู้ อนนกั เรยี น ได้รับรางวลั ระดับเหรยี ญทอง กิจกรรม การ สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 ประกวดเพลงคุณธรรม ระดับชั้น ป.4- ป.6 งานศลิ ปหตั ถกรรม นักเรียนครง้ั ที่ 69 31. เกยี รติบัตรรางวัลเชิดชเู กยี รติ เป็นผปู้ ระกอบคุณงามความดีด้วย เครอื ข่ายพัฒนาคณุ ภาพ ความเสียสละ ทำคุณประโยชน์เพื่อส่วนร่วม และสังคม สมควร การศกึ ษาวังเย็น ได้รับการยกย่อง ให้เป็นบุคคลมีจิตอาสา ในการพัฒนาสถานที่ ต่าง ๆในตำบลวังเยน็ 32. เกียรติบัตรรางวัล ยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็นบุคคลที่มีคุณ เครอื ข่ายพัฒนาคณุ ภาพ จริยธรรม โดยยดึ หลกั พอเพยี ง วินยั สจุ ริต จิตสาธารณะ การศึกษาวงั เย็น

ผลงานของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 38 ปีท่ีรับ ที่ ชื่อรางวัลที่ได้รบั หนว่ ยงานทม่ี อบให้ 2562 นางสาวพัชรี กิติกาญจน์ ได้รบั เกยี รติบัตรรางวลั ดังนี้ 2562 33. ครูผู้สอนนักเรียน ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน กิจกรรม การ สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 2563 ประกวดมารยาทไทย ระดับชั้น ป.4-ป.6งานศิลปหัตถกรรม 2563 2563 นักเรยี นคร้ังที่ 69 2564 2564 34. เกยี รติบตั รรางวัลเชดิ ชูเกยี รติ เปน็ ผปู้ ระกอบคุณงามความดีด้วย เครือข่ายพัฒนาคุณภาพ 2562 ความเสียสละ ทำคุณประโยชน์เพื่อส่วนร่วม และสังคม สมควร การศกึ ษาวังเยน็ ได้รับการยกย่อง ให้เป็นบุคคลมีจิตอาสา ในการพัฒนาสถานท่ี ตา่ ง ๆในตำบลวังเย็น 35. เกียรติบัตรรางวัล ยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็นบุคคลที่มีคุณ เครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพ จริยธรรม โดยยดึ หลักพอเพียง วินัย สุจรติ จิตสาธารณะ การศึกษาวังเย็น นางสาวไอรินทร์ ดอนแหยม ได้รบั เกยี รติบตั รรางวัล ดังน้ี 36. เกียรติบัตรรางวัล“คุรุชน คนคุณธรรม” ระดับเขตพื้นท่ี สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 การศึกษา ตามโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. 37. เกียรติบัตรรางวัล ยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็นบุคคลที่มีคุณ เครือข่ายพฒั นาคณุ ภาพ จริยธรรม โดยยึดหลกั พอเพยี ง วนิ ยั สุจรติ จติ สาธารณะ การศึกษาวงั เย็น 38. เกียรติบัตรรางวัลบุคคลต้นแบบ “ครูดีศรีกาญจน์ 1” ประจำปี เครอื ข่ายพัฒนาคุณภาพ 2564 ประเภทครผู ้สู อน กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ การศึกษาวงั เย็น 39. เกียรติบัตรรางวัลบุคคลต้นแบบ “ครูดีศรีกาญจน์ 1” ประจำปี สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 2564 ประเภทครูผูส้ อน กลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ” นายนิกร อว่ มสวยสี ได้รับเกียรติบตั รรางวลั ดงั น้ี 40. ครูผู้สอนนักเรียน ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรม การ สพป.กาญจนบุรี เขต 1 แข่งขันเครื่องร่อนแบบเดินตาม ระดับชั้นป.1 -ป.3 งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียนครงั้ ที่ 69

ผลงานนักเรียน 39 ปีทรี่ บั ที่ ชอ่ื รางวัลทไ่ี ดร้ บั หนว่ ยงานทีม่ อบให้ 2562 2562 1. ด.ช.นิตพิ ันธ์ ไทยสงเคราะห์ ไดร้ ับรางวัลระดับเหรียญทอง สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 2562 2562 กจิ กรรม การแขง่ ขันเครื่องร่อนแบบเดนิ ตาม ระดบั ชน้ั ป.1-ป. 2562 2562 3 งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี นคร้งั ที่ 69 2562 2562 2. ด.ช.ศุภฤกษ์ พจิ ารณส์ รรค์ ไดร้ ับรางวลั ระดับเหรยี ญทอง สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 2562 2562 กิจกรรม การแขง่ ขนั เครื่องร่อนแบบเดนิ ตาม ระดบั ชั้น ป.1-ป. 2562 2562 3 งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นคร้งั ที่ 69 3. ด.ช.บุญฤทธิ์ สวุ รรณคช ไดร้ ับรางวัลระดบั เหรยี ญทอง สพป.กาญจนบุรี เขต 1 กิจกรรม การประกวดเลา่ นิทานคณุ ธรรม ระดบั ชน้ั ป.4-ป.6 งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี นครง้ั ที่ 69 4. ด.ญ.จริ าภรณ์ สวุ รรณคต ได้รับรางวัลระดับเหรยี ญทอง สพป.กาญจนบุรี เขต 1 กิจกรรม การประกวดเพลงคุณธรรม ระดับชนั้ ป.4-ป.6 งาน ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นครั้งท่ี 69 5. ด.ญ.ธติ ยิ า สุวรรณคต ได้รับรางวัลระดบั เหรียญทอง กิจกรรม สพป.กาญจนบุรี เขต 1 การประกวดเพลงคณุ ธรรม ระดบั ชัน้ ป.4-ป.6 งาน ศลิ ปหัตถกรรมนักเรียนคร้ังที่ 69 6. ด.ญ.พทั ธธ์ ีรา สร้อยเพ็ชร ได้รับรางวลั ระดับเหรียญทอง สพป.กาญจนบุรี เขต 1 กิจกรรม การแขง่ ขนั เครื่องร่อนแบบเดินตาม ระดบั ชน้ั ป.1-ป. 3 งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นครง้ั ท่ี 69 7. ด.ญ.วราศนิ ีย์ ชนื่ ใจ ไดร้ ับรางวลั ระดับเหรียญทอง กจิ กรรม สพป.กาญจนบุรี เขต 1 การประกวดเพลงคุณธรรม ระดับชั้น ป.4-ป.6 งาน ศิลปหตั ถกรรมนักเรียนครั้งที่ 69 8. ด.ญ.สิรยิ ากร เรียงษา ไดร้ บั รางวัลระดบั เหรียญทอง กิจกรรม สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 การประกวดเพลงคุณธรรม ระดบั ชนั้ ป.4-ป.6 งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนครง้ั ที่ 69 9. ด.ช.สนั ติ เกียรติศิริ ไดร้ ับรางวลั ระดับเหรยี ญเงนิ กจิ กรรม การ สพป.กาญจนบุรี เขต 1 แขง่ ขนั เครอ่ื งร่อน ประเภทรอ่ นนานยิงยาง ระดบั ชน้ั ป.4-ป.6 งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียนครงั้ ที่ 69 10. ด.ช.อนชุ า ยงอยู่ ได้รบั รางวลั ระดับเหรยี ญเงนิ กจิ กรรม การ สพป.กาญจนบุรี เขต 1 แขง่ ขนั เครอ่ื งร่อน ประเภทรอ่ นนานยงิ ยาง ระดับชน้ั ป.4-ป.6 งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียนครงั้ ที่ 69 11. ด.ญ.สุพตั รา อยูบ่ วั ได้รบั รางวัลระดับเหรยี ญเงนิ กิจกรรม การ สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 ประกวดมารยาทไทย ระดับชน้ั ป.4-ป.6 งานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี น คร้ังที่ 69 12. ด.ช.เมธาสทิ ธิ์ นงค์นชุ ได้รับรางวลั ระดับเหรียญเงิน กิจกรรม การ สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 ประกวดมารยาทไทย ระดับช้นั ป.4-ป.6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครงั้ ที่ 69

ผลงานนักเรียน หนว่ ยงานที่มอบให้ 40 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 ปที ่รี บั ท่ี ชือ่ รางวัลทีไ่ ดร้ ับ สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 2562 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 13. ด.ช.ธีรภัทร สมใจเพ็ง ไดร้ บั รางวลั ระดบั เหรยี ญทองแดง สพป.กาญจนบุรี เขต 1 2562 กิจกรรม การแข่งขนั เคร่ืองร่อน ประเภทรอ่ นนานปล่อยด้วยมอื สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 ระดับชน้ั ป.4-ป.6 งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียนครั้งท่ี 69 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 2563 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 1 14. ด.ช.ภูตะวนั ตันเจรญิ ไดร้ ับรางวัลระดบั เหรยี ญทองแดง 2563 กิจกรรม การแข่งขนั เคร่ืองร่อน ประเภทรอ่ นนานปล่อยดว้ ยมอื ระดับชั้น ป.4-ป.6 งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี นครั้งท่ี 69 2563 15. ด.ญ.ธติ ยิ า สวุ รรณคต ได้รับรางวลั ระดับเหรยี ญเงิน การ 2563 ประกวดโครงงานคุณธรรมจริยธรรม ตามโครงการโรงเรียน คณุ ธรรม สพฐ. และโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพประจำตำบล 2563 16. ด.ญ.สุพตั รา อย่บู ัว ได้รับรางวัลระดับเหรยี ญเงนิ การประกวด โครงงานคุณธรรมจรยิ ธรรม ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. และโครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล 17. ด.ช.นติ ิพัน์ ไทยสงเคราะห์ ได้รบั รางวลั ระดับเหรียญเงิน การประกวดโครงงานคุณธรรมจรยิ ธรรม ตามโครงการโรงเรยี น คุณธรรม สพฐ. และโครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล 18. ด.ญ.กญั ญาพัช ทองแถม ได้รับรางวลั ระดับเหรยี ญเงนิ การประกวดโครงงานคุณธรรมจรยิ ธรรม ตามโครงการโรงเรยี น คณุ ธรรม สพฐ. และโครงการโรงเรยี นคุณภาพประจำตำบล 19. ด.ญ.กชนภิ า ขาวสะอาด ไดร้ ับรางวัลระดบั เหรียญเงิน การประกวดโครงงานคุณธรรมจรยิ ธรรม ตามโครงการโรงเรียน คณุ ธรรม สพฐ. และโครงการโรงเรยี นคุณภาพประจำตำบล

41 ภาคผนวก

เอกสารอา้ งอิง “การบรหิ ารโรงเรียนขนาดเล็กสมู่ าตรฐานดว้ ย “DONGYANG MODEL” 42 N (Nice Plan) โรงเรยี นได้วางแผนการบริหารงานการบริหารจัดการศึกษา ทุกฝ่ายมสี ว่ นร่วมในการวางแผนปฏิบตั ิ ตรวจสอบ ประเมนิ ผล แก้ไขปรบั ปรุง เพื่อการพัฒนาคุณภาพอย่างเป็นระบบ และจัดกระทำอย่างต่อเน่ือง มีการวางแผนการบริหารสถานศึกษารว่ มกบั คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน มีการวางแผนการบริหารสถานศึกษาร่วมกับคณะครู มกี ารวางแผนการบริหารสถานศึกษารว่ มกบั ผู้ปกครอง พัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยเน้นผู้เรยี นเป็นสำคญั นักเรยี น ทักษะการใช้ด้านเทคโนโลยี น้อมนมำีกปารรวัชาญงแาผขนอกงาเรศบรรษิหาฐรกสจิถาพนอศเึกพษียางรส่วม่สู กถบั าคนณศะึกคษรูา

เอกสารอา้ งอิง “การบริหารโรงเรียนขนาดเลก็ สูม่ าตรฐานด้วย “DONGYANG MODEL” 43 O = Objective (วัตถปุ ระสงค)์ โรงเรียนมีวัตถุประสงคใ์ นการบริหารงาน มีวตั ถุประสงค์ของกิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ีมี ประสิทธภิ าพ ทำใหโ้ รงเรยี นประสบผลสำเร็จ นกั เรียนสามารถแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง นกั เรยี นมีความรับผดิ ชอบและมีจิตสาธารณะ ครูใชส้ อ่ื นวัตกรรมและเทคโนโลยีทีท่ ันสมยั ผบู้ ริหารมีความรู้ความสามารถในการเปล่ยี นแปลง โรงเรียนมีการจัดบรรยากาศการเรยี นร้ทู ่ีเอ้ือต่อการพัฒนาผู้เรยี น ผูป้ กครองให้การยอมรับและเช่ือถือ

เอกสารอ้างอิง “การบรหิ ารโรงเรยี นขนาดเลก็ สมู่ าตรฐานด้วย “DONGYANG MODEL” 44 D = Development (การพฒั นา) โรงเรียนได้ดำเนนิ จดั กิจกรรมตามแผนที่กำหนดไว้ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เชน่ การสัมมนา การศกึ ษาดงู าน และท่ีสำคัญตอ้ งมกี ารพัฒนาสอ่ื เทคโนโลยดี า้ น ICT ใหม้ ีสมรรถนะทีส่ ามารถเป็น เคร่อื งมอื สำหรบั บุคลากรในการสบื ค้นข้อมูลต่าง ๆ ทเี่ ก่ียวข้องกบั งานที่ปฏิบัติงาน ผูบ้ รหิ ารมวี สิ ยั ทศั น์ มีความสารถ มีความรบั ผดิ ชอบเอาใจใส่การทำงาน พผูบ้ัฒรนิหาาตรนปเฏองิบดตั ว้ หิ ยนกา้ ทรอีด่ บ้วรยมคอวอานมไตล้ังนใจ์ พัฒนาผู้บรหิ ารโรงเรียน ครูจัดการเรยี นการสอนโดยใชส้ ่ือเทคโนโลยี พฒั นาครโู ดยการอบรม พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา กิจกรรมการเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน พัฒนาผเู้ รียน

เอกสารอา้ งอิง “การบริหารโรงเรยี นขนาดเล็กสูม่ าตรฐานด้วย “DONGYANG 45 MODEL” พฒั นาโรงเรยี น สภาพแวดล้อมทีร่ ่มร่นื สวยงาม และมีบรรยากาศทเ่ี อื้อต่อการเรียนรู้ พฒั นาร่วมกับชมุ ชน การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน กำนันมาโนช แย้มชืน่ และผใู้ หญศ่ ริ ิชยั คงอยอู่ นเุ คราะหด์ ิน พัฒนารว่ มกับชมุ ชน ชุมชนใหก้ ารยอมรับ และร่วมสนับสนนุ การสทำหำรงับานถมขรอ่องงโนร้ำงแเรลียะนทำแปลงผกั

46 เอกสารอา้ งอิง “การบริหารโรงเรยี นขนาดเลก็ สู่มาตรฐานดว้ ย “DONGYANG MODEL” G = Good Govervance (หลักธรรมาภิบาล) โรงเรียนบ้านดงยางได้ใช้หลัก “ธรรมาภิบาล” ในการบริหารจัดการ สถานศกึ ษา และกระจายเปน็ ข้อปฏบิ ตั ิดี ปฏบิ ตั ิชอบ พึงใชป้ ระกอบในการปฏิบตั ิงานของแตล่ ะบุคคล ใหบ้ รรลุความสำเร็จ ตามเปา้ หมายของการจัดการศกึ ษา กอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์สุขแก่สว่ นรวม ประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ประชมุ คณะครู ประชุมผปู้ กครองนกั เรยี น คณะกรรมการตรวจสอบการเงิน-พสั ดุ การอบรมหลักสูตรต้านทจุ รติ มอบรางวลั นักเรยี นประพฤตติ นเปน็ แบบอย่างท่ีดี

47 เอกสารอา้ งอิง “การบรหิ ารโรงเรยี นขนาดเลก็ ส่มู าตรฐานดว้ ย “DONGYANG MODEL” Y = Yourself (การพ่ึงพาตนเอง) นักเรยี นโรงเรียนบ้านดงยางทุกคนตัง้ ใจเรียน ต้ังใจปฏิบัติงานของตนเอง มีความ รับผดิ ชอบต่องานท่ีไดร้ ับมอบหมาย กิจกรรมการเรียนการสอน นอ้ งสอนพ่ี ผบู้ รหิ าร และคณะครูออกเย่ยี มบา้ นเดก็ กจิ กรรมการเรียนการสอน แบบโครงงงาน กิจกรรมการเรยี นการสอน โดยการน้อมนำเศรษฐกจิ พอเพยี ง กจิ กรรมการเรียนการสอน โดยการลงมือปฏบิ ัติ เรยี นรูแ้ หล่งเรยี นรู้ภายในชมุ ชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook