บทบาทวทิ ยากรกระบวนการกบั การสรา้ งผู้นาการเปล่ยี นแปลง ผศ.ดร.กิติชัย รัตนะ11. บทนา แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ถือเป็นเคร่ืองมือท่ีสาคัญท่ีประเทศไทยใช้ในการวางแผนและพัฒนาประเทศมาโดยตลอดหลายปีที่ผ่านมา โดยสาระสาคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯเป็นการกาหนดกรอบทิศทางการพัฒนาประเทศครอบคลุมท้ังทางด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม รวมท้ังสิ่งแวดล้อม ซ่ึงหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบในแต่ละภารกิจต่างก็ยึดเอาเป็นแนวทางในการนาแผนสู่การปฏิบตั ิ ท้งั นี้นโยบายของรัฐได้มุ่งเน้นให้เกิดการบริหารจัดการเชิงบูรณาการของทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้อง ท้ังการบูรณาการพ้ืนท่ีเป้าหมายในการดาเนินงาน (Area) การบูรณาการภารกิจของแต่ละหน่วยงาน(Function) ตลอดจนการบูรณาการการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนท้องถิ่น (Participation) หรือเรียกอีกนัยหนึ่งว่า การบริหารจัดการแบบ AFP หลักการดังกล่าวมีอิทธิพลต่อการดาเนินยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศในระยะเวลาตอ่ มาจนถงึ ปัจจุบนั คุณภาพชีวิตของประชาชน เป็นเป้าหมายหลักในกระบวนการในการพัฒนาชุมชน ซึ่งต้องอาศัยองค์ประกอบหลายประการในกระบวนการพัฒนา เช่น ศักยภาพของชุมชนในการตอบสนองต่อการพัฒนาประเด็นปัญหาที่เกิดข้ึนในชุมชน การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ รวมตลอดจนบทบาทขององค์กรพฒั นาชมุ ชน โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ นกั พัฒนาชมุ ชนที่ต้องมีทักษะในการทางานร่วมกับชุมชนอย่างใกล้ชิด อีกทั้งยังมีบทบาทในการกระตุ้นและเสริมสร้างให้เกิดบรรยากาศในการทางานบนพ้ืนฐานของการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชมุ ชน บ่อยคร้ังที่นักพัฒนาเหล่านี้ต้องสวมบทบาทของการเป็นวิทยากรกระบวนการ (Facilitator) ท่ีเปรียบเสมือนเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงให้เกิดข้ึน บทบาทที่ปรากฏชัดก็คือการเป็นวิทยากรชุมชนที่สนับสนุนให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนผ่านการจัดเวทีประชาคมหรือเวทีชาวบ้าน ด้วยเหตุน้ีแนวทางการพัฒนาชุมชน หรือแม้กระท่ังงานด้านจัดการลุ่มน้าและทรัพยากรธรรมชาติในปัจจุบันจึงให้ความสาคัญกับใช้วิทยากรกระบวนการเป็นผู้ประสานการทางานร่วมกับชุมชน เพื่อให้ภารกิจต่างๆบรรลุตามวัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายทีว่ างไว้1 ภาควิชาอนรุ ักษวทิ ยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
บทบาทวิทยากรกระบวนการกับการสรา้ งผนู้ าการเปลย่ี นแปลง_ผศ.ดร.กติ ชิ ยั รัตนะ2. ความหมายของวิทยากรกระบวนการ วิทยากรกระบวนการ มาจากคาศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “Facilitator” ซ่ึงหมายความว่า ผู้ทาหน้าท่ีอานวยความสะดวก หรือในความหมายอ่ืนท่ีใกล้เคียงกันอาจหมายถึงคนกลางท่ีช่วยจัดและดาเนินงานการพบปะ ประชุม อบรมใหเ้ กิดการคิดท่ีเป็นระบบ มีอิสระทางความคิดและสามารถส่ือสารทาความเข้าใจกันอยา่ งลึกซ้งึ ดว้ ยการใชเ้ ทคนิคกระบวนการเรียนรรู้ ่วมกันแบบมีส่วนรว่ มของผมู้ สี ว่ นเกี่ยวขอ้ ง วทิ ยากรกระบวนการต้องทาหนา้ ทใ่ี นการเสริมสร้างบรรยากาศของการระดมความคิดเห็นและการทางานอย่างสร้างสรรค์ด้วยการมีไมตรจี ิตตอ่ กัน เกิดความร่วมมือในการทางานอย่างกว้างขวางและจริงจังสามารถขจัดปัญหาและอปุ สรรคออกไป และสง่ เสริมใหเ้ กดิ การสือ่ สารทม่ี ีประสทิ ธิภาพ นอกจากน้ีวิทยากรกระบวนการยังมีส่วนสาคัญต่อการให้สมาชิกในกลุ่มแลกเปล่ียนและสะท้อนประสบการณห์ รอื ปัญหา รวมท้ังแนวทางแก้ไข ช่วยตั้งประเด็นคาถามที่ท้าทายนาไปสู่การแลกเปล่ียนและสะท้อนประสบการณ์หรือปัญหา รวมทั้งแนวทางแก้ไข ช่วยกระตุ้นให้สมาชิกกลุ่มรับฟังซึ่งกันและกัน และช่วยต้ังประเด็นให้กลุ่มมีทักษะการคิดอย่างเป็นระบบครอบคลุมปัญหาและความต้องการของสมาชิกกล่าวอีกนัยหนึ่งก็เปรียบเสมือนกับการเป็นผู้อานวยการกลุ่ม ท่ีต้องมีบทบาทในการประสาน เช่ือมโยงสังเกต กระตุ้น เสริมสร้างและเอื้ออานวยให้เกิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม สามารถทาให้สมาชิกที่เข้าร่วมกระบวนการรู้จักวิเคราะห์ปัญหา กาหนดความต้องการและเสนอทางเลือกในการจัดการกับปัญหาที่ประสบอยูอ่ ยา่ งเหมาะสมกับหว้ งเวลา สถานการณแ์ ละบริบทแวดล้อม กล่าวได้ว่าวิทยากรกระบวนการมีความหมายครอบคลุมกว้างขวางกว่าการเป็นผู้ถ่ายทอดตามนิยามโดยท่ัวไป วิทยากรกระบวนการอยู่ในสถานภาพของนักพัฒนาหรือผู้นาการเปล่ียนแปลงให้เกิดข้ึนในชุมชน เพื่อให้สมาชิกในชุมชนต่ืนตัวและเข้าถึงหัวใจของการพัฒนาได้อย่างแท้จริง ซึ่งในกระบวนการจัดการลุ่มน้าเองก็ต้องอาศัย “เจ้าหน้าที่ประสานงานชุมชน” เป็นกลไกในการเช่ือมประสานการทางานร่วมกับชุมชน โดยในท่ีนี้เจ้าหน้าท่ีประสานงานชุมชนก็ต้องมีบทบาทของวิทยากรกระบวนการไปด้วยในพรอ้ มๆกนั (ตารางที่ 1) 2
บทบาทวิทยากรกระบวนการกับการสรา้ งผนู้ าการเปลย่ี นแปลง_ผศ.ดร.กติ ิชัยรัตนะตารางที่ 1 เปรียบเทียบบทบาทของวิทยากรในความหมายเดมิ กบั วิทยากรกระบวนการ วทิ ยากรในความหมายเดมิ วทิ ยากรกระบวนการ1. มีบทบาทเปน็ ครผู ถู้ า่ ยทอด (Teacher) 1. มีบทบาทเป็นครูผฝู้ กึ (Coach) ต้งั ประเด็นคาถาม พัฒนาความคดิ พร้อมใหค้ าแนะนาอย่างสรา้ งสรรค์2. เปน็ ผู้รวบรวมและนาความรมู้ าถ่ายทอดให้แบบ 2. เป็นผ้จู ัดกระบวนการใหเ้ กิดความรว่ มมือในการทางตรง เนน้ การฟังเพ่อื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจ แลกเปล่ยี นเรียนรู้รว่ มกัน3. มีเป้าหมายใหผ้ ฟู้ ังเชอ่ื ในสง่ิ ทถี่ า่ ยทอด เนอ่ื งจาก 3. มีเปา้ หมายให้เกดิ การพฒั นาความคดิ สกู่ ารรับรแู้ ละความรทู้ ่ีถา่ ยทอดใหเ้ ปน็ สิง่ ทถ่ี กู ตอ้ งและผา่ นการ เรียนรคู้ วามเข้าใจที่แตกฉาน ดว้ ยตนเองมากกวา่ การสงั เคราะหแ์ ล้ว รบั ฟงั ฝ่ายเดียว4. วทิ ยากรเป็นศนู ยก์ ลางของการถ่ายทอดความรทู้ ั้ง 4. ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมเปน็ ศูนยก์ ลางของการถา่ ยทอดมวล และมีการแลกเปล่ียนประสบการณ์ซึ่งกันและกนั5. เปน็ ผตู้ ดั สนิ ใจการเปลีย่ นแปลงของผเู้ ขา้ ร่วม 5. เปน็ เพยี งผ้สู ะทอ้ นภาพของการเรยี นร้เู พือ่ ให้กิจกรรม ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมสามารถปรบั เปลี่ยนตนเอง6. ความสาเรจ็ ตามวตั ถุประสงคเ์ ปน็ ความรบั ผดิ ชอบ 6. ความสาเรจ็ ตามวตั ถุประสงค์เปน็ ความรับผดิ ชอบของวิทยากร ของผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรรู้ ว่ มกับวิทยากร7. มชี ่องทางการสื่อสารแบบทางเดียว (One- way 7. มีช่องทางการส่อื สารสองทาง (Two-wayCommunication) Communication)8. วทิ ยากรมีความเชย่ี วชาญเฉพาะดา้ น (Expert) 8. วิทยากรกระบวนการมคี วามรูเ้ ชงิ สหวิทยากร (Interdisciplinary)9. มคี วามสามารถในการไขปัญหาท่ีผู้เรยี นข้องใจได้ 9. ไม่จาเปน็ ต้องรูแ้ ละตอบขอ้ ขอ้ งใจไดใ้ นทุกเรื่อง แต่ทกุ อยา่ ง รู้จกั การสร้างการเรียนรรู้ ว่ มกันได้10. กระบวนการจดั การความรู้และการถา่ ยทอด 10. มรี ะบบกระบวนการจัดการความรู้ทยี่ ืดหย่นุ ตามความร้เู ปน็ แบบมแี บบแผน ตายตัว สถานการณท์ เ่ี หมาะสม11. สนใจในเน้อื หาท่ีถ่ายทอดมากกวา่ กระบวนการ 11. สนใจในกระบวนการเชงิ ปฏสิ มั พนั ธ์ของสมาชกิของการถา่ ยทอด กลุ่ม12. ขาดการกระตุ้นใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ ให้ความสาคัญ 12. มีกระบวนการเสรมิ พลงั ความคดิ แบบเปิดกวา้ งกบั ตนเองมากกว่ากลมุ่ มองการพัฒนาแบบองคร์ วม เนน้ การมีสว่ นรว่ มทมี่ า: ปรบั ปรงุ จาก อมรศรี (2535) 3
บทบาทวิทยากรกระบวนการกับการสรา้ งผนู้ าการเปลย่ี นแปลง_ผศ.ดร.กิตชิ ัยรัตนะ3. คุณสมบตั ิของวิทยากรกระบวนการ การเป็นวิทยากรกระบวนการ จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องฝึกฝนและพัฒนาทักษะ ให้เกิดความเช่ยี วชาญในการจัดการกับการประชุมเพอ่ื ระดมความคดิ เห็น เนอื่ งจากกลมุ่ คนที่เข้าร่วมกระบวนการอาจมีพื้นฐานความรู้และประสบการณ์ท่ีแตกต่างกัน ดังนั้นบ่อยคร้ังท่ีกระบวนการประชุมจะมีการแสดงความคิดเห็นที่หลากหลายหรือมีข้อถกเถียงกันอย่างกว้างขวาง ซึ่งวิทยากรกระบวนการต้องมีคุณสมบัติท่ีเหมาะสมกับการจัดการกลุ่มและสมาชิกให้สอดคล้องกับห้วงเวลาและสถานการณ์ท่ีเป็นจริง โดยคณุ สมบัติพืน้ ฐานที่จะกล่าวถงึ มพี อสงั เขปดงั น้ี 3.1 เป็นผู้ทีม่ ีกระบวนทัศน์ในการพัฒนาแบบองคร์ วม เปน็ คณุ สมบตั ิขัน้ พ้ืนฐานที่ผู้ที่เป็นวิทยากรกระบวนการจาเป็นต้องมีอยู่ในตนเอง ในที่น้ีหมายรวมถึงต้องมีแนวคิดในการพัฒนาที่เช่ือมโยงทุกมิติเข้าด้วยกันแบบองค์รวม (Holistic Approach) ท้ังการพัฒนาในเชิงเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี รวมทั้งด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ท้ังนี้ท้ังน้ันต้องมุ่งเน้นการสร้างความยั่งยืนให้เกิดข้ึนกับชุมชนท้องถ่ินเป็นสาคัญ ซ่ึงเป็นหลกั การทีส่ าคญั ตามแนวทางการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื 3.2 เป็นผทู้ ่มี ที ักษะความคิดอยา่ งเป็นระบบ วิทยากรกระบวนการ ต้องเปน็ ผ้ทู ่ีมีความสามารถและทักษะในการผสมผสานศาสตร์ต่างๆเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบระเบียบ (Systematic Thinking) การคิดอย่างเป็นระบบระเบียบนั้นเกิดจากการเชื่อมโยงประเด็นที่สาคัญๆที่ได้จากการระดมความคิดเห็นหรือการประชุมให้เป็นหมวดหมู่ชัดเจน เพ่ือให้เกดิ การสอ่ื สารขอ้ มูลตา่ งๆใหเ้ กิดความเขา้ ใจง่ายและมปี ระสทิ ธิภาพ 3.3 เปน็ ผู้มีความคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์ วิทยากรกระบวนการต้องมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ (Creativity) หมายถึงไม่ยึดติดกรอบความคดิ เดมิ อยตู่ ลอดเวลา รู้จักพัฒนาความคิดใหม่ขึ้นมานาเสนอเพื่อนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงได้ พร้อมท่ีจะขยายและปรับเปลยี่ นแบบแผนทางความคิด กลา้ คิด กล้าทา กล้าแสดงออก 3.4 เปน็ ผทู้ ่มี บี ุคลกิ ภาพความเป็นผู้นา บคุ ลิกภาพความเป็นผ้นู า (Leadership) เปน็ เรอ่ื งท่ีสามารถฝึกฝนได้ คุณสมบัติของความเป็นผู้นาตอ้ งเป็นผู้มีทักษะในการส่ือสารและสามารถโน้มนา้ วใจบุคคลอ่ืนได้ดี เนื่องจากจะต้องใช้ศักยภาพของความเป็นผู้นาเพ่ือบริหารจัดการกับกลุ่มและความคิดเห็นที่หลากหลายเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อสรุปร่วมกันท่ีทุกฝ่ายยอมรับ นอกจากน้ีควรเป็นบุคคลท่ีมีความรู้และประสบการณ์ในเร่ืองราวต่างๆที่เก่ียวข้องเป็นอย่างดี 4
บทบาทวิทยากรกระบวนการกับการสรา้ งผนู้ าการเปลยี่ นแปลง_ผศ.ดร.กิตชิ ยั รตั นะสามารถถ่ายทอดออกมาเป็นบทเรียนเพื่อให้ผู้อ่ืนได้แลกเปล่ียนเรียนรู้อย่างกว้างขวาง รวมท้ังต้องมีความเชอื่ ม่นั ในตนเอง กลา้ ตดั สนิ ใจและมคี วามรับผิดชอบสูง 3.5 เปน็ ผทู้ ม่ี ีความยืดหยนุ่ และสามารถแก้ไขสถานการณเ์ ฉพาะหน้าได้ดี ในหลายกรณี พบว่าในกระบวนการประชุมเพ่ือไกล่เกล่ียข้อพิพาทด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม หรอื แมก้ กระทง่ั ปัญหาที่เกิดข้ึนในชุมชน วิทยากรกระบวนการท่ีเข้าไปเป็นคนกลางในการเจรจาไกลเ่ กลี่ยต้องใช้ประสบการณ์และทักษะในการควบคุมสถานการณ์ของความขัดแย้งของฝ่ายต่างๆท่ีเข้ามาร่วมกระบวนการ แก้ไขสถานการณ์ด้วยการใช้สมาธิและปัญญา ไม่ตื่นตระหนกง่าย ไมฉุนเฉียว มีความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ดังนัน้ จึงควรมีระบบคิดท่ีนาไปสู่การตัดสินใจอย่างแยบยลและเหมาะสมกับสถานการณ์และความสุกงอมของประเด็น สามารถควบคุมแสดงความคิดเห็นของบุคคลในที่ประชุมอย่างเสมอภาค เทา่ เทียมกนั ไมถ่ กู ครอบงาจากอทิ ธพิ ลของบุคคลใดบุคคลหน่งึ ในที่ประชมุ 3.6 เป็นผู้ทมี่ ีความสามารถในการสร้างกระบวนการเรยี นรแู้ บบมสี ว่ นร่วม วิทยากรกระบวนการต้องมีความเอาใจใส่ต่อกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของสมาชิกกลุ่ม(Learning Process) ทั้งนี้เน่ืองจากกระบวนการกลุ่มเกิดขึ้นได้ด้วยการมีปฏิสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์ของบรรดาสมาชิกท้ังหลาย วิทยากรกระบวนการจึงต้องมีกระบวนการส่ือสารแบบมีส่วนร่วม รับรู้อารมณ์ความรู้สึกของบุคคลอื่นอย่างลึกซึ้ง ให้ความสาคัญกับบทบาทการแสดงความคิดเห็นของทุกคนอย่างเปิดกวา้ ง ให้หลกั เหตผุ ลบนพื้นฐานของความเปน็ ประชาธปิ ไตยที่ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมอยา่ งแท้จริง 3.7 เป็นผทู้ ม่ี ีความเปน็ กลางและเป็นธรรม เน่ืองจากวิทยากรกระบวนการมักถูกผู้เข้าร่วมประชุมคาดหวังว่าจะช่วยในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นของชุมชน ฉะนั้นผลที่เกิดการดาเนินกระบวนการประชุมของวิทยากรกระบวนการจึงมักถูกใช้เป็นขอ้ สรุปหรือข้อตกลงรว่ มกัน อันจะนาไปสูก่ ารปฏิบัติต่อไป ด้วยเหตุน้ีวิทยากรกระบวนการจึงควรเป็นบุคคลที่มีความเป็นกลาง ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งทางตรงหรือทางอ้อมกับประเด็นปัญหาที่กาลังเข้าไปแก้ไข สามารรถรับรู้และเข้าใจปัญหาของทุกฝ่าย มีความพยายามที่จะช่วยอานวยความสะดวกให้เกิดกระบวนการแกไ้ ขปัญหาท่ีถูกต้องตามฉันทามติของชุมชนหรือมวลสมาชิก ฉะน้ันหากวิทยากรกระบวนการมีความเอนเอยี งเขา้ ข้างฝา่ ยใดฝา่ ยหนึง่ ยอ่ มทาให้เกดิ อคติในการแก้ไขปัญหาใด รวมตลอดจนไม่สามารถสร้างศรัทธาให้เกิดข้นึ กบั ฝา่ ยต่างๆได้4. การออกแบบการเรยี นร้แู บบผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลาง วิทยากรกระบวนการมีส่วนสาคัญอย่างมากต่อการสร้างกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน เน่ืองจากกระบวนการเรยี นรู้ในแนวคดิ ใหมต่ ่างมุ่งเนน้ ทก่ี ารสร้างความรโู้ ดยเร่ิมต้นจากผู้เรียนเป็นหลัก โดยให้ผู้เรียน 5
บทบาทวทิ ยากรกระบวนการกบั การสรา้ งผนู้ าการเปลยี่ นแปลง_ผศ.ดร.กติ ิชยั รตั นะสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์ร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ แต่ถึงอย่างไรในขณะที่วิทยากรกระบวนการจาเป็นต้องออกแบบกระบวนการเรียนรู้ต้องคานึงถึงปัจจัยต่างๆให้สอดคล้องพฤตกิ รรมของกลุ่มเป้าหมาย จานวนของกลุ่มเปา้ หมาย ระยะเวลาทใี่ ช้ในกระบวนการเรียนรู้ ส่ือท่ีใช้ในการถ่ายทอดการเรียนรู้ ฯลฯ ทั้งนี้รูปแบบที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้มีมากหมายหลายรูปแบบดังจะกล่าวถึงต่อไปนี้ 4.1 การประชุม เป็นการประชุมอย่างมีพิธีการเพื่อนาเสนอผลงาน หรือแลกเปล่ียนความรู้ประสบการณ์และแก้ไขปัญหาในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง ซึ่งในการประชุมต้องมีประธานในการดาเนินการประชุมตามประเด็นท่ีตั้งไว้ อกี ท้ังตอ้ งมุ่งเนน้ การแสดงความคิดเหน็ ของผเู้ ขา้ ร่วมประชุมควบคไู่ ปด้วย ภาพท่ี 1 การประชมุ เพ่ือนาเสนอผลการดาเนินงานต่อชุมชน 4.2 การสมั มนา เป็นการประชุมเพื่อร่วมกันศึกษาค้นคว้าในเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง ภายใต้การให้ข้อมูล คาแนะนาขอ้ ปรึกษาจากวิทยากรผเู้ ชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคณุ วฒุ ิ การสมั มนาเหมาะสาหรบั การท่ีมีจานวนผู้เข้าร่วมมากพอที่จะร่วมกันศึกษาค้นคว้าและแสวงหาทางออกในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจุบันการสัมมนาได้รับความนิยมในอย่างมาก เน่ืองจากใช้เวลาไม่นานแล้วเพียง 2-3 วันเพ่ือให้ได้ทั้งความรู้และทางออกในการแก้ไขปัญหา ซึ่งวิทยากรผู้เชี่ยวชาญสามารถให้คาแนะนาต่างๆได้อย่างใกล้ชิด ซึ่งวิธีน้ีเหมาะสาหรับองค์กรทีม่ สี มาชกิ มาก หรือกลุม่ คนที่มีความหลากหลายของอาชีพต่างๆ 6
บทบาทวิทยากรกระบวนการกบั การสรา้ งผนู้ าการเปลย่ี นแปลง_ผศ.ดร.กติ ิชยั รตั นะ ภาพที่ 2 การสมั มนาโดยมีวิทยากรผู้คุณวุฒริ ว่ มบรรยาย 4.3 การประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการ เป็นการประชุมโดยมีวัตถุประสงค์และเป้าหมายเฉพาะที่ต้องการแก้ไขปัญหา หรือเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารงานในเร่ืองใดเรื่องหน่ึง โดยการให้สมาชิกผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเขา้ ใจเปา้ หมายของการประชุม กาหนดประเด็นที่ต้องการได้จากการประชุม จากน้ันให้มีการทาปฏิบัติการในเรื่องทกี่ าหนดขึ้น อาจมีการประชุมเป็นกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม หรืออาจฝึกฝนการใช้เครื่องมือในการศึกษาหรอื แก้ไขปัญหาในเร่อื งทีต่ ้องการ การประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารนอกเหนอื จากผู้เข้าร่วมจะมีความรู้ความเข้าใจเป็นอย่างดีแลว้ ยงั มโี อกาสในการแสดงความคิดเห็น หรอื การฝกึ ทักษะเป็นการเฉพาะด้านได้ด้วยเช่นกนั ภาพที่ 3 การประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ าร 4.4 การระดมสมอง เป็นเทคนิคท่ีใช้เพื่อให้ผู้เข้าร่วมระดมสมองมีโอกาสในการแสดงความคิดเห็นอย่างเปิดกว้างโดยไมม่ กี ารครอบงาทางความคดิ จากบุคคลใดหรือจากวทิ ยากรกระบวนการ ทั้งน้ีต้องอยู่ภายใต้ข้อกาหนดและกติกาทีท่ ุกฝ่ายเห็นพ้องตอ้ งกนั การระดมสมองอาจใชก้ ารแบ่งกลุ่มย่อยออกเป็นหลายๆกลุ่ม เพื่อให้ได้ข้อคิดเห็นท่ีหลากหลายก็ได้ เพ่ือท่ีจะได้นามาสรุปในขั้นสุดท้ายต่อไป สิ่งที่สาคัญของกระบวนการระดม 7
บทบาทวิทยากรกระบวนการกบั การสรา้ งผนู้ าการเปลย่ี นแปลง_ผศ.ดร.กติ ิชัยรัตนะสมองคือการให้สมาชิกพยายามมีจินตนาการท่ีสร้างสรรค์ในการถ่ายทอดออกมาเพื่อให้กลุ่มได้รวบรวมเป็นประเด็นร่วมของกลุ่ม ทั้งนี้ผู้รวบรวมประเด็นอาจจัดทาประเด็นร่วมในลักษณะของการทาแผนที่ความคิด (Mind Map) ก็ได้ ซ่ึงการทาแผนที่ความคิดเป็นกระบวนการรวบรวมความคิดออกมาอย่างเป็นระบบและหมวดหมูช่ ัดเจน รวมทัง้ ยงั ตอ่ ยอดความคิดดังกล่าวออกไปได้อยา่ งกว้างขวางอกี ด้วย ภาพท่ี 4 การระดมสมองของผูเ้ ขา้ รว่ มกระบวนการเรียนรู้ 4.5 การอภิปรายกล่มุ เป็นการออกแบบการเรียนร้โู ดยใหม้ กี ารแสดงความคดิ เห็นภายในกลุ่มเล็กๆจานวนหน่ึง โดยที่ผู้เข้าร่วมอภิปรายกลุ่มมีความสนใจในเรื่องท่ีตรงกันและเป็นประโยชน์ร่วมกัน กระบวนการอภิปรายจะมีการตั้งประเดน็ คาถามหรอื โจทยใ์ นการอภิปราย จากนนั้ ให้ผูเ้ ข้าร่วมอภปิ รายทกุ คนแสดงความคิดเห็น ภาพท่ี 5 การอภปิ รายกลมุ่ 4.6 การประชุมวิชาการ เป็นการประชุมโดยให้ผู้ท่ีมีความรู้ความเช่ียวชาญเฉพาะด้านหรือความเช่ียวชาญที่หลากหลายมาร่วมกันเสนอผลงาน หรือแสดงความคิดเห็นในทางเทคนิควิชาการในประเด็นท่ีกาหนดข้ึน 8
บทบาทวทิ ยากรกระบวนการกับการสรา้ งผนู้ าการเปลย่ี นแปลง_ผศ.ดร.กิติชัยรัตนะเน้นการใช้ข้อมูลทางวิชาการเป็นพื้นฐานของการประชุม รวมถึงการแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์ระหว่างกัน ภาพท่ี 6 การประชุมวชิ าการ 4.7 การสาธิต การสาธิตเป็นกระบวนการเรียนรุ้อีกรูปแบบหน่ึงที่สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการทางานร่วมกนั ชุมชนได้เป็นอย่างดี โดยเป็นการนาเสนอในรูปของการปฏิบัติการให้ดูเป็นตัวอย่างที่สามารถยึดถือเป็นแบบอย่างได้ โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมสาธิตสามารถศึกษาวิเคราะห์และถอดแบบจากการสาธิตให้ดูได้อย่างใกล้ชิด รวมทั้งการซักถามในประเด็นที่สนใจเป็นการเฉพาะได้ ทั้งนี้การสาธิตต้องมีวิทยากรกระบวนการทีส่ ามารถถ่ายทอดความรู้และข้ันตอนต่างๆได้ดี อย่างไรก็ตามการสาธิตท่ีมีประสิทธิภาพอาจใช้การสาธิตผ่านศูนย์สาธิต (Demonstration Center) ก็ได้ เน่ืองจากผู้สาธิตสามารถจัดการกับเนื้อหาและกระบวนการเรยี นรู้ของผู้รับการสาธติ ได้สะดวกและครบวงจรภาพที่ 7 กจิ กรรมการสาธิตในสนาม 9
บทบาทวทิ ยากรกระบวนการกบั การสรา้ งผนู้ าการเปลยี่ นแปลง_ผศ.ดร.กิติชัยรตั นะ 4.8 การศกึ ษาดูงาน เป็นกระบวนการเพ่ิมพูนประสบการณ์ให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน โดยเร่ิมต้นจากการสารวจความตอ้ งการในการศึกษาดูงาน จากน้ันทาการไปศึกษาดูงานในพื้นที่ โดยมีวิทยากรในพ้ืนที่เป็นผู้ให้ความรู้ ผลที่ได้จากการศึกษาดูงานสามารถนามาพัฒนาความคิดและการปฏิบัติในเรื่องที่ต้องการได้ต่อไป กระบวนการศึกษาดูงานบางพ้ืนท่ี เน้นการสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบลึกซ้ึงให้เกิดข้ึนกับผู้ท่ีมาศึกษาดูงาน โดยการให้พกั อาศยั อยใู่ นชมุ ชนกบั ครวั เรือนเป้าหมายที่ตอ้ งการเรียนรู้ เพ่ือให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ตรงผ่านการเสวนา การฝึกปฏิบัติจริงหรือแม้กระท่ังการตอบข้อซักถามในประเด็นท่ีสงสัยได้ วิธีการเช่นน้ีช่วยใหเ้ กดิ การเรียนรู้ผา่ นการศึกษาดงู านได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลในทางปฏิบัติได้มากยิ่งขึ้นเพยี งแต่อาจต้องใช้เวลาในการศกึ ษาดูงานมากกว่าการไปรับฟงั การบรรยายโดยวทิ ยากรชุมชนอยา่ งเดียว ภาพที่ 8 การศึกษาดูงาน5. บทบาทของวิทยากรกระบวนการในการสรา้ งพลงั ชมุ ชน ปัจจุบันงานด้านการพัฒนาชุมชนได้ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์จากเดิมท่ีมองว่าชุมชนไม่สามารถพึ่งพิงตนเองได้ ต้องรอรับการช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆแต่เพียงอย่างเดียว (Negative Approach) ซ่ึงเป็นมุมมองการพัฒนาชุมชนที่ไม่ให้ความสาคัญกับบทบาทของสมาชิกในชุมชนในการช่วยเหลือต นเองเป็นลาดบั แรกกอ่ น ขณะท่ีมมุ มองใหม่ไดเ้ น้นการสนับสนนุ ให้เกิดกระบวนการเรยี นรขู้ องสมาชิกในชุมชนในการวิเคราะหป์ ัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ เพ่ือนาไปส่กู ารแก้ไขปัญหาร่วมกัน สมาชิกชุมชนอยู่ในฐานะของผู้ที่มีศักยภาพในตนเอง ทีจ่ ะเอื้อให้เกิดการแก้ไขปญั หาแบบมีส่วนร่วม (Positive Approach) บทบาทของหน่วยงาน/องค์กรต่างๆท่ีลงไปทางานร่วมกับชุมชนเปรียบเสมือนกับการเข้าไปทางานเชิงกระบวนการมากกว่า เน้นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาชุมชนแบบพ่ึงตนเอง ความสาเร็จของการแก้ไขปัญหาในชุมชนขึ้นอยู่กับปัจจัยภายในชุมชนเอง ฉะน้ันผู้ท่ีปฏิบัติงานในสนามจึงมีบทบาทคล้ายคลึงหรือเหมือนกับการเป็นวิทยากรกระบวนการท่ีจะอานวยความสะดวกให้เกิดกระบวนการแก้ไข/จัดการที่เป็นไป 10
บทบาทวทิ ยากรกระบวนการกับการสรา้ งผนู้ าการเปลยี่ นแปลง_ผศ.ดร.กิติชัยรตั นะตามความตอ้ งการของชมุ ชนอยา่ งแท้จรงิ ซ่งึ ในท่นี ้ีขอกลา่ วถงึ บทบาทของวิทยากรกระบวนการในการสร้างพลงั ชุมชนในการจัดการลมุ่ น้าและทรัพยากรธรรมชาตใิ นมิตติ ่างๆดงั น้ี 5.1 บทบาทดา้ นการรวบรวมและถ่ายทอดองค์ความรู้ วิทยากรกระบวนการต้องมีบทบาทในการเป็นผู้รวบรวมองค์ความรู้ต่างๆของชุมชนในทุกๆด้าน ทั้งที่เป็นองค์ความรู้ด้านวิถีการดารงชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีของชุมชน รวมท้ังองค์ความรู้และภูมิปญั ญาดา้ นการจดั การทพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของสมาชิกในชุมชน องค์ความรู้ทั้งหลายเหล่านี้มักอยู่กระจัดกระจายตามสมาชิกในชุมชน โดยเฉพาะผู้ที่มีบทบาทในชุมชน ฉะน้ันวิทยากรกระบวนการต้องสามารถจัดการให้เกิดการรวบรวมองค์ความรู้ให้เป็นหมวดหมู่ อีกท้ังสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้เพ่อื ให้เกิดการแลกเปล่ียนความรู้ในชุมชน ซ่ึงจาเป็นต้องพัฒนาให้เกิดช่องทางการไหลเวียนของความรู้ในหลายๆรปู แบบผ่านกระบวนการสื่อสารท่ีมปี ระสทิ ธิภาพและเขา้ ถึงกล่มุ เป้าหมายในชมุ ชน ภาพท่ี 9 กระบวนการถ่ายทอดความร้ขู องวทิ ยากรกระบวนการ 5.2 บทบาทดา้ นการใหค้ าปรึกษาในการพัฒนาชุมชน โดยพื้นฐานของการพัฒนาชุมชน สมาชิกในชุมชนต้องมีบทบาทในการนาการแก้ไขปัญหาโดยตรง แต่ในทางปฏิบัติมักมีความต้องการการสนับสนุนคาปรึกษาและข้อแนะนาจากผู้ท่ีมีความรู้ความเชี่ยวชาญในการพฒั นาชุมชนดว้ ยเสมอ ดังนัน้ วทิ ยากรกระบวนการควรเป็นผู้มีบทบาทในการให้ข้อมูลและคาปรึกษา รวมท้ังกาลังใจแก่สมาชิกชุมชนอย่างใกล้ชิด ส่ิงที่ควรระมัดระวังอย่างยิ่งคือวิทยากรกระบวนการไม่ควรเป็นผู้ช้ีนาการพัฒนาต่างๆ แต่ควรเป็นผู้ช้ีแนะ (Coach) ให้เกิดการต้ังคาถาม การแสวงหาคาตอบ รวมทง้ั การสะทอ้ นภาพของการพัฒนาเพือ่ ใหเ้ กดิ การปรับปรุงแกไ้ ขไปแนวทางทเี่ หมาะสม 11
บทบาทวิทยากรกระบวนการกบั การสรา้ งผนู้ าการเปลยี่ นแปลง_ผศ.ดร.กิตชิ ัยรัตนะ ภาพท่ี 10 บทบาทการให้คาปรึกษาของวทิ ยากรกระบวนการแก่ชุมชน 5.3 บทบาทด้านการประสานความรว่ มมือในชุมชน กระบวนการพัฒนาชมุ ชนต้องเกิดจากความตอ้ งการของชุมชน มิใช่เกิดจากความต้องการของนกั พัฒนาภายนอก ด้วยเหตุน้วี ิทยากรกระบวนการจึงควรมบี ทบาทในการประสานงานให้เกิดความร่วมมือในชุมชน สมาชกิ ในชุมชนตอ้ งเปน็ ผลู้ งมอื คดิ เอง ทาเอง และแก้ไขปัญหาเอง ขณะท่ีวิทยากรกระบวนการเป็นเพียงผู้ประสานให้เกิดพลังชุมชนในการทางานเท่านั้นนอกจากน้ียังอาจต้องทาหน้าท่ีในการประสานการมีส่วนร่วมของหน่วยงาน/องค์กร ภายนอกที่จะเข้ามาสนบั สนนุ การทางานในชุมชนอีกทางหนง่ึ ด้วย ภาพที่ 1-11 บทบาทดา้ นการประสานความรว่ มมือในชุมชน 5.4 บทบาทดา้ นการสนบั สนุนกระบวนการเรียนรู้ การเสริมสร้างให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ (Learning Process) เป็นบทบาทที่สาคัญของวิทยากรกระบวนการท่ีต้องสนับสนุนให้เกิดการมีส่วนร่วมทางความคิด ความรู้และสามารถจัดการให้เกิดการแลกเปล่ียนความรู้ ประสบการณ์ผ่านเวทีการแสดงความคิดเห็นในรูปแบบต่างๆเช่น การจัดเวทีชาวบ้าน เวทีประชาคมหมู่บ้าน เวทีเสวนา การสนทนากลุ่ม การอภิปรายกลุ่ม ฯลฯ ซ่ึงในกระบวนการ 12
บทบาทวทิ ยากรกระบวนการกบั การสรา้ งผนู้ าการเปลย่ี นแปลง_ผศ.ดร.กติ ิชัยรตั นะเหล่านี้ วิทยากรกระบวนการต้องอานวยการให้เกิดการระดมความคิดเห็น (การระดมสมอง) อย่างสร้างสรรค์และเป็นมิตรท่ีดีต่อกัน อันเป็นการยกระดับความคิดให้สูงขึ้น (Meta Level) อันนาไปสู่การสร้างพลงั ชมุ ชนในการคลคี่ ลายและจัดการกับสถานการณต์ ่างๆไดอ้ ย่างมีความรบั ผิดชอบร่วมกัน ภาพที่ 12 บทบาทดา้ นการสนับสนุนกระบวนการเรยี นรู้ของชมุ ชน 5.5 บทบาทดา้ นการสนบั สนนุ ให้เกดิ การรวมกล่มุ องค์กรชุมชน ความสาเร็จของการพัฒนาชุมชน ต้องอาศัยการขับเคล่ือนกิจกรรมผ่านองค์กรชุมชนเนื่องจากองค์กรชุมชนเป็นการรวมกลุ่มของสมาชิกชุมชนตามวัตถุประสงค์และมีการกาหนดเป้าห มายในการดาเนินกิจกรรมที่ชัดเจน องค์กรชุมชนจึงมีความหมายท้ังในเชิงของการสร้างพลังความร่วมมือของชุมชนและยังความหมายในเชิงอานาจการต่อรองในสังคม วิทยากรกระบวนการจึงมีบทบาทในการสร้างกระบวนการชุมชนเพ่ือให้เกิดการค้นหาผู้นาที่มีศักยภาพในการรวมกลุ่ม เพื่อให้ใช้กลุ่มในการขับเคล่ีอนกิจกรรมตามเจตนารมณ์ทีว่ างไว้ ภาพท่ี 13 บทบาทด้านการสนับสนุนใหเ้ กดิ การรวมกล่มุ องค์กรชมุ ชน 13
บทบาทวิทยากรกระบวนการกับการสรา้ งผนู้ าการเปลยี่ นแปลง_ผศ.ดร.กติ ชิ ัยรัตนะ 5.6 บทบาทด้านการวเิ คราะห์และสรุปประเดน็ ในกระบวนการเวทีแลกเปล่ียนความคิดเห็นของบรรดาสมาชิกในชุมชน จะเกิดความรู้อย่างกวา้ งขวาง โดยเฉพาะความรู้ประสบการณ์ท่ีผ่านการสังเคราะห์ของกลุ่มแล้ว ดังน้ันทุกครั้งของการประชุมหรือการทาเวทีเรียนรู้ วิทยากรกระบวนการต้องอาศัยความรอบรู้ในการวิเคราะห์และจับประเด็นอย่างเป็นระบบ และสามารถสรุปเช่อื มโยงประเดน็ ตา่ งๆเข้าด้วยกนั อยา่ งกลมกลืน เห็นภาพของความต้องการในการแกไ้ ขปญั หาหรือการพฒั นาชุมชนอย่างเด่นชดั สามารถสอ่ื สารได้เข้าใจทุกฝา่ ย โดยไมเ่ กิดขอ้ สงสยั ใดๆ ภาพท่ี 14 บทบาทด้านการวิเคราะหแ์ ละสรุปประเดน็ 5.7 บทบาทด้านการไกลเ่ กลยี่ ข้อพพิ าทในชุมชน ทรพั ยากรธรรมชาติ เป็นองค์ประกอบหนึ่งของฐานทรัพยากรที่มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของสมาชกิ ชุมชน และมีบ่อยคร้ังท่ีการจัดการการใชป้ ระโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของสมาชิกชุมชนได้อย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรมได้ จึงมักเกิดกรณีพิพาทในการแย่งชิงทรัพยากรเพ่ือใช้ประโยชน์ กรณีพิพาทระหว่างกลุ่มต่างๆเหล่าน้ีมีผลต่อความขัดแย้งในหมู่สมาชิกของชมุ ชน และไม่นาไปสู่การพฒั นาความร่วมมอื ในดา้ นต่างๆภายในชมุ ชนด้วยกนั เอง อีกทั้งยังมีผลต่อการเข้ามาสนบั สนุนแผนงาน/โครงการจากหน่วยงานช่วยเหลอื ภายนอกอีกด้วย ฉะนน้ั เมือ่ ปรากฏภาพของความขัดแย้งที่จะลุกลามกลายเป็นกรณีพิพาทระหว่างกัน วิทยากรกระบวนการต้องเร่งเข้าไปคลี่คลายสถานการณ์ให้บรรเทาลง โดยการเป็นคนกลาง (Mediator) ให้เกิดการไกล่เกล่ียข้อพิพาท โดยต้องอยู่บนพ้ืนฐานของความเป็นกลาง และปราศจากอคติใดๆเพื่อให้กระบวนการแก้ไขปญั หาได้รบั การยอมรบั จากทกุ ฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง ประการสาคัญของกระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทคือ(1) ต้องมีการกาหนดประเด็นของความขัดแย้งที่ชัดเจนและมุ่งแก้ไขข้อขัดแย้งน้ันเป็นการเฉพาะ (2) มีกระบวนการในการไกลเ่ กลย่ี ข้อพพิ าทท่ีเปน็ ทย่ี อมรับของคู่พิพาทท้ังสองฝ่ายและต้องเกิดการมีส่วนร่วมทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน (3) วิทยากรกระบวนการในฐานะของคนกลางต้องทาให้เกิดความไว้เนื้อเช่ือใจแก่คู่กรณีทั้งสองฝ่าย ดังน้ันในกระบวนการไกล่เกล่ียจึงต้องอาศัยทักษะและความชานาญในการจัดการกับ 14
บทบาทวิทยากรกระบวนการกบั การสรา้ งผนู้ าการเปลย่ี นแปลง_ผศ.ดร.กิตชิ ัยรตั นะปัญหาอย่างละเอียดอ่อน เข้าใจปัญหาและความต้องการ (จุดยืน) ของแต่ละฝ่ายเป็นอย่างดี อีกท้ังไม่เร่งรีบทาให้กระบวนการแก้ไขปัญหาเสร็จส้ินลงโดยขาดทาข้อตกลงที่ชัดเจน มิฉะนั้นแล้วจะไม่สามารถทาให้ความตอ้ งการของแตล่ ะฝ่ายนาไปสูก่ ารปฏิบัติ ภาพท่ี 15 บทบาทด้านการไกล่เกลยี่ ข้อพพิ าทในชุมชน6. ขอ้ พึงระมัดระวงั ของวทิ ยากรกระบวนการ วิทยากรกระบวนการนบั ว่ามบี ทบาทอย่างย่ิงในการกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือของชุมชน ด้วยเหตุน้ี การดาเนินงานของวิทยากรกระบวนการจึงระมัดระวัง เพ่ือมิให้เป้าหมายของการทางานผิดออกไปจากเจตนารมณ์ท่ีควรจะเป็น และเนื่องจากวิทยากรกระบวนการมักถูกคาดหวังจากชุมชนค่อนข้างสูง ดังนั้นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ในเรื่องต่างๆจึงควรทาด้วยความละเอียดอ่อน เพ่ือให้เข้าใจความรู้สึกของทุกฝา่ ย โดยที่มขี อ้ พึงระมัดระวงั ในประเดน็ ทสี่ าคญั ดงั นี้ 1. วิทยากรกระบวนการต้องไม่สร้างความคาดหวังว่าเป็นผู้ท่ีสามารถแก้ไขปัญหาในชุมชนได้โดยตรง แต่ปัญหาทั้งหลายจะได้รับการแก้ไขด้วยความร่วมมือของสมาชิกในชุมชนเอง วิทยากรกระบวนการไมใ่ ช่ทางออกของปญั หา แตเ่ ปน็ ผ้ชู แ้ี นะแนวทางในการแกไ้ ขปญั หารว่ มกับชมุ ชน 2. ภาษาท่ีใช้ในการส่ือสารกับสมาชิกชุมชน ต้องสอดคล้องกับบริบทของชุมชนทั้งทางวัฒนธรรมค่านิยมและจารีตของท้องถิ่นเป็นหลัก สามารถเลือกใช้การสื่อสารที่เข้าใจง่าย ไม่ใช้คาศัพท์ท่ีเป็นภาษาต่างประเทศ เพ่ือไม่ให้เกิดช่องว่างของการสื่อสารและทาให้เกิดความแตกต่างของบุคคล ดังนั้นการส่ือสารจึงควรใช้ภาษาพูดไทยกลาง หรืออาจใช้ภาษาพื้นถ่ินก็ได้ อันเป็นการบ่งบอกถึงการเคารพศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ บางครง้ั อาจมีภาษาท่ีเป็นอารมณข์ ันบ้าง เพื่อสร้างบรรยากาศใหเ้ กดิ ความเป็นกนั เอง 3. ควบคมุ อารมณ์ได้อย่างราบร่ืน ไมผ่ ันแปรอารมณ์ของตนเองไปตามสถานการณ์ โดยเฉพาะเมื่อตอ้ งเขา้ ไปคลี่คลายความขัดแย้งในชุมชน จาเป็นท่ีจะต้องควบคุมอากัปกิริยาและท่าทางอย่างมีสติ ยึดม่ันในเหตุผล 15
บทบาทวทิ ยากรกระบวนการกับการสรา้ งผนู้ าการเปลยี่ นแปลง_ผศ.ดร.กติ ิชัยรตั นะ 4. เป็นผู้ท่ีรักษาเวลาในการทางาน แต่ไม่ควรเคร่งครัดจนเกินไป เพราะบางครั้งการเคร่งครัดในเวลา อาจทาให้ผู้เข้าร่วมกระบวนการเกิดความรู้สึกตึงเครียด ขณะที่วิทยากรกระบวนการเองควรตรงต่อเวลาและเป็นแบบอย่างในการใช้เวลาในการทางานอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ มีการวางแผนเรื่องเวลาทง้ั การพดู การระดมความคิดเหน็ ของกลุ่มและการฝึกปฏบิ ัติมาเปน็ อยา่ งดี7. ความสาเร็จของการเปน็ วิทยากรกระบวนการ ปัจจุบันวิทยากรกระบวนการ เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาชุมชน เป็นท้ังผู้นาการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นในชุมชนและเป็นผู้ติดตามผลการพัฒนาชุมชนให้อยู่ในแนวทางการพัฒนาที่เหมาะสมกับความต้องการของสมาชิกในชุมชนเป็นหลัก วิทยากรกระบวนการจึงถูกนามาใช้ในการเข้าถึงกระบวนการพัฒนาชุมชนมากขึน้ และไม่ใช่เปน็ เร่ืองของผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญซึ่งเป็นบุคคลที่มาจากภายนอกแตเ่ พยี งอย่างเดียวเท่านั้น หากแต่หมายรวมถึงบุคคลหรือสมาชิกในชุมชนก็สามารถเป็นวิทยากรกระบวนการได้ดว้ ยเชน่ เดียวกนั การเป็นวิทยากรกระบวนการได้ จึงต้องอาศัยการฝึกฝนและลองปฏิบัติจริงให้บ่อยครั้ง เพ่ือให้เกิดความชานาญทั้งกระบวนการคิด วิเคราะห์ และสรุปประเด็น อีกท้ังยังต้องเสริมความรู้ความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาแบบองค์รวม (Holistic Approach) ท่ีคานึงถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและทรพั ยากรธรรมชาตโิ ดยยดึ ชมุ ชนเปน็ ศนู ยก์ ลางของการทางาน เอกสารอา้ งองิกิติชยั รัตนะ (บรรณาธกิ าร). 2548. ปา่ ชมุ ชนบนวิถีท่ีหลากหลาย. บรษิ ทั วิช่นั มีเดีย จากัด. สนับสนุน การจัดพิมพ์โดย บรษิ ัท ปตท. จากัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.กิติชยั รัตนะและชาญชัย งามเจริญ. 2548. การบริหารจัดการลมุ่ นาโดยชุมชนเป็นศนู ย์กลาง. ภาควิชาอนุรกั ษวทิ ยา คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.ประเวศ วะสี. 2547. กระบวนการนโยบายสาธารณะ. มูลนธิ สิ าธารณสุขแหง่ ชาติ, กรุงเทพฯ.พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต). 2544. การพัฒนาที่ยั่งยืน. โรงพมิ พเ์ รอื นแก้ว, กรงุ เทพฯ.พรี ศักดิ์ รักษาพล. 2547. โครงการการศกึ ษาผู้ใหญ่แบบเบ็ดเสรจ็ . จาก http://www.swu.ac.th/edu/ae/websnong/web01/literacy.htm#_วธิ ีการเรยี นการสอน.วชิ า นิยม และกิตชิ ยั รตั นะ. 2547. การบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มเชิง บูรณาการ. ภาควิชาอนุรกั ษวทิ ยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ. 16
บทบาทวิทยากรกระบวนการกบั การสรา้ งผนู้ าการเปลยี่ นแปลง_ผศ.ดร.กิติชัยรตั นะสมพนั ธ์ เตชะอธิกและคณะ. 2537. ศักยภาพและเครือข่ายผนู้ าชาวบา้ น “คมู่ ือและทิศทางการพัฒนา ผนู้ าชาวบ้านเพ่อื แกป้ ัญหาชนบท”. เจริญวิทย์การพิมพ,์ กรุงเทพฯ.สุรพล พยอมแยม้ . 2545. ปฏบิ ตั ิการจิตวิทยาในงานชุมชน. สหายพัฒนาการพิมพ์, กาญจนบรุ .ีอมรศรี ตุ้ยระพิงค์. 2535. วิทยากรกระบวนการ (Facilitator) คอื ใคร. จาก http://wdoae.doae.go.th/Learn/Learn%204.htm 17
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: