Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันมาฆบูชา

วันมาฆบูชา

Published by kwanchai.sub, 2019-02-12 23:57:50

Description: วันมาฆบูชา

Search

Read the Text Version

วนั มาฆบชู า ตรงกับวนั ขึน้ 15 คาํ่ เดอื น 3

สวนท่ีเกี่ยวกบั พระพทุ ธเจา หลงั จากพระพทุ ธเจา ตรัสรูได 9 เดือน ขณะนัน้ เม่อื เสร็จพทุ ธกจิ แสดงธรรมทีถ่ าํ้ สุกรขาตาแลว เสดจ็ มาประทบั ทว่ี ดั เวฬวุ นั เมืองราชคฤห แควน มคธ (ประเทศอินเดียในปจจุบนั ) วันนัน้ ตรง กบั วันเพญ็ เดอื นมาฆะหรอื เดอื น 3 ในเวลาบา ยพระอรหันตส าวกของพระพุทธเจา มาประชุม พรอ มกัน ณ ทป่ี ระทบั ของพระพทุ ธเจา

นบั เปน เหตอุ ัศจรรย ที่มีองคป ระกอบสําคญั 4 ประการ คือ 1. วันน้นั เปน วันข้ึน 15 ค่าํ เดอื น 3 2. พระสงฆจํานวน 1,250 รปู มาประชุมพรอมกันโดยมิได นัดหมาย 3. พระสงฆทั้งหมดเปน พระอรหนั ต ผูไ ดอภญิ ญา 6 4. พระสงฆทง้ั หมดเปนผไู ดรบั การอปุ สมบท โดยตรงจาก พระพุทธเจา

เพราะเหตทุ ีม่ อี งคประกอบสําคัญดังกลาว จงึ มชี ื่อเรียก อกี อยางหนึง่ วา วัน จาตุรงคสนั นิบาต และในโอกาสนี้ พระพุทธเจา ไดแ สดงโอวาทปาตโิ มกข ในทป่ี ระชุมสงฆ เหลานนั้ ซง่ึ ถือไดวา เปน การประกาศหลกั การอดุ มการณ และวิธีการปฏิบตั ทิ างพระพุทธ ศาสนา

การถือปฏิบตั วิ นั มาฆบชู าในประเทศไทย พธิ ีวนั มาฆบชู านี้ เดมิ ทเี ดยี วในประเทศไทยไมเ คยทาํ มากอน พระบาทสมเด็จพระ จลุ จอมเกลา เจา อยูห ัวทรงอธิบายไวว า เกิดข้ึนในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ 4 แหงกรงุ รตั นโกสินทร โดยทรงถอื ตามแบบของโบราณบัณฑิตทไ่ี ดนิยมกนั วา วัน มาฆะบรู ณมี พระจนั ทรเสวยฤกษม าฆะเต็มบริบรู ณ เปน วันทพ่ี ระอรหนั ตส าวกของ พระพทุ ธเจา 1,250 รูป ไดประชมุ กันพรอมดว ยองค 4 ประการ เรียกวา จาตรุ งคสันนิบาต พระพุทธเจาไดตรัสเทศนาโอวาทปาตโิ มกข ในท่ปี ระชมุ สงฆเปนการประชุมใหญ และ เปนการอศั จรรยใ นพระพุทธศาสนา

นกั ปราชญจ ึงถือเอาเหตนุ น้ั ประกอบการสกั การบชู าพระพทุ ธเจาและพระอรหันตส าวก 1,250 รูปนน้ั ใหเ ปนทต่ี ง้ั แหงความ เลื่อมใสการประกอบพิธีมาฆะบูชา ไดเริ่มในพระบรม มหาราชวงั กอน

การประกอบพระราชกุศล ในสมัยรัชกาลที่ 4,5 ในสมัยรชั กาลท่ี 4 มพี ธิ กี ารพระราชกุศล ในเวลาเชา พระสงฆว ดั บวรนิเวศวหิ ารและ วดั ราชประดิษฐ 30 รปู ฉันในพระอุโบสถ วัด พระศรรี ตั นศาสดาราม

เวลาคาํ่ เสดจ็ ออกทรงจดุ ธปู เทยี นเคร่อื ง มนสั การแลว , พระสงฆสวดทําวตั รเย็นเสรจ็ แลว สวดมนตตอไปมี สวดคาถาโอวาทปาติโมกขด วยสวดมนต จบ , ทรงจดุ เทยี นรายตามราว รอบพระอโุ บสถ 1,250 เลม มกี ารประโคมอีกคร้ังหนึ่ง แลวจึงมกี ารเทศนาโอวาทปาตโิ มกข 1 กณั ฑ เปน ทงั้ เทศนาภาษาบาลแี ละภาษาไทย เครื่องกณั ฑ มจี ีวรเนื้อดี 1 ผืน เงิน 3 ตาํ ลึง และ ขนมตาง ๆ เทศนาจบพระสงฆ ซึง่ สวดมนต 30 รปู สวดรับ

การประกอบพระราชกศุ ล เกีย่ วกับวันมาฆบชู าในสมัยรชั กาลที่ 4 นน้ั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยหู ัว จะ เสดจ็ ออกประกอบพิธดี ว ยพระองคเองทุกปม ิไดข าด สมัยตอมามีการเวน บา ง เชน รัชกาลท่ี 5 พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจาอยหู วั ไดเสด็จออกเองบาง มิไดเสด็จออกเองบา ง เพราะ มกั เปน เวลาท่ปี ระสบกบั เวลาเสดจ็ ประพาสหัวเมอื งบอยๆ หากถูกคราวเสดจ็ ไปประพาสบางปะ อนิ หรือ พระพุทธบาท พระพุทธฉาย พระปฐมเจดยี  พระแทนดงรงั กจ็ ะทรงประกอบพิธี มาฆบชู า ในสถานท่ีนน้ั ๆ ข้นึ อกี สวนหนึ่งตา งหาก

จากในพระบรมมหาราชวั งเดมิ ทมี กี ารประกอบพิธีในพระบรมมหาราชวงั ตอ มากข็ ยาย ออกไป ใหพ ุทธบรษิ ัทได ปฏบิ ตั ติ ามอยา งเปน ระบบสบื มาจนปจ จบุ นั มกี ารบูชา ดว ยการ เวยี นเทยี น และบําเพญ็ กศุ ลตา ง ๆ สวนกําหนดวันประกอบพิธีมาฆบูชานัน้ ปกตติ รงกับ วันเพญ็ เดือน 3 หากปใดเปน อธกิ มาส คือ มีเดอื น 8 สองหนจะเล่ือนไปตรงกบั วันเพ็ญเดอื น 4

หลักธรรมท่ีควรนาํ ไปปฏิบตั ิ หลักธรรมทค่ี วรนาํ ไปปฏบิ ัตไิ ดแ ก โอวาทปาตโิ มกข หมายถงึ หลักคาํ สอนคําสําคัญของพระ พทุ ธศาสนา อนั เปนไปเพอื่ ปอ งกนั และแกปญหาตา ง ๆ ในชีวิตเปนไปเพอื่ ความหลุดพน หรอื คาํ สอน อันเปนหัวใจพระพุทธศาสนา หลักธรรมประกอบดว ย หลักการ 3 , อุดมการณ 4 , วิธีการ 6 ดงั น้ี

หลักการ 3 1. การไมท าํ บาปท้งั ปวง ไดแกการงดเวน การลด ละเลิก ทําบาปท้ังปวง ซ่ึงไดแ ก อกุศลกรรมบถ 10 ทางแหง ความชวั่ มีสบิ ประการ อนั เปน ความชว่ั ทางกาย ทางวาจา และทาง ใจ ความช่ัวทางกาย ไดแก การฆาสัตว การลกั ทรพั ย การประพฤติ ผดิ ในกาม ความช่ัวทางวาจา ไดแ ก การพูดเท็จ การพดู สอเสียด การพูดเพอเจอ ความช่ัวทางใจ ไดแก การอยากไดสมบตั ขิ องผูอ่นื การผูกพยาบาท และความเห็นผิดจาก ทาํ นองคลองธรรม

2. การทํากุศลใหถงึ พรอ ม ไดแก การทาํ ความดีทุกอยา งซงึ่ ไดแ ก กศุ ลกรรมบถ 10 เปน แบบ ของการทําฝา ยดมี ี 10 อยา ง อนั เปน ความดที างกาย ทางวาจาและทางใจ ความดที างกาย ไดแก การไมฆ าสัตว ไมท าํ รายเบียดเบยี นผูอ ืน่ มีแตช วยเหลือเกอ้ื กูลกนั การ ไมถอื เอาส่งิ ของทีเ่ จาของเขาไมไ ดให มาเปนของตน มคี วามเออื้ เฟอเผ่ือแผ และการไม ประพฤตผิ ิดในกาม การทําความดที างวาจา ไดแ ก การไมพ ดู เท็จ ไมพูดสอ เสียด ไมพดู คําหยาบ และไมพ ดู เพอ เจอ พดู แตค ําจรงิ พดู คําออนหวานพูดคําใหเกดิ ความสามคั คแี ละพูดถกู กาลเทศะ การทําความดีทางใจ ไดแ ก การไมโ ลภอยากไดของของผอู ่นื มีแตคดิ เสียสละ การไมผ กู อาฆาตพยาบาทมีแตค ิดเมตตาและ ปราถนาดแี ละมีความเห็นความรคู วามเขา ใจทถี่ กู ตอง ตามทาํ นองคลองธรรม เชน เหน็ วาทาํ ดไี ดดี ทาํ ชว่ั ไดชั่ว

3. การทาํ จติ ใหผ อ งใส ไดแ ก การทําจติ ของตนใหผองใส ปราศจากนวรณซ ึ่งเปนเครือ่ ง ขัดขวางจิตไมใหเขา ถึงความสงบ มี 5 ประการ ไดแก 1. ความพอใจในกาม (กามฉันทะ) 2. ความอาฆาตพยาบาท (พยาบาท) 3. ความหดหูท อ แท งวงเหงาหาวนอน (ถีนะมิทธะ) 4. ความฟงุ ซา น ราํ คาญ (อทุ ธัจจะกุกกุจจะ) และ 5. ความลงั เลสงสัย (วิกจิ ฉา) เชน สงสยั ในการทําความดคี วามชัว่ วา มผี ลจริงหรอื ไม วธิ กี าร ทาํ จิตใหป ฏบิ ัตสิ มถะผองใส ท่แี ทจ ริงเกิดขึ้นจากการละบาปทงั้ ปวง ดว ยการถอื ศืลและบําเพ็ญ กศุ ล ใหถึงพรอ มดว ยการ และวปิ สสนา จนไดบ รรลุอรหตั ผล อนั เปน ความผองใสท่แี ทจ ริง

หลักธรรม – อุดมการณ 4 1. ความอดทน ไดแก ความอดกล้ัน ไมท ําบาปทง้ั ทางกาย วาจา ใจ 2. ความไมเบยี ดเบียน ไดแก การงดเวนจากการทาํ ราย รบกวน หรือ เบยี ดเบยี นผอู ่นื 3. ความสงบ ไดแ ก ปฏิบตั ติ นใหส งบทง้ั ทางกาย ทางวาจา และทางใจ 4. นพิ พาน ไดแก การดบั ทกุ ข ซงึ่ เปนเปา หมายสูงสดุ ในพระพทุ ธศาสนาเกิดขน้ึ ไดจาการ ดาํ เนินชวี ติ ตามมรรคมอี งค 8

หลักธรรม – วิธกี าร 6 1. ไมว า ราย ไดแก ไมกลา วใหรายหรอื กลาวโจมตใี คร 2. ไมท าํ ราย ไดแ ก ไมเบียดเบยี นผอู ื่น 3. สํารวมในปาตโิ มกข ไดแ ก ความเคารพระเบียบวนิ ัย กฎกติกา กฎหมาย รวมทง้ั ขนบธรรมเนยี มประเพณีอันดีของสังคม 4. รจู ักประมาณ ไดแ ก รูจักความพอดใี นการบริโภคอาหารหรอื การใชส อยส่งิ ตาง ๆ 5. อยใู นสถานท่ที สี่ งัด ไดแก อยูในสถานทส่ี งบมสี ่ิงแวดลอ มท่ีเหมาะสม 6. ฝก หดั จติ ใจใหสงบ ไดแ กฝ ก หดั ชาํ ระจิตใหส งบมสี ขุ ภาพคุณภาพและประสิทธิ ภาพท่ดี ี

วนั มาฆบูชา ภาษาอังกฤษ Makha Bucha day

การมาประชุมกนั ของพระสงฆจ์ าํ นวน , รูป

กจิ กรรมท่ที ําในวนั มาฆบชู า

thank you for read จัดทาํ โดย kwanchai Subthong ติดตามไดท่ี https://www.facebook.com/kwanchai.subthong https://www.instagram.com/tay.kwanchai


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook